You are on page 1of 57

กรอบในการปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

จ ด
ั ก า ร เ ร ย
ี น ร ้ ู
ผนกา ร
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แ
e L e a r n i n g
ปรับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน ตามแนวทาง
Activ านสากลแห่ง ศ ต ว ร ร ษ ท ่ ี 2 1
มีองค์ความรู้ที่เป็นสากล มาตรฐ
1 เทียบเท่านานาชาติ

2 4 5 ที่หลักสูตรกำ�หนด

ครบทัง้ แผนรายหน่วย
3 จัดลำ�ดับความยากง่ายของ
และรายชั่วโมงแท้

เชื่อมโยงองค์ความรู้ เนื้อหาในแต่ละระดับชั้น
ตามพัฒนาการแต่ละช่วงวัย
มี
ทางวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยี
เข้าด้วยกัน

พร้อม
ลดความซ้ำ�ซ้อนของเนื้อหา
ให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกัน
ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้
เฉลย
ทุกหน่วย
และระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้
มีใบงาน ชิ้นงาน
และประเมิน Rubrics
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ทุกตัวชี้วัด สรา้ งหอ้ งเรียนคุณภาพ
สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
เพิ่มผลสัมฤทธ เพิ่มศักยภาพผ
๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
ส่งเสริมการทำ�โครงงาน ิ์ O-NET ได้ 10 ้เู รียน
โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ สาย), ๐-๒๒๔๑-๘๙๙๙
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖ และ Portfolio 0%
สงวนลิขสิทธิ์ หนังสือเล่มนี้ได้จดทะเบียนลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
คํานำ�
กระทรวงศึกษาธิการได้มีการประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพื่อพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพของคนในชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ และมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 และโลก
ในศตวรรษที่ 21 โดยจัดทำ�ขึ้นเพื่อให้สถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้เป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำ�หนดไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ตระหนักถึงความสำ�คัญของการมีส่วนร่วมในการจัดทำ�สื่อการเรียนการสอน
ที่มีคุณภาพและสอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ จึงได้จัดทำ�เอกสาร
ประกอบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพื่อนำ�เสนอข้อมูล
เกี่ยวกับหลักสูตรที่มีการปรับปรุงใหม่ ให้เห็นรายละเอียดที่ชัดเจน เข้าใจง่าย
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาที่จะใช้เป็น
กรอบและทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้อย่างแท้จริง

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
สารบัญสารบัญ
หน้า

ส่วนที่ 1

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พิเศษ 4


คำ�อธิบายรายวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พิเศษ 6
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พิเศษ 7

ส่วนที่ 2
ตัวอย่างหนังสือเรียน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย 11
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง 34
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ตัดเนื้อหาบางเรื่อง
เลื่อนไหลบางเนื้อหา
ที่มีความซํ้าซ้อน
ให้มีความเหมาะสม
กับเนื้อหาวิชาอื่น ๆ

การเปลี่ยนแปลง
หลักสูตร
คณิตศาสตร์
เพิ่มเนื้อหาบางเรื่อง เน้นให้มีความเชื่อมโยง
ที่มีความจำ�เป็น เนื้อหาคณิตศาสตร์
กับการแก้ปัญหา
ในชีวิตจริง

พิเศษ 3
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สาระที่ 1 จำ�นวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน ผลที่เกิดขึ้น
จากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 จำ�นวนตรรกยะ
1. เข้าใจจำ�นวนตรรกยะและความสัมพันธ์ • จำ�นวนเต็ม
ของจำ�นวนตรรกยะ และใช้สมบัติของ • สมบัติของจำ�นวนเต็ม
จำ�นวนตรรกยะในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ • ทศนิยมและเศษส่วน
และปัญหาในชีวิตจริง • จำ�นวนตรรกยะและสมบัติของจำ�นวนตรรกยะ
2. เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำ�ลังที่มี • เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
เลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวกในการแก้ปัญหา • การนำ�ความร้เู กีย่ วกับจำ�นวนเต็ม จำ�นวนตรรกยะ
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง และเลขยกกำ�ลังไปใช้ในการแก้ปัญหา
อัตราส่วน
3. เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน • อัตราส่วนของจำ�นวนหลาย ๆ จำ�นวน
และร้อยละ ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ • สัดส่วน
และปัญหาในชีวิตจริง • การนำ�ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน
และร้อยละไปใช้ในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่กำ�หนดให้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.1 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1. เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากัน และสมบัติ • สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ของจำ�นวน เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้ • การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว • การนำ�ความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
2. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับกราฟในการ • กราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้น
แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง • สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
3. เข้าใจและใช้ความร้เู กีย่ วกับความสัมพันธ์เชิงเส้น • การนำ�ความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหา และกราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้นไปใช้
ในชีวิตจริง ในชีวิตจริง

4 พิเศษ
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ม.1 การสร้างทางเรขาคณิต
1. ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น • การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต
วงเวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม • การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ โดยใช้การสร้าง
The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรม พื้นฐานทางเรขาคณิต
เรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต • การนำ�ความรู้เกี่ยวกับการสร้างพื้นฐาน
ตลอดจนนำ�ความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ ทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง
ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
มิติสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต
2. เข้าใจและใช้ความร้ทู างเรขาคณิตในการวิเคราะห์ • หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ
หาความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติ • ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบน
และรูปเรขาคณิตสามมิติ ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจาก
ลูกบาศก์

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 สถิติ
1. เข้าใจและใช้ความร้ทู างสถิตใิ นการนำ�เสนอข้อมูล • การตั้งคำ�ถามทางสถิติ
และแปลความหมายข้อมูล รวมทั้งนำ�สถิติไปใช้ • การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม • การนำ�เสนอข้อมูล
๐ แผนภูมิรูปภาพ
๐ แผนภูมิแท่ง
๐ กราฟเส้น
๐ แผนภูมิรูปวงกลม
• การแปลความหมายข้อมูล
• การนำ�สถิติไปใช้ในชีวิตจริง

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง


การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ

พิเศษ 5
คำ�อธิบายรายวิชา

ค211 คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 120 ชั่วโมง จำ�นวน 3 หน่วยกิต

ศึกษา เข้าใจจำ�นวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจำ�นวนตรรกยะ และใช้สมบัติของจำ�นวนตรรกยะในการ


แก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง เข้าใจและใช้สมบัติของการเท่ากันและสมบัติของจำ�นวน เพื่อวิเคราะห์และแก้ปัญหา
โดยใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับกราฟในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมทั้งโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad
หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่น ๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนำ�ความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ใน
การแก้ปัญหาในชีวิตจริง เข้าใจและใช้ความรู้ทางเรขาคณิตในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติ
และรูปเรขาคณิตสามมิติ เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำ�เสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล รวมทั้งนำ�สถิติ
ไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เน้นจัดประสบการณ์จากรูปภาพจากของจริงไปสู่
การใช้สัญลักษณ์ การจัดกิจกรรมกลุ่มหรือเกมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างความคิดรวบยอด ใช้โจทย์ที่หลากหลาย
ใกล้เคียงกับชีวิตประจำ�วัน เพื่อฝึกทักษะการคิดคำ�นวณและฝึกการแก้โจทย์ปัญหา โดยเรียงลำ�ดับโจทย์จากง่าย
ไปหาโจทย์ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะเป็นลำ�ดับขั้น ส่งเสริมการอธิบาย ให้เหตุผลประกอบ
การแก้ปัญหา และเน้นการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการที่หลากหลายสร้างสรรค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดรวบยอด มีทักษะในการคิดคำ�นวณ มีเหตุผลในการแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
และนำ�ความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้
รหัสตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ค 1.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ค 2.2 ม.1/1, ม.1/2
ค 3.1 ม.1/1
รวมทั้งหมด 9 ตัวชี้วัด

6 พิเศษ
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จำ�นวน 1.5 หน่วยกิต

มาตรฐานการเรียนรู้ เวลาเรียน
ลำ�ดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
และตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
1 จำ�นวนตรรกยะ ค 1.1 ม.1/1 1. จำ�นวนเต็ม (Integer) 24
2. การเปรียบเทียบจำ�นวนเต็ม
3. การบวกจำ�นวนเต็ม
4. การลบจำ�นวนเต็ม
5. การคูณจำ�นวนเต็ม
6. การหารจำ�นวนเต็ม
7. สมบัติของจำ�นวนเต็ม
8. เศษส่วน (Fraction) และทศนิยม
(Decimal)
9. การบวกและการลบจำ�นวนตรรกยะ
ที่อยู่ในรูปเศษส่วน
10. การคูณและการหารจำ�นวนตรรกยะ
ที่อยู่ในรูปเศษส่วน
11. การบวกและการลบจำ�นวนตรรกยะ
ที่อยู่ในรูปทศนิยม
12. การคูณและการหารจำ�นวนตรรกยะ
ที่อยู่ในรูปทศนิยม
13. สมบัติของจำ�นวนตรรกยะเกี่ยวกับ
การบวกและการคูณ
14. การนำ�ความรู้เกี่ยวกับจำ�นวนตรรกยะ
ไปใช้ในการแก้ปัญหา

พิเศษ 7
มาตรฐานการเรียนรู้ เวลาเรียน
ลำ�ดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
และตัวชี้วัด (ชั่วโมง)
2 เลขยกกำ�ลัง ค 1.1 ม.1/2 1. ความหมายของเลขยกกำ�ลัง 14
2. เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก
3. การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน
และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
4. การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน
และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
5. การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง
เมื่อเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
6. การใช้เลขยกกำ�ลังแสดงจำ�นวนในรูป
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
3 สมการเชิงเส้น ค 1.3 ม.1/1 1. ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์ 12
ตัวแปรเดียว 2. คำ�ตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
3. การแก้สมการ
4. โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
4 อัตราส่วน ค 1.1 ม.1/3 1. อัตราส่วน 10
2. สัดส่วน
3. การประยุกต์เกี่ยวกับร้อยละ
4. การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วน
และร้อยละ
รวม 60

8 พิเศษ
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผู้เรียบเรียง
อาจารย์สุรัชน์ อินทสังข์

ผู้ตรวจ
ดร.คงรัฐ นวลแปง
อาจารย์อภิณห์พร มานิ่ม
อาจารย์ประวิทย์ กันทาทอง

บรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์ ดร.นพพร แหยมแสง

สงวนลิขสิทธิ์
สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
พ.ศ. 2561
พิมพ์ครั้งที่ 1 จำ�นวน 20,000 เล่ม
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
701 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทร. 0-2243-8000 (อัตโนมัติ 15 สาย), 0-2241-8999
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : 0-2241-4131, 0-2243-7666
website : www.iadth.com
การเรยี นร
นว่ ย

2 เลขยกกำ�ลัง

ทู้ ่ี

แผนผังส�ระก�รเรียนรู้

เลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลัง
เป็นจำานวนเต็มบวก

การคูณเลขยกกำาลัง
ท่ีมีฐานเดียวกันและเลขชี้กำาลัง
ความหมายของเลขยกกำาลัง เป็นจำานวนเต็มบวก

เลขยกกำ�ลัง

การใช้เลขยกกำาลังแสดงจำานวน การหารเลขยกกำาลัง
ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ท่ีมีฐานเดียวกันและเลขชี้กำาลัง
เป็นจำานวนเต็มบวก
การเขียนจำานวนที่มีค่ามากๆ ในรูป A × 10n
เมื่อ 1  A  10 และ n เป็นจำานวนเต็ม

การเขียนจำานวนที่มีค่าน้อยๆ ในรูป A × 10n


เมื่อ 1  A  10 และ n เป็นจำานวนเต็ม

ตัวชี้วัด
• เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำาลังที่มีเลขชี้กำาลังเป็นจำานวนเต็มบวกในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง (ค 1.1 ม.1/2)

2
การคูณเลขยกกำาลังที่มีฐานเดียวกัน
และเลขชี้กำาลังเป็นจำานวนเต็มบวก
ถ้าวันที่ 1 ปลูกต้นกระบองเพชร 1 ต้น วันที่ 2 ปลูกต้นกระบองเพชร 2 ต้น วันที่ 3 ปลูก
ต้นกระบองเพชร 4 ต้น วันที่ 4 ปลูกต้นกระบองเพชร 8 ต้น และวันต่อไปจะปลูกต้นกระบองเพชร
เพิ่มเป็น 2 เท่า ของวันที่ผ่านมา เป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ดังนั้น วันที่ 15 ต้องปลูกต้นกระบองเพชร
กี่ต้น
วิธีทำา
ธันวาคม DECEMBER 2017
วันที่ 1 ปลูกต้นกระบองเพชร 1 ต้น
SUN MON TUE WED THU FRI SAT

1 2
วันที่ 2 ปลูกต้นกระบองเพชร 2 = 21 ต้น
3 4 5 6 7 8 9 วันที่ 3 ปลูกต้นกระบองเพชร 4 = 22 ต้น
10 11 12 13 14 15 16 วันที่ 4 ปลูกต้นกระบองเพชร 8 = 23 ต้น
17 18 19 20 21 22 23 •
24 25 26 27 28 29 30 •

31
ดังนั้น วันที่ 15 ปลูกต้นกระบองเพชร 214 = 16,384 ต้น

เลขยกกำาลัง

ตอบ วันที่ 15 ต้องปลูกต้นกระบองเพชร 16,384 ต้น

3
3. การคูณเลขยกกำาลังทีม่ ฐี านเดียวกัน และเลขชีก้ าำ ลังเป็นจำานวนเต็มบวก
พิจ�รณ�ก�รห�ผลคูณของเลขยกกำ�ลังต่อไปนี้
1. 54 Ö 52 = (5 Ö 5 Ö 5 Ö 5) Ö (5 Ö 5)
= 5Ö5Ö5Ö5Ö5Ö5
= 56
หรือ 54 Ö 52 = 54+2
= 56
2. (-2)5 Ö (-2)3 = {(-2) Ö (-2) Ö (-2) Ö (-2) Ö (-2)} Ö {(-2) Ö (-2) Ö (-2)}
= (-2) Ö (-2) Ö (-2) Ö (-2) Ö (-2) Ö (-2) Ö (-2) Ö (-2)
= (-2)8
หรือ (-2)5 Ö (-2)3 = (-2)5+3
= (-2)8
จะเห็ น ว่ � ถ้ � ฐ�นของเลขยกกำ � ลั ง ที่ คู ณ กั น เป็ น จำ � นวนเดี ย วกั น แล้ ว ผลคู ณ ที่ ไ ด้ ส �ม�รถ
เขียนในรูปเลขยกกำ�ลังที่มีฐ�นเป็นจำ�นวนเดิม และเลขชี้กำ�ลังห�ได้จ�กก�รบวกเลขชี้กำ�ลังของตัวตั้ง
และเลขชี้กำ�ลังของตัวคูณ ซึ่งเป็นไปต�มสมบัติก�รคูณเลขยกกำ�ลัง ดังนี้

สมบัติการคูณเลขยกกำาลัง
ถ้� a เป็นจำ�นวนใด ๆ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว
am Ö an = am+n

หมายเหตุ am Ö an อ�จเขียนแทนด้วย am • an หรือ (am)(an) หรือ aman

ตัวอย่างที่ 1 ห�ผลคูณของ 35 Ö 32 ในรูปเลขยกกำ�ลัง


วิธีทำา 35 Ö 32 = 35+2
= 37
ตอบ 37

เลขยกกำ�ลัง 141

4
ตัวอย่างที่ 2 ห�ผลคูณของจำ�นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำ�ลัง
1) (53 Ö 52) Ö 54 2) 53 Ö (52 Ö 54)
1) (53 Ö 52) Ö 54
วิธีทำา (53 Ö 52) Ö 54 = (53+2) Ö 54
= 5 5 Ö 54
= 59
ตอบ 59
2) 53 Ö (52 Ö 54)
วิธีทำา 53 Ö (52 Ö 54) = 53 Ö (52+4)
= 53 Ö 56
= 59
ตอบ 59

จ�กตัวอย่�งที่ 2 จะเห็นได้ว่� (53 Ö 52) Ö 54 = 53 Ö (52 Ö 54)


เลขยกกำ�ลังเป็นเรื่องก�รคูณจึงมีสมบัติก�รเปลี่ยนหมู่ของก�รคูณ กล่�วคือ ก�รคูณอ�จห�
ผลลั พ ธ์ จ �กกลุ่ ม ใดก่ อ นก็ ไ ด้ ดั ง นั้ น ก�รเขี ย นผลคู ณ ของเลขยกกำ � ลั ง ตั้ ง แต่ ส องจำ � นวนขึ้ น ไป
อ�จเขียนก�รคูณโดยไม่ต้องใส่วงเล็บ และอ�จห�ผลคูณได้ดังตัวอย่�งต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 3 ห�ผลคูณของจำ�นวนต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำ�ลัง
1) (0.2)6 Ö (0.2)5 2) (-7)2 Ö (-7)3 Ö (-7)1 3) (13) Ö (13) Ö (13)
7 4 5

1) (0.2)6 Ö (0.2)5
วิธีทำา (0.2)6 Ö (0.2)5 = (0.2)6+5
= (0.2)11
ตอบ (0.2)11
2) (-7)2 Ö (-7)3 Ö (-7)1
วิธีทำา (-7)2 Ö (-7)3 Ö (-7)1 = (-7)2+3 Ö (-7)1
= (-7)5 Ö (-7)1
= (-7)5+1
= (-7)6

142 คณิตศ�สตร์ ชั้นมัธยมศึกษ�ปีที่ 1 เล่ม 1

5
หรือทำ�โดยใช้สมบัติก�รคูณเลขยกกำ�ลัง ดังนี้
(-7)2 Ö (-7)3 Ö (-7)1 = (-7)2+3+1
= (-7)6
ตอบ (-7)6
3) 13 Ö 13 Ö 13
7 4
() () ()
5

วิธีทำา (13) Ö (13) Ö (13)


7 4 5
= () ()
1 7+4 Ö 1 5
3 3
= () ()
1 11 Ö 1 5
3 3
= (13) 11+5

= (13) 16

หรือทำ�โดยใช้สมบัติก�รคูณเลขยกกำ�ลัง ดังนี้

() () ()
1 7Ö 1 4Ö 1 5
3 3 3 = ()
1 7+4+5
3
= ()
1 16
3
ตอบ (13) 16

ตัวอย่างที่ 4 ให้ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวก a, b, x และ y เป็นจำ�นวนเต็ม


ห�ผลคูณของจำ�นวนต่อไปนี้
1) am Ö a3 2) b2n+1 Ö b5
3) (x Ö y)3 Ö (x Ö y)4 4) (2a3b2)(22ab4)

1) am Ö a3
วิธีทำา am Ö a 3 = am+3
ตอบ am+3
2) b2n+1 Ö b5
วิธีทำา b2n+1 Ö b5 = b2n+1+5
= b2n+6
ตอบ b2n+6

เลขยกกำ�ลัง 143

6
3) (x Ö y)3 Ö (x Ö y)4
วิธีทำา (x Ö y)3 Ö (x Ö y)4 = (x Ö y)3+4
= (x Ö y)7
ตอบ (x Ö y)7

4) (2a3b2)(22ab4)
วิธีทำา (2a3b2)(22ab4) = 2 • a 3 • b2 • 2 2 • a • b4
= (2 • 22)(a3 • a)(b2 • b4)
= 21+2 • a3+1 • b2+4
= 23a4b6
ตอบ 23a4b6

ในกรณี ที่ เ ลขยกกำ � ลั ง ที่ นำ � ม�คู ณ กั น มี ฐ �นไม่ เ ป็ น จำ � นวนเดี ย วกั น ถ้ � ส�ม�รถเปลี่ ย น


ให้ฐ�นเป็นจำ�นวนเดียวกัน ก็จะใช้สมบัติของก�รคูณเลขยกกำ�ลังได้ดังตัวอย่�งต่อไปนี้

ตัวอย่างที่ 5 ห�ผลคูณของ 25 Ö 54 ในรูปเลขยกกำ�ลัง


วิธีทำา เนื่องจ�ก 25 = 52
จะได้ 25 Ö 54 = 52 Ö 54
= 52+4
= 56
ตอบ 56

ตัวอย่างที่ 6 ห�ผลคูณของ (-2)4 Ö 23 ในรูปเลขยกกำ�ลัง


วิธีทำา เนื่องจ�ก (-2)4 = (-2) Ö (-2) Ö (-2) Ö (-2)
= 24
จะได้ (-2)4 Ö 23 = 2 4 Ö 23
= 24+3
= 27
ตอบ 27

144 คณิตศ�สตร์ ชั้นมัธยมศึกษ�ปีที่ 1 เล่ม 1

7
นักเรียนพิจ�รณ�ก�รห�ผลคูณต่อไปนี้
(-3) Ö (-3) = (-3)2 = 9
(-3) Ö (-3) Ö (-3) = (-3)3 = -27
(-3) Ö (-3) Ö (-3) Ö (-3) = (-3)4 = 81
(-3) Ö (-3) Ö (-3) Ö (-3) Ö (-3) = (-3)5 = -243
(-3) Ö (-3) Ö (-3) Ö (-3) Ö (-3) Ö (-3) = (-3)6 = 729
นักเรียนคิดว่� (-3)10 เป็นจำ�นวนเต็มบวกหรือจำ�นวนเต็มลบ

ตัวอย่างที่ 7 ห�ผลคูณของ (-3)3 Ö 36 ในรูปเลขยกกำ�ลัง


วิธีทำา เนื่องจ�ก 36 = (-3)6
ดังนั้น (-3)3 Ö 36 = (-3)3 Ö (-3)6
= (-3)3+6
= (-3)9
ตอบ (-3)9

ตัวอย่างที่ 8 ถ้�วันที่ 1 ปลูกต้นไม้ 1 ต้น วันที่ 2 ปลูกต้นไม้ 2 ต้น วันที่ 3 ปลูกต้นไม้ 4 ต้น
วั น ที่ 4 ปลู ก ต้ น ไม้ 8 ต้ น และวั น ต่ อ ไปจะปลู ก ต้ น ไม้ เ พิ่ ม เป็ น 2 เท่ �
ของวันที่ผ่�นม� เป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ ดังนั้น วันที่ 15 ต้องปลูกต้นไม้กี่ต้น
วิธีทำา วันที่ 1 ปลูกต้นไม้ 1 ต้น
วันที่ 2 ปลูกต้นไม้ 2 = 21 ต้น
วันที่ 3 ปลูกต้นไม้ 4 = 22 ต้น
วันที่ 4 ปลูกต้นไม้ 8 = 23 ต้น
...
ดังนั้น วันที่ 15 ปลูกต้นไม้ 214 = 16,384 ต้น
ตอบ วันที่ 15 ต้องปลูกต้นไม้้ 16,384 ต้น

เลขยกกำ�ลัง 145

8
แบบฝึกหัดที่ 3
1. เขียนผลคูณต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำาลัง
1) 36 Ö 34
2) 12 Ö 129
3) 113 Ö 118
4) (-5)4 Ö (-5)7
5) ()
1 5(0.5)4
2
6) (-2)3(-2)4(-2)5
7) 625 Ö 5
8) 32 Ö 4 Ö 23 Ö 24
9) (-5)2 Ö (-5)3 Ö (-5)6
10) 125 Ö 25 Ö 54
11) 64 Ö (-2)5 Ö (-2)7
12) m6 Ö m Ö m 5 เมื่อ m เป็นจำ�นวนใด ๆ
13) b3 Ö b2 Ö b10 เมือ่ b เป็นจำ�นวนใด ๆ
14) (2c) Ö (2c)2 Ö (2c)3 เมื่อ c เป็นจำ�นวนใด ๆ

2. หาผลคูณของเลขยกกำาลังต่อไปนี้ โดยเขียนให้อยู่ในรูปเลขยกกำาลัง เมื่อ a, b เป็นจำานวนใด ๆ


ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n เป็นจำานวนเต็มบวก
1) 25 Ö 27 2) (-9)6 • (-9)9
3) 252 Ö 254 4) 2 3 • 25 • 28
5) (10)3(10)2(10)6 6) (-0.3)2(-0.3)3
7) ( )( )
1 4 1 10
5 5 8) (0.4)2(0.4)6(0.4)5
9) b6 • b3m 10) a2n • a5
11) am+1 • an+1 12) (-b)4(-b)2

146 คณิตศ�สตร์ ชั้นมัธยมศึกษ�ปีที่ 1 เล่ม 1

9
3. กำาหนดให้ a = 3, b = -2 และ c = 1 หาค่าของ
1) (ab)2
2) (a + b + c)2
3) (abc)3
4) (-a)2 + (-b)2 + (-c)2
5) (c + b)20
6) b2 - c2
7) a3 - b3
8) (a3 + b3) + (-c)3
9) (a - b)2 - c3
4. กล่องใบหนึ่งมีฐานกว้าง 9 เซนติเมตร ยาว 27 เซนติเมตร สูง 3 เซนติเมตร จะมีความจุ
กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร (เขียนคำาตอบในรูปเลขยกกำาลัง)
5. 1 ปีแสง หมายถึง ระยะทางที่แสงเคลื่อนที่ไปได้ประมาณ 9.46 × 1012 กิโลเมตร
ถ้า 100 ปีแสง จะได้ระยะทางประมาณกี่กิโลเมตร (บูรณาการกับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์)
6. ลูกบาศก์ขนาด 10 × 10 × 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร และลูกบาศก์ขนาด 20 × 20 × 20
ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีปริมาตรต่างกันเท่าไร

เลขยกกำ�ลัง 147

10
หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานตามแนวทาง Backward Design
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เลขยกกำ�ลัง
รหัส-ชื่อรายวิชา ค211 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 14 ชั่วโมง
ผู้สอน โรงเรียน

ขั้นที่ 1 กำ�หนดเป้าหมายหลักของการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวกในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

ความรู้ฝังแน่น ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding)


นักเรียนเข้าใจว่า เลขยกกำ�ลังเป็นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนการคูณกันของจำ�นวนเดียวกันหลายครั้ง
ใช้ เ ขี ย นแทนจำ � นวนที่ มี ค่ า มากหรื อ จำ � นวนที่ มี ค่ า น้ อ ย จะเป็ น จำ � นวนบวกหรื อ จำ � นวนลบขึ้ น อยู่ กั บ
ความสั ม พั น ธ์ ข องเลขฐานและเลขชี้ กำ � ลั ง ของเลขยกกำ � ลั ง ผลคู ณ ของเลขยกกำ � ลั ง ถ้ า เลขฐานของ
เลขยกกำ�ลังเป็นจำ�นวนเดียวกัน ให้นำ�เลขชี้กำ�ลังมาบวกกัน และการหารเลขยกกำ�ลังสามารถทำ�ได้โดยนำ�
เลขชี้กำ�ลังมาลบกันและขึ้นอยู่กับค่าของเลขชี้กำ�ลังว่าจะดำ�เนินการตามกรณีใด
การเขียนจำ�นวนที่มีค่ามากหรือค่าน้อยสามารถใช้เลขยกกำ�ลังเขียนแทนจำ�นวนนั้นได้โดยเขียนให้อยู่
ในรูปมาตรฐาน

สาระการเรียนรู้
1. เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
2. การนำ�ความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังไปใช้ในการแก้ปัญหา

11
สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การคิดวิเคราะห์
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทำ�งาน

คำ�ถามสำ�คัญ
1. การเขียนสัญลักษณ์แทนจำ�นวนมาก ๆ มีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร
2. ค่าของเลขยกกำ�ลังจะเป็นจำ�นวนบวกหรือจำ�นวนลบขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของอะไร
3. การเขียนจำ�นวนให้อยู่ในรูปเลขยกกำ�ลังมีหลักการหรือวิธีการเขียนอย่างไรให้ถูกต้อง
4. นักเรียนคิดว่าการคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน ใช้วิธีใดที่ง่ายและรวดเร็วที่สุด
5. นักเรียนคิดว่าถ้าเลขยกกำ �ลังที่นำ�มาคูณกันมีเลขฐานไม่เท่ากัน จะหาผลคูณของเลขยกกำ �ลังนั้น
อย่างไร
6. เลขยกกำ�ลังที่มีฐานในรูปการคูณมีวิธีการหาค่าของเลขยกกำ�ลังนั้นด้วยวิธีการอย่างไร
7. เลขยกกำ�ลังที่มีฐานเป็นเลขยกกำ�ลังมีวิธีการหรือหลักการหาค่าเลขยกกำ�ลังอย่างไร
8. หารเลขยกกำ�ลังอย่างไรให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและรวดเร็ว
9. เลขยกกำ�ลังที่เขียนแทนจำ�นวนทุกจำ�นวนที่มีค่ามาก ๆ หรือมีค่าน้อย ๆ ใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจำ�วัน
ได้อย่างไร

12
ขั้นที่ 2 กำ�หนดหลักฐานหรือร่องรอยของการเรียนรู้

ภาระงาน : ชิ้นงาน/การแสดงออกของผู้เรียน
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
ใบงานที่ 2 เรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
ใบงานที่ 3 เรื่อง การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
ใบงานที่ 4 เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
ใบงานที่ 5 เรื่อง การใช้เลขยกกำ�ลังแสดงจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

การประเมินการเรียนรู้
1. ประเมินความรู้เรื่อง ความหมายของเลขยกกำ�ลัง เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐาน
เดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก การใช้เลขยกกำ�ลังแสดงจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (K) ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทำ�งานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงานเรื่อง เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก (P) ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินใบงานเรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก (P)
ด้วยแบบประเมิน
5. ประเมินใบงานเรื่อง การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก (P)
ด้วยแบบประเมิน
6. ประเมินใบงานเรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก (P)
ด้วยแบบประเมิน
7. ประเมินใบงานเรื่อง การใช้เลขยกกำ�ลังแสดงจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (P)
ด้วยแบบประเมิน
8. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำ�งาน (A) ด้วยแบบประเมิน

13
แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมินกระบวนการทำ�งานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
กระบวนการทำ�งานกลุ่ม มีการกำ�หนดบทบาท มีการกำ�หนดบทบาท มีการกำ�หนดบทบาท ไม่มีการกำ�หนด
สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า ไม่มี บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย การชี้แจงเป้าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทำ�งาน มีการ อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ต่างคนต่างทำ�งาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงานเรื่อง เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การเขียนเลขยกกำ�ลัง เขียนเลขยกกำ�ลัง เขียนเลขยกกำ�ลัง เขียนเลขยกกำ�ลัง เขียนเลขยกกำ�ลัง
ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็น ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวกได้ จำ�นวนเต็มบวกได้
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ
ด้วยวิธีการตาม ด้วยวิธีการตาม โดยจะต้องดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนำ�
ลำ�ดับขั้นตอน ลำ�ดับขั้นตอน จากหนังสือและ อธิบายข้อที่ทำ�
ด้วยตนเองและ ด้วยตนเอง ให้เพื่อนอธิบาย ไม่ถูกต้องและ
อธิบายยกตัวอย่าง จึงสามารถ ดูตัวอย่างจาก
แนะนำ�เพื่อนให้เข้าใจ ทำ�ได้ถูกต้อง หนังสือประกอบ
ได้ถูกต้อง จึงสามารถ
ทำ�ได้ถูกต้อง

14
แบบประเมินใบงานเรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การแสดงการคูณและ แสดงการคูณและหา แสดงการคูณและหา แสดงการคูณและหา แสดงการคูณและหา
หาผลคูณเลขยกกำ�ลัง ผลคูณเลขยกกำ�ลัง ผลคูณเลขยกกำ�ลัง ผลคูณเลขยกกำ�ลัง ผลคูณเลขยกกำ�ลัง
ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็น ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวกได้ จำ�นวนเต็มบวกได้
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ
ด้วยวิธีการ ด้วยวิธีการ โดยจะต้องดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนำ�
ตามลำ�ดับขั้นตอน ตามลำ�ดับขั้นตอน จากหนังสือและ อธิบายข้อที่ทำ�
ด้วยตนเองและ ด้วยตนเอง ให้เพื่อนอธิบาย ไม่ถูกต้องและดู
อธิบายตัวอย่าง จึงสามารถทำ� ตัวอย่างจากหนังสือ
แนะนำ�เพื่อนให้เข้าใจ ได้ถูกต้อง ประกอบจึงทำ�
ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง

แบบประเมินใบงานเรื่อง การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การแสดงวิธีการและหา แสดงวิธีการและหา แสดงวิธีการและหา แสดงวิธีการและหา แสดงวิธีการและหา
ผลหารเลขยกกำ�ลัง ผลหารเลขยกกำ�ลัง ผลหารเลขยกกำ�ลัง ผลหารเลขยกกำ�ลัง ผลหารเลขยกกำ�ลัง
ที่มีฐานเดียวกัน ที่มีฐานเดียวกัน ที่มีฐานเดียวกัน ที่มีฐานเดียวกัน ที่มีฐานเดียวกัน
และเลขชี้กำ�ลังเป็น และเลขชี้กำ�ลังเป็น และเลขชี้ก�ำ ลังเป็น และเลขชี้ก�ำ ลังเป็น และเลขชี้กำ�ลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ไม่ถูกต้อง ได้ไม่ถูกต้อง
ด้วยวิธีการตาม ด้วยวิธีการตาม ครบทุกข้อ โดย ครบทุกข้อ โดยครู
ลำ�ดับขั้นตอนด้วย ลำ�ดับขั้นตอน จะต้องดูตัวอย่าง ต้องแนะนำ� อธิบาย
ตนเอง และอธิบาย ด้วยตนเอง จากหนังสือและ ข้อที่ทำ�ไม่ถูกต้อง
ยกตัวอย่าง แนะนำ� ให้เพื่อนอธิบาย และดูตัวอย่าง
เพื่อนให้เข้าใจ จึงสามารถทำ� จากหนังสือประกอบ
ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง จึงสามารถทำ�
ได้ถูกต้อง

15
แบบประเมินใบงานเรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การแสดงการหาผลลัพธ์ แสดงการหาผลลัพธ์ แสดงการหาผลลัพธ์ แสดงการหาผลลัพธ์ แสดงการหาผลลัพธ์
ของการคูณและการหาร ของการคูณและ ของการคูณและ ของการคูณและ ของการคูณและ
เลขยกกำ�ลังเมื่อ การหารเลขยกกำ�ลัง การหารเลขยกกำ�ลัง การหารเลขยกกำ�ลัง การหารเลขยกกำ�ลัง
เลขชี้กำ�ลังเป็น เมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็น เมื่อเลขชี้ก�ำ ลังเป็น เมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็น เมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวกได้ จำ�นวนเต็มบวก
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ไม่ถูกต้องครบ
ด้วยวิธีการตาม ด้วยวิธีการตาม โดยจะต้องดูตัวอย่าง ทุกข้อ โดยครูต้อง
ลำ�ดับขั้นตอนด้วย ลำ�ดับขั้นตอน จากหนังสือและ แนะนำ� อธิบายข้อที่
ตนเองและอธิบาย ด้วยตนเอง ให้เพื่อนอธิบาย ทำ�ไม่ถูกต้องและ
ตัวอย่าง แนะนำ� จึงสามารถทำ� ดูตัวอย่างจากหนังสือ
เพื่อนให้เข้าใจ ได้ถูกต้อง ประกอบจึงทำ�
ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง

แบบประเมินใบงานเรื่อง การใช้เลขยกกำ�ลังแสดงจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การเขียนเลขยกกำ�ลัง เขียนเลขยกกำ�ลัง เขียนเลขยกกำ�ลัง เขียนเลขยกกำ�ลัง เขียนเลขยกกำ�ลัง
เขียนแทนจำ�นวนที่มี เขียนแทนจำ�นวนที่มี เขียนแทนจำ�นวนที่มี เขียนแทนจำ�นวนที่มี เขียนแทนจำ�นวนที่มี
ค่ามากหรือมีค่าน้อย ค่ามากหรือมีค่าน้อย ค่ามากหรือมีค่าน้อย ค่ามากหรือมีค่าน้อย ค่ามากหรือมีค่าน้อย
โดยเขียนแสดงในรูป โดยเขียนแสดง โดยเขียนแสดง โดยเขียนแสดง โดยเขียนแสดง
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ในรูปสัญกรณ์- ในรูปสัญกรณ์- ในรูปสัญกรณ์- ในรูปสัญกรณ์-
วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ได้ วิทยาศาสตร์ได้
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ
ด้วยวิธีการตาม ด้วยวิธีการตาม โดยจะต้องดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนำ�
ลำ�ดับขั้นตอน ลำ�ดับขั้นตอน จากหนังสือและ อธิบายข้อที่ทำ�
ด้วยตนเองและ ด้วยตนเอง ให้เพื่อนอธิบาย ไม่ถูกต้องและดู
อธิบายยกตัวอย่าง จึงสามารถ ตัวอย่างจากหนังสือ
แนะนำ�เพื่อนให้เข้าใจ ทำ�ได้ถูกต้อง ประกอบจึงสามารถ
ได้ถูกต้อง ทำ�ได้ถูกต้อง

16
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)
4.1.1 ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
4.1.2 เอาใจใส่และมีความเพียร- ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน
พยายามในการเรียนรู้ และมีความเพียร- และมีความเพียร- เอาใจใส่ใน
4.1.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรม พยายามในการเรียนรู้ พยายามในการ การเรียน
การเรียนรู้ต่าง ๆ มีส่วนร่วมใน เรียนรู้ มีส่วนร่วม มีส่วนร่วมใน
การเรียนรู้ และ ในการเรียนรู้ และ การเรียนรู้ และ
เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้ง การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
ภายในและภายนอก บ่อยครั้ง เป็นบางครั้ง
โรงเรียนเป็นประจำ�

มุ่งมั่นในการทำ�งาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน

พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)


6.1.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ตั้งใจและรับผิดชอบ ไม่ตงั้ ใจปฏิบตั ิ
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ ในการปฏิบัติหน้าที่ หน้าที่การงาน
6.1.2 ตั้งใจและรับผิดชอบใน ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย ที่ได้รับมอบหมาย
การทำ�งานให้สำ�เร็จ ให้สำ�เร็จ มีการ ให้สำ�เร็จ มีการ ให้ส�ำ เร็จ
6.1.3 ปรับปรุงและพัฒนา ปรับปรุงและพัฒนา ปรับปรุงและพัฒนา
การทำ�งานด้วยตนเอง การทำ�งานให้ดีขึ้น การทำ�งานให้ดีขึ้น
ด้วยตนเอง

17
ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทำ�งานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำ�เร็จตามเป้าหมาย

พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)


6.2.1 ทุ่มเททำ�งาน อดทน ทำ�งานด้วย ทำ�งานด้วย ทำ�งานด้วย ไม่ขยัน อดทน
ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและ ความขยัน อดทน ความขยัน อดทน ความขยัน อดทน ในการทำ�งาน
อุปสรรคในการทำ�งาน ไม่ย่อท้อต่อปัญหา ไม่ย่อท้อต่อปัญหา พยายามให้งาน
6.2.2 พยายามแก้ปัญหาและ พยายามแก้ปัญหา ในการทำ�งาน สำ�เร็จตามเป้าหมาย
อุปสรรคในการทำ�งาน อุปสรรคในการ พยายามให้งาน
ให้สำ�เร็จ ทำ�งานให้งานสำ�เร็จ สำ�เร็จตามเป้าหมาย
6.2.3 ชื่นชมผลงานด้วยความ ตามเป้าหมาย ชื่นชมผลงาน
ภาคภูมิใจ ภายในเวลา ด้วยความภาคภูมิใจ
ที่กำ�หนด ชื่นชม
ผลงานด้วยความ
ภาคภูมิใจ

18
ขั้นที่ 3 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือประสบการณ์การเรียนรู้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ความหมายของเลขยกกำ�ลัง

ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับจำ�นวนต่าง ๆ ในชีวิตประจำ�วัน แล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถาม


กระตุ้นความคิด
2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย เช่น การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรียน ห้องสมุด หรือจากอินเทอร์เน็ต

ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายของเลขยกกำ�ลัง แล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม
4. นักเรียนพิจารณาประโยคการคูณจากจำ�นวนบนกระดาน แล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม
5. นักเรียนพิจารณาตารางแสดงลักษณะของเลขยกกำ�ลัง แล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถามกระตุ้น
ความคิด
6. นักเรียนแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งออกมาเขียนเลขยกกำ�ลังบนกระดาน จากนั้นกลุ่มที่สองออกมาเขียน
แสดงการคูณจากเลขยกกำ�ลังนั้น แล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้น
ร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน

ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

7. นักเรียนสำ�รวจเลขยกกำ�ลังจากแผ่นป้ายโฆษณา หนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วเขียนอธิบายถึงเลขฐาน


เลขชี้ก�ำ ลังและคำ�อ่านลงในกระดาษ จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อนเพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
8. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
เลขยกกำ � ลั ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ เ ขี ย นแทนการคู ณ กั น ของจำ � นวนเดี ย วกั น หลายครั้ ง และเลขยกกำ � ลั ง
ยังสามารถนำ�ไปใช้เขียนแทนจำ�นวนที่มีค่ามากหรือจำ�นวนที่มีค่าน้อย โดยมีสัญลักษณ์ an โดยที่ a เป็นฐาน มี n เป็น
เลขชี้ก�ำ ลัง

19
ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

9. นักเรียนนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
10. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำ�งานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำ�งานที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

11. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับความหมายของเลขยกกำ�ลังไปช่วยสอนเพื่อน ๆ ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น เพื่อเตรียม


ความพร้อมในการเรียนเรื่องต่อไป

เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนประสบการณ์เดิม โดยใช้ค�ำ ถามกระตุ้นความสนใจ


2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย จากนั้นผู้แทนนักเรียน 2 คน ออกมานำ�เสนอข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหน้าชั้นเรียน

ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน พิจารณาเลขยกกำ�ลังที่มีเลขฐานเป็นจำ�นวนเต็มบวกจากบัตรแสดง


จำ�นวน จากนั้นผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ออกมาเขียนให้อยู่ในรูปการคูณบนกระดาน พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ โดยมีนักเรียน
และครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
4. นักเรียนพิจารณาเลขยกกำ�ลังที่มีเลขฐานเป็นจำ�นวนเต็มลบจากบัตรแสดงจำ�นวน จากนั้นผู้แทนกลุ่ม
กลุ่มละ 1 คน ออกมาเขียนให้อยู่ในรูปการคูณบนกระดาน พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง แล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม
5. นั ก เรี ย นพิ จ ารณาเลขยกกำ � ลั ง ที่ มี เ ลขฐานเป็ น เศษส่ ว น และทศนิ ย ม จากบั ต รแสดงจำ � นวน จากนั้ น
ผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ออกมาเขียนในรูปการคูณบนกระดาน พร้อมทั้งหาคำ�ตอบ โดยมีนักเรียนและครูร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนโจทย์เลขยกกำ�ลังทั้ง 3 แบบ แบบละ 1 ข้อ ลงในกระดาษ แล้วใส่รวมกันใน
กล่องคำ�ถาม โดยผู้แทนกลุ่มออกมาจับโจทย์และร่วมกันหาคำ�ตอบ พร้อมทั้งนำ�เสนอหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและ
ครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน

20
ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

7. นักเรียนทำ�ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อน


เพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
8. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
ค่าของเลขยกกำ�ลังจะเป็นจำ�นวนบวกหรือจำ�นวนลบขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ของเลขฐานและเลขชี้กำ �ลัง
ถ้าเลขฐานของเลขยกกำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก ค่าของเลขยกกำ�ลังจะเป็นจำ�นวนบวก ถ้าเลขฐานเป็นจำ�นวนเต็มลบ
เลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนคู่ ค่าของเลขยกกำ�ลังเป็นบวก แต่ถ้าเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนคี่ ค่าของเลขยกกำ�ลังเป็นลบ และ
ขึ้นอยู่กับสมบัติของจำ�นวนเต็ม

ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

9. นักเรียนนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
10. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำ�งานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำ�งานที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

11. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก ไปช่วยสอนเพื่อน ๆ ให้เข้าใจ


มากยิ่งขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนเรื่องต่อไป

การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการคูณเลขยกกำ�ลัง โดยใช้ค�ำ ถามกระตุ้นความสนใจ


2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย จากนั้นผู้แทนนักเรียน 2 คน ออกมานำ�เสนอข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหน้าชั้นเรียน

ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน พิจารณาสมบัติการคูณเลขยกกำ �ลังและตารางการคูณเลขยกกำ�ลัง


จากนั้นร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มรับแถบโจทย์ กลุ่มละ 1 อัน แล้วร่วมกันพิจารณา จากนั้นส่งผู้แทนกลุ่มออกมาเขียน
แสดงการคูณและหาผลคูณบนกระดาน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง

21
5. นักเรียนพิจารณาการคูณเลขยกกำ�ลังที่เป็นตัวแปรจากแถบโจทย์ แล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถาม
กระตุ้นความคิด
6. นักเรียนผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ออกมาจับสลากเลือกแสดงวิธีการหาผลคูณกลุ่มละ 1 วิธี จากนั้นร่วมกัน
วิเคราะห์แล้วส่งผู้แทนกลุ่มออกมาเขียนแสดงวิธีการหาผลคูณบนกระดาน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง
7. นักเรียนพิจารณาแถบโจทย์การคูณเลขยกกำ�ลังที่ฐานไม่เป็นจำ�นวนเดียวกันแล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้
คำ�ถามกระตุ้นความคิด จากนั้นผู้แทนนักเรียน 2 คนออกมาเขียนแสดงวิธีการคูณบนกระดาน โดยมีนักเรียนและครู
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
8. นักเรียนแต่ละกลุ่มรับแถบโจทย์การคูณเลขยกกำ�ลังที่เป็นตัวแปร และการคูณเลขยกกำ�ลังที่ฐานไม่เป็น
จำ�นวนเดียวกัน กลุ่มละ 3 ข้อ แล้วร่วมกันหาผลคูณ จากนั้นผู้แทนกลุ่มออกมาเขียนแสดงวิธีการหาผลคูณบนกระดาน
โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง แล้วร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน

ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

9. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันเขียนโจทย์การคูณกันของเลขยกกำ�ลัง กลุ่มละ 3 โจทย์ พร้อมทั้งแสดงการหา


ผลคูณลงในกระดาษ จากนั้นสลับผลงานกับกลุ่มข้าง ๆ เพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
10. นักเรียนทำ�ใบงานที่ 2 เรื่อง การคูณเลขยกกำ �ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ �ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
จากนั้นสลับผลงานกับเพื่อนเพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
11. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
การคูณของเลขยกกำ�ลัง ถ้าเลขฐานของเลขยกกำ�ลังที่คูณกันเป็นจำ�นวนเดียวกันให้นำ�เลขชี้ก�ำ ลังมาบวกกัน
ซึ่งเป็นไปตามสมบัติการคูณเลขยกกำ�ลัง ถ้า a เป็นจำ�นวนใด ๆ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว am × an = am+n
ถ้าฐานของเลขยกกำ�ลังที่คูณกันเป็นจำ�นวนเดียวกัน แล้วผลคูณที่ได้สามารถเขียนในรูปเลขยกกำ�ลังที่มีฐาน
เป็นจำ�นวนเดิม และเลขชี้กำ�ลังหาได้จากการบวกเลขชี้กำ�ลังของตัวตั้งและเลขชี้กำ�ลังของตัวคูณ ซึ่งเป็นไปตามสมบัติ
การคูณเลขยกกำ�ลัง ถ้า a เป็นจำ�นวนใด ๆ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว am × an = am+n

ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

12. นักเรียนนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง


13. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำ�งานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำ�งานที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

14. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับการคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก ไปช่วย


สอนเพื่อน ๆ ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น หรือนำ�ไปเผยแพร่โดยการจัดป้ายนิเทศ

22
การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับการคูณเลขยกกำ�ลังในรูปของฐานแบบต่าง ๆ โดยใช้คำ�ถามกระตุ้น
ความคิด
2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย จากนั้นผู้แทนนักเรียน 2 คน ออกมานำ�เสนอข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหน้าชั้นเรียน

ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นักเรียนพิจารณาสมบัติของการหารเลขยกกำ�ลัง จากนั้นร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้ค�ำ ถามกระตุ้นความคิด


4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน รับแถบโจทย์การหารเลขยกกำ �ลังที่มีฐานเท่ากันและฐานไม่ใช่ศูนย์
กลุ่มละ 1 ข้อ แล้วร่วมกันวิเคราะห์ จากนั้นผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีการหารและหาคำ�ตอบ
บนกระดาน แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มรับแถบโจทย์การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเท่ากันกลุ่มละ 1 ข้อ
แล้วร่วมกันวิเคราะห์ จากนั้นผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีการหารและหาคำ�ตอบบนกระดาน แล้ว
ร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มรับแถบโจทย์การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังของตัวตั้งน้อยกว่า
เลขชี้กำ�ลังของตัวหาร กลุ่มละ 1 ข้อ แล้วร่วมกันวิเคราะห์ จากนั้นผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีการหาร
และหาคำ�ตอบบนกระดาน แล้วร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
7. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการหารเลขยกกำ�ลังทั้ง 3 กรณี โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด
จากนั้นร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน

ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

8. นักเรียนทำ�ใบงานที่ 3 เรื่อง การหารเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากนั้น


สลับผลงานกับเพื่อนเพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
9. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
การหารเลขยกกำ�ลังสามารถนำ�เลขชี้กำ�ลังมาลบกันและขึ้นอยู่กับค่าของเลขชี้กำ�ลังว่าจะดำ�เนินการตาม
กรณีใด
เมื่อ a เป็นจำ�นวนใด ๆ และ m, n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว
m
1. ถ้า m = n และ a ≠ 0 แล้ว an = a0 = 1 3. ถ้า m < n และ a ≠ 0
a m
2. ถ้า m > n และ a ≠ 0 an = n-m 1
m a a
an = am-n
a

23
ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

10. นักเรียนนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง


11. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำ�งานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำ�งานที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

12. นั ก เรี ย นนำ � ความรู้ เ กี่ ย วกั บ การหารเลขยกกำ � ลั ง ที่ มี ฐ านเดี ย วกั น และเลขชี้ กำ � ลั ง เป็ น จำ � นวนเต็ ม บวก
ไปช่วยสอนเพื่อน ๆ ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนเรื่องต่อไป

การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนสนทนาทบทวนเรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด


2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย

ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นั ก เรี ย นร่ ว มกั น แสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การแสดงวิ ธี ก ารหาผลลั พ ธ์ ข องการคู ณ และการหาร
เลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด
4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน รับแถบโจทย์การคูณและการหารเลขยกกำ �ลังเมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก กลุ่มละ 3-4 ข้อ แล้วร่วมกันวิเคราะห์ จากนั้นผู้แทนกลุ่มครั้งละ 1 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีการหา
ผลลัพธ์และหาคำ�ตอบ โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนโจทย์การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก กลุ่มละ
1 ข้อ ลงในกระดาษ แล้วนำ�มาใส่กล่อง จากนั้นผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ออกมาจับโจทย์ในกลุ่ม กลุ่มละ 1 ข้อ
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และหาคำ�ตอบจากโจทย์ที่จับได้ แล้วส่งผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน เขียน
แสดงวิธีการหาผลลัพธ์บนกระดาน จากนั้นร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน

24
ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

7. นักเรียนทำ�ใบงานที่ 4 เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากนั้น


สลับผลงานกับเพื่อนเพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
8. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
การคูณและการหารเลขยกกำ�ลัง เมื่อเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก ทำ�ได้โดยใช้สมบัติการคูณเลขยกกำ�ลัง
และสมบัติการหารเลขยกกำ�ลัง

ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

9. นักเรียนนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
10. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำ�งานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำ�งานที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

11. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับการคูณและการหารเลขยกกำ�ลังเมื่อเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก ไปช่วยสอน


เพื่อน ๆ ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนเรื่องต่อไป

การใช้เลขยกกำ�ลังแสดงจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนร่วมกันสนทนาเกีย่ วกับการเขียนเลขยกกำ�ลังแทนจำ�นวนทีม่ คี า่ มาก ๆ และค่าทีน่ อ้ ย ๆ โดยใช้คำ�ถาม


กระตุ้นความคิด
2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวกและนำ�ความรู้เกี่ยวกับ
เลขยกกำ�ลังไปใช้ในการแก้ปัญหา จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย

ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นักเรียนร่วมกันพิจารณาข้อความแสดงจำ�นวนที่มีค่ามาก ๆ 3 ข้อบนกระดาน จากนั้นร่วมกันตอบคำ�ถาม


โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด
4. นักเรียนผู้แทน 3 คน ออกมาเขียนตัวเลขแสดงค่าของจำ�นวนที่มีค่ามากในรูปเลขยกกำ�ลัง จากนั้นร่วมกัน
ตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด

25
5. นักเรียนร่วมกันพิจารณาจำ�นวนที่มีค่าน้อย ๆ 3 ข้อบนกระดาน จากนั้นร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถาม
กระตุ้นความคิด
6. นักเรียนผู้แทน 3 คน ออกมาเขียนตัวเลขแสดงค่าของจำ�นวนที่มีค่าน้อย ๆ ในรูปเลขยกกำ�ลัง จากนั้น
ร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด
7. นักเรียนแบ่งเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆ กัน แล้วสลับกันเขียนโจทย์ จำ�นวนที่มีค่ามากและจำ�นวนที่มีค่าน้อย 3-5 ข้อ
ให้อีกกลุ่มส่งผู้แทนกลุ่มครั้งละ 1 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีการเขียนให้อยู่ในรูปเลขยกกำ�ลัง โดยมีนักเรียนและครู
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน

ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

8. นักเรียนทำ�ใบงานที่ 5 เรื่อง การใช้เลขยกกำ�ลังแสดงจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ จากนั้นสลับผลงาน


กับเพื่อนเพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
9. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
รูปมาตรฐานของเลขยกกำ�ลัง A × 10n เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เป็นจำ�นวนเต็มหรือเรียกว่า “สัญกรณ์
วิทยาศาสตร์” สามารถเขียนแทนจำ�นวนที่มีค่ามากหรือมีค่าน้อยได้

ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

10. นักเรียนนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง


11. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำ�งานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำ�งานที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

12. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับการใช้เลขยกกำ�ลังแสดงจำ�นวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ไปช่วยสอนเพื่อน ๆ


ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น และนำ�ไปเผยแพร่โดยจัดป้ายนิเทศในโรงเรียน
13. นักเรียนประเมินตนเองหลังการเรียน ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
• นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนรู้ในวันนี้หรือไม่ เพียงใด
• นักเรียนจะนำ�ความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไปได้อย่างไร
จากนัน้ แลกเปลีย่ นตรวจสอบขัน้ ตอนการทำ�งานทุกขัน้ ตอนว่าจะเพิม่ คุณค่าไปสูส่ งั คม เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม
ให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำ�หรับการทำ�งานในครั้งต่อไป

26
สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้

1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1


ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. ตารางแสดงลักษณะเลขยกกำ�ลัง
3. บัตรแสดงจำ�นวน
4. ตารางการคูณเลขยกกำ�ลัง
5. แถบโจทย์
6. กล่องเปล่า
7. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

27
แบบทดสอบก่ออนเรี
แบบทดสอบก่ นเรียยนน (Pre-Test)
(Pre-Test)

ได้ คะแนน
ชื่อ เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน

นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน หน้าคำ�ตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง
1. (-7)(-7)(-7)(-7) เขียนในรูปเลขยกกำ�ลังได้ดังข้อใด
1 (-7)
2 (-7)7
3 (-7)4
4 -74
2. an หมายถึงข้อใด
1 a × a × a × … × a (n ตัว)
2 a + a + a + … + a (n ตัว)
3 n + n + n + … + n (n ตัว)
4 n × n × n × … × n (n ตัว)
3. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1 a0 = 1
2 am × an = am+n
3 a1 = 0
4 an = 1-n
a
23
4. (b ) หมายถึงข้อใด
1 b 2 × b2 × b2
2 b 2 + b2 + b2
3 b 3 × b3 × b3
4 b 3 + b3 + b3
5. a6b3 - (a2b)3 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1 0
2 1
3 2
4 3

28
6. (625)2n เท่ากับเท่าใด
1 54n
2 56n
3 58n
4 510n
7. m1,599 × m เท่ากับเท่าใด
1 m1,599
2 m1,600
3 2m1,599
4 2m1,600
8. ผลลัพธ์ของ (3p2)(3p)2(p12) เป็นเท่าใด
1 9p14
2 9p16
3 27p14
4 27p16
2 -5 2
9. ค่าของ (2 × 10 ) × (310×2 10 ) เป็นเท่าใด
(6 × 10 )
1 12 × 10 -4

2 12 × 10-16
3 12 × 10-28
4 12 × 10-30
10. (-955) × (-9125) เท่ากับเท่าใด
1 81180
2 81-180
3 -9180
4 9180

29
แบบทดสอบหลั
แบบทดสอบก่องนเรี
เรียยนน(Post-Test)
(Pre-Test)

ได้ คะแนน
ชื่อ เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน

นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน หน้าคำ�ตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง
1. an หมายถึงข้อใด
1 a × a × a × … × a (n ตัว)
2 a + a + a + … + a (n ตัว)
3 n + n + n + … + n (n ตัว)
4 n × n × n × … × n (n ตัว)
2. (-7)(-7)(-7)(-7) เขียนในรูปเลขยกกำ�ลังได้ดังข้อใด
1 (-7)
2 (-7)7
3 (-7)4
4 -74
3. (b2)3 หมายถึงข้อใด
1 b 2 × b2 × b2
2 b 2 + b2 + b2
3 b 3 × b3 × b3
4 b 3 + b3 + b3
4. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1 a0 = 1
2 am × an = am+n
3 a1 = 0
4 an = 1-n
a
2n
5. (625) เท่ากับเท่าใด
1 54n
2 56n
3 58n
4 510n

30
6. a6b3 - (a2b)3 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1 0
2 1
3 2
4 3
7. ผลลัพธ์ของ (3p2)(3p)2(p12) เป็นเท่าใด
1 9p14
2 9p16
3 27p14
4 27p16
8. m1,599 × m เท่ากับเท่าใด
1 m1,599
2 m1,600
3 2m1,599
4 2m1,600
9. (-955) × (-9125) เท่ากับเท่าใด
1 81180
2 81-180
3 -9180
4 9180
2 -5 2
10. ค่าของ (2 × 10 ) × (310×2 10 ) เป็นเท่าใด
(6 × 10 )
1 12 × 10-4
2 12 × 10-16
3 12 × 10-28
4 12 × 10-30

31
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)
1. 3 2. 1
3. 3 4. 1
5. 1 6. 3
7. 2 8. 4
9. 3 10. 3

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)
1. 1 2. 3
3. 1 4. 3
5. 3 6. 1
7. 4 8. 2
9. 3 10. 3

32
แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้ส�ำ หรับผู้เรียน

ชื่อ-นามสกุล เลขที่ ชั้น


วันที่ เดือน พ.ศ.
คำ�ชี้แจง นักเรียนบันทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้นี้

นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร
หลังจากทีเ่ รียนหน่วยการเรียนรูน้ แ้ี ล้ว
นักเรียนยังไม่เข้าใจเรื่องใดอีกบ้าง นักเรียนได้รับความรู้เรื่องใดบ้าง
ที่เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้นี้ จากหน่วยการเรียนรู้นี้
ซึ่งต้องการให้ครูอธิบายเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
เลขยกกำ�ลัง

นักเรียนจะสามารถนำ�ความรู้ นักเรียนได้ทำ�กิจกรรมอะไรบ้าง
ความเข้าใจจากหน่วยการเรียนรู้นี้ ในหน่วยการเรียนรู้นี้
ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วัน ผลงานที่นักเรียนชอบและต้องการ
ได้อย่างไรบ้าง คัดเลือกเป็นผลงานดีเด่นจาก
หน่วยการเรียนรู้นี้คือผลงานใดบ้าง
เพราะอะไร

หมายเหตุ ครูส�ำ เนาแบบบันทึกนี้เพื่อให้นักเรียนบันทึกทุกหน่วยการเรียนรู้


1. ครูสามารถนำ�แบบบันทึกนี้ไปใช้เป็นหลักฐานและข้อมูลเพื่อปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
2. ครูสามารถนำ�แบบบันทึกนี้ีไปใช้ประกอบการทำ�วิจัยในชั้นเรียนเพื่อเป็นผลงานประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได้
33
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เลขยกกำ�ลัง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน
และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก : 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวกในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับการคูณของเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มได้ (K)
2. แสดงการคูณและหาผลลัพธ์ของการคูณของเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มได้ (P)
3. ตระหนักและเห็นความสำ�คัญของการคูณของเลขยกกำ�ลัง (A)
4. มีความกระตือรือร้นสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน (A)

สาระสำ�คัญ
การคูณของเลขยกกำ�ลังถ้าเลขฐานของเลขยกกำ�ลังที่คูณกันเป็นจำ�นวนเดียวกันให้นำ�เลขชี้กำ�ลังมาบวกกัน
ซึ่งเป็นไปตามสมบัติการคูณเลขยกกำ�ลัง ถ้า a เป็นจำ�นวนใด ๆ
m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว am × an = am+n

สาระการเรียนรู้
���������������������������������������������
เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

34
สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การคิดวิเคราะห์
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้

คำ�ถามสำ�คัญ
นักเรียนคิดว่าการคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน ใช้วิธีใดที่ง่ายและรวดเร็วที่สุด

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการคูณเลขยกกำ�ลัง โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความสนใจ ดังนี้


• จำ�นวนที่อยู่ในรูปของเลขยกกำ�ลัง 2 จำ�นวน สามารถนำ�มาดำ�เนินการ บวก ลบ คูณ หรือหารกันได้
หรือไม่ (ได้)
• นักเรียนคิดว่าใช้วิธีการใด (ตัวอย่างคำ�ตอบ นำ�เลขฐานคูณกันและเลขชี้กำ�ลังคูณกัน นำ�เลขฐานบวกกันและ
เลขชี้กำ�ลังคูณกัน นำ�เลขฐานคูณกันและเลขชี้กำ�ลังบวกกัน)
2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย เช่น ห้องสมุด การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรียน หรือจากอินเทอร์เน็ต จากนั้นผู้แทนนักเรียน 2 คน ออกมา
นำ�เสนอข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหน้าชั้นเรียน

กิจกรรมนี้สร้างเสริมค่านิยมหลัก 12 ประการ ด้านใฝ่หาความรู้

35
ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน พิจารณาสมบัติการคูณเลขยกกำ�ลังและตารางการคูณเลขยกกำ�ลัง ดังนี้


สมบัติการคูณเลขยกกำ�ลัง
ถ้า a เป็นจำ�นวนใด ๆ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว
am × an = am+n
ตารางการคูณเลขยกกำ�ลัง
การคูณ เขียนเลขยกกำ�ลังในรูปกระจาย ผลคูณ เขียนเลขชี้ก�ำ ลัง
ของเลขยกกำ�ลัง ของผลคูณในรูปการบวก
23 × 22 (2 × 2 × 2) × (2 × 2) 25 23+2
a4 × a 2 (a × a × a × a) × (a × a) a6 a4+2
. . . .
. . . .
. . . .
am × an (a × a × a × a × … × a) × (a × a × … × a) am+n am+n
m ตัว n ตัว

จากนั้นร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด ดังนี้


• เลขยกกำ�ลังที่นำ�มาคูณกัน เลขฐานมีค่าเป็นอย่างไร (เป็นจำ�นวนเดียวกัน)
• การคูณเลขยกกำ�ลังสามารถแสดงให้อยู่ในรูปการคูณแบบใดได้บ้าง (รูปผลคูณ รูปกระจาย เขียนเลขชี้ก�ำ ลัง
ผลคูณในรูปการบวก)
• เลขชี้กำ�ลังของผลคูณเลขยกกำ�ลังมีความสัมพันธ์กับเลขชี้กำ�ลังของตัวตั้งและตัวคูณอย่างไร
(เลขชี้กำ�ลังของผลคูณจะเท่ากับเลขชี้กำ�ลังของตัวตั้งบวกกับเลขชี้ก�ำ ลังของตัวคูณ)
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มรับแถบโจทย์ กลุ่มละ 1 อัน แล้วร่วมกันพิจารณา จากนั้นส่งผู้แทนกลุ่มออกมาเขียน
แสดงการคูณและหาผลคูณบนกระดาน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ดังตัวอย่าง
1) 23 × 22
วิธีท�
ำ เนื่องจากเลขฐานทั้ง 2 จำ�นวนเท่ากัน จะได้
23 × 22 = 23+2
= 25
ตรวจสอบ 25 = 32
จาก 23 = 2 × 2 × 2
22 = 2 × 2
23 × 22 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2
= 32
แสดงว่า 2 × 2 = 32 = 25 เป็นจริง
3 2

36
2) 33 × 32
วิธีท�
ำ เนื่องจากเลขฐานทั้ง 2 จำ�นวนเท่ากัน จะได้
33 × 32 = 33+2
= 35
ตรวจสอบ 35 = 243
จาก 33 = 3 × 3 × 3
32 = 3 × 3
33 × 32 = 3 × 3 × 3 × 3 × 3
= 243
แสดงว่า 3 × 3 = 243 = 35 เป็นจริง
3 2

5. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด ดังนี้


• การคูณเลขยกกำ�ลังเมื่อฐานทั้งสองเท่ากันมีวิธีการคูณอย่างไร (นำ�เลขชี้กำ�ลังมาบวกกัน)
• ผลคูณจากการกระจายแล้วคูณกันกับการนำ�เลขชี้กำ�ลังมาบวกกันมีค่าของผลลัพธ์เป็นอย่างไร
(มีค่าเท่ากัน)
• นักเรียนคิดว่าการคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน ใช้วิธีใดที่ง่ายและรวดเร็วที่สุด
(ตัวอย่างคำ�ตอบ ใช้สมบัติการคูณเลขยกกำ�ลัง)

ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันเขียนโจทย์การคูณกันของเลขยกกำ�ลัง กลุ่มละ 3 โจทย์ พร้อมทั้งแสดงการหา


ผลคูณลงในกระดาษ จากนั้นสลับผลงานกับกลุ่มข้าง ๆ เพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
7. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
การคูณของเลขยกกำ�ลัง ถ้าเลขฐานของเลขยกกำ�ลังที่คูณกันเป็นจำ�นวนเดียวกันให้น�ำ เลขชี้กำ�ลังมาบวกกัน
ซึ่งเป็นไปตามสมบัติการคูณเลขยกกำ�ลัง ถ้า a เป็นจำ�นวนใด ๆ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว am × an = am+n

ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

8. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำ�งานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำ�งานที่มีแบบแผน

ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

10. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับการคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก ไปช่วย


สอนเพื่อน ๆ ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนเรื่องต่อไป

37
11. นักเรียนประเมินตนเองหลังการเรียน ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
• นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนรู้ในวันนี้หรือไม่ เพียงใด
• นักเรียนจะนำ�ความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไปได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทำ �งานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สังคม เกิดประโยชน์
ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำ�หรับการทำ�งานในครั้งต่อไป

สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. ตารางการคูณเลขยกกำ�ลัง
3. แถบโจทย์
4. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

การประเมินการเรียนรู้
1. ประเมินความรู้เรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก (K)
ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทำ�งานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ (A) ด้วยแบบประเมิน

แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทำ�งานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
กระบวนการทำ�งานกลุ่ม มีการกำ�หนดบทบาท มีการกำ�หนดบทบาท มีการกำ�หนดบทบาท ไม่มีการกำ�หนด
สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า ไม่มี บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย การชี้แจงเป้าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทำ�งาน มีการ อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ต่างคนต่างทำ�งาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ
เป็นระยะ ๆ

38
ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

ลงชื่อ
( )
ตำ�แหน่ง

บันทึกหลังการสอน
ผลการจัดการเรียนการสอน

ปัญหา/อุปสรรค

แนวทางแก้ไข

ครูผู้สอน
( )
วันที่บันทึก

39
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เลขยกกำ�ลัง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน
และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก : 2
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของจำ�นวน
ผลที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนินการ สมบัติของการดำ�เนินการ และนำ�ไปใช้
ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวกในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกับการคูณของเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มได้ (K)
2. แสดงการคูณและหาผลลัพธ์ของการคูณของเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มได้ (P)
3. ตระหนักและเห็นความสำ�คัญของการคูณของเลขยกกำ�ลัง (A)
4. มีความกระตือรือร้นสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน (A)

สาระสำ�คัญ
ถ้าฐานของเลขยกกำ�ลังที่คูณกันเป็นจำ�นวนเดียวกัน แล้วผลคูณที่ได้สามารถเขียนในรูปเลขยกกำ�ลังที่มีฐาน
เป็นจำ�นวนเดิม และเลขชี้กำ�ลังหาได้จากการบวกเลขชี้ก�ำ ลังของตัวตั้งและเลขชี้กำ�ลังของตัวคูณ ซึ่งเป็นไป
ตามสมบัติการคูณเลขยกกำ�ลัง ถ้า a เป็นจำ�นวนใด ๆ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว
am × an = am+n

สาระการเรียนรู้
���������������������������������������������
เลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

40
สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
- การคิดวิเคราะห์
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทำ�งาน

คำ�ถามสำ�คัญ
นักเรียนคิดว่าถ้าเลขยกกำ�ลังที่น�ำ มาคูณกันมีเลขฐานไม่เท่ากัน จะหาผลคูณของเลขยกกำ�ลังนั้นอย่างไร

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering)

1. นักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการคูณเลขยกกำ�ลัง โดยใช้ค�ำ ถามกระตุ้นความคิด ดังนี้


• การคูณเลขยกกำ�ลังสามารถแสดงให้อยู่ในรูปการคูณแบบใดได้บ้าง (รูปผลคูณ รูปกระจาย เขียนเลขชี้ก�ำ ลัง
ผลคูณในรูปการบวก)
• สมบัติการคูณเลขยกกำ�ลังว่าอย่างไร (ถ้า a เป็นจำ�นวนใด ๆ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว
am x an = am+n )
2. นักเรียนศึกษา รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเลขยกกำ�ลังที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย เช่น ห้องสมุด การสนทนากับเพื่อนในชั้นเรียน หรือจากอินเทอร์เน็ต จากนั้นผู้แทนนักเรียน 2 คน ออกมา
นำ�เสนอข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมหน้าชั้นเรียน

41
ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)

3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน พิจารณาการคูณเลขยกกำ�ลังที่เป็นตัวแปรจากแถบโจทย์ ดังนี้


a2b3 × a3 b
จากนั้นนักเรียนร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้ค�ำ ถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
• นักเรียนจะหาผลคูณได้โดยวิธีใดบ้าง (วิธีกระจายค่าของแต่ละจำ�นวนและวิธีนำ�เลขชี้กำ�ลังที่ฐานเหมือนกัน
มาบวกกัน)
4. นักเรียนผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน ออกมาจับสลากเลือกแสดงวิธีการหาผลคูณกลุ่มละ 1 วิธี จากนั้นร่วมกัน
วิเคราะห์แล้วส่งผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน เขียนแสดงวิธีการหาผลคูณบนกระดาน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง ดังนี้
วิธีที่ 1 a2b3 × a3b = (a × a × b × b × b) × (a × a × a × b)
= (a × a × a × a × a) × (b × b × b × b)
= a5 × b4
= a5b4
วิธีที่ 2 a2b3 × a3b = a2 × b3 × a3 × b
= a2 × a3 × b3 × b
= a2+3 × b3+1
= a5b4
จากนั้นร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
• ทั้งสองวิธีได้ผลลัพธ์ของการคูณเท่ากันหรือไม่ (เท่ากัน)
• จำ�นวน b ใน a3b มีเลขชี้กำ�ลังเท่ากับเท่าใด (เท่ากับ 1)
• นักเรียนคิดว่าถ้าเลขยกกำ�ลังที่น�ำ มาคูณกันมีเลขฐานไม่เท่ากัน จะหาผลคูณของเลขยกกำ�ลังนั้นอย่างไร
(เขียนอยู่ในรูปการคูณเลขยกกำ�ลัง)
5. นักเรียนพิจารณาแถบโจทย์การคูณเลขยกกำ�ลังที่ฐานไม่เป็นจำ�นวนเดียวกันทั้ง 2 ข้อ ดังนี้
1) 25 × 53 2) (-2)2 × 23
จากนั้นร่วมกันตอบคำ�ถาม โดยใช้คำ�ถามกระตุ้นความคิด ดังนี้
• เลขฐานเป็นจำ�นวนเดียวกันหรือไม่ (ไม่)
• สามารถเปลี่ยนให้ฐานเป็นจำ�นวนเดียวกันได้หรือไม่ (ได้)
6. นักเรียนผู้แทน 2 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีการคูณบนกระดาน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง ดังนี้

42
1) 25 × 53
วิธีท�
ำ เนื่องจาก 25 = 52
จะได้ 25 × 53 = 52 × 53
= 52+3
= 55
2) (-2)2 × 23
วิธีท�ำ เนื่องจาก (-2)2 = (-2) × (-2)
= 22
จะได้ (-2)2 × 23 = 22 × 23
= 22+3
= 25
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มรับแถบโจทย์การคูณเลขยกกำ�ลังที่เป็นตัวแปร และการคูณเลขยกกำ�ลังที่ฐานไม่เป็น
จำ�นวนเดียวกัน กลุ่มละ 3 ข้อ แล้วร่วมกันหาผลคูณ จากนั้นผู้แทนกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ออกมาเขียนแสดงวิธีการหา
ผลคูณบนกระดาน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
กิจกรรมนี้สร้างเสริมทักษะศตวรรษที่ 21 ด้านการร่วมมือทำ�งานเป็นทีม
8. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันว่า สามารถหาผลคูณเลขยกกำ�ลังได้โดยวิธีกระจายค่า
ของแต่ละจำ�นวน และวิธีนำ�เลขชี้กำ�ลังที่ฐานเหมือนกันมาบวกกัน ถ้าเลขยกกำ�ลังที่นำ�มาคูณกันมีฐานไม่เป็นจำ�นวนเดียวกัน
ถ้าสามารถเปลี่ยนให้ฐานเป็นจำ�นวนเดียวกัน ก็จะใช้สมบัติของการคูณเลขยกกำ�ลังได้

ขั้นป ิบัติและสรุปความรู้หลังการป ิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)

9. นักเรียนทำ�ใบงานที่ 2 เรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก จากนั้น


สลับผลงานกับเพื่อนเพื่อร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
10. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
ถ้าฐานของเลขยกกำ�ลังที่คูณกันเป็นจำ�นวนเดียวกัน แล้วผลคูณที่ได้สามารถเขียนในรูปเลขยกกำ�ลังที่มีฐาน
เป็นจำ�นวนเดิม และเลขชี้กำ�ลังหาได้จากการบวกเลขชี้กำ�ลังของตัวตั้งและเลขชี้กำ�ลังของตัวคูณ ซึ่งเป็นไปตามสมบัติ
การคูณเลขยกกำ�ลัง ถ้า a เป็นจำ�นวนใด ๆ m และ n เป็นจำ�นวนเต็มบวกแล้ว
am × an = am+n

ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ (Applying the Communication Skill)

11. นักเรียนนำ�เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยมีนักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง


12. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับวิธีการทำ�งานให้เห็นการคิดเชิงระบบและวิธีการทำ�งานที่มีแบบแผน

43
ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)

13. นักเรียนนำ�ความรู้เกี่ยวกับการคูณเลขยกกำ�ลังไปช่วยสอนเพื่อน ๆ ให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น หรือนำ�ไปเผยแพร่


โดยการจัดป้ายนิเทศ
14. นักเรียนประเมินตนเองหลังการเรียน ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
• นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนรู้ในวันนี้หรือไม่ เพียงใด
• นักเรียนจะนำ�ความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทั่วไปได้อย่างไร
จากนัน้ แลกเปลีย่ นตรวจสอบขัน้ ตอนการทำ�งานทุกขัน้ ตอนว่าจะเพิม่ คุณค่าไปสูส่ งั คม เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม
ให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง สำ�หรับการทำ�งานในครั้งต่อไป

สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. แถบโจทย์
3. แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

การประเมินการเรียนรู้
1. ประเมินความรู้เรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก (K)
ด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินกระบวนการทำ�งานกลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน
3. ประเมินใบงานเรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก (P)
ด้วยแบบประเมิน
4. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำ�งาน (A) ด้วยแบบประเมิน

44
แบบประเมินตามสภาพจริง (Rubrics)
แบบประเมินกระบวนการทำ�งานกลุ่ม
ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
กระบวนการทำ�งานกลุ่ม มีการกำ�หนดบทบาท มีการกำ�หนดบทบาท มีการกำ�หนดบทบาท ไม่มีการกำ�หนด
สมาชิกชัดเจน และ สมาชิกชัดเจน เฉพาะหัวหน้า ไม่มี บทบาทสมาชิก
มีการชี้แจงเป้าหมาย มีการชี้แจงเป้าหมาย การชี้แจงเป้าหมาย และไม่มีการชี้แจง
การทำ�งาน มีการ อย่างชัดเจนและ อย่างชัดเจน เป้าหมาย สมาชิก
ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ปฏิบัติงานร่วมกัน ต่างคนต่างทำ�งาน
อย่างร่วมมือร่วมใจ แต่ไม่มีการประเมิน ไม่ครบทุกคน
พร้อมกับการประเมิน เป็นระยะ ๆ
เป็นระยะ ๆ

แบบประเมินใบงานเรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้ก�ำ ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก

ระดับคุณภาพ
รายการการประเมิน
4 3 2 1
การแสดงการคูณและหา แสดงการคูณและหา แสดงการคูณและหา แสดงการคูณและหา แสดงการคูณและหา
ผลคูณเลขยกกำ�ลัง ผลคูณเลขยกกำ�ลัง ผลคูณเลขยกกำ�ลัง ผลคูณเลขยกกำ�ลัง ผลคูณเลขยกกำ�ลัง
ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้กำ�ลังเป็น ที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็น ที่มีเลขชี้ก�ำ ลังเป็น
จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวก จำ�นวนเต็มบวกได้ จำ�นวนเต็มบวกได้
ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ได้ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ ไม่ถูกต้องครบทุกข้อ
ด้วยวิธีการ ด้วยวิธีการตามลำ�ดับ โดยจะต้องดูตัวอย่าง โดยครูต้องแนะนำ�
ตามลำ�ดับขั้นตอน ขั้นตอนด้วยตนเอง จากหนังสือและ อธิบายข้อที่ทำ�
ด้วยตนเองและ ให้เพื่อนอธิบาย ไม่ถูกต้องและดู
อธิบายตัวอย่าง จึงสามารถทำ� ตัวอย่างจากหนังสือ
แนะนำ�เพื่อนให้เข้าใจ ได้ถูกต้อง ประกอบจึงทำ�
ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง

45
ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา

ลงชื่อ
( )
ตำ�แหน่ง

บันทึกหลังการสอน
ผลการจัดการเรียนการสอน

ปัญหา/อุปสรรค

แนวทางแก้ไข

ครูผู้สอน
( )
วันที่บันทึก

46
ใบงานที่ 2 เรื่อง การคูณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
วันที่ เดือน พ.ศ. ได้ คะแนน
ชื่อ เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน

เขียนผลคูณต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำ�ลัง (10 คะแนน)

1. 22 × 25 = 2. (-9)2 × 93 =
= =
= =

3. a2 × a5 = 4. m10 × m2 × m3 =
= =
= =

() () ()
5. 14 × 14 × 14
2 3 4
= 6. (0.5)5 × (0.5)8 =
= =
= =

7. 16 × 23 × 24 = 8. 125 × 53 =
= =
= =

9. (x + y)5 × (x + y)4 = 10. b3n+1 × b2 =


= =
= =

47
่ เรื การคู
เฉลยใบงานที 2 ่อง ณเลขยกกำ�ลังที่มีฐานเดียวกัน และเลขชี้กำ�ลังเป็นจำ�นวนเต็มบวก
วันที่ เดือน พ.ศ. ได้ คะแนน
ชื่อ เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน

เขียนผลคูณต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำ�ลัง (10 คะแนน)

1. 22 × 25 = 22+5 2. (-9)2 × 93 = 92 × 93
= 27 = 92+3
= = 95

3. a2 × a5 = a2+5 4. m10 × m2 × m3 = m10+2+3


= a7 = m15
= =

() () ()
5. 14 × 14 × 14
2 3 4
= (41 )2+3+4
6. (0.5)5 × (0.5)8 = (0.5)5+8
= ( 41 ) 9
= (0.5)13
= =

7. 16 × 23 × 24 = 24 × 23 × 24 8. 125 × 53 = 53 × 53
= 24+3+4 = 53+3
= 211 = 56

9. (x + y)5 × (x + y)4 = (x + y)5+4 10. b3n+1 × b2 = b3n+1+2


= (x + y)9 = b3n+3
= =

48

You might also like