You are on page 1of 15

ตัว

อย
่าง
บทนำ
เคยรูส้ กึ อึดอัดไหม เมือ่ ต้องการเตือนแขกชาวต่างชาติทม่ี าเยีย่ มบ้านว่า “ห้อง
นัน้ อยากขอให้เปลี่ยนเป็นรองเท้าแตะสำหรับใส่ในบ้าน...” แต่ไม่รู้จะพูดอย่างไรดี
ลองพูดแบบนี้ดูสิ “ตรงนี้เป็นพื้นด้านล่าง เชิญขึ้นมาบนบ้านก่อน”
ที่ประเทศญี่ปุ่น มีการกำหนดกฎเกณฑ์ กติกา มารยาทอันเป็นเอกลักษณ์ที่
ทำให้เราใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างไม่มีอุปสรรค ดังนั้น เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่ไม่ควร
จะเกิดและเพือ่ การสือ่ สารทีร่ าบรืน่ ทุกคนในสังคมจึงดำเนินชีวติ โดยรักษากฎระเบียบ
เหล่านี้ ซึ่งกฎเหล่านี้ก็ไม่ได้มีพิธีรีตองอะไรมากมายนัก ที่ว่าเป็นเอกลักษณ์ ก็ใช่ว่า
จะยากเย็นจนปฏิบัติตามไม่ได้ เพียงแค่รู้เคล็ดลับเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ใช้ได้แล้ว แต่ถ้า

่าง
ต้อง “สอนคนต่างชาติ” ละก็ คงปวดหัวเอาเรื่องอยู่เหมือนกัน
หนังสือเล่มนี้จึงได้รวบรวมเคล็ดลับและมารยาทในการใช้ชีวิตที่ญี่ปุ่น โดยมี
คำแปลภาษาอังกฤษเทียบเคียงไว้ด้วย* และนอกจากจะนำเสนอขนบธรรมเนียมของ
อย
ญี่ปุ่นแล้ว ยังแนะนำสำนวนภาษาอังกฤษง่าย ๆ ที่สามารถนำไปใช้เวลาจะอธิบายให้
ชาวต่างชาติฟังเกี่ยวกับธรรมเนียมเล็ก ๆ น้อย ๆ ในชีวิตประจำวันประกอบด้วย
ซึ่งไม่เพียงแต่จะใช้เป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับผู้ที่เดินทางจากต่างประเทศเพื่อมาใช้
ชีวิตในสังคมญี่ปุ่นเท่านั้น ยังเป็นหนังสือที่จะทำให้ผู้อ่านได้รู้จักกับ “ญี่ปุ่น” ในอีกแง่
ตัว
มุมหนึ่งผ่านเคล็ดลับและมารยาทแบบญี่ปุ่นด้วย สำหรับท่านที่สงสัยว่า “ทำไมหนอ
คนญีป่ นุ่ จึง...” ยกตัวอย่างเช่น ...ซดบะหมีเ่ สียงดัง หนังสือเล่มนีม้ คี ำตอบให้คณุ แล้ว
หากไม่มน่ั ใจในการใช้ชวี ติ ทีญ
่ ป่ี นุ่ รวมไปถึงการเข้าสังคม การผูกมิตรกับผูค้ น
รอบข้าง หรือแม้แต่การเข้าร่วมงานพิธีต่าง ๆ ไม่รู้ว่า “เวลาแบบนี้ ควรทำอย่างไร
ดีนะ” ลองเปิดอ่านหนังสือเล่มนี้ดูสิ คิดว่าคงจะค้นพบเคล็ดลับที่จะช่วยคลี่คลาย
ปัญหานั้นได้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะช่วยจุดประกายหรือให้ข้อคิดใน
การดำเนินชีวิตสำหรับทุกคนที่จะใช้ชีวิตที่ญี่ปุ่น
ฟุฮิโตะ ชิโมยามะ

* ต้นฉบับของหนังสือเล่มนี้เป็น 2 ภาษาเทียบเคียงกัน (ญี่ปุ่น-อังกฤษ)


แต่ในฉบับแปล สำนักพิมพ์ฯ แปลเป็นภาษาไทยเท่านั้น
4
สารบัญ
บทที่ 1
มารยาทในที่สาธารณะ
มารยาทบนรถไฟและรถเมล์..........12
การปฏิบัติตัวในร้านค้า..........16
มารยาทในการเข้าแถว..........18
มารยาทในการใช้ห้องน้ำ..........20
มารยาทในการใช้ลิฟต์และบันไดเลื่อน..........22
มารยาทในสถานที่ท่องเที่ยว..........24

คอลัมน์ 1 ่าง
มารยาทในการใช้ห้องอาบน้ำสาธารณะ บ่อน้ำแร่ และห้องซาวน่า..........28
คนญี่ปุ่นแยกขยะ..........30
อย
บทที่ 2
การเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ
ตัว
ข้อควรระวังในการเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ (ก่อนไปเยี่ยมเยียน)..........32
ข้อควรระวังในการเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ (ที่โถงทางเข้าบ้าน)..........34
ข้อควรระวังในการเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ (ภายในห้อง)..........36
ข้อควรระวังในการเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ (ก่อนลากลับ)..........38
การเลือกของฝาก วิธีมอบและวิธีรับ..........40
การออกเดท (รับประทานอาหารเย็น)..........42

6
การนัดหมาย การไปสาย และการยกเลิกนัดกะทันหัน..........46
การทักทายเพื่อนบ้านเมื่อย้ายมาอยู่ใหม่..........48
การบอกลาเมื่อจะย้ายไปที่อื่น..........50
ของขวัญตอนย้ายบ้าน..........52
การจัดงานเลี้ยงอาหาร ปาร์ตี้สังสรรค์..........54
มารยาทในการเยี่ยมไข้..........56
คอลัมน์ 2 การไปส่งถึงหน้าบ้าน..........58

บทที่ 3
การคบค้าสมาคมในแต่ละวัน
่าง
อย
การทักทายประจำวัน..........60
การสร้างความประทับใจที่ดี (1)..........62
การสร้างความประทับใจที่ดี (2)..........64
ตัว
การไปเยี่ยมเยียนในยามปกติ.........66
การชักชวนและการรับคำชวน..........68
การขอร้อง..........70
การปฏิเสธ..........72
การขอบคุณ.........74
การบ่นหรือร้องเรียน..........76
เมื่อทะเลาะกัน..........78
การขอโทษและการให้อภัย..........80
คอลัมน์ 3 บทสนทนาเติมเต็มความเงียบ.........82

7
บทที่ 4
มารยาทในพิธีแต่งงานและพิธีศพ
เมื่อไปร่วมพิธีแต่งงานและงานเลี้ยงฉลองสมรส..........84
เมื่อได้รับบัตรเชิญ.........86
การแต่งกายในพิธีแต่งงานและงานเลี้ยงฉลองสมรส..........88
มารยาทในงานเลี้ยงฉลองสมรส (ตั้งแต่โต๊ะหน้างานจนถึงนั่งประจำที่)..........90
มารยาทในงานเลี้ยงฉลองสมรส (ตั้งแต่ดื่มอวยพรจนถึงงานเลิก)........92
ส่งของขวัญอวยพรการแต่งงาน..........94
ขั้นตอนของพิธีศพ..........96
การแต่งกายเพื่อไปร่วมพิธีศพ..........98
เงินช่วยงานศพ..........100
่าง
มารยาทในการเข้าร่วมพิธีเฝ้าศพและพิธีศพ..........102
มารยาทหลังเสร็จพิธีศพ..........104
อย
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเกี่ยวกับเงินช่วยงานมงคล งานศพ
และการเตรียมซองใส่เงิน..........106
คอลัมน์ 4 น้ำตาในพิธีแต่งงาน..........108
ตัว

8
บทที่ 5
มารยาทในโต๊ะอาหาร
มารยาทในระหว่างกินอาหาร..........110
อาหารไคเซกิ..........112
เรียนรู้วิธีจับตะเกียบ..........114
มารยาทในร้านซูชิ..........116
กินปลาให้อร่อย..........120
อาหารทะเลสุดหรู..........124
กินเทมปุระให้อร่อย..........126
อาหารจำพวกแป้งของญี่ปุ่น..........128
หม้อไฟกับซุปมิโซะ..........130
เหล้ากับน้ำชา..........132
คอลัมน์ 5
่าง
อย
ช็อกโกแลตของฝาก..........134
ตัว

9
บทที่ 6
ประเพณีประจำปีของญี่ปุ่น
เดือนมกราคม (มุทสึกิ)..........136
เดือนกุมภาพันธ์ (คิซารางิ)..........140
เดือนมีนาคม (ยาโยย)..........142
เดือนเมษายน (อุทซึกิ)..........144
เดือนพฤษภาคม (ซาทสึกิ)..........145
เดือนมิถุนายน (มินาทซึกิ)..........146
เดือนกรกฎาคม (ฟุมิทสึกิ)..........147
เดือนสิงหาคม (ฮาทซึกิ)..........150
เดือนกันยายน (นางาทสึกิ)..........152
เดือนตุลาคม (คันนาทซึกิ)..........153
เดือนพฤศจิกายน (ชิโมทสึกิ)..........154
่าง
อย
เดือนธันวาคม (ชิวาสุ)..........155

* เสียงยาวในภาษาญี่ปุ่น จะเขียนดังนี้ ohayō gozaimasu โดย ō ใน ohayō แทนเสียงยาว


* หนังสือเล่มนี้แก้ไขและเรียบเรียงเพิ่มเติมจาก “เคล็ดลับและมารยาทในโต๊ะอาหาร”
ตัว
“เคล็ดลับและมารยาทในการมอบของขวัญ” “เคล็ดลับและมารยาทในการพูด”
“เคล็ดลับและมารยาทในการเข้าสังคม” และ “เคล็ดลับและมารยาทในการผูกมิตร”
(ทั้งหมดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์กักเคน)

บรรณาธิการ / โทชิเอะ อิงากิ, โซอิชิโร อิชิฮาระ, โนริโกะ อิวาชิตะ, มินาโกะ ซูงิยามะ, ทาดาชิ วาตานาเบะ
บรรณาธิการและรูปเล่ม / ยูกิ ไซโต
บรรณาธิการร่วม / นารุยะ อิวาซากิ, มายูมิ คาวางุชิ, กรีน เปเปะ (มิยูกิ ฮัตโตริ),
ริคาโกะ ซุเคงาวะ, อากิโกะ ทาคิ, โนบุเอะ เนงิชิ,
ฮาโกฟุงุ (มิกิ ซาตาเกะ), อากิโกะ ยาทสึ

10
บทที่ 2 การเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ

ข้อควรระวังในการเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ (ที่โถงทางเข้าบ้าน)

ให้ความสำคัญกับการพบกันครั้งแรก ยินดีตอ้ นรับ


กล่าวกันว่า ความประทับใจตอนพบกัน เชิญจ้ะ กำลังรอ
ครั้งแรกมีผลต่อความรู้สึกที่มีต่อบุคคลนั้น เชิญเขา้ มาในบา้ น อยูเ่ ลย
หมายความว่า การไปเยี่ยมบ้านครั้งนั้นจะ
ได้ผลออกมาเป็นบวกหรือลบ รู้ได้ตั้งแต่
การพบกั น ที่ โ ถงทางเข้ า บ้ า น อย่ า งไรก็
ตาม แทนที่จะมัวคิดมากกับเรื่องเล็กน้อย
เหล่านี้ ท่าทีที่ต้องการจะผูกมิตรด้วยนั้น
สำคัญกว่า

การปฏิบัติตัวที่โถงทางเข้าบ้าน
ผูท้ เ่ี ป็นฝ่ายต้อนรับ ควรใส่ใจในเรือ่ งต่าง ๆ
เช่น เอารองเท้าแตะมาวางเตรียมไว้ รับ
ฝากเสื้ อ โค้ ท หากเป็ น วั น ที่ ฝ นตก ควร
เตรี ย มผ้ า ขนหนู ไว้ ใ ห้ ส่ ว นการจั ด เก็ บ
่าง
นี่แม่ ถอด
ผา้ กันเปื้อน
อย
รองเท้าของแขกให้ทำหลังจากที่เชิญแขก ออกก่อน
เข้าบ้านเรียบร้อยแล้ว ไม่ดีกว่า
เหรอ ?

พาแขกไปที่ห้อง
ตัว
ควรเดินนำหน้าแขก
แล้วหันหลังไปมองเป็นครั้งคราว
ขณะนำทางไปที่ห้องรับแขก กำลัง ขอบคุณค่ะ
เวลาชี้บอกทางให้ ใช้มือ คอยอยู่ ที่กรุณาชวน
(ผายมือโดยรวบปลายนิ้ว เลยจะ้ มาเยี่ยม
ให้ชิดกัน) บ้าน

เตรียมเนื้อเอาไว้
เยอะเลย
เชิญทางนี้จ้ะ

34
ควรถอดเสื้อโค้ทออก
ก่อนกดกริ่งประตูบ้าน
ให้สำรวจตัวเองให้เรียบร้อย
ห้ามหันบั้นท้ายให้ผู้อื่น ควรถอดเสื้อโค้ทหรือถุงมือออกก่อน
ควรฝึกให้เป็นนิสัย ไม่หันบั้นท้าย ถ้าไม่แน่ ใจว่าจะเข้าไปในบ้านหรือเปล่า
ให้ผู้อื่น ไม่เฉพาะกับคนเท่านั้น ก็ไม่ต้องถอดเสื้อโค้ท แต่ควรพูดว่า
รบกวน “ขอโทษที่สวมโค้ทอยู่”
ยังหมายรวมถึงสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
ด้วยค่ะ
เช่น หิ้งพระ ด้วย

่าง
อย
สวัสดีค่ะ
ยินดีที่ไดร้ จู้ ัก
ตัว

ยามากาวะ ริกุ คะ่


ได้รับความช่วยเหลือ
จากคุณไดกิจิ
มาตลอดคะ่

เวลาจะถอดรองเท้า การเรียกชื่อคนรัก
1. ถอดรองเท้าขณะที่ยืนอยู่กลางโถงทางเข้าบ้าน เวลาไปเยี่ยมบ้านของคนรัก แม้จะเคยเรียกแบบ
โดยหันหน้าให้เจ้าของบ้าน สนิทสนมแค่ไหน แต่เมื่ออยู่ต่อหน้าพ่อแม่ของเขา
2. คุกเข่าลงโดยไม่หันบั้นท้ายให้เจ้าของบ้าน ไม่ควรเรียกชื่อเฉย ๆ หรือเติมคำว่า “จัง” หรือ
3. หันหัวรองเท้าออก แล้ววางชิดด้านข้างให้ เรียกด้วยชื่อเล่น เพราะจะฟังดูไม่สุภาพ ในกรณี
เรียบร้อย ที่ไปเยี่ยมบ้านเพื่อนก็เช่นกัน ควรเรียกชื่อเพื่อน
โดยไม่ลืมเติมคำว่า “คุณ...” (...ซัง) ด้วย

35
บทที่ 2 การเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ

ข้อควรระวังในการเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ (ภายในห้อง)

เชิญแขกนั่งที่นั่งสำหรับแขก
กรณีที่เป็นห้องแบบญี่ปุ่น ที่นั่งสำหรับแขกคือ
ฝั่ ง ที่ มี โ ทโคโนะมะส่ ว นเจ้ า ของบ้ า นที่ ใ ห้ ก าร
ต้อนรับควรนั่งใกล้ประตูทางเข้าออก เพื่อจะได้
คอยต้อนรับได้สะดวก หากเป็นห้องแบบตะวัน
โทโคโนะมะ คือ บริเวณ ตกที่ไม่มีโทโคโนะมะ ที่นั่งสำหรับแขกคือ ที่นั่ง
ยกพื้นที่ประดับด้วยภาพแขวน ที่ห่างจากประตูทางเข้าออก (ดูลำดับตำแหน่ง
และแจกันดอกไม้ ซึ่งเป็นจุด ที่นั่งได้จากแผนภาพหน้า 37)
ศูนย์กลางของห้อง ห้ามนั่งหรือ
เอาสิ่งของวางบนโทโคโนะมะ

่าง วางกระเป๋าถือ
ไว้ ใต้ โต๊ะ
หรือด้านซ้ายมือ
ของตัวเอง
อย
ตัว

ยไมใหข้ าชา
● วิธีนั่งพับเขา่ (เซสะ) โด ่

ทิ ้ ง น ้ ำ หน ั ก การนั่งบนเบาะรองนั่ง
สลั บ
ปลายเท ้ า ไปมา
กำมือสองข้างหลวม ๆ
แล้ววางลงบนเบาะรองนั่ง
จากนั้นใช้แขนยันเพื่อยกตัวขึ้นนั่ง
่ า ให ท
้ ง
้ ิ น ำ
้ ห น ก
ั ไป ข้ างหน้าและยกก้นขึ้น บนเบาะขณะอยู่ ในท่าพับเข่า
เวลานั่งพับเข รสลับปลายเทา้ ทบั กัน
ไปมา และไม่ควรลากเบาะรองนั่ง
อยเพ ่
อ ื ไม ่ ใ ห้
ข าช า กา
เลก็ น้ เข้าหาตัว
ด้ผล
ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ ใช้ ไ

36
กรณีที่แขกไม่กล้า
นั่งที่นั่งสำหรับแขก ห้ามเหยียบธรณีประตู
ก็ไม่ควรฝืน หรือขอบเสื่อ
ในสมัยก่อน เชื่อกันว่าการเหยียบ
ธรณีประตู เทียบเท่ากับการเหยียบย่ำ
เชิญด้าน ศีรษะของเจ้าบ้าน (เจ้าของบ้านนั้น)
โน้นจ้ะ รวมถึงขอบเสื่อหรือเบาะรองนั่ง
ก็ไม่ควรเหยียบ

่าง ธรณี
อย
ประตู

ขอบเสื่อ
ตัว

● ลำดับการนั่งในห้องรับแขก
ให้แขกนั่งด้านในสุด (เลขที่มีค่าน้อยหมายถึง ที่นั่งสำหรับแขก)
ห้องแบบตะวันตก - ก่อนที่เจ้าของบ้านจะมา ควรนั่งอยู่ด้านนอกสุด
(④) พอเจ้าของบ้านมา ให้ลุกขึ้นทักทาย แล้วนั่งในตำแหน่งที่ได้รับ ห้องแบบตะวันตก
โทโค
การเชื้อเชิญ โนะ
มะ
ห้องแบบญี่ปุ่น - มารยาทที่ดีคือ ควรนั่งพับเข่าบนเสื่อทาทามิก่อน ดานข
้ าง้
โทโค
โนะมะ
เมื่อทักทายกับเจ้าของบ้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว ค่อยขึ้นไปนั่งบน
เบาะรองนั่ง ห้องแบบญี่ปุ่น
37
บทที่ 2 การเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ

ข้อควรระวังในการเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ (ก่อนลากลับ)

เสนอตัวช่วยเก็บจานชาม
ไมเป
่ ็นไร
อย่าเก็บจานชามที่ว่างลงโดยพลการ ทำตัวตาม
สบายเถอะ
ถ้าเจ้าของบ้านเริ่มเก็บ จึงค่อยถาม
ว่า “มีอะไรให้ช่วยไหมคะ” ถ้าได้รับ มีอะไร
อนุญาตว่า “รบกวนช่วยเก็บจานชาม ให้ช่วย
ขอบคุณสำหรับ หน่อย” จึงค่อยช่วย ถ้าเจ้าของบ้าน มั้ยคะ ?
อาหารมื้อนี้ค่ะ
บอกว่า “นั่งอยู่เฉย ๆ เถอะ” ก็ให้
ทำตาม

แทนที่จะพูดว่า
“ขอโทษค่ะ ต้องกลับแล้ว”
ควรกล่าวขอโทษโดยอ้าง
การกระทำของตัวเอง ขอโทษคะ่
่าง ควรขอตัวกลับเร็วสักนิด
การไปเยี่ ย มเยี ย นเพื่ อ ทั ก ทาย ควร
ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมงกำลังดี ใน
จังหวะที่หยุดการสนทนาหรือตอนเติม
อย
น้ำชาถ้วยใหม่ ควรเอ่ยปากว่า “เดี๋ยว
ที่อยู่นานเกินไป คุยเพลินจน
อยูเ่ สียนาน ดื่มชาถ้วยนี้เสร็จ คงต้องขอตัวกลับ
เลย ก่อน” และเมื่อจะลากลับ ให้กล่าวลา
พร้อมกับลุกจากเก้าอี้หรือลงจากเบาะ
จะกลับ รองนั่ง
ตัว
แลว้
เหรอ
?
อาว้ อยูต่ อ่
อีกหน่อย
เถอะ
น่าจะอยู่ต่ออีกหน่อย
นอนคา้ งที่นี่สักคืน
ตามมารยาทแล้ ว เจ้ า ของบ้ า น ไม่ควรบังคับให้ค้างคืน
มั้ยละ่ !?
ควรพูดเหนี่ยวรั้งแขกไว้ก่อน แต่ โดยเฉพาะแขกผู้หญิง จะมีปัญหา
ต้องไม่เป็นการฝืนบังคับ ในทาง เรือ่ งการแต่งเนือ้ แต่งตัว เช่น เครือ่ ง ขอบคุณคะ่
กลับกัน ถ้าอยากให้แขกกลับเร็ว ๆ สำอาง เสื้อผ้าสำหรับผลัดเปลี่ยน วั นี้ตอ้ งขอตัว

ก็ อ าจเตื อ นด้ ว ยการมองนาฬิ ก า จึ ง ไม่ ค วรชวนให้ แขกค้ า งคื น แบบ กลับกอ่ น
หรือไม่กบ็ อกไปตรง ๆ ว่ามีงานอืน่ กะทันหัน
ต้องทำ

38
สวมรองเท้าให้เรียบร้อยก่อน แล้วค่อยจัด
รองเท้าแตะให้เป็นระเบียบ
① ถอดรองเท้าแตะสำหรับใส่ ในบ้านแล้วสวม
รองเท้าของตัวเอง
② ไม่ควรเก็บรองเท้าแตะกลับคืนที่วาง แต่ ให้รวบ
แล้ววางไว้ชิดมุมทางขึ้นบ้าน (หันหัวรองเท้าเข้าบ้าน)
เวลาใส่รองเท้า หากใช้ช้อนใส่รองเท้า ข้างขวา
ให้ถือมือขวา ข้างซ้ายให้ถือมือซ้าย จะดูดีทีเดียว

เดี๋ยวผมไป
ส่งที่สถานี
รถไฟ ตอนไปยืนส่งหน้าบ้าน
แลวมา
้ กลับบ้าน วันนี้รบกวน เจ้ า ของบ้ า นจะกล่ า วขอบคุ ณ การมาเยี่ ย มและ
เที่ยว
อีกนะ ดี ๆ
นะจะ๊
แค่นี้ค่ะ

่าง ของฝาก และลงท้ายว่า “ขากลับ ระวังตัวด้วยนะ”


กรณีที่พักในแมนชั่น เวลาไปส่งแขก แทนที่จะยืน
ส่งที่โถงทางเข้าบ้าน ควรไปส่งทีห่ น้าลิฟต์จะดีกว่า
ถ้าเป็นบ้านเดีย่ วก็ออกไปส่งทีป่ ระตูหน้าบ้าน การ
อย
ทำเช่นนี้จะช่วยเพิ่มความสนิทสนมกับผู้มาเยือน
มากขึ้น
หลังจากกล่าวอำลา
พอส่ ง แขกที่ โ ถงทางเข้ า บ้านแล้ว หากรีบล็อก ส่งจดหมายขอบคุณภายใน 3 วัน
ประตูหรือปิดไฟหน้าบ้านทันทีทแ่ี ขกกลับ จะเป็น พอกลับถึงบ้าน ควรโทรศัพท์ไปแจ้งว่าถึงบ้าน
ตัว
การเสียมารยาทมาก ฝ่ายแขกก็เช่นกัน ไม่ควร เรี ย บร้ อ ยแล้ ว และกล่ า วขอบคุ ณ ที่ ไ ด้ รั บ การ
พูดคุยเสียงดังทันทีที่เดินพ้นประตูบ้านไป ไม่ว่า ต้อนรับเป็นอย่างดี หากไปเยี่ยมแบบเป็นทางการ
เนื้อหาจะเกี่ยวกับอะไรก็ตาม เพราะเจ้าของบ้าน ควรส่งไปรษณียบัตรพร้อมเขียนข้อความสั้น ๆ
จะรู้สึกไม่ดี เพื่อขอบคุณ

เด็กคนนี้น่ารักดีนะพ่อ
แถมกินเกง่ ซะดว้ ย
เขียนจดหมาย วันนี้
กินเยอะไปแนเ่ ลย พูด ดีกวา่ สง่ ขอบคุณมาก
ซะดัง อีเมลนะ ! ค่ะ...
เลย...

39
บทที่ 2 การเยี่ยมเยียนและการเชื้อเชิญ

การเลือกของฝาก วิธีมอบและวิธีรับ
การเลือกของฝากก็เป็นหัวข้อการสนทนาได้
แทนที่จะพูดว่า “เป็นของที่ไม่ได้ดีวิเศษอะไร” ของอร่อยแถวบ้าน หรือของที่กินแล้วรู้สึกว่า
(Tsumaranai mono desu ga.) ควรพูดว่า อร่ อ ยไปให้ จะนำไปสู่ บ ทสนทนาที่ ว่ า “ซื้ อ มา
“เพราะอร่อยมากเลยซื้อมาฝาก” จะสร้างความ จากร้านไหนคะ” ได้
ประทับใจได้มากกว่า หากเอาของที่ตัวเองชอบ

ขนมอบของร้าน
เคก้ แถวบา้ นขึ้นชื่อ เคล็ดลับเกี่ยวกับของฝาก
มากเลยคะ่ 1. สอบถามว่าเจ้าของบ้านชอบอะไร
2. สอบถามให้แน่ ใจว่าสมาชิกในครอบ
เหรอคะ ครัวที่จะไปเยี่ยมเยียน
มีกี่คน และอายุเท่าไรบ้าง
แลว้ บา้ นอยู่
แถวไหน
คะ ?
่าง → ไม่ควรซื้อขนมเซมเบ
้ (ขนมข้าวอบกรอบ) แข็ง ๆ เป็น
ของฝากเมื่อไปเยี่ยมบ้านที่มีผู้สูงอาย
ุ แล
ไปมากหรือน้อยกว่าจำนวนสมาชิก ะไม่ควรนำของฝาก
3. คำนึงถึงวันหมดอายุ
ในครอบครัว
อย
→ หากซื้อของสดเป็นขอ
● ของฝากตามฤดูกาล งฝาก ถ้าเป็นคนที่คุ้นเคยกัน อาจ
บอกว่า “ซื้อมาทานด้วยกันน่ะค่ะ”
แต่ถ
ครั้งแรก ควรเลือกของฝากที่เก็บได้ ้าเป็นคนที่เพิ่งพบกัน
นานหน่อยจะเหมาะกว่า
ฤดูใบไม้ผลิ
ฤดูใบไม้ร่วง
ขนมหวาน เช่น
ตัว
ขนมมันเทศอบ
ซากุระโมจิ (หรือที่ เค้กมองต์บลังก์*
เรียกวา่ โดเมียวจิ) มารร์ งกลาเซ*่ * หรือ
คุสะโมจิ คาชิวะโมจิ ผลไมป้ ระจำฤดู เชน่
หรือผลไม้ประจำฤดู แอปเปิ้ล สาลี่ องุ่น
เชน่ สตรอเบอรี่
ฤดูหนาว
ฤดูร้อน ไทยากิ โดรายากิ
ถั่วแดงรอ้ นกึ่งสำเร็จรูป
ขนมหวาน เชน่ รวมมิตร ช็อกโกแลต
ถั่วแดงกวน วุน้ ถั่วแดงบด เป็นต้น
คุซุโมจิ วาราบิโมจิ
เยลลี่ผลไม้ พุดดิ้ง หรือ
ผลไมป้ ระจำฤดู เชน่
เชอรี่ ลูกทอ้

* เค้กครีมเกาลัด
** เกาลัดฉาบน้ำตาล

40
ตัว
อย
่าง

You might also like