You are on page 1of 30

© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.

com

คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
เลมที่ 8 แรธาตุและการลําเลียงแรธาตุของพืช
สําหรับครูผูสอน

1. เอกสารประกอบการเรียนเลมที่ 8 แรธาตุและการลําเลียงแรธาตุของพืชนี้
ใชประกอบแผนการจัดการเรียนรูที่ 9 วิชาชีววิทยา(เพิ่มเติม) ชีววิทยา 2 รายวิชา
ว42242 เรื่อง แรธาตุและการลําเลียงแรธาตุของพืช ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
2. หลังจากจบการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูที่ 9 แลว ให
นักเรียนศึกษาเอกสารเลมนี้นอกเวลาเรียนโดยใชเวลา 2 คาบ
3. นักเรียนตองผานการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเลมที่ 7 มาแลว
4. นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน โดยทําตามคําแนะนําที่มีอยู
ในเลม เรียงตามลําดับขั้นตอนที่กําหนด
5. ใหนักเรียนสามารถศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเลมนีไ้ ดดวยตนเอง
ทางเว็บไซต http://www.wongkasem.com/ หรือ เว็บไซตโรงเรียนดัดดรุณี
http://datdaruni.siamschool.net
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
เลมที่ 8 แรธาตุและการลําเลียงแรธาตุของพืช
สําหรับนักเรียน

1. เอกสารประกอบการเรียนเรื่องโครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
เลมนี้ คือเลมที่ 8 แรธาตุและการลําเลียงแรธาตุของพืช
2. นักเรียนตองผานการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเลมที่ 7 มาแลว
3. นักเรียนอานจุดประสงคการเรียนรูกอ นศึกษาเอกสารประกอบ
การเรียน
4. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนจํานวน 10 ขอ
5. นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนตามลําดับ เมื่อเขาใจแลว
ทํากิจกรรมทายบทเรียนใหครบทุกกิจกรรม
6. นักเรียนตรวจเฉลยกิจกรรมทายบทเรียนดวยตนเอง
7. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนจํานวน 10 ขอ
8. นักเรียนตรวจเฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนดวยตนเอง
9. ในกรณีที่นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนไดไมถึง 8 ขอ ใหนกั เรียน
ยอนกลับไปศึกษาเอกสารเลมนี้ใหมแลวทําแบบทดสอบอีกครั้งใหไดตามเกณฑ
10. นักเรียนตองมีความซื่อสัตยตอตนเองไมดูเฉลยกอนทํากิจกรรมหรือ
แบบทดสอบ
11. หลังจากนักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเลมนี้จบแลว
ใหนักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเลมที่ 9 การลําเลียงสารอาหารในพืช
เปนอันดับตอไป
12. นักเรียนสามารถศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ไดดวยตนเอง
ทางเว็บไซต http://www.wongkasem.com หรือ เว็บไซตโรงเรียนดัดดรุณี
http://datdaruni.siamschool.net
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

เลมที่ 8

แรธาตุและการลําเลียงแรธาตุของพืช

........................................................................................................................................

จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายวิธีการลําเลียงแรธาตุของพืชได
2. ระบุชนิดและหนาที่ของแรธาตุที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืชได
3. บอกลักษณะอาการของพืชที่ขาดธาตุอาหารบางชนิดได
4. อธิบายพรอมยกตัวอยางเรื่องปุยอินทรียและปุยอนินทรียได
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

แรธาตุและการลําเลียงแรธาตุของพืช

การลําเลียงแรธาตุของพืช

เนื่องจากน้ําเปนตัวทําละลายที่ดี ดังนั้นน้ําที่พืชดูดเขาไปใชจึงไมใชน้ํา
บริสุทธิ์ เนือ่ งจากน้ําที่อยูในดินยอมตองละลายแรธาตุตาง ๆ ปะปนเขาไปดวย การที่
แรธาตุตาง ๆ จะผานเขาไปในเซลลได จะตองผานจากผนังเซลลเขาสูเยื่อหุมเซลล ซึ่งมี
สมบัติเปนเยื่อเลือกผาน (Selective permeable membrane) การลําเลียงแรธาตุตาง ๆ ที่
ละลายเปนไอออน แลวเขาสูเยื่อหุมเซลล ไมสามารถผานไดโดยอิสระ การลําเลียง
แรธาตุจึงมีความซับซอนมากกวาการลําเลียงน้ําที่เกิดโดยวิธี ออสโมซิส
การลําเลียงแรธาตุของพืช เกิดโดยวิธีการดังนี้
1. แพสสิฟทรานสปอรต (Passive transport) เปนการลําเลียงสารหรือ
แรธาตุจากบริเวณที่มีแรธาตุเขมขนมากกวาไปยังบริเวณที่มีแรธาตุเขมขนนอยกวา
โดยไมตองใชพลังงาน โดยอาศัยหลักของการแพร (Diffusion) นั่นคือไอออนหรือ
สารละลายจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความตางศักยเคมีสูงกวาไปยังบริเวณที่มีความ
ตางศักยทางเคมีต่ํากวา จนกวาความตางศักยทางเคมีของสองบริเวณนี้เทากัน
2. แอกทีฟทรานสปอรต (Active transport) เปนการลําเลียงสารหรือ
แรธาตุจากบริเวณที่มีแรธาตุเขมขนนอยกวา หรือเจือจางกวาไปยังบริเวณที่มีสารหรือ
แรธาตุนั้นเขมขนมากกวา ซึ่งเปนการลําเลียงที่ตอตานกับความเขมขนของสาร ดังนั้น
วิธีนี้จึงตองอาศัยพลังงานจาก ATP ชวย ซึ่งเปนวิธีที่รากและลําตนจะมีโอกาสสะสม
แรธาตุตาง ๆ ไวได ทําใหพืชดูดแรธาตุจากภายนอกเขามาไดทั้ง ๆ ที่ความเขมขนของ
แรธาตุชนิดนั้นภายในเซลลมีมากกวาภายนอกเซลลแลวก็ตาม ทําใหพืชสามารถ
ลําเลียงแรธาตุที่ตองการได เมื่อแรธาตุผานเขาสูรากแลว จะถูกลําเลียงตอไปยังสวน
ตาง ๆ ของพืชทางไซเลมพรอม ๆ กับการลําเลียงน้ํา นอกจากนี้การปรับปรุงดินที่
ปลูกพืชใหโปรง ยังชวยใหรากไดรับแกสออกซิเจนที่อยูในดินมาใชไดอยางพอเพียง
ทําใหรากเจริญเติบโตขยายขนาด และความยาวมากขึ้น และแผขยายออกไปใน
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

บริเวณกวาง จึงชวยเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดน้ําและแรธาตุไดมากขึ้น ทําใหพืช


เจริญเติบโตไดดี

Passive and Active Transport

ภาพที่ 8-1 แสดงการลําเลียงแรธาตุของพืชแบบ แพสสิฟทรานสปอรต


และแบบแอกทีฟทรานสปอรต (Mcquillan, D., 2001)
ที่มา : http://sciencefun4all.net/Life_Sci/03Cells_CellsInAction/JournalTopics/
ActiveVsPassiveTransport.html

การไดรับแกสออกซิเจนของราก มีความสัมพันธกับการดูดแรธาตุของราก
คือ ออกซิเจนที่รากไดรับจากดิน ถูกนําไปใชในกระบวนการ เมแทบอลิซึม ของเซลล
ราก ในกรณีที่ออกซิเจนในดินนอย อัตรา เมแทบอลิซึม ของเซลลรากจะนอยลงดวย
ถาพลังงานจาก ATP ที่มีความจําเปนตอกระบวนการ แอกทีฟทรานสปอรต เกิดขึ้น
นอย การลําเลียงสารโดยกระบวนการนี้จะไมสามารถดําเนินตอไปได ปริมาณการดูด
แรธาตุเขาสูเซลลรากจะลดลง
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

แรธาตุตาง ๆ ที่พืชดูดเขาไปในสวนตาง ๆ ของพืชลวนมีผลตอการ


เจริญเติบโตของพืชทั้งสิ้น จึงถือวาแรธาตุตาง ๆ เปนปจจัยที่จําเปนตอการเจริญเติบโต
ของพืชเปนอยางยิ่ง ดังนั้นถาพืชขาดแรธาตุชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือไดรับไมพอเพียง
อาจทําใหการเจริญเติบโตหยุดชะงัก หรือพืชนั้นอาจถึงตายได
มีการคนพบวาพืชบางชนิดปลูกไดดใี นที่บางแหง แตไมเจริญเมื่อนําไปปลูก
ในแหลงอื่น เนื่องจากปริมาณแรธาตุในดินตางบริเวณมีปริมาณแตกตางกัน การศึกษา
เกี่ยวกับความตองการแรธาตุของพืชไดมีการศึกษากันมานานแลว เชนเมื่อปพ.ศ. 2242
จอหน วูดเวิรด (John Woodward) ทดลองใชน้ําฝนรดตนหลิวเปรียบเทียบกับใชน้ํา
แมน้ํา พบวาตนหลิวเจริญไดดีในดินที่รดดวยน้ําจากแมน้ําและจะเจริญไดดียิ่งขึ้น ถา
ใชน้ําจากสารละลายของดิน ซึ่งนาจะเปนเพราะในสารละลายของดินและน้ําจากแมน้ํา
มีสารบางอยางที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของตนหลิว
ดังนั้นการทดลองของวูดเวิรดจึงเปนจุดเริ่มตนการทดลอง เพื่อหาวามีแรธาตุ
อะไรบางที่จําเปนในการเจริญเติบโตของพืช ใน พ.ศ. 2403 จูเลียส ซาคซ
(Julius Sachs) และใน พ.ศ.2408 ดับบลิว นอปพ (W. Knopf) ทดลองปลูกพืชใน
สารละลายตาง ๆ โดยใชสารละลายแรธาตุตาง ๆ แชรากพืชทีท่ ดลองปลูกไวเพื่อศึกษา
วามีแรธาตุอะไรบางที่ทําใหพืชเจริญเติบโตได การปลูกพืชในสารละลายนี้เรียกวา
ไฮโดรพอนิกส (Hydroponics) จากวิธีการนี้ ซาคซ และนอปพ พบวาพืชจะ
เจริญเติบโตไดดีในสารละลายเกลือ 4 ชนิดคือ แคลเซียมไนเตรต โพแทสเซียมได
ไฮโดรเจนฟอสเฟต แมกนีเซียมซัลเฟต และเหล็กฟอสเฟต โดยใชเกลือปริมาณ
เล็กนอยละลายในน้ํา ตอมาประมาณป พ.ศ.2443 จึงทราบกันวา พืชจําเปนตองใช
แรธาตุอยางนอย 7 ชนิด สําหรับการเจริญเติบโต คือไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม แมกนีเซียม แคลเซียม กํามะถัน และเหล็ก
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

แรธาตุที่มีอยูในพืช
เมื่อนําพืชไปวิเคราะหหาชนิดและปริมาณของแรธาตุตาง ๆ พบวาพืชแตละ
ชนิดจะมีแรธาตุแตกตางกันไปทั้งชนิดและปริมาณ ตัวอยางในตนขาวโพด จะมีชนิด
และปริมาณของแรธาตุแตกตางกัน ดังตารางที่ 8-1
ตารางที่ 8-1 แสดงแรธาตุจําเปนสําหรับพืช

ชื่อธาตุ เปอรเซ็นตของธาตุที่พบในพืช
(น้ําหนักแหง)
คารบอน 45
ออกซิเจน 45
ไฮโดรเจน 6
ไนโตรเจน 1.5
โพแทสเซียม 1.0
แคลเซี่ยม 0.5
แมกนีเซียม 0.2
ฟอสฟอรัส 0.2
ซัลเฟอร 0.1
คลอรีน 0.01
เหล็ก 0.01
แมงกานีส 0.005
นิเกิล 0.003
โบรอน 0.002
สังกะสี 0.002
คอปเปอร 0.0006
โมลิบดีนัม 0.00001
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

เมื่อพืชนําแรธาตุตาง ๆ เขาไปในลําตนแลว พืชจะนําไปใชในการจริญเติบโต


และดานอื่น ๆ ดังนี้
1. เปนสวนประกอบของโครงสรางไดแก การสรางสารเซลลูโลสโดยใช
ธาตุคารบอน สวนที่ใชสรางโปรตีนคือธาตุไนโตรเจน
2. ในกระบวนการเมแทบอลิซึม เชน การสรางพลังงานจาก ATP โดยธาตุ
ฟอสฟอรัส การสรางสวนประกอบของคลอโรฟลลโดยธาตุแมกนีเซียม
3. กระตุนการทํางานของเอนไซมไดแก ธาตุทองแดง สังกะสี แมกนีเซียม
4. ทําใหเซลลเตง เชน ในเซลลคุมของใบ ตองการธาตุโพแทสเซียม

ธาตุจําเปน (Essential element)


แรธาตุทั้ง 17 ธาตุ ดังในตารางที่ 8-1 เปนแรธาตุที่จําเปนตอการเจริญเติบโต
ของพืชซึ่งจะขาดไมได ธาตุคารบอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ซึ่งเปนสวนประกอบ
ของพืชถึง 95 % ของน้ําหนักแหง สิ่งที่พืชไดจากสิ่งแวดลอมคือ น้ํา และอากาศ สวน
อีก 14 ธาตุ พืชไดรับจากดิน ซึ่งอาจไมเพียงพอจึงแบงธาตุออกเปน 2 กลุม คือ
1. แรธาตุจําเปนซึ่งพืชตองการในปริมาณมาก (Macronutrient element) มี
9 ธาตุ คือ คารบอน (C)ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน (O)ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P)
โพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และกํามะถัน (S)
2. แรธาตุจําเปนที่พืชตองการในปริมาณนอย (Micronutrient element) มี
8 ธาตุ คือ เหล็ก (Fe) คลอรีน (Cl) แมงกานีส (Mn) โบรอน ( B) ทองแดง (Cu)
โมลิบดีนัม (Mo) สังกะสี (Sn) นิเกิล (Ni)
เมื่อพืชขาดแรธาตุจําเปนธาตุใดธาตุหนึ่งจะเห็นไดจากลักษณะที่ผิดปกติ
ของพืช จากอาการขาดแรธาตุเหลานั้นเปนประโยชนตอการศึกษาหนาที่ของธาตุ
อาหารของพืชเปนอยางยิ่ง จากอาการขาดธาตุที่พืชแสดงใหเห็น ยังเปนประโยชนตอ
การปลูกพืช เพราะทําให เกษตรกรทราบวา ควรจะใชปุยชนิดใดในปริมาณเทาใด
จากอาการที่พืชแสดงออก ดังนั้นจึงควรรูวาแรธาตุจําเปนตอการดํารงชีพของพืชนั้น
มีหนาที่สําคัญอยางไร
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ธาตุจําเปนที่พืชตองการปริมาณมาก
1. ไนโตรเจน พืชนําไนโตรเจนไปใชในรูปของแอมโมเนียมหรือไนเตรต
เปนสวนใหญ ดินสวนมากขาดไนโตรเจนมากกวาธาตุอื่น ๆ เพราะ
ก. ดินบริเวณนั้นเกิดจากหินแรที่ขาดธาตุไนโตรเจน หรือมี
ธาตุไนโตรเจนนอย
ข. เมื่อดินถูกชะลาง สารประกอบไนโตรเจนสูญหายไปไดงายเพราะ
อนุภาคดินไมดูดซับสารประกอบไนโตรเจน
ค. สารประกอบไนโตรเจน ถูกเปลี่ยนสถานะเปนแกสโดยจุลินทรียในดิน
เนื่องจากไนโตรเจนเปนธาตุท่เี ปนองคประกอบของโปรตีน ถาพืชขาดไนโตรเจน
จะสรางโปรตีนไมได และโปรตีนเปนสวนประกอบสําคัญของโพรโทพลาซึม และ
สวนประกอบของ เอนไซม เพื่อกระตุนปฏิกิริยาตาง ๆไนโตรเจนยังเปน
สวนประกอบที่สํา0คัญของวิตามิน และเอนไซมอีกดวย
ถาพืชขาดธาตุไนโตรเจนจะแสดงอาการตาง ๆ ดังนี้
1.1 ใบพืชเหลืองผิดปกติ โดยเริ่มจากใบลาง ๆ เหลืองซีดที่ปลายใบและ
ขอบใบ พรอมกับการแหงคอย ๆ ลามเขาไปเรื่อย ถาขาดธาตุไนโตรเจนมาก ๆ ทั้งใบ
บนและลาง จะมีอาการเหลืองซีดเนื่องจากขาดคลอโรฟลล
1.2 ลําตนจะสูงผอมมีกิ่งเล็กลีบและมีจํานวนนอย
1.3 พืชเจริญเติบโตชา หรือไมเติบโตเลย รวมทั้งการแตกกิ่งกานหรือ
ยอดชาดวย ผลผลิตนอย คุณภาพต่ํา
ถาพืชไดรับธาตุไนโตรเจนมากเกินไปใบจะมีขนาดใหญกวาเดิม และ
จํานวนมากกวาปกติ ที่เรียกกันวาบาใบ หรือ เฝอใบ พืชจะออกดอกชาหรือไมออกดอก
เลย
2. ฟอสฟอรัส เปนธาตุที่พบทั้งในสารอินทรียและสารอนินทรีย
สารประกอบอินทรียสวนใหญพืชนําไปใชโดยตรงไมได ตองใหจุลินทรียย อยสลาย
เสียกอนจึงจะนําไปใชได เชนฟอสโฟลิปด และกรดนิวคลีอิก พืชนําฟอสฟอรัสไป
ใชไดดีที่สุดเมื่ออยูในรูปของ H PO สวน H PO และ PO นั้นพืชนําไปใช
2

4 2
2−
4
3−
4

นอยลงไปตามลําดับ
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

สารประกอบอินทรียหลายชนิดมีฟอสฟอรัสเปนองคประกอบและ
สารประกอบเหลานั้นมีความสําคัญตอพืช เชน
2.1 นิวคลีโอโปรตีน (Nucleoprotein) เปนสารประกอบที่เกี่ยวของกับ
การถายทอดพันธุกรรม
2.2 ฟอสโฟลิพิด (Phospholipid) เปนองคประกอบของเซลลเมมเบรน
เชน เลซิทิน (Lecithin)
2.3 NAD และ NADP ทําหนาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนยายไฮโดรเจนใน
การหายใจระดับเซลล การสังเคราะหดวยแสง เปนตน
2.4 ATP และ ADP เกี่ยวของทั้งการหายใจระดับเซลล การสังเคราะห
ดวยแสง และกระบวนการ แอกทีฟทรานสปอรต
2.5 กรดไฟติก (Phytic acid) เปนฟอสเฟตที่อยูในเมล็ดพืช
2.6 ไพริดอกซินฟอสเฟต (Pyridoxine phosphate) เปนโคเอ็นไซมที่ใช
ในกระบวนการ ทรานสแอมิเนชัน (Transamination) และเอนไซมกลูตามิก ดีคารบอก
ซิเลส (Glutamic decarboxylase)
ฟอสเฟตที่อยูในพืชจะแยกอยู 2 สวน คือ สวนหนึ่งทําหนาที่เกี่ยวกับ
เมแทบอลิซึม สวนนี้จะอยูในไซโทพลาซึมมีเพียง 12 % สวนอีก 88 % เปนสวนที่ไม
เกี่ยวกับ เมแทบอลิซึม สวนนี้จะอยูใน แวคิวโอล และมีการเคลื่อนยายออกมาจาก
แวคิวโอล เพื่อใชในการเจริญเติบโตได
ถาในบางชวงของวงชีพพืชขาดฟอสฟอรัส จะทําใหกระบวนการดํารงชีวิต
และการเติบโตของพืชผิดปกติ พืชอาจแสดงอาการออกมาใหเห็นไดหรือไม ขึ้นอยูกับ
ปริมาณและความยาวนานของระยะเวลาที่ขาดธาตุ รวมทั้งชวงอายุของพืช ในกรณีที่มี
การขาดอยางรุนแรง พืชจะแสดงอาการดังตอไปนี้
2.1.1 ใบมีขนาดเล็กผิดปกติ สีของใบบริเวณสวนลางมักมีสีเหลือง
ปนสีอื่น เชนในใบขาวโพด เมื่อขาดฟอสฟอรัสจะเปนสีมวง และสีของใบพืชแตละ
ชนิดจะแตกตางกันไป เมื่อขาดฟอสฟอรัส
2.1.2 พืชตนเล็ก แคระแกร็น สําหรับพืชที่เปนไมเถา ลําตนอาจบิด
เปนเกลียว เปราะหักงาย
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

2.1.3 มีดอกขนาดเล็ก และใหดอกชากวาปกติ รวมทั้งเปอรเซ็นตใน


การติดผลก็ต่ํากวาปกติ
2.1.4 ราก ผอม บาง และสั้น อีกทั้งมีจํานวนรากนอยผิดปกติ
ในกรณีกลับกัน เมื่อพืชไดรับ ฟอสฟอรัส มากกวาปกติจะไมเปนปญหา

3. โพแทสเซียม ถึงแมวาโพแทสเซียมไมไดเปนสวนประกอบของสารใด
ในพืช แตมหี นาที่กระตุนการทํางานของเอนไซมหลาย ๆ ชนิดโดยเฉพาะอยางยิ่ง
เอนไซมที่เกี่ยวของกับ การสรางน้ําตาล แปง และโปรตีน รวมทั้งการขนยายแปงและ
น้ําตาล รวมทั้งทําหนาที่ดึงน้ําใหมาสูพืชมากยิ่งขึ้น ทั้งยังชวยลดความเปนกรด จาก
การที่พืชสรางกรดอินทรียขึ้นมา
โพแทสเซียมที่อยูในพืชทําหนาที่ตาง ๆ ดังนี้
3.1 เมื่ออยูในรูปของ K+ ทําหนาที่เปน โคแฟกเตอร ของเอนไซมหลาย
ชนิด เชน เอนไซมที่ใชในการสังเคราะหโปรตีน เมื่อพืชขาดโพแทสเซียม ปริมาณ
โปรตีนจะลดลง ในขณะที่ปริมาณ กรดอะมิโน และคารโบไฮเดรตเพิ่มมากขึ้น
เนื่องจากไมสามารถสังเคราะหโปรตีนนั่นเอง
3.2 เกี่ยวของกับเอนไซมที่ใชในกระบวนการหายใจ คือ
เอนไซมไพรูเวตไคเนส (Pyruvate kinase)
3.3 ทําใหสามารถใช คารโบไฮเดรตไดดีขึ้น
3.4 ชวยใหการเปด ปดปากใบโดยมีแสงเปนตัวกระตุน เมื่อพืชมี
โพแทสเซียมมาก ทําใหปากใบเปด เมื่อพืชมี โพแทสเซียมนอย ชวยใหปากใบปดได
เร็วขึ้น
3.5 ทําใหพืชมีการดูดน้ําไดดีขึ้น
3.6 ทําหนาที่เกี่ยวกับการสรางรงควัตถุ พวกคลอโรฟลล
3.7 เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของ คารโบไฮเดรต
บริเวณที่พบโพแทสเซียมในเซลลพชื คือในไซโทพลาซึม แวคิวโอล
นิวเคลียส ในสภาพของไอออน โพแทสเซียม เคลื่อนที่ไปในลําตนไดงาย และถูก
ลําเลียงจากรากขึ้นไปสูยอด
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

เมื่อพืชขาดโพแทสเซียม จะแสดงอาการทางใบดานลาง ๆ กอน โดยมีอาการ


ตาง ๆ ดังนี้
3.1.1 ใบแก ๆ มักมีสีน้ําตาลไหม อาการไหมจะเห็นไดจากบริเวณ
ขอบใบ ใบจะมวนจากปลายหรือจากขอบโดยเฉพาะใบลาง ๆ
3.1.2 ตนที่ขาด โพแทสเซียมจะแคระแกร็น แตแตกกอ และไมคอยมี
น้ําตาลสะสมในลําตน ในพวกพืชหัว ที่หัวจะไมคอยมีแปง
ในกรณีที่พืชไดรับ โพแทสเซียมมากเกินไปไมเปนอันตรายกับพืช
แตจะสูญเสีย โพแทสเซียมไปกับสวนตาง ๆ ของพืชโดยไมจําเปน

4. แคลเซียม ปกติธาตุแคลเซียมอยูในดินในสภาพที่ไมสามารถจะ
แลกเปลี่ยนกับไอออน ของธาตุอื่น เชนในรูปของหินประกอบแร หรือในรูปของแร
แตมีบางสวนหลุดออกมาอยูในรูปของสารละลายในดิน การทีพ่ ืชจะนําแคลเซียมไป
ใชไดมากนอยเพียงใด ขึ้นกับวาแคลเซียมอยูในรูปของสารประกอบใด รวมทั้งขึ้นกับ
สภาพของดินอีกดวย
แคลเซียมที่อยูในรูปของ Ca2+ นั้นจะถูกอนุภาคของดินดูดติดกับผิวดิน ซึ่ง
ทั่วไปแลวมีประจุลบมากกวาประจุบวก รวมทั้งในอนุภาคดินมักมีไอออนบวกอื่น ๆ
อยูดวย สําหรับดินที่เปนกรดจะมี H+ อยูมาก แตในสภาพที่ดินเปนเบส จะมี Ca2+,
Mg2+ , Na2+ หรือ K+ แทนที่ H+ และ Ca2+ จะเขาแทนที่ H+ ไดดีที่สุด
แคลเซียมที่พบอยูในเซลลพืชอยูในรูปของสารประกอบตาง ๆ คือ
แคลเซียมคารบอเนต แคลเซียมออกซาเลต แคลเซียมฟอสเฟต ซึ่งพบใน แวคิวโอล
สวนแคลเซียมเพกเตต พบในเซลลเพลต (Cell plate) และ มิดเดิล ลาเมลลา
(Middle lamella) แคลเซียมถูกใชในการสรางเยื่อหุมเซลล ชวยทําใหเซลลแบงตัวโดย
มีความเกี่ยวพันกับโครงสรางของโครโมโซม รวมทั้งเปนตัวกระตุน (Activator)
เอนไซม เชน อารจินีนไคเนส (Arginine kinase) อะดีโนซีนโตรฟอสฟาเทส
(Adenosine triphosphatase) เปนตน
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

อาการที่แสดงออกของพืชในขณะที่ขาดแคลเซียม จะแสดงที่ใบบริเวณใกล
ยอดหรือใบออนกับสวนปลายราก เนื่องจากแคลเซียมเปนสารอาหารที่เคลื่อนที่ไมได
(Immobile nutrient) ยอดออนจะตาย ระบบรากไมเจริญตามปกติ รากจะสั้นไมมี
เสนใย มีลกั ษณะเหนียวคลายวุน โดยปกติแลวไมพบวาพืชขาดแคลเซียมเพราะพืช
นําไปใชนอย แมกระทั่งพืชที่ขึ้นในดินทรายก็มีแคลเซียมมากเกินความตองการ และ
เมื่อแคลเซียมมีมากเกินไปพืชก็ไมไดรับอันตราย

5. แมกนีเซียม เมื่ออยูในดินแมกนีเซียมอาจมีทั้งที่ละลายน้ําไดมีทั้งที่แลก
ที่กับไอออนอื่นได และที่ถูกตรึงอยูในดิน แมกนีเซียมมีคุณสมบัติบางประการคลาย
แคลเซียม เปนตนวา ถูกดูดติดอยูกับผิวอนุภาคของดิน แตมีปริมาณนอยกวาแคลเซียม
แมกนีเซียม ทําหนาที่สําคัญ ๆ หลายประการในพืช เชน เปน
สวนประกอบของคลอโรฟลล และเปนตัวกระตุนใหเกิดกระบวนการ เมแทบอลิซึม
ของแปง กรดนีวคลีอิก และฟอสเฟต
พืชที่ขาด แมกนีเซียม จะมียอดและใบออนเปนสีเหลืองซีดกอน
ตอจากนั้นอาจจะเหลืองทั้งตน การเหลืองซีดนี้จะเริ่มจากบริเวณขอบใบอาจเปนจุด
หรือแถบสีเหลืองซีด โดยเฉพาะเกิดกับธัญพืช ในออยพบใบยอดเปนสีขาว หรือสี
เหลืองซีดใบแกมีสีเขียวออน และเริ่มตายจากปลายใบเขาไปยังโคน การแตกกอไม
สม่ําเสมอและเกิดหนอมาก พืชไดแมกนีเซียมมากเกินไปก็ไมเปนอันตราย

6. กํามะถัน กํามะถันที่พบมากในดิน สวนมากเปนอินทรียสาร แตก็มี


บางสวนอยูในรูปของอนินทรียสาร เชน แรยิบซัม พืชนํากํามะถันไปใชไดตอเมื่ออยู
ในรูป ของ SO ซึ่งเกิดจากการที่จุลินทรียในดินเปลี่ยนกํามะถันใหเปน SO ได
2−
4
2−
4

SO ในดินมีการแลกเปลี่ยนไอออนที่ผิวอนุภาคดิน ซึ่งเรียกปรากฏการณนี้วา
2−
4

การแลกที่ของแอนไอออน (Anion exchange) เมื่อดินเปนกรด SO จะเขาไปติดอยู


2−
4

กับอนุภาคดินไดดี แตเมื่อดินเปนเบส SO จะหลุดออกมา ในดินทัว่ ไปมี SO


2−
4
2−
4
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

มากที่สุด เมื่อนําไปเทียบกับอนินทรียส ารชนิดอื่นที่มีกํามะถันเปนองคประกอบ พืช


ลําเลียง SO จากรากเขาทางปากใบไดอีก เมื่อ SO เขาไปในพืชแลวจะถูก
2−
4 2

เปลี่ยนเปน SO 2−
4

กํามะถันเปนสวนประกอบของกรดอะมิโนบางชนิด คือ ซิสเทอีน (Cysteine)


ซีสทิน (Cystine) เมทิโอนีน (Methionine) กํามะถันยังอยูในสารประกอบที่สําคัญตอ
การดํารงชีวิตของพืชอีกหลายชนิด เชน อยูในโคเอนไซม (Coenzyme) และไบโอทิน
(Biotine) หมูซัลฟไฮดริล (Sulfhydryl group) ซึ่งเปนสวนประกอบของ โคเอนไซม
และเอนไซมบางชนิด
นอกจากนั้น กํามะถันยังเปนตัวเชื่อมโปรตีนใหเขาเปนโมเลกุลเดียวกัน โดย
การสรางพันธะไดซัลไฟต (Disulfide bond หรือ S=S) ระหวางโมเลกุลของโปรตีนที่
นําเขามาเชื่อมตอกัน โมเลกุลของโปรตีนจึงใหญขึ้น รวมทั้งมีโครงสรางแข็งแรงขึ้น
พืชทั่ว ๆไปจะไมขาดกํามะถัน เนื่องจากในดินมีกํามะถันอยูในรูปของ SO 2−
4

ที่มากเกินความจําเปนของพืช รวมทั้งการใสปุยบางชนิดที่มี SO เปนสวนประกอบ


2−
4

แตถาพืชขาดกํามะถัน จะแสดงอาการเหมือนกับขาดไนโตรเจน คือ ใบจะ


เปลี่ยนเปนสีเหลืองทั้งใบ แตจะแสดงอาการที่บริเวณยอดกอนพบวามี กรดอะมิโน
และแปงสะสมอยูมากกวาปกติ แตโปรตีน และน้าํ ตาลโมเลกุลเดี่ยวจะลดลงกวาปกติ
ถาพืชไดรับกํามะถันมากเกินความตองการไมพบวาเปนอันตราย

ธาตุจําเปนที่พืชตองการปริมาณนอย (Micronutrient)
ธาตุอาหารเสริมเปนธาตุที่พืชตองการในปริมาณนอยมาก เมื่อเทียบกับกลุม
ธาตุที่กลาวมาแลว ถึงแมพืชตองการในปริมาณนอยมาก แตขาดไมได จะทําใหพืชตาย
หรือการเจริญเติบโตลดลง ธาตุเหลานี้จึงจําเปนในการดํารงชีวิตของพืช ธาตุอาหาร
เสริมที่จําเปนเหลานี้ไดแก
1. เหล็ก ในพืชอยูในรูปของสารประกอบเฟอริดอกซิน ทําหนาที่เปน
ตัวรับอิเล็กตรอน ในการสังเคราะหดวยแสง และเกี่ยวของกับไซโทโครมเอนไซมใน
กระบวนการหายใจ นอกจากนั้นเหล็กยังทําหนาที่เกี่ยวกับการสรางคลอโรฟลล
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

การขาดธาตุเหล็กของพืชจึงแสดงถึงอาการคลอโรซิส (Chlorosis) ซึ่งเปน


ภาวะพรองคลอโรฟลล โดยใบจะมีสีขาวหรือสีเหลืองซีด เริ่มจากใบออน ตอมาใบจะ
ตายจากสวนยอดไลลงมา แตใบลาง ๆ ยังคงมีสีเขียวอยู เพราะธาตุเหล็กไมเคลื่อนที่ แต
พืชสามารถดูดเหล็กไดเมื่ออยูในรูปของ Fe และ Fe เมื่อเขาไปในพืชแลวจะ
2+ 3+

เคลื่อนที่ไปสูยอดไดชามาก
2. แมงกานีส เปนธาตุที่เปนตัวกระตุนการทํางานของเอนไซมชนิดตาง ๆ
เชน ไนไตรต รีดักเตส (Nitrite reductase) ซึ่งทําหนาที่ รีดิวซไนไตรตใหเปน
แอมโมเนียมาลิก ดีไฮโตรจีเนส (Malic dehydrogenase) ไฮดรอกซิลามีน รีดกั เตส
(Hydroxylamine reductase) แมงกานีส ยังเกี่ยวของกับการสรางกรดไขมัน
การสังเคราะหดวยแสง โดยเปนตัวเรงปฏิกิริยาโฟโตลิซิส แมงกานีส เรงการสราง
คลอโรฟลล และเปนตัวเรงกระบวนการออกซิเดชัน ในการหายใจของพืช
เมื่อพืชไดรับแมงกานีสไมพอเพียง จะแสดงอาการผิดปกติที่ใบโดยใบจะ
มีสีเหลืองระหวางเสนใบ เนื่องจากขาดคลอโรฟลล แตเสนใบยังเขียวเปนปกติ มักจะ
เปนกับใบออนกอน บางทีเกิดเปนจุดเหลืองหรือขาวบนใบ การเจริญเติบโตชาไมให
ดอกไมใหผล
3. สังกะสี ไดจากหินแรหลายชนิด เชน แมกนีไตต (Magnetite)ไบโอไตต
(Biotite) เมื่อหินแรเปลี่ยนสภาพ สังกะสีไอออน (Zn2+ ) จะหลุดออกมาอยูในดินในรูป
ของสังกะสีที่ถูกแลกที่ได
หนาที่ของสังกะสีในพืชทําหนาที่เกี่ยวกับการสรางกรดอินโดล -3
อะซิติก (Indole 3- acetic acid) หรือ IAA นอกจากนั้นสังกะสียังเปนตัวกระตุน
เอนไซมหลายชนิด เชน เฮกโซไคเนส (Hexokinase) คารบอนิกแอนไฮเดรส
(Carbonic anhydrase) แอลกอฮอลดีไฮโดรจีเนส (Alcoholdehydrogenase)
เมื่อพืชขาดสังกะสี พืชจะสูงชาใบเล็กแคบไมออกผล และสรางออกซิน
(Auxin) ไดนอยลง หรืออาจไมสรางเลย การทํางานของออกซินจะลดลงราว 50 %
หรือมากกวานั้น เมื่อพืชขาดสังกะสีอยางรุนแรงเมื่อใสสังกะสีลงไปพืชจะเพิ่มปริมาณ
ออกซินอยางมากภายใน 2-3 วัน
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

4. ทองแดง ทําหนาที่เกี่ยวของกับการสังเคราะหดวยแสง และเปน


สวนประกอบของระบบเอ็นไซมหลายชนิด เชน แอสคอรบิกแอซิด ออกซิเดส
(Ascorbid acid oxidase) และไซโทโครมออกซิเดส (Cytrochromoxidase) นอกจากนี้
ยังพบใน พลาสโทไซยานิน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการขนสงอิเล็กตรอน
ในกระบวนการสังเคราะหดวยแสง เมื่อพืชขาดทองแดง กระบวนการดูดซึม
คารบอนไดออกไซดจะลดลง
อาการขาดทองแดงของพืชในระยะแรก ๆ ใบจะเขียวจัดผิดปกติ ตอมาใบ
จะคอย ๆ เหลืองขึ้น และจะหยุดชะงักการเจริญเติบโต สําหรับขาวโพดที่ขาดทองแดง
ใบออนจะมีสีเขียวออนแกมสีเหลือง บริเวณฐานใบ ปลายใบจะคอย ๆ แหงตายไป แต
ถาขาดทองแดงไมมาก ขอบใบที่อยูสวนบนจะแหงตาย ดังนั้นจึงมีลักษณะแตกตางจาก
การขาดโพแทสเซียม ของขาวโพดที่จะเกิดกับใบที่อยูตอนบนมากกวาใบที่อยูตอน
ลาง ๆ และจะเปนใกล ๆ กับโคนใบมากกวาปลายใบ เมื่อพืชไดรับทองแดงมาก
เกินไป การเจริญเติบโตจะลดลง ปริมาณเหล็กในพืชจะลดลง และพืชอาจแสดงอาการ
ขาดเหล็กดวย
5. โมลิบดีนัม ที่อยูใ นดินมีทั้งอยูในรูปของสารละลาย อยูติดตรึงกับผิว
อนุภาคดินที่สามารถแลกที่ได เมื่อ pH เพิ่มขึ้น โมลิบดีนัม จะอยูในรูปสารละลาย
เพิ่มขึ้น พืชนําโมลิบดีนัม เขารากในรูปของ โมลิบเดต
หนาที่ของ โมลิบดีนัม เกีย่ วกับการตรึงไนโตรเจนจากอากาศ (Nitrogen
fixation) และการ รีดิวซไนเตรต ใหเปน ไนไตรต และการควบคุมปริมาณวิตามินซี
ของพืชใหอยูในปริมาณปกติ
เมื่อพืชขาดโมลิบดีนัม มันยังสามารถดูดซึมไนเตรตไอออนได แต
นําไปใชประโยชนไมได เพราะโมลิบดีนัม เกี่ยวกับ เมแทบอลิซึมของไนโตรเจน
ดังนั้นถาพืชขาดโมลิบดีนัม จะมีอาการขาดไนโตรเจนดวย
ปริมาณ โมลิบดีนัม ที่พืชตองการนอยมาก เชน ปลูกในสารละลายมี
โมลิบดีนัมเพียง 0.01 สวนในลานสวน (ppm) พืชก็ไมแสดงอาการขาดธาตุ ในกรณี
กลับกัน หากในสารละลายหรือในดินมีปริมาณ โมลิบดีนัม มากเกินไปจะเปนพิษตอ
การเจริญของพืช
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

6. โบรอน เกีย่ วของกับ การกระตุนใหเอนไซมตาง ๆ ทํางาน ในการสลาย


แปงและน้ําตาล และการลําเลียงแปง และน้ําตาลรวมทั้งการดึงดูดแคลเซียมของรากพืช
ชวยใหพืชนําเอาแคลเซียมไปใชอยางมีประสิทธิภาพ
เมื่อพืชขาดโบรอน จะชะงักการยืดตัวของรากและหนอ และชะงัก
การออกดอก จึงแสดงอาการที่สวนที่ออนที่สุดของพืช เพราะโบรอนเปนธาตุที่พืชไม
เคลื่อนยาย ทําใหสวนที่ออนที่สุดหรือสวนยอดชะงักการเจริญเติบโต พืชจึงแคระ
แกร็น ยอดทีช่ ะงักการเจริญเติบโตจะมีสีเหลืองหรือสีแดง เซลลในเยื่อเจริญเกิดการฉีก
ขาด การเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อผิดปกติ
ในกรณีที่พืชไดรับ โบรอนมากเกินไป ตอนปลายใบอาจจะมีสีเหลือง แต
อาการเชนนี้อาจไมเกิดก็ได ถาเปนพิษมากจะเกิด เนโครซิส (Necrosis) ทีใ่ บโดยจะเริ่ม
จากปลายใบ และขอบใบแผเขามาระหวางเสนใบจากสวนขางเขามายังเสนกลางใบ
ตอมาจะแหงคลายถูกไฟไหม
7. คลอรีน เปนธาตุอาหารเสริมที่พืชตองการมากกวาธาตุอาหารเสริม
อื่น ๆ สําหรับในมะเขือเทศที่มีปริมาณคลอรีนประมาณ 1-3 ไมโครกรัมอะตอม
(35-105 ppm) ตอน้ําหนักแหงของพืช 1 กรัม จะปรากฏอาการขาดคลอรีน แต
ในขณะที่ใบมะเขือเทศที่ขาดโมลิบดีนัมนั้นมีเพียง 0.001 ไมโครกรัมอะตอม
(0.1 ppm) ตอน้ําหนักแหงของพืช 1 กรัม ความตองการคลอรีนของพืช ประมาณวา
พืชใชคลอรีนจากดินประมาณ 1 กรัม เพื่อสรางน้ําหนักแหงของพืช 10 กิโลกรัม
พืชตองการคลอรีนประมาณ 363 กรัมตอไร
คลอรีนมีความจําเปนในการสังเคราะหดวยแสง เพราะเกี่ยวของกับ
ขั้นตอนปลดปลอยออกซิเจนในระบบแสงที่ 2 ( Photosystem II ) แตกลไกของการเขา
ไปของธาตุนี้ยังไมทราบแนชัด นอกจากนั้นคลอรีนยังชวยในการเปลี่ยนไนเตรตและ
แอมโมเนียมใหเปนสารอินทรีย
เนื่องจากในดินมีคลอรีนอยางเพียงพอ จึงมักไมปรากฏอาการขาดธาตุนี้
แตถาขาดคลอรีนพืชจะมีใบเหี่ยว และเกิด คลอโรซิส เนโครซิส และมีสีบรอนซ เมื่อ
พืชไดรับคลอรีนมากเกินไปใบจะเล็กลง พืชเจริญเติบโตชา พืชบางชนิดแสดงอาการ
ไหมที่ปลายใบหรือตามขอบใบ มีสีซีดหรือสีเหลืองกอนใบแก อาจมีอาการคลอโรซิส
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ภาพที่ 8-2 แสดงอาการขาดธาตุอาหารของพืช


A. ใบสมทีข่ าดไนโตรเจน มีสีเหลืองทางใบ
B. ใบสมทีข่ าดไนโตรเจน แสดงอาการที่ใบแกกอนใบกอน
C. ผลสมดานขวาขาดฟอสฟอรัสทําใหเปลือกหนา และมีชองวาง
แกนกลาง
D. ใบสมทีข่ าดโพแทสเซียม มีสีเหลืองทีป่ ลายใบ แสดงอาการที่ใบแกกอน
E. ใบสมทีข่ าดแคลเซียม แสดงอาการสูญเสียคลอโรฟลล เสนใบ
ขอบใบเหลืองซีด ใบเล็กลงและหนาขึ้น
F. ใบสมทีข่ าดแมกนีเซียมใบเหลืองซีดและมีสีเขียวเหลืออยูเ ปนรูปตัวV
(โครงการตําราวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร มูลนิธิ สอวน., 2549, หนา 42)
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ภาพที่ 8-3 แสดงการขาดธาตุอาหารของพืช


A. ใบสมทีข่ าดธาตุเหล็ก แสดงอาการใบสีซีด
B. ใบสมทีข่ าดธาตุสังกะสี มีสีเขียวเปนปนเสนกลางใบและเสนใบมี
สีเหลืองออน
C. ใบสมทีข่ าดธาตุแมงกานีส ใบออนมีสีจาง เสนใบมีสีเขียว
D. ใบสมทีข่ าดธาตุโบรอน แสดงอาการตายปลายยอด ปลายใบจะมวนลง
E. ใบสมทีข่ าดธาตุทองแดง แสดงอาการใบใหญผิดปกติ
F. ใบสมทีข่ าดธาตุโมลิบดีนัม แสดงอาการใบเหลืองเปนวงใหญระหวาง
เสนใบ
(โครงการตําราวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร มูลนิธิ สอวน., 2549, หนา 43)
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ภาพที่ 8-4 แสดงการขาดธาตุอาหารของใบมะเขือเทศ


(โครงการตําราวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร มูลนิธิ สอวน., 2549, หนา 44)
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ตารางที่ 8-2 สรุปหนาทีข่ องธาตุอาหารบางธาตุ


ธาตุ หนาที่ของธาตุอาหาร
ไนโตรเจน เปนองคประกอบของคลอโรฟลล โปรตีน เอนไซม
และวิตามินหลายชนิด ชวยใหพืชเจริญเติบโต
ทางดานใบ ลําตน หัว ฯลฯ
ฟอสฟอรัส เปนองคประกอบของกรดนิวคลีอิก ฟอสโฟลิพิด
ATP และโคเอนไซมหลายชนิด ชวยเรงการออก
ดอกและสรางเมล็ด
โพแทสเซียม ไมเปนองคประกอบของสารใด ๆ ในพืช แตไปทํา
หนาที่กระตุนการทํางานของเอนไซมหลายชนิดที่
เกี่ยวของกับการสรางแปง และเกี่ยวของกับ
กระบวนการสรางโปรตีน
แคลเซียม เปนองคประกอบของผนังเซลล จําเปนสําหรับ
กระบวนการแบงเซลล และการเพิ่มขนาดของ
เซลลและชวยกระตุนการทํางานของเอนไซม
บางชนิด
แมกนีเซียม เปนองคประกอบของคลอโรฟลล กระตุน
การทํางานของเอนไซมที่เกี่ยวของกับกระบวนการ
สังเคราะหดวยแสง การหายใจ การสังเคราะห
โปรตีน
กํามะถัน เปนองคประกอบของสารโปรตีนบางชนิด วิตามิน
บีหนึ่ง และสารที่ระเหยไดบางชนิดในพืช ชวยเพิ่ม
ปริมาณน้ํามันในพืช เกี่ยวของกับกระบวนการ
สังเคราะหคลอโรฟลล
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

พืชผักที่รับประทานใบ ตองการธาตุอาหารไนโตรเจนมากเปนพิเศษเพื่อ
บํารุงใบ สําหรับพืชดอก ตองการธาตุอาหารฟอสฟอรัสมากเปนพิเศษ
การปลูกออย หลังจากที่เจริญเติบโตสรางปลองแลว ควรใหธาตุอาหาร
โพแทสเซียม เพื่อเพิ่มความหวานแกออย การปลูกมันสําปะหลัง หากตองการเพิ่ม
ปริมาณแปงควรเพิ่มโพแทสเซียม เชนเดียวกับออย เพราะ โพแทสเซียม ชวยใน
การสรางคารโบไฮเดรต
จากความรูเรื่องคุณสมบัติตาง ๆ ของธาตุและประโยชนที่มีตอพืชรวมทั้ง
การเกิดปญหาการขาดแคลนที่ดินในการเพาะปลูก จึงมีแนวคิดที่จะปลูกพืชโดยไมใช
ดิน ดวยการปลูกพืชในสารละลาย หรือไฮโดรพอนิกส (Hydroponic culture) ที่มี
แรธาตุตาง ๆ ที่พืชตองการ และยังสามารถเติมเฉพาะธาตุแตละชนิดที่พืชตองการ
ในปริมาณที่เหมาะสมไดอีกดวย

ภาพที่ 8-5 แสดงการปลูกพืชในสารละลาย (Hydroponic culture)


© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

สิ่งสําคัญที่ตองระวังในการปลูกพืชดวยวิธีนี้คือ pH ของสารละลายที่ไม
คงที่ หลังจากแชรากพืชไวในสารละลายนานพอควร pH ของสารละลายจะเพิ่มจาก
เดิมที่แรกปลูก pH อยูที่ 5 เนื่องจากพืชสามารถดูดสารที่มีประจุลบ เชน พวกไนเตรด
ฟอสเฟต ซัลเฟตไดดีกวาสารที่มีประจุบวกไดแก โพแทสเซียม แมกนีเซียม และ
แคลเซียม จากนั้นพืชจะปลอย ไฮดรอกไซดไอออน ออกมาแทนที่สารประจุลบที่พืช
ดูดเขาไป สารละลายจึงมีสภาพเปนเบส เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ Ph จึงมีคาสูงขึ้น ดังนั้น
การปลูกพืชในสารละลายจึงจําเปนตองมีวิธีการปองกันไมใหคา pH เปลี่ยนไป หรือถา
เปลี่ยนไปก็ใหเปลี่ยนไดนอยมาก ดวยการเติมกรดหรือเบสลงไปเพื่อปรับสภาพ pH
ใหไดคาตามที่พืชตองการ
หากพืชไดรับธาตุบางอยางมากเกินไปก็เปนอันตรายไดเชนเดียวกัน
ตัวอยางเชน ถาไดรับไนโตรเจนมากเกินไปก็ไมติดดอกจึงไมมีผลดวย สําหรับพืชที่ให
เสนใย จะทําใหเสนใยที่ไดคุณภาพไมดี

การใชปุย
เนื่องจากพื้นที่ของประเทศไทยนับวันจะถูกใชเปนที่อยูอาศัย ถนนหนทาง
สวนพื้นที่ปาไม อันเปนตนน้ําลําธาร ที่สงวนเอาไวก็มักจะโดนบุกรุก เพราะประชากร
ของประเทศประมาณ 70-80 % เปนเกษตรกร และมีพื้นที่เพียง 39 % ของประเทศที่ใช
ในการเพาะปลูก จึงตองหาวิธีการตาง ๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตของพืช เชน การเพิ่ม
ความอุดมสมบูรณใหแกพื้นดินโดยการใชปุย ซึ่งมี 2 ชนิดคือ ปุยอนินทรีย และ
ปุยอินทรีย
1. ปุยอนินทรียหรือปุยเคมีหรือปุยวิทยาศาสตร
ในปจจุบันเกษตรกรนิยมใชปุยเคมีหรือปุยอนินทรียที่รูจักกันในชื่อ
ปุยวิทยาศาสตรซึ่งหมายถึง ปุยที่ไดจากการสังเคราะหจากสารอนินทรียชนิดตาง ๆ
รวมทั้งสารอินทรียสังเคราะหบางชนิด เชน ยูเรีย ปุยเคมีสวนมากทําหนาที่เพิ่มปริมาณ
ธาตุที่จําเปนใหพืชในปริมาณสูง ซึ่งอาจแยกปุยเคมีออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ
1.1 ปุยเดี่ยว หมายถึงปุยที่ใหธาตุหลักเพียงธาตุเดียว เชน ปุย
แอมโมเนียมซัลเฟต เปนปุยเดี่ยวที่ใหธาตุไนโตรเจนกับพืช
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

1.2 ปุยผสม หมายถึง ปุยที่ใหธาตุอาหารหลักตั้งแต 2 ธาตุขึ้นไป


เชน ปุยโพแทสเซียมไนเตรตใหธาตุไนโตรเจนและโพแทสเซียมเปนตน
สวนประกอบที่มีอยูในปุยอนินทรียประกอบดวยแรธาตุตาง ๆ และสาร
ตัวเดิม (Filler)ไดแก ขี้เลื่อย ดินขาว ทราย เปนตน เพื่อใหสวนผสมของปุยนั้นครบ
100 สวน
ในการใชปุยจําเปนตองทราบวาตองการปุยนั้นเพื่อวัตถุประสงคใด เชน
ตองการเรงใบ จําเปนตองมีธาตุไนโตรเจนในปริมาณสูงกวาธาตุอื่นหรือตองการใหพืช
สรางคารโบไฮเดรตมาก ๆ ควรใชปุยที่มีธาตุโพแทสเซียมสูง เปนตน จึงมีการกําหนด
เกรดปุยขึ้น ดังนั้นในการซื้อปุยมาใช จึงจําเปนตองกําหนดปริมาณแรธาตุในปุย
เฉพาะสวนที่พืชใชเปนประโยชนไดเทานั้น ที่เรียกวา เกรดปุย (Fertilizer grade) เกรด
ปุยจะบอกถึงปริมาณแรธาตุขั้นต่ําที่สุดที่มีอยูในปุยนั้น ๆ

ปุยเคมีตามปกติจะบอกเกรดปุยไวที่ขางถุงปุย เชน ปุยเกรด 15-20-5


หมายถึง มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด 15% โดยน้ําหนัก
มีปริมาณฟอสฟอรัสในรูปของกรดฟอสฟอริก ( P O ) ที่ใชประโยชนได
2 5

20 % โดยน้ําหนัก
มีปริมาณโพแทสเซียมในรูปของโพแทส ( K O ) ที่ละลายน้ําได 5 % โดย
2

น้ําหนัก
ปุยเกรด 15-15-8 จํานวน 40 กิโลกรัม มีแรธาตุในปุยแตละชนิดจํานวนเทาไร
วิธีคิด
เกรดปุย 15-15-8 หมายถึง มี N 15 % P 15 % K 8 %

15 × 40
ดังนั้น ปุย 40 กิโลกรัม จึงมี N = = 6 กิโลกรัม
100
15 × 40
P= = 6 กิโลกรัม
100
8 × 40
K= = 3.2 กิโลกรัม
100
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ภาพที่ 8-6 แสดงปุยอนินทรียหรือปุยเคมี

2. ปุยอินทรีย
นอกจากปุยเคมีแลว ยังมีการใชปุยอินทรีย ซึ่งเปนอินทรียวัตถุหลาย ๆ
ชนิดไดแก ปุย คอก ปุยหมัก ปุยพืชสด นอกจากนี้ยังมี กากถั่ว กากเมล็ดฝาย ซึ่งเหลือ
จากโรงงานอุตสาหกรรม กระดูกปน เลือดแหงจากโรงฆาสัตว นอกจากนั้นยังมีปุย
เทศบาล ซึ่งเกิดจาก การหมักขยะตาง ๆ แลวปรุงแตงโดยการเสริมธาตุอาหารบางอยาง
เขาไป นอกจากนั้นยังมี น้ํากากสาเหลา สามารถนําไปใชทําปุยหมักไดดวย ถึงแมปุย
อินทรียจะใหธาตุอาหารต่ํา แตสามารถอมน้ําไดดี มีความชื้น รากพืชสามารถชอนไช
ไปไดสะดวก ดังนั้น หากมีการตัด หรือดายหญาหรือมีตนไมตาย ไมตองเผาทิ้ง
สามารถนําไปหมักทําเปนปุยไดเพื่อนํามาปรับปรุงโครงสรางของดิน
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

การใชปุยในการเพาะปลูกนอกจากทําใหเพิ่มคาใชจายในการเพาะปลูก
แลวยังทําใหดินเสื่อมสภาพไมเหมาะสมในการเพาะปลูกไดอีกดวย โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ปุยเคมี ดังนั้นจึงมีการวิจัยคนควาหาพันธุพืชที่สามารถปลูกโดยใชดินที่มธี าตุอาหาร
ปริมาณต่ําได แตใหผลผลิตสูง

ภาพที่ 8-7 แสดงปุยอินทรีย

3. ปุยชีวภาพ
ทั้งปุยวิทยาศาสตรและปุยอินทรียตางก็มีขอดี และขอเสียแตกตางกัน แต
ในปจจุบันมีปุยอีกชนิดหนึ่ง คือปุยชีวภาพ (Biofertilizer) ที่ใชแบคทีเรีย และสาหราย
สีเขียวแกมน้ําเงิน ที่สามารถตรึงแกสไนโตรเจนจากอากาศเปลี่ยนใหเปนสารประกอบ
ไนเตรตที่พืชใชได และยังมีจุลินทรียที่ชวยยอยสลายสารอินทรียโมเลกุลใหญใหเปน
โมเลกุลเล็กลง ที่พืชดูดซึมไปใชได จุลินทรียเหลานี้นํามาใชประโยชนกับพืชได
เชนเดียวกับการใชปุยวิทยาศาสตรหรือปุยอินทรีย
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ภาพที่ 8-8 แสดงปุยชีวภาพ (Ministry of Justice, Department of Juvenile


Observation and Protection, 2006)
ที่มา : http://www.djop.moj.go.th/webboard1/aspboard_Question.asp?GID=182

จุลินทรียที่นํามาใชในการผลิตปุยชีวภาพ แบงออกเปน 2 กลุมใหญ ไดแก


3.1 จุลินทรียท ี่ตรึงแกสไนโตรเจนในอากาศ ซึ่งมีทั้งแบคทีเรียและสาหราย
สีเขียวแกมน้ําเงิน ตัวอยางของแบคทีเรีย ไดแก ไรโซเบียม (Rhizobium)
อะโซโตแบคเตอร (Azotobacter) คลอสตริเดียม (Clostridium) เปนตน สวนตัวอยาง
สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน ไดแก แอนาบีนา (Anabaena) นอสตอก (Nostoc) ออสซิล
ลาทอเรีย (Oscillatoria) แคโลทริกซ (Calothrix) เปนตน จุลินทรียทุกตัวที่กลาวถึง มี
เอนไซมไนโตรจีเนส (Nitrogenase) ซึง่ เปนเอนไซมที่ทําใหสามารถเปลี่ยนแกส
ไนโตรเจนใหเปนสารประกอบไนโตรเจนซึ่งเปนอาหารของพืช โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ไรโซเบียม (Rhizobium) ที่เปนแบคทีเรียอยูในปมรากถั่วนั้น มีความสามารถในการ
ตรึงไนโตรเจนจากอากาศไดดี โดยอยูรวมกับรากพืชตระกูลถัว่ แบบพึ่งพา
พืชและดินในบริเวณนั้นไดรับสารประกอบไนโตรเจนเพิ่มมากขึ้น การใช
ไรโซเบียม ทําปุยชีวภาพ ทําไดโดยการนํา แบคทีเรีย ไรโซเบียม คลุกเมล็ดกอนปลูก
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ไรโซเบียม แตละสายพันธุมีความเหมาะสมเฉพาะกับถั่วแตละชนิด เวลาใชจึงตอง


เลือกสายพันธุใหถูกตองกับถั่วที่ปลูก

ภาพที่ 8-9 แสดงตัวอยางสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินชนิดตาง ๆ


(Warren, A.N., 2006)
ที่มา : http://www.lastrefuge.co.uk/images-database/david-spears/big1/
Anabaena-new2.jpg
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

ภาพที่ 8-10 แสดงตัวอยางแบคทีเรียที่ชวยตรึงแกสไนโตรเจนจากอากาศชนิดตาง ๆ


(Britannica Online Encyclopedia, 2006)
ที่มา : http://concise.britannica.com/ebc/art-19576/The-soil-bacterium-
Rhizobium-leguminosarum
© ธีระ วงศเกษม โรงเรียนดัดดรุณี จังหวัดฉะเชิงเทรา www.wongkasem.com

3.2 จุลินทรียที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงฟอสฟอรัสที่อยูในดินใหเปน
ประโยชนกับพืช เนื่องจากพืชไมสามารถไดฟอสฟอรัสอยางพอเพียงทั้ง ๆ ที่ดิน
บริเวณนั้นไมขาดฟอสฟอรัส เพราะฟอสฟอรัสจะถูกตรึงเอาไวในดิน แตมีรา
ไมโคไรซา (Mycorrhiza) อาศัยอยูกับรากพืชโดยอยูกันแบบพึ่งพา คือ ราจะชวยยอย
สลายแรธาตุที่เปนสารประกอบในดินบริเวณใกลราก โดยเฉพาะฟอสฟอรัสที่ถูกตรึง
เอาไวในดิน จนพืชไมสามารถนําไปใชได จะถูกราไมโคไรซา ปลอยเอนไซมออกมา
ยอยสลายจนพืชนําไปใชได สวนประโยชนที่ราจะไดรับจากพืช คือน้ําตาล
กรดอะมิโน และสารอื่น ๆ จากรากพืช
การใชปุยชีวภาพนั้น ในปจจุบันมีการใชกันอยางแพรหลาย จนมีการสราง
โรงงานผลิต ไรโซเบียม ขนาดใหญขึ้นทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ อีกมาก
สําหรับประเทศไทย กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดจัดทํา
การจัดตั้งศูนย ไรโซเบียม เปนปุยชีวภาพจําหนายใหกับเกษตรกร
ขอเสีย ของการใชปุยชีวภาพที่เปนจุลินทรียซึ่งมีชวี ิต คือ สภาวะแวดลอม
ของดินตองไมมีสารเคมีหรือยาฆาแมลงและมีปจจัยอื่น ๆ ที่เอื้อตอการมีชีวิตจึงจะใช
ปุยชีวภาพไดผลดี
การใชปุยเคมีไปนาน ๆ จะทําใหเกิดการสะสมสารเคมี ดินจับตัวกันแข็ง
กวาปกติ ทําใหอากาศในดินถายเทไดไมดี และน้ําซึมชา รากชอนไชไดยาก พืชจึง
เจริญเติบโตไมดี
การใชปุยอินทรียในการเพาะปลูกนั้น ทําใหดินรวนซุย รากพืชจึงชอนไช
เขาไปในดินไดดีไมทําใหสภาพแวดลอมของดินเสีย เพราะปุยอินทรียยอยสลายไดงาย
จึงไมมีสารพิษตกคางอยูในดิน

You might also like