You are on page 1of 3

1

หลักสูตรการดูแลสุขภาพและความงามสตรีหลังเรือนไฟ 150 ชั่วโมง

1. ชื่อหลักสูตร
(ภาษาไทย) การดูแลสุขภาพและความงามสตรีหลังเรือนไฟ 150 ชั่วโมง
(ภาษาอังกฤษ) Health and Beauty for Postpartum Care 150 Hours

2. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1. มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการและทฤษฎีการดูแลสุขภาพและความงามสตรีหลังเรือนไฟ
2. มีทักษะการดูแลสุขภาพและความงามสตรีหลังเรือนไฟอย่างถูกวิธี
3. มีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและความงามสตรีหลังเรือนไฟ
4. มีคุณธรรม จริยธรรม มารยาทในการประกอบอาชีพ
5. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับ
การให้บริการ
6. เพื่ อ ให้ ส ามารถประกอบอาชี พ เป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารดู แ ลสุ ข ภาพและความงามสตรี ห ลั ง เรื อ นไฟ
ในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ

3. โครงสร้างหลักสูตร
(ตามเอกสารแนบท้ายหลักสูตร)

4. คาอธิบายหลักสูตร
หลักสูตรที่ต้องผ่านมาก่อน : หลักสูตรนวดไทยเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 ชั่วโมงที่กรมสนับสนุน
บริการสุขภาพรับรอง
ศึกษากายวิภาคศาสตร์ทั่วไป กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ การให้คาปรึกษาและมีทักษะ
ในการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมะกับสมาธิเพื่อสุขภาพ ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย การดูแลสตรีหลังเรือนไฟ
ทั่วไปและเพื่อความงาม และการดูแลตามศาสตร์และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การนวด การใช้
สมุนไพร โภชนาการที่ถูกต้องเหมาะสม และฝึกทักษะการปฏิบัติในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ
หรือหน่วยงานที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพเห็นชอบ

5. เนื้อหาของหลักสูตร
(ตามเอกสารแนบท้ายหลักสูตร)

6. การจัดเวลาและตารางสอน
ให้เป็นไปตามหน่วยงานที่ขอรับรองหลักสูตรกาหนด และเป็นการจัดการเรียนการสอนต่อเนื่อง

7. จานวนชั่วโมงที่เรียนตลอดหลักสูตร 150 ชั่วโมง


2

8. คุณสมบัติผู้เรียน ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน ดังนี้


1. เป็นผู้ที่มีอายุไม่ต่ากว่า ๑๘ ปี
2. สาเร็จการอบรมหลักสูตรนวดไทยเพื่อสุขภาพไม่น้อยกว่า 150 ชั่วโมงที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
รับรอง
3. เป็นผู้ที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจไม่เป็นอุปสรรคต่อการอบรมและการปฏิบัติงาน

9. คุณสมบัติวิทยากรผู้สอน
(ตามเอกสารแนบท้ายหลักสูตร)
10. เกณฑ์การประเมินผล
1. จะต้องมีเวลาเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน
2. เกณฑ์การตัดสินต้องผ่านการทดสอบภาคทฤษฎีด้วยคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
และภาคปฏิบัติด้วยคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ฝึกปฏิบัติภาคสนาม ไม่น้อยกว่า 10 ราย

11. วิธีการประเมินผล
1. การทดสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
2. การทดสอบการปฏิบัติงานภาคสนาม

12. เอกสารประกอบการเรียนการสอน (ตัวอย่าง)


1. กัญจนา ดีวิเศษ. (2542).คู่มืออบรมการนวดไทย.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การทหารผ่านศึก.
2. กองสถานประกอบการเพื่ อ สุ ข ภาพ กรมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ กระทรวงสาธารณสุ ข .
(2559).เอกสารความรู้ผู้ดาเนินการสปาเพื่อสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัทเอ็มเอส คอร์
ปอเรชั่น จากัด.
3. กลุ่มงานฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนา
การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. (2551). คู่มือฝึกอบรมสปาไทยเพื่อ
สุขภาพ.นนทบุรี.
4. เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ.การแพทย์แผนไทยกับการส่งเสริมสุขภาพ.(2540). การแพทย์แผนไทยสายใย
แห่งชีวิตและวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก .
5. ยงศักดิ์ ตันติปิฎก. (2552). ตาราการนวดไทย เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสาธารณสุข
กับการพัฒนา.
6. กลุ่มงานฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนา
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. (2551). คู่มือการฝึกอบรมด้าน
การแพทย์แผนไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ร้านแมกเนท สโตร์.
7. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2554). แนวปฏิบัติในการป้องกันการติดเชื้อ
ในสถานประกอบการเพื่ อ สุ ข ภาพ. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 4. กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ์ ส านั ก พระพุ ท ธศาสนา
แห่งชาติ.
8. ประโยชน์ บุญสินสุข. (2549). คัมภีร์วารีบาบัดและสปา. กรุงเทพฯ: เอส พี การพิมพ์.
9. สถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย กรมพั ฒ นาการแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ท างเลื อ ก กระ ทรวง
สาธารณสุข. (2551). คู่มือดูแลสุขภาพด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การ
สงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
3

10. ส านั ก การแพทย์ ท างเลื อ ก กรมพั ฒ นาการแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ท างเลื อ ก กระทรวง


สาธารณสุ ข . (2551). สุ ข ภาวะองค์ ร วมแนวพุ ท ธ. พิ ม พ์ค รั้ ง ที่ 11. กรุ ง เทพฯ: โรงพิ ม พ์ แ ห่ ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
11. สถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย กรมพั ฒ นาการแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ท างเลื อ ก กระทรวง
สาธารณสุข. (2551). การแพทย์แผนไทยกับการดูแลสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
12. สถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย กรมพั ฒ นาการแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ท างเลื อ ก กระทรวง
สาธารณสุ ข. (๒๕๓๙). คู่มือ ปฏิบัติง านการแพทย์แ ผนไทย กระทรวงสาธารณสุ ข .กรุง เทพฯ :
สานักพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
13. อภิชาติ ลิมติยะโยธิน. (๒๕๔๕). คู่มืออบรมการนวดไทยแบบราชสานัก ภาคเทคนิคการนวดรักษา
โรคที่พบบ่อย.กรุงเทพฯ : พิฆเนศพริ้นติ้งเซ็นเตอร์.
14. มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์แผนไทยเดิมในพระราชูปถัมภ. (๒๕55). หัตถเวชกรรมแผนไทย (นวด
แบบราชสานัก).กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์
15. สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. (๒๕๓๗). ตาราการรักษาโรคทั่วไป.กรุงเทพฯ : อุษาการพิมพ์.
16. ชาคริยา หลิน, นิกรณ์ จันทร์แสง และสุรพจน์ วงศ์ใหญ่. (2554). การนวดรักษาโรคด้วยหลักเส้น
ประธานสิบ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สปีด เพรส จากัด.
17. มูลนิธิการพัฒนาการแพทย์แผนไทย.(๒๕๕๓) คู่มือสร้างเสริมฟื้นฟูสุขภาพแม่ก่อนและหลังคลอด
ด้วยการแพทย์แผนไทย.มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา : เป็นองค์การสาธารณกุศล ลาดับที่ ๓๔๒
ของประกาศกระทรวงการคลังฯ
18. สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง
สาธารณสุข. (๒๕๕๗). คู่มือแนวทางการผดุงครรภ์มารดาด้วยการแพทย์แผนไทย กระทรวง
สาธารณสุข.กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
19. สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง
สาธารณสุข. (๒๕๔๗). คู่มือประชาชนในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย กระทรวง
สาธารณสุข.กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

You might also like