You are on page 1of 191

บทที่ 4

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 1


บทที่ 4
งาน พลังงาน โมเมนตัมและการชน
เราไม่สามารถใช้สมการ 𝐹Ԧ = 𝑚𝑎Ԧ แก้สมการได้ทุกครั้ง เนื่องจาก 𝐹Ԧ
จะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะทางหรือเวลา แต่เราสมารถใช้เงื่อนไขของ
“งาน” และ “พลังงาน” ในการแก้ปัญหาเมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ได้เช่นกัน
งานเป็นความพยามยามของแรงที่จะทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทาง
เดียวกับแรง มีค่าเท่ากับผลคูณของแรงกับการกระจัดในแนวเดียวกับแรง
เป็นปริมาณสเกลาร์
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 2
ในบทนี้จะกล่าวถึงงาน พลังงาน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับแรง มวล
ความเร็ว การกระจัด
การดลและโมเมนตัม ที่เกี่ยวข้องกับแรง มวล ความเร็ว และเวลา

แนวทางการแก้ปัญหาโจทย์ทางจลศาสตร์ (Approaches to
Kinetics Problems )

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 3


Forces and Newton’s Second ෍ 𝐹Ԧ = 𝑚𝑎Ԧ
Accelerations

Velocities and Work-


𝑬𝒌 + 𝑬𝒑 = 𝑬𝒌
Displacements Energy 𝟏 𝟏→𝟐 𝟐

Velocities Impulse - 𝒕𝟐
𝒎𝒗𝟏 + න 𝑭𝒅𝒕 = 𝒎𝒗𝟐
And Time M0mentum 𝒕𝟏

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 4


4.1 งาน (Work)
4.1.1 งานเนื่ องจากแรงคงที่

เมื่อออกแรง 𝐹Ԧ คงที่ทามุม 𝜃 กับเส้นทางการเคลื่อนที่ กระทากับมวล


𝑚 จาก 𝐴1 ไป 𝐴2 ได้ระยะการกระจัด 𝑑 𝑟Ԧ และมีขนาดหรือระยะทาง
เป็น 𝑑𝑟Ԧ = 𝑑𝑠 ในช่วงเวลาสั้น ๆ 𝑑𝑡 เมื่อ 𝑟Ԧ𝐴1 และ 𝑟Ԧ𝐴2 คือเวกเตอร์
ตาแหน่งของมวล 𝑚 ที่ตาแหน่ง 𝐴1 และ 𝐴2 ตามลาดับ งานเนื่องแรง 𝐹Ԧ
เพื่อใช้ในการดึงมวล 𝑚 จาก 𝐴1 ไป 𝐴2 หาได้จากผลคูณแบบสเกลาร์
ระหว่างแรง 𝐹Ԧ กับการกระจัด 𝑑𝑟Ԧ ตามแนวแรง

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 5


เขียนในรูปผลคูณเวกเตอร์
𝑑𝑊𝐹 1→2 = 𝐹Ԧ ∙ 𝑑 𝑟Ԧ

2
𝑊𝐹 1→2 = ‫׬‬1 𝐹Ԧ ∙ 𝑑 𝑟Ԧ (4.1)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 6
เมื่อ 𝑑 𝑟Ԧ = 𝑑𝑠 แทนระยะทางจะได้
𝑑𝑊𝐹 1→2 = 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑑𝑠 = 𝐹𝑡 𝑑𝑠
2 2
𝑊𝐹 1→2 = ‫׬‬1 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑑𝑠 = ‫׬‬1 𝐹𝑡 𝑑𝑠 (4.2)

งานเป็ นปริมาณสเกลาร์ ได้จากผลคูณของแรง กับระยะทางตาม


แนวแรงมีหน่วยเป็ น จูล (Joule)

1𝐽 = 1𝑁 1𝑚

(1𝑓𝑡) 𝑙𝑏 = 1.356 𝐽

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 7


Quiz 4.1 งานที่เกิดจากแรง 𝐹 คงที่ลากวัตถุมวล 𝑚 จาก (1) ไป (2) มี
ค่าเท่าใด

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 8


ตัวอย่างที่ 4.1 ออกแรง 𝐹 = 100 𝑁 คงที่กระทากับวัตถุมวล 𝑚 =
50 𝑘𝑔 โดยทามุม 𝜃 = 370 กับแนวระดับทาให้วัตถุมวล 𝑚 เคลื่อนที่
เป็นเส้นตรงได้ระยะทาง 𝑆 = 40 𝑚 ถ้ากล่องและพื้นมีแรงเสียดทาน
จลน์ 𝑓𝑘 = 50 𝑁 ดังรูปจงหา
ก. งานเนื่องจากแรง 𝐹Ԧ ข. งานเนื่องจากแรงเสียดทานจลน์𝑓Ԧ𝑘
ค. งานเนื่องจากน้าหนักของวัตถุ ง. งานสุทธิ์ที่เกิดขึ้น

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 9


วิธีทา 𝛪. หางานในรูปของผลคูณแบบเวกเตอร์ เขียน FBD ที่ตาแหน่ง
เริม่ ต้น 𝑠 = 0

1 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 10


ก. 𝑑𝑊𝐹 = 𝐹Ԧ ∙ 𝑑 𝑟Ԧ
เนื่องจากแรง 𝐹Ԧ ไม่อยู่ในระบบทีกัดแกนมุมฉาก ต้องแยกองค์ประกอบของแรงลงบนระบบ
พิกัดแกนมุมฉากก่อน

2 2
‫׬‬1 𝑑𝑊𝐹 = ‫׬‬1 { 𝐹𝑐𝑜𝑠370 𝑖Ƹ + 𝐹𝑠𝑖𝑛370 𝑗Ƹ } ∙ 𝑑𝑠𝑖Ƹ

40𝑚
𝑊𝐹(1→2) = ‫׬‬0 𝐹𝑐𝑜𝑠370 𝑑𝑠
40𝑚

= 100𝑐𝑜𝑠370 (𝑠)ቮ
0
= 100𝑐𝑜𝑠370 40 − 0

= 3194.54 𝐽
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 11
ข. 𝑑𝑊𝑓𝑘 = 𝑓Ԧ𝑘 ∙ 𝑑 𝑟Ԧ

2 2
‫׬‬1 𝑑𝑊𝑓𝑘 = ‫׬‬1 −𝑓𝑘 𝑖Ƹ ∙ 𝑑𝑠𝑖Ƹ

40𝑚
𝑊𝑓𝑘(1→2) = ‫׬‬0 −50 𝑑𝑠
40𝑚

= −50 (𝑠)ቮ
0
= −50 40 − 0

= −2000 𝐽

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 12


ค. 𝑑𝑊𝑚𝑔 = 𝑚𝑔Ԧ ∙ 𝑑 𝑟Ԧ

2 2
‫׬‬1 𝑑𝑊𝑚𝑔 = ‫׬‬1 −𝑚𝑔𝑗Ƹ ∙ 𝑑𝑠𝑖Ƹ

𝑊𝑚𝑔 (1→2) = 0

ง. 𝑑𝑊𝑇 = 𝐹Ԧ𝑇 ∙ 𝑑 𝑟Ԧ

จากรูป 𝐹Ԧ𝑇 = { 𝐹𝑐𝑜𝑠370 𝑖Ƹ + 𝐹𝑠𝑖𝑛370 𝑗Ƹ + 𝑁𝑗Ƹ − 𝑓𝑘 𝑖Ƹ − 𝑚𝑔𝑗}Ƹ

2 2
‫׬‬1 𝑑𝑊𝑇 = ‫׬‬1 { 𝐹𝑐𝑜𝑠370 𝑖Ƹ + 𝐹𝑠𝑖𝑛370 𝑗Ƹ + 𝑁𝑗Ƹ − 𝑓𝑘 𝑖Ƹ − 𝑚𝑔𝑗}Ƹ ∙ 𝑑𝑠𝑖Ƹ

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 13


40𝑚
𝑊𝑇 (1→2) = ‫׬‬0 𝐹𝑐𝑜𝑠370 − 𝑓𝑘 𝑑𝑠

40𝑚
= ‫׬‬0 100𝑐𝑜𝑠370 − 50 𝑑𝑠

40𝑚

= 29.864 (𝑠)ቮ
0

= 1194.54 𝐽

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 14


𝛪𝐼. หางานในรู ปของผลคูณสเกลาร์ เขียน FBD ที่ตาแหน่งเริม
่ ต้น
𝑠=0

เมื่อมุม 𝜃 เป็ นมุมระหว่างหางของแรงกับของการกระจัด

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 15


ก. 𝑑𝑊𝐹 = (𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃)𝑑𝑠

2 2
‫׬‬1 𝑑𝑊𝐹 = ‫׬‬1 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑑𝑠

40𝑚
𝑊𝐹 = 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃 ‫׬‬0 𝑑𝑠

40𝑚

= 100𝑐𝑜𝑠370 (𝑠)ቮ
0
0
= 100𝑐𝑜𝑠37 (40 − 0)

= 3194.54 𝐽
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 16
ข. 𝑑𝑊𝑓𝑘 = (𝑓𝑘 𝑐𝑜𝑠𝜃)𝑑𝑠

2 2
‫׬‬1 𝑑𝑊𝐹 = ‫׬‬1 𝑓𝑘 𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑑𝑠

40𝑚
𝑊𝐹 = 𝑓𝑘 𝑐𝑜𝑠𝜃 ‫׬‬0 𝑑𝑠

40𝑚

= 50𝑐𝑜𝑠1800 (𝑠)ቮ
0
0
= 50𝑐𝑜𝑠180 (40 − 0)

= −2000 𝐽
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 17
ค. 𝑑𝑊𝑚𝑔 = 𝑚𝑔(𝑐𝑜𝑠𝜃)𝑑𝑠

2 2
‫׬‬1 𝑑𝑊𝑚𝑔 = ‫׬‬1 𝑚𝑔(𝑐𝑜𝑠𝜃)𝑑𝑠

40𝑚
𝑊𝑚𝑔 = 𝑚𝑔(𝑐𝑜𝑠𝜃) ‫׬‬0 𝑑𝑠

40𝑚

= 𝑚𝑔(𝑐𝑜𝑠2700 ) (𝑠)ቮ
0

= 0𝐽

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 18


ง. 𝑑𝑊𝑇 = 𝐹𝑐𝑜𝑠370 𝑑𝑠 + 𝑁𝑐𝑜𝑠900 𝑑𝑠 +
(𝑓𝑘 𝑐𝑜𝑠1800 )𝑑𝑠 + 𝑚𝑔 𝑐𝑜𝑠2700 𝑑𝑠

2 2
= 𝐹𝑐𝑜𝑠370 𝑑𝑠 + 𝑁𝑐𝑜𝑠900 𝑑𝑠 +
‫׬‬1 𝑑𝑊𝑇 ‫׬‬1 [
(𝑓𝑘 𝑐𝑜𝑠180 )𝑑𝑠 + 𝑚𝑔 𝑐𝑜𝑠2700 𝑑𝑠]
0

0 40𝑚 40𝑚
𝑊𝑇 = 𝐹𝑐𝑜𝑠37 ‫׬‬0 𝑑𝑠 +0 − 𝑓𝑘 ‫׬‬0 𝑑𝑠 +0

40𝑚 00𝑚

= 100 𝑐𝑜𝑠370 𝑠 ቮ − 50 (𝑠)ቮ


0 0

= 1194.54 𝐽
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 19
ตัวอย่างที่ 4.2 กล่องมวล 𝑚 = 10 𝑘𝑔 ถูกผลักให้ขึ้นไปบนพื้นเอียง
ด้วยแรง 𝐹 เป็นระยะทาง 5𝑚 สูงจากพื้น 3𝑚 ด้วยความเร็วคงที่ ดังรูป
ถ้าพื้นเอียงมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ระหว่างผิวทั้งสองมีค่า
𝜇𝑘 = 0.01 จงหา
ก. งานเนื่องจากแรง 𝐹
ข. งานเนื่องจากแรงเสียด
ทานจลน์ 𝑓𝑘
ค. งานเนนื่องจากน้าหนัก
ของกล่องใบนี้

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 20


วิธีทา เขียน FBD แสดงแรงต่าง ๆ ทีก่ ระทากับวัตถุ เพือ่ หาแรง 𝐹 ที่
กระทากับกล่องใบนีจ้ ากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กล่องมวล 𝑚
เคลื่อนทีต่ ามแกน 𝑥 ด้วยความเร่งคงทีด่ งั นัน้ 𝑎 = 0 𝑚Τ𝑠 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 21


หาแรง 𝐹Ԧ ทีใ่ ช้ผลักกล่องมวล 𝑚 ให้เคลื่อนทีข่ น้ึ ตามพืน้ เอียง
ด้วยความเร็วคงที่
σ 𝐹Ԧ = 𝑚𝑎
𝐹 − 𝑓𝑘 − 𝑚𝑔 𝑠𝑖𝑛∅ = 0
𝐹 = 𝜇𝑘 𝑁 + 𝑚𝑔 𝑠𝑖𝑛∅
= 𝜇𝑘 𝑚𝑔 𝑐𝑜𝑠∅ + 𝑚𝑔 𝑠𝑖𝑛∅
= 𝑚𝑔 𝜇𝑘 𝑐𝑜𝑠∅ + 𝑠𝑖𝑛∅
4 3
= 10(9.8) 0.01 +
5 5
= 59.58 𝑁

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 22


จากตัวอย่างที่ 4.1 เมื่อแรงคงที่ และวัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงจะได้

𝑑𝑊𝐹 = (𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃)𝑑𝑠

2 𝑠
‫׬‬1 𝑑𝑊𝐹 = ‫׬‬0 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑑𝑠

𝑊𝐹 = (𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃)𝑠 (4.3)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 23


ก. หางานเนื่องจากแรง 𝐹 จาก
รูปเมื่อ 𝐹 กับ 𝑆 ทามุม
𝜃 = 00 จะได้ว่า

𝑊𝐹 = 𝐹𝑆 𝑐𝑜𝑠𝜃
= 59.58 5 𝑐𝑜𝑠00
= 297.90 𝐽

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 24


ข. หางานเนื่องจากแรงเสียด
ทานจลน์ 𝑓𝑘 จากรูปเมื่อ 𝑓𝑘
กับ 𝑆 ทามุม 𝜃 = 1800 จะ
ได้ว่า

𝑊𝑓𝑘 = 𝑓𝑘 𝑆 𝑐𝑜𝑠𝜃 = 𝜇𝑘 𝑁𝑆 𝑐𝑜𝑠𝜃


= 𝜇𝑘 𝑚𝑔𝑐𝑜𝑠∅ 𝑆 𝑐𝑜𝑠1800
4
= 0.01 10 9.8 5 −1
5
= −3.92 𝐽
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 25
ค. หางานเนื่องจากน้าหนัก 𝑚𝑔 จากรูปเมื่อ 𝑚𝑔 กับ 𝑆 ทามุม
𝜃 = 900 + ∅ จะได้ว่า

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 26


𝑊𝑚𝑔 = 𝑚𝑔 𝑆 𝑐𝑜𝑠𝜃
= 𝑚𝑔 𝑆 𝑐𝑜𝑠 900 + ∅

−1 3
จากรูป ∅ = 𝑡𝑎𝑛
4
= 36.870

𝑊𝑚𝑔 = 10 9.8 5 𝑐𝑜𝑠(900 +36.870 )


= (490)𝑐𝑜𝑠(126.870 )
= −294 𝐽

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 27


Quiz 4.2 จากรูปจะต้องออกแรง 𝐹 ขนาดเท่าไรจึงจะผลักกล่อง
มวล 6𝑘𝑔 ด้วยความเร็วคงที่ จากตาแหน่ง 𝐴 ขึน้ ไปไว้ท่ีตาแหน่ง 𝐵
บนพืน้ เอียงที่มีสมั ประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ระหว่างกล่องกับพืน้
เอียงเป็ น 0.5 และถ้าระยะระหว่าง 𝐴 กับ 𝐵 เท่ากับ 1.2𝑚 จงหา
งานสุทธิ (54.86𝑁; 0)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 28


4.1.2 งานเนื่ องจากแรงคงที่กระทากับวัตถุแล้วทาให้วตั ถุ
เคลื่อนที่ตามทางโค้ง

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 29


จากรูปออกแรง 𝐹Ԧ คงทีกระทากับวัตถุทาให้วัตถุเคลื่อนที่จากจุด 1
ไปยังจุด 2 ตามทางโค้ง เมื่อ 𝑟Ԧ คือเวกเตอร์บอกตาแหน่ง 𝑑𝑟Ԧ การเปลี่ยน
ตาแหน่งของเวกเตอร์ในช่วงเวลาสั้น ๆ 𝑑𝑡 ดังนั่นงานในการเคลื่อนที่
วัตถุจากจุด 1 ไปยังจุด 2 จาก
𝑑𝑣
𝐹𝑡 = 𝑚𝑎𝑡 = 𝑚
𝑑𝑡
𝑑𝑣 𝑑𝑠
= 𝑚
𝑑𝑠 𝑑𝑡
𝑑𝑣
= 𝑚𝑣
𝑑𝑠
เมื่อ 𝑑𝑠 = 𝑑 𝑟Ԧ
𝐹𝑡 𝑑𝑠 = 𝑚𝑣𝑑𝑣
แต่ 𝐹𝑡 𝑑𝑠 = 𝑊

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 30


2
จาก 𝑊1→2 = ‫׬‬1 (𝑚𝑎Ԧ 𝑡 ) ∙ 𝑑 𝑟Ԧ (4.4)
2
= ‫׬‬1 𝑚𝑣 𝑑𝑣
1
= 2
𝑚 𝑣22 − 𝑣12
1 1
𝑊1→2 = 2
𝑚𝑣2 − 𝑚𝑣12
2
2
= ∆𝐸𝑘 = ∆𝐾 (4.5)
เมื่อ ∆𝐸𝑘 = ∆𝐾 คืออัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ทาให้เกิดงาน
พลังงานเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเหมือนกับงาน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 31


จากสมการที่ 4.5
1 1
𝑊1→2 = 2
𝑚𝑣22 −
2
𝑚𝑣12
1 1
2
𝑚𝑣12 + 𝑊1→2 = 2
𝑚𝑣22 (4.6)

สมการที่ 4.6 เป็นสมการพื้นฐานของงานและพลังงาน จะได้ว่าพลังงาน


จลน์ของอนุภาคที่จุดเริ่มต้นบวกกับงานของแรงลัพธ์ จะเท่ากับพลังงาน
จลน์ของอนุภาคที่จุดสุดท้าย

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 32


ตัวอย่างที่ 4.3 รถยนต์มวล 1,000𝑘𝑔 เคลื่อนที่ลงมาตามลาดเอียงทา
มุม 50 กับพื้นราบ ด้วยความเร็ว 72 𝑘𝑚Τℎ𝑟 เมื่อเหยียบเบรกทาให้
เกิดแรงรวมคงที่ 5,000𝑁 จนกระทั่งรถหยุด จงหาระยะทางทั้งหมดที่
รถยนต์เคลื่อนที่ได้

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 33


72×103 𝑚
วิธีทา วิธีที่ 1 เริ่มต้นรถยนต์มีความเร็ว 𝑣1 = 3,600𝑠
= 20 𝑚Τ𝑠

1
2

1 1
𝑊1→2 = ∆𝐸𝑘 = 𝑚𝑣22 − 𝑚𝑣12
2 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 34


แต่แรงที่ทาให้เกิดงานคือแรง 𝑚𝑔(𝑠𝑖𝑛50 ) ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่งาน
ที่ได้จะมีเครื่องหมายเป็ นบวก ส่วนแรงที่เกิดจากเบรค 𝐹𝑏𝑟𝑎𝑘𝑒 =
5,000𝑁 ทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่จะมีเครื่องหมายเป็ นลบ

1 1
𝑊1→2 = 𝑚𝑣2 − 𝑚𝑣12
2
2 2
1
𝑚𝑔𝑠𝑖𝑛5 − 𝐹𝑏𝑟𝑎𝑘𝑒 𝑥 = 0 − 𝑚𝑣12
0
2
0 1
1,000 9.80 𝑠𝑖𝑛5 − 5,000 𝑥 = − (1,000)(20)2
2
−4145.87𝑥 = −200,000
𝑥 = 48.24 𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 35


วิธีที่ 2 ใช้กฎการเคลื่อที่ของนิวตัน เคลื่อนที่ตามแกน 𝑥
σ 𝐹Ԧ = 𝑚𝑎
𝑚𝑔 𝑠𝑖𝑛50 − 𝑓𝑏𝑟𝑒𝑎𝑘 = 𝑚𝑎
1,000 9.80 𝑠𝑖𝑛50 − 5,000 = 1,000𝑎
𝑎 = −4.146 𝑚Τ𝑠 2
เครื่องหมายลบแสดงว่าเกิดความหน่วง
𝑣2 = 𝑢2 + 2𝑎𝑥
02 = 202 − 2 4.146 𝑥
𝑥 = 48.24 𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 36


วิธีที่ 3 ใช้ทฤษีงานและพลังงาน ศึกษารายละเอียดได้ที่หัวข้อ 4.5
𝑊แรงภายนอก = ∆𝐸𝑃 + ∆𝐸𝑘
1
𝑊𝑏𝑟𝑒𝑎𝑘 = −𝑚𝑔ℎ1 − 𝑚𝑣12
2
1
−𝑓𝑏𝑟𝑒𝑎𝑘 𝑥 = −𝑚𝑔ℎ1 − 𝑚𝑣12
2
แรงจากการเบรคทิศตรงข้ามกับการเคลื่อนที่
1
−5,000𝑥 = −1,000 9.80 𝑥 𝑠𝑖𝑛5 − (1,000)
0
20 2
2
= −854.126𝑥 − 200,000
−4145.874𝑥 = −200,000
𝑥 = 48.24𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 37


Quiz 4.3 ปล่อยบอลเพนดูลัมมวล 𝑚 จากจุดหยุดนิ่งที่ตาแหน่ง 𝐴 เมือ
บอลมาถึงตาแหน่ง 𝐵 จะมีความเร็ว และแรงตึงเชือก เท่าใด กาหนดให้
เชือกยาว 𝑙 แนะนา ใช้สมการที่ 4.5 (งานและพลังงานจลน์)
𝑣𝐵 = 2𝑔𝑙 ; 𝑇 = 3𝑊(3𝑚𝑔)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 38


Quiz 4.4 กล่อง 𝐴 และกล่อง 𝐵 มีมวล 200𝑘𝑔 และ 300𝑘𝑔 ผูกติด
ด้วยเชือกและคล้องผ่านรอกเบาและไม่มีแรงเสียดทาน จงหาความเร็ว
ของกล่อง 𝐴 เมื่อเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 2𝑚 กาหนดให้สัมประสิทธิ์ความ
เสียดทานจลน์ 𝜇𝑘 ระหว่างกล่องกับพื้นเท่ากับ 0.25 4.43 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 39


4.1.3 งานเนื่ องจากแรงไม่คงที่

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 40


𝑠2
𝑊𝐹 = ‫𝑠׬‬1 𝐹Ԧ ∙ 𝑑 𝑟Ԧ (4.7)
𝑠2
= ‫𝑠׬‬1 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃(𝑑𝑆)
𝑠2
= ‫𝑠׬‬1 𝐹𝑡 𝑑𝑆

𝑊𝐹 = พืน
้ ทีใ่ ต้กราฟระหว่าง 𝐹𝑡 กับ 𝑑𝑠 (4.8)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 41


หรืองานในการเคลื่อนที่วัตถุจาก
จุด 1 ไปยังจุด 2 เมื่อ 𝑟 คือรัศมี
2 คิดในช่วงเวลาน้อยๆ 𝑑𝑡 ระยะทาง
แทนด้วย 𝑑𝑠 หาได้จาก
1
2
𝑊1→2 = ‫׬‬1 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑑𝑠
แต่ 𝑑𝑠 = 𝑟𝑑𝜃

2
𝑊1→2 = ‫׬‬1 𝐹𝑐𝑜𝑠𝜃 𝑟𝑑𝜃
คิดที่มมุ 𝜃 น้อย ๆ แรง 𝐹 กับระทาง 𝑑𝑠 จะทามุม 0 𝑟𝑎𝑑
𝑊1→2 = 𝐹𝑟𝜃 (4.9)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 42
ตัวอย่างที่ 4.4 ออกแรง 𝐹𝑥 = 8𝑥 − 16 𝑁 กระทากับวัตถุ แสดงดัง
รูป จงหางานสุทธิ์เมื่อกล่องเคลื่อนที่จาก 𝑥 = 0𝑚 ถึง 𝑥 = 3𝑚 เมื่อ 𝑥
มีหน่วยเป็นเมตร

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 43


วิธีทา งานสุทธิ์คืองานทั้งหมดที่เกิดขึ้น
𝑊𝑇 = 𝑊1 +𝑊2
1 1
= 2 −16 + (1)(8) 𝐽
2 2
= (−16 + 4) 𝐽
= −12 𝐽
หรือคานวณจาก
3𝑚
𝑊𝑇 = ‫׬‬0 𝐹Ԧ𝑥 ∙ 𝑑 𝑥Ԧ

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 44


จากกราฟแรงกระทาแกน 𝑥 ทิศเดียวกับการเคลื่อนที่
3𝑚
𝑊𝑇 = ‫׬‬0 8𝑥 − 16 ∙ 𝑑𝑥
3𝑚

8𝑥 2
= − 16𝑥ተ
2
0

= 4(3)2 −16(3)

= −12𝐽

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 45


4.1.4 Spring Equation หรือ Hooke’s Law

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 46


จากรูปเมื่อออกแรงภายนอกมาดึงหรืออัดสปริงสปริงจะออกแรงในทิศตรง
ข้ามกับแรงภายนอกที่มากระทา และแรงที่เกิดจากสปริง 𝐹𝑠𝑝𝑟𝑖𝑛𝑔𝑠 (𝐹𝑠𝑝 )
จะมิทิศตรงข้ามกับการกระจัด 𝑥 เสมอจะได้ว่า
𝐹Ԧ𝑠𝑝 = −𝑘𝑥Ԧ (4.10)
เมื่อ 𝐹Ԧ𝑠𝑝 คือแรงที่สปริงกระทาต่อวัตถุ หน่วยนิวตัน 𝑁
𝑥 คือระยืดหรือหดของสปริงวัดจากจุดสมดุล หน่วยเมตร (𝑚)
𝑘 คือค่านิจสปริงหรือค่าคงที่ของสปริง หน่วยนิวตันต่อเมตร 𝑁 Τ𝑚
นั่นคือ 𝐹𝑠𝑝 ∝ 𝑥 (4.11)
แรงในสปริง 𝐹𝑠 จะไม่คงที่แปรผันตรงกับระยะยืดหรือหดตังของสปริง
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 47
4.1.5 งานในการยืดหดสปริง

2
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 48
จากรูปกล่องวางอยู่บนพื้นลื่น เมื่อออกแรงภายนอก 𝐹 ดึงสปริง สปริง
จะออกแรง 𝐹𝑠𝑝 ในทิศตรงข้ามกับแรง 𝐹 ที่มากระทา และแรงภายในสปริง
𝐹𝑠𝑝 จะมีทิศตรงข้ามกับการกระจัด 𝑥 เสมอ การกระจัดจะมีทิศออกจากจุด
สมดุลเมื่อสปริงยาวปกติ 𝑥 = 0 ไปยังตาแหน่งที่ตั้งของวัตถุ
จากรูปแรงสปริง 𝐹𝑠𝑝 ที่กระทาต่อกล่องจะมีทิศตรงข้ามกับการกระจัด
𝑥 และ 𝐹 ∝ 𝑥 แสดงว่าแรงไม่คงที่ ดังนั้นงานที่เกิดจากดึงสปริงจาก 𝑥1 ไป
ยัง 𝑥2 คือ
𝑥2
𝑊𝑠𝑝 1→2
= ‫𝐹 𝑥׬‬Ԧ𝑠𝑝 ∙ 𝑑𝑥Ԧ
1
𝑥2
= ‫ 𝑥׬‬−𝑘𝑥 ∙ 𝑑 𝑥Ԧ
1
1 1
= − 𝑘𝑥22
2
+
2
𝑘𝑥12 (4.12)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 49
4.2 กาลัง (power)
กาลัง เป็นงานที่ทาได้ต่อหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณสเกลาร์
กาลังของแรง 𝐹 คือ
𝑑𝑊𝐹 Ԧ 𝑟Ԧ
𝐹∙𝑑
เวกเตอร์ 𝑃𝐹 =
𝑑𝑡
=
𝑑𝑡

= 𝐹Ԧ ∙ 𝑣Ԧ (4.13)
𝑊𝐹 𝑠
ผลคูณเวกเตอร์ 𝑃𝐹 =
𝑡
=𝐹
𝑡
𝑐𝑜𝑠𝜃
= 𝐹𝑣𝑎𝑣 (𝑐𝑜𝑠𝜃) (4.14)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 50


เมื่อ
𝑃𝐹 คือกาลังของแรง 𝐹 หน่วย วัตต์ 𝑊 หรือ จูลต่อวินาที (𝐽/𝑠)
𝑡 คือเวลาที่แรง 𝐹 กระทา หน่วย วินาที 𝑠
𝑣 คือความเร็ว หน่วย เมตรต่อวินาที 𝑚 Τ𝑠
𝑣𝑎𝑣 คือความเร็วเฉลี่ย หน่วย เมตรต่อวินาที 𝑚 Τ𝑠
𝜃 คือมุมระหว่างหางของ 𝐹Ԧ กับ 𝑆Ԧ หรือ 𝐹Ԧ กับ 𝑣Ԧ𝑎𝑣 หน่วย องศา
1ℎ𝑝 = 745.7 𝑊 𝑤𝑎𝑡𝑡 = 550 𝑓𝑡 ∙ 𝑙𝑏Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 51


4.3 ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ประสิทธิภาพในทางวิศวกรรม จะหมายถึงประสิทธิภาพของ
เครือ่ งกล เรียกว่าประสิทธิภาพเชิงกล
ประสิทธิภาพเชิงกล
𝑃𝑜𝑤𝑒𝑟 𝑜𝑢𝑡𝑝𝑢𝑡
𝑒𝑚 𝜖 =
𝑃𝑜𝑤𝑒𝑟 𝑖𝑛𝑝𝑢𝑡
𝑃𝑜𝑢𝑡 𝑊𝑜𝑢𝑡
=
𝑃𝑖𝑛
=
𝑊𝑖𝑛
(4.15)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 52


ตัวอย่างที่ 4.5 รถยนต์สนั ดาบภายในมวล 2𝑀𝑔 วิ่งขึน้ ทางลาดเอียง
ทามุม 70 กับแนวระดับด้วยความเร็วคงที่ 𝑣 = 100 𝑘𝑚Τℎ𝑟 ดังรูป
ถ้าไม่คดิ แรงเสียดทานภายในเครือ่ งยนต์และพืน้ จงหากาลังของ
เครือ่ งยนต์น้ี ถ้าเครือ่ งยนต์เครือ่ งนี้ให้ประสิทธิภาพ 𝜖 = 0.65

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 53


วิธีทา เขียน FBD แสดงแรงทีก่ ระทาต่อรถ กาหนดทิศการเคลื่อนทีข่ อง
รถขนานพืน้ ทางลาด เป็ นแกน 𝑥 ให้ 𝐹 เป็ นแรงขับจากเครือ่ งยนต์ เมือ่
รถยนต์วงิ่ ด้วยความเร็วคงทีแ่ สดงว่าความเร่งเป็ นศูนย์ (𝑎𝑥 =
0 𝑚 Τ𝑠 2 )

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 54


σ 𝐹Ԧ𝑥 = 𝑚𝑎Ԧ𝑥
𝐹 − 𝑚𝑔 𝑠𝑖𝑛70 = 0
𝐹 = 𝑚𝑔(𝑠𝑖𝑛70 )
= (2 × 106 × 10−3 )(9.80)(𝑠𝑖𝑛70 )
= 2388.64 𝑁
𝑃 = 𝐹𝑣
100×103
𝑃 = 2388.64 ×
3600
= 66,351.11 𝑊𝑎𝑡𝑡𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 55


𝑃𝑜𝑤𝑒𝑟 𝑜𝑢𝑡𝑝𝑢𝑡
𝜖 =
𝑃𝑜𝑤𝑒𝑟 𝑖𝑛𝑝𝑢𝑡

เนื่องจากเครื่องยนต์มีประสิทธิภาพ 65% ถ้าต้องการให้รถยนต์วิ่งบน


ทางลาดเอียงด้วยความเร็วคงที่ได้ เครื่องยนต์ต้องมีกาลัง

𝑃𝑜𝑤𝑒𝑟 𝑜𝑢𝑡𝑝𝑢𝑡
𝑃𝑜𝑤𝑒𝑟 𝑖𝑛𝑝𝑢𝑡 =

66,351.11
=
0.65
= 102,078.63 𝑊𝑎𝑡𝑡𝑠
= 102𝑘𝑊

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 56


ตัวอย่างที่ 4.6 สายพานลาเลียงของยาว 10 𝑚 วางทามุม 300 กับ
แนวระดับดังรูป ถ้าต้องการลาเลียงของซึง่ บรรจุอยูใ่ นกล่องมีมวล
250𝑘𝑔 โดยมีความเร็ว 0.4 𝑚Τ𝑠 คงทีจ่ งหากาลังของมอเตอร์ท่ี
ต้องการในหน่วยกาลังม้า โดยสมมติวา่ ไม่มกี ารสูญเสียกาลังในรูปอื่น

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 57


วิธีทา เขียน FBD แสดงแรงทีก่ ระทาต่อกล่อง กาหนดทิศการเคลื่อนที่
ขนานสายพานลาเลียงเป็ นแกน 𝑥 ให้ 𝐹 เป็ นแรงขับจากมอเตอร์ เมือ่
ความเร็วคงที่ ความเร่งเป็ นศูนย์

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 58


σ 𝐹Ԧ𝑥 = 𝑚𝑎𝑥
𝐹 − 𝑚𝑔 𝑠𝑖𝑛300 = 0
𝐹 = 𝑚𝑔 𝑠𝑖𝑛300
𝑃 = 𝐹𝑣
= 𝑚𝑔 𝑠𝑖𝑛300 𝑣
= 250 9.8 𝑠𝑖𝑛300 (0.40)
= 490 𝑊𝑎𝑡𝑡𝑠
เมือ่ 1ℎ𝑝 = 745.70 𝑊𝑎𝑡𝑡𝑠
490
𝑃= ℎ𝑝
745.70
= 0.675 ℎ𝑝
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 59
ตัวอย่างที่ 4.7 มอเตอร์ไฟฟ้า 𝐴 ลากท่อนไม้มวล 360 𝑘𝑔 ขึน้ ตาม
ทางลาดเอียงทามุม 300 กับแนวระดับ ด้วยความเร็วคงที่ 1.2 𝑚Τ𝑠
เมือ่ มอเตอร์ไฟฟ้ าใช้กาลังของเครือ่ งเท่ากับ 4𝑘𝑊 จงหาสัมประสิทธิ ์
ความเสียดทานจลน์ 𝜇𝑘 ระหว่างพืน้ กับท่อนไม้ ถ้ามอเตอร์ไฟฟ้ า
เพิม่ กาลังของเครือ่ งเป็ น 6𝑘𝑊 จงหาความเร่งของท่อนไม้ขณะทีก่ าลัง
เพิม่ ขณะนัน้

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 60


วิธีทา เขียน FBD แสดงแรงต่าง ๆ ทีกระทาต่อท่อนไม้ ท่อนไม้
เคลื่อนทีข่ น้ึ ตามแกน 𝑥 ด้วยความเร็วคงทีแ่ สดงว่าความเร่งเป็ น 0 เมือ่
𝑇 คือแรงดึงเชือกเกิดจากกาลัง 𝑃 = 𝐹𝑣 ของมอเตอร์

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 61


σ 𝐹Ԧ𝑥 = 𝑚𝑎Ԧ 𝑥
𝑇 − 𝑓𝑘 − 𝑚𝑔(𝑠𝑖𝑛300 ) = 0
𝑇 − 𝜇𝑘 𝑚𝑔𝑐𝑜𝑠300 − 𝑚𝑔(𝑠𝑖𝑛300 ) = 0
จาก 𝑃 = 𝐹𝑣 = 𝑇𝑣 จะได้ 𝑇 = 𝑃 Τ𝑣
𝑃
− 𝑚𝑔(𝑠𝑖𝑛300 ) = 𝜇𝑘 (𝑚𝑔𝑐𝑜𝑠300 )
𝑣
4000
− (360)(9.8)(𝑠𝑖𝑛300 ) = (360 9.80 𝑐𝑜𝑠300 )𝜇𝑘
1.2
3,333.33 − 1,764 = 3,055.34𝜇𝑘
𝜇𝑘 = 0.513
จากกาลัง 𝑃 = 𝐹𝑣 ของมอเตอร์ไฟฟ้าขณะที่กาลังเพิ่มเป็น 6𝑘𝑊 แรง
ดึงเชือกก็จะเปลี่ยนทาให้เกิดความเร่งจะได้
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 62
𝑇 = 𝑃Τ𝑣 = 6,000Τ1.2 = 5,000𝑁 และสัมประสิทธิความเสียด
ทานจลน์ 𝜇𝑘 = 0.513
σ 𝐹Ԧ𝑥 = 𝑚𝑎Ԧ 𝑥
𝑇 − 𝑓𝑘 − 𝑚𝑔(𝑠𝑖𝑛300 ) = 𝑚𝑎𝑥
𝑇 − 𝜇𝑘 𝑚𝑔𝑐𝑜𝑠300 − 𝑚𝑔(𝑠𝑖𝑛300 ) = 𝑚𝑎𝑥
5,000 − 0.513 360 9.80 𝑐𝑜𝑠300
−(360)(9.80)(𝑠𝑖𝑛300 ) = 360𝑎𝑥
5,000 − 1,567.39 − 1,764 = 360𝑎𝑥
𝑎𝑥 = 4.64 𝑚Τ𝑠 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 63


4.4 พลังงาน (energy)
4.4.1 พลังงานกล (Mechanical Energy)
พลังงานกล คือพลังงานที่เกิดขึน้ เนื่องจากตาแหน่งของวัตถุหรือเกิด
จากวัตถุเคลื่อนที่ พลังงานกลแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดคือ พลังงานศักย์ และ
พลังงานจลน์
เมือ่ มีพลังงานเราสามารถทาให้เกิดงานได้ พลังงานเป็ นปริมาณส
เกลาร์ มีหน่วยจูล (Joule) เช่นเดียวกับงาน
พลังงานเกิดจากการเปลีย่ นแปลง เช่นการเปลีย่ นแปลงความเร็ว
ความเร่ง ระยะทางหรือการเปลีย่ นแปลงอุณหภูม ิ ถ้าไม่มพี ลังงาน สิง่
ต่าง ๆ เหล่านี้จะไม่เกิดขึน้ พลังงานคือความสามารถในการทางาน
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 64
4.4.1.1 พลังงานศักย์ (potential energy) เป็ นพลังงานทีส่ ะสม
ไว้ในวัตถุพร้อมทีจ่ ะทางาน แบ่งออกเป็ น 2 ชนิดได้แก่
ก. พลังงานศักย์โน้มถ่วง (gravitational potential energy)
เป็ นพลังงานทีส่ ะสมในวัตถุทอ่ี ยูส่ งู หรือต่ากว่าระดับอ้างอิง แสดงดัง
รูป 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 65


จากรูปงานเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
𝑑𝑊 = 𝐹𝑥 𝑑𝑥 + 𝐹𝑦 𝑑𝑦 + 𝐹𝑧 𝑑𝑧
= 0 − 𝑚𝑔 𝑑𝑦 + 0
= −𝑚𝑔(𝑑𝑦)
𝑦2
𝑊1→2 = − ‫)𝑦𝑑(𝑔𝑚 𝑦׬‬
1

= −𝑚𝑔(𝑦2 − 𝑦1 ) (4.16)
กาหนดให้ ℎ = (𝑦2 − 𝑦1 ) จะได้
𝑊1→2 = −𝑚𝑔ℎ (4.17)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 66


จากสมการที่ 4.16 งานเนื่องจากแรงความโน้มถ่วง
𝑊1→2 = −𝑚𝑔(𝑦2 − 𝑦1 )
= 𝑚𝑔𝑦1 − 𝑚𝑔𝑦2
งานเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ไม่ขน้ึ กับเส้นทางการเคลื่อนที่ แต่
ขึน้ อยูต่ าแหน่งเริม่ ต้น กับตาแหน่งสุดท้ายของค่า 𝑚𝑔𝑦 เท่านัน่
กาหนดให้ 𝐸𝑃 = 𝑈 = 𝑚𝑔𝑦
= พลังงานศักย์โน้มถ่วง
ดังนัน่
𝑊1→2 = 𝐸𝑃 1 − 𝐸𝑃 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 67


การใช้สมการที่ 4.17 ทุกครัง้ ให้เลือกแกนอ้างอิงก่อนเสมอ
เมือ่ 𝐸𝑃 หรือ 𝑈 คือพลังงานศักย์โน้มถ่วง หน่วย จูล 𝐽 หรือ
นิวตัน∙เมตร (𝑁 ∙ 𝑚)
𝑚 คือมวลของวัตถุ หน่ วย กิโลกรัม 𝑘𝑔
𝑔 คือความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก หน่วย เมตรต่อวินาที
ยกกาลังสอง 𝑚Τ𝑠 2
ℎ คือระยะหรือความสูงจากระดับอ้างอิง หน่วย เมตร 𝑚
ระดับอ้างอิงต้องขนานกับผิวโลกเสมอจะอยูบ่ ริเวณไหนก็ได้ ปกติจะให้
อยูท่ จ่ี ุดต่าสุดในระบบ
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 68
ข. พลังงานศักย์ยดื หยุน่ (elastic potential energy) เป็ นพลังงาน
ทีส่ ะสมในวัตถุทย่ี ดื หยุน่ เช่น สปริง ยาง แสดงดังรูป

1 2
จากรูปเมื่ออกแรงภายนอก 𝐹 ดึงสปริงจากตาแหน่ง 𝑥1 = 0 ซึ่ง
เป็นจุดสมดุลย์ ให้สปริงยืดออกไปที่ตาแหน่ง 𝑥2 พลังงานศักย์ที่สะสม
ภายในสปริงหาได้จาก
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 69
งานในการยืดหรือหดตัวของสปริงจากสมการที่ 4.12
1 1
𝑊𝑠𝑝 1→2
= − 𝑘𝑥22 + 𝑘𝑥12
2 2

กาหนดให้ 𝐸𝑆𝑃 = 𝑈𝑆𝑃


= พลังงานศักย์สปริง
จากรูปจะได้พลังงานศักย์สปริงเนื่องจากแรงภายนอก 𝐹
𝐸𝑆𝑃 = 𝐸𝑆𝑃2 −𝐸𝑆𝑃1
1 1
=
2
𝑘𝑥22 −
2
𝑘𝑥12 (4.18)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 70


เมื่อ
𝐸𝑆𝑃 หรือ 𝑈𝑆𝑃 คือพลังงานศักย์สปริง หน่วย จูล 𝐽 นิวตัน∙เมตร
(𝑁 ∙ 𝑚)
𝑘 คือ ค่านิจของความยืดหยุ่น หน่วย นิวตันต่อเมตร 𝑁 Τ𝑚
𝑥 คือระยะยืดหรือหดจากจุดสมดุล หน่วย เมตร 𝑚
4.4.1.2 พลังงานจลน์ (kinetic energy) เป็นพลังงานที่เกิดจากการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 71


จากรูปเมื่อวัตถุเคลื่อนที่มาถึงตาแหน่งหนึ่งมีความเร็ว 𝑣1 เมื่อเวลาผ่านไป
มีความเร็ว 𝑣2 การเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์หาได้จาก
𝐸𝑘 = 𝐾
1 1
= 𝑚𝑣22 − 𝑚𝑣12
2 2
1
= 𝑚𝑣 2
2
(4.19)
เมื่อ 𝐸𝑘 หรือ 𝐾 คือพลังงานจลน์ หน่วย จูล 𝐽 หรือ นิวตัน∙เมตร
(𝑁 ∙ 𝑚)
𝑚 คือมวลของวัตถุ หน่วย กิโลกรัม 𝑘𝑔
𝑣 คือความเร็วของวัตถุ หน่วย เมตรต่อวินาที 𝑚 Τ𝑠
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 72
4.5 ความสัมพันธ์ของงานและพลังงาน
งานทั้งหมด = ผลรวมของงานของแรงทุกแรง
𝑊𝑇 = σ 𝐹Ԧ𝑇 ∙ 𝑆Ԧ (4.20)
งานทั้งหมด = ผลต่างของพลังงานจลน์
𝑊𝑇 = ∆𝐸𝑘 = 𝐸𝑘2 − 𝐸𝑘1
1
=
2
𝑚 𝑣22 − 𝑣12 (4.21)
เมื่อ 𝑊𝑇 คืองานทั้งหมด หน่วย จูล 𝐽 หรือ นิวตัน∙เมตร (𝑁 ∙ 𝑚)
𝐸𝑘2 คือพลังงานจลน์ตอนหลัง หน่วย จูล 𝐽 หรือ นิวตัน∙เมตร
(𝑁 ∙ 𝑚)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 73
𝐸𝑘1 คือพลังงานจลน์ตอนแรก หน่วย จูล 𝐽 หรือ นิวตัน∙เมตร
(𝑁 ∙ 𝑚)
เนื่องจากงานของ 𝑚𝑔 และของ 𝐹 = 𝑘𝑥 เป็นพลังงานศักย์คือ
1
𝑚𝑔ℎ และ 𝑘𝑥 2 ตามลาดับ ดังนั้นจึงเขียนสมการของงาน-พลังงาน
2
เนื่องจากแรงภายนอกที่ไม่ใช่แรง 𝑚𝑔 และ 𝑘𝑥 ได้ดังนี้
𝑊𝑒𝑥𝑡 = 𝐸𝑘 + 𝐸𝑃 + 𝐸𝑆𝑃 2 − 𝐸𝑘 + 𝐸𝑃 + 𝐸𝑆𝑃 2 (4.22)
เมื่อ 𝑊𝑒𝑥𝑡 คืองานจากแรงภายนอกทุกแรงไม่คิดแรง 𝑚𝑔 และ 𝑘𝑥
𝐸𝑘 + 𝐸𝑃 + 𝐸𝑆𝑃 2 คือพลังงานรวมตอนหลัง
𝐸𝑘 + 𝐸𝑃 +𝐸𝑆𝑃 1 คือพลังงานรวมตอนแรก
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 74
พิจารณากรณีออกแรง 𝐹 ดึงวัตถุมวล 𝑚 ให้เคลื่อนที่บนพื้นที่มีสัมประสิทธ์
ความเสียดทานจลน์ 𝜇𝑘 เมื่อผ่านจุดที่หนึ่ง มีความเร็วเป็น 𝑣1 ผ่านจุดที่
สองมีความเร็ว 𝑣2 ได้ระยะทาง 𝑠 ดังรูป

1 2

เปรียเทียมสมการที่ (4.6) กับสมการที่ (4.22)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 75


จากสมการที่ (4.6) จะได้
1 1
2
𝑚𝑣12 + σ 𝑊1→2 = 2
𝑚𝑣22
1 1
𝑚𝑣12 + 𝐹𝑠 − 𝜇𝑘 𝑚𝑔 𝑠 = 𝑚𝑣22
2 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 76


จากสมการที่ (4.22) เมื่อ 𝐹 และ 𝑓𝑘 คือแรงภายนอกจะได้
𝑊𝑒𝑥𝑡 = ∆𝐸𝑘
1 1
𝐹𝑠 − 𝜇𝑘 𝑚𝑔 𝑠 = 2
𝑚𝑣22 − 𝑚𝑣12
2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 77


ตัวอย่างที่ 4.8 บรรจุภัณฑ์มวล 60𝑘𝑔 ซึ่งเคลื่อนที่ไปบนพื้นผิวราบด้วย
ความเร็ว 2.5 𝑚Τ𝑠 เข้าชนสปริงที่ใช้สาหรับหยุดมีค่าคงที่ 𝑘 =
20 𝑘𝑁Τ𝑚 ถูกยึดด้วยสายเคเบิลเพื่ออัดสปริงเข้าไป 120𝑚𝑚 ดังรูป
เมื่อบรรจุภัณฑ์ชนสปริงทาให้สปริงหดจากเดิมเข้าไปอีก 40𝑚𝑚 และ
บรรจุภณั ฑ์หยุดชั่วขณะ ก่อนเคลื่อนที่กลับ จงคานวณหา
ก. สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
Cable จลนศาสตร์ระหว่างบรรจุภัณฑ์
และพื้นผิว
ข. ความเร็วของบรรจุภัณฑ์
เมื่อเคลื่อนที่กลับและผ่าน
ตาแหน่งเดิมก่อนเข้าชนสปริง
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 78
วิธีทา ก. เขียน FBD แสดงแรงที่กระทาต่อบรรจุภัณฑ์ อาศัยความสัมพันธ์
ของงานและพลังงานจากสมการที่ 4.6 จะได้ว่า

a b
1 2

ช่วงแรก บรรจุภัณฑ์มีความเร็ว 𝑣1 = 2.5 𝑚Τ𝑠 ที่ตาแหน่งที่ 1 มี


1
พลังงานจลน์ 𝐸𝑘 1 = 2 𝑚𝑣12 ส่วนสปริงถูกสายเคเบิลอัดเข้าไป
1
120𝑚𝑚 อยู่ที่ตาแหน่ง 𝑎 เกิดพลังงานศักย์สปริง 𝐸𝑠𝑝 𝑎 = 𝑘𝑥𝑎2
2
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 79
เมื่อบรรจุภัณฑ์เคลื่อนที่จากตาแหน่งที่ 1 เข้าชนสปริงสปริงที่ตาแหน่ง 𝑎
และกดสปริงเข้าไปอีก 40𝑚𝑚 จนหยุดที่ตาแหน่ง 𝑏
บรรจุภัณฑ์เคลื่อนที่จาก 1 → 2 จนกระทั่งหยุดที่ตาแหน่ง 𝑏 ได้
ระยะทางทั้งหมด 𝑆 = 600 + 40 𝑚𝑚 และสปริงหดจาก 𝑎 → 𝑏
ระยะอัดสปริง 𝑥𝑏 = (120 + 40)𝑚𝑚 ทาให้พลังงานจลน์เปลี่ยนเป็น
งานจาก 1 → 2 และเปลี่ยนเป็นพลังงานศักย์สปริงจาก 𝑎 → 𝑏 จาก
สมการที่ 4.6 จะได้

𝐸𝑘 1 + 𝐸𝑠𝑝 𝑎
= 𝑊1→2 + 𝐸𝑠𝑝 𝑏

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 80


จากสมการที่ 4.6 จะได้
𝐸𝑘 1 + 𝐸𝑠𝑝 𝑎
= 𝑊1→2 + 𝐸𝑠𝑝 𝑏
1 1 1
2
𝑚𝑣12 + 𝑘𝑥𝑎2
2
= 𝜇𝑘 𝑚𝑔 𝑠 +
2
𝑘𝑥𝑏2

1 2 1
60 (2.50) + 20 × 103 0.12 2
2 2
1
= 𝜇𝑘 60 9.8 0.64 +
2
(20 × 103 ) 0.16 2

187.5 + 144 = 376.32𝜇𝑘 + 256

75.5
𝜇𝑘 = 376.32
= 0.200

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 81


หรือคานวณจากสมการที่ 4.22 จะได้
𝑊1→2 = ∆𝐸𝑆𝑃 + ∆𝐸𝑘

1 1 1 1
−𝜇𝑘 𝑚𝑔 𝑠 = 2
𝑘𝑥𝑏2 − 𝑘𝑥𝑎2
2
+
2
𝑚𝑣22 −
2
𝑚𝑣12

1
− 𝜇𝑘 60 9.8 0.64 = 2
20 × 103 0.162 − 0.122
1
+ 60 02 − 2.52
2

−376.32𝜇𝑘 = 112 − 187.5


75.5
𝜇𝑘 = 376.32
= 0.200

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 82


ข.เขียน FBD แสดงแรงที่กระทาต่อบรรจุภัณฑ์ อาศัยความสัมพันธ์
ของงานและพลังงานจะได้ว่า
b a

2 1

ช่วงที่สอง สปริงจะคลายตัวจากตาแหน่ง 𝑎 มายังตาแหน่ง 𝑏 เมื่อ


𝑥𝑏 = 120𝑚𝑚 พลังงานศักย์สปริงที่ตาแหน่ง 𝑎 จะเปลี่ยนเป็น
พลังงานศักย์สปริงที่ 𝑏 งานเนื่องจากแรงเสียดทานจากตาแหน่งที่ 1 ไป
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 83
b a

2 1

ยังตาแหน่งที่ 2 และพลังงานจลน์จากตาแหน่งที่ 2 ไปยังตาแหน่งที่ 1


เขียนเป็นสมการโดยอาศัยสมการที่ 4.6 ได้ดังนี้
1 1 1 1
2
𝑚𝑣12 + 𝑘𝑥𝑎2
2
= 2
𝑘𝑥𝑏2 + 𝑊1→2 +
2
𝑚𝑣22
1
2
𝑘𝑥𝑎2 = 1
2
𝑘𝑥𝑏2 + 𝑊1→2 +
1
2
𝑚𝑣22

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 84


1 1 1
2
𝑘𝑥𝑎2 = 2
𝑘𝑥𝑏2 + 𝜇𝑘 𝑚𝑔(𝑠) +
2
𝑚𝑣22

1
2
3
20 × 10 (0.16) 2
= 1
2
20 × 103 (0.12)2
1
+ 0.20 60 9.8 0.64 + (60)𝑣22
2

256 = 144 + 75.264 + 30𝑣22

36.736
𝑣22 = 30

𝑣2 = 1.11 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 85


หรือคานวณจากสมการที่ 4.22 จะได้

b a

2 1

𝑊1→2 = ∆𝐸𝑆𝑃 + ∆𝐸𝑘


1 1 1 1
−𝜇𝑘 𝑚𝑔 𝑠 = 2
𝑘𝑥𝑏2 − 𝑘𝑥𝑎2
2
+
2
𝑚𝑣22 −
2
𝑚𝑣12

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 86


1 1 1
−𝜇𝑘 𝑚𝑔 𝑠 = 2
𝑘𝑥𝑏2 − 𝑘𝑥𝑎2
2
+
2
𝑚𝑣22
1
−0.20(60)(9.80)(0.64) = 2
(20 × 103 )(0.122 − 0.162 )
1
+ (60𝑣22 )
2

−75.264 = −112 + 30𝑣22


36.736
𝑣𝐵2 = 30

𝑣𝐵 = 1.11 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 87


4.6 หลักการคงตัวของพลังงาน (conservation of energy)
จากหัวข้อที่ 4.5 ถ้าไม่มีแรงภายนอกมากระทาต่อวัตถุ ยกเว้น 𝑚𝑔 และ
𝑘𝑥 ซึ่งเป็นแรงภายใน จะได้ 𝑊𝑒𝑥𝑡 = 0 ดังนั้น
𝐸𝑘 + 𝐸𝑃 + 𝐸𝑆𝑃 1 = 𝐸𝑘 + 𝐸𝑃 + 𝐸𝑆𝑃 2 (4.23)
พลังงานรวมตอนแรก = พลังงานรวมตอนหลัง
เรียกสมการที่ 4.23 ว่ากฎการอนุรกั ษ์พลังงาน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 88


สรุป จากความสัมพันธ์ของงานและพลังงานหัวข้อที่ 4.5
𝑊𝐹 ภายนอก = ∆𝐸𝑃 + ∆𝐸𝑠𝑝 + ∆𝐸𝑘
งาน(จากแรงภายนอก)* => เท่ากับอัตราการเปลีย่ นแปลงพลังงาน
𝐸𝑃 + 𝐸𝑠𝑝 + 𝐸𝑘 = 𝑊 + 𝐸𝑃 + 𝐸𝑠𝑝 + 𝐸𝑘
พลังงาน => เปลี่ยนรูปเป็นงาน(จากแรงภายนอก)** + พลังงงาน
ถ้างานจากแรงภายนอก***เป็นศูนย์ เรียกว่ากฎการอนุรักษ์พลังงาน
หัวข้อที่ 4.6
* งานจากแรงเสียดทานเครื่องหมายลบ

** งานจากแรงเสียดทานเครื่องหมายบวก
*** งานจากแรงภายนอกเป็นศูนย์
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 89
ตัวอย่างที่ 4.9 รถรางมวล 1,000𝑘𝑔 เริ่มถูกปล่อยออกจากจุดหยุดนิ่ง
ที่ตาแหน่งที่ 1 ลงมาตามรางลื่น ดังรูป จงคานวณหา
ก. แรงที่รางกระทาต่อรถรางที่ตาแหน่งที่ 2
ข. รัศมีความโค้งที่น้อยที่สุดของรางโค้งที่รถรางไม่หลุดออกจากรางโค้งที่
ตาแหน่งที่ 3

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 90


วิธีทา เขียน FBD แสดงแรงต่าง ๆ ที่ตาแหน่งที่ 2 และ 3
1
3

ก. รถรางวิ่งบนรางลื่น จากที่ตาแหน่งที่ 1 (รถอยู่นิ่ง) ไปยังตาแหน่งที่ 2


แรงที่รางกระทาต่อรถรางที่ตาแหน่งที่ 2 รถวิ่งเป็นวงกลม เมื่อไม่มีแรง
ภายนอกมากระทาจากกฎการอนุรักษ์พลังงานจะได้ว่า
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 91
𝐸1 = 𝐸2
1
𝑚𝑔ℎ1 = 𝑚𝑣22
2
𝑣2 = 2𝑔ℎ1 = 2(9.80)(12)
= 15.34 𝑚Τ𝑠
จากกฎข้อสองของนิวตัน
𝐹𝑛 = 𝑚𝑎𝑛
𝑣22
𝑁 − 𝑚𝑔 = 𝑚
𝑟
𝑣22
𝑁 = 𝑚 𝑔 +
𝑟
15.342
= 1000 9.8 +
6
= 49,019.27 𝑁
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 92
ข. หารัศมีความโค้งของรางที่น้อยที่สุดที่ไม่ทาให้รถรางหลุดจากรางโค้ง
เมื่อรถรางจากที่ตาแหน่งที่ 2 ไปยังตาแหน่งที่ ขณะที่รถกาลังจะหลุดจาก
รางโค้งเมื่อ 𝑁 = 0 จากกฎการอนุรักษ์พลังงานจะได้ว่า
𝐸2 = 𝐸3

1 1
𝑚𝑣22 = 𝑚𝑣32 + 𝑚𝑔ℎ3
2 2

(15.34)2 𝑣32
= + 9.8(4.5)
2 2

𝑣3 = 12.13 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 93


จากกฎข้อสองของนิวตัน
𝐹𝑛 = 𝑚𝑎𝑛
𝑣32
𝑚𝑔 − 𝑁 = 𝑚
𝑟
𝑣32
𝑚𝑔 − 0 = 𝑚
𝑟
𝑣32 12.132
𝑟 = =
𝑔 9.8

= 15.02𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 94


Quiz 4.5 รางรถไฟเหาะประกอบด้วยส่วนโค้ง 𝐴𝐵 รัศมี 30𝑚 และ
𝐶𝐷 รัศมี 80𝑚 มวลรวมของรถและผู้โดยสารเท่ากับ 300𝑘𝑔 ที่จุด 𝐴
รถไฟเหาะไม่มีความเร็ว และตกลงมาอย่างอิสระตลอดเส้นทาง จงหา
แรงปฎิกิริยาที่รางรถไฟกระทากับรถไฟเหาะที่จุด 𝐷 ไม่คิดแรงต้าน
อากาศและแรงเสียดทานที่ล้อขณะหมุน 6615𝑁

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 95


ตัวอย่างที่ 4.10 กล่องมวล 10 𝑘𝑔 ถูกปล่อยจากจุด 𝐴 แสดงดังรูป
ให้เคลื่อนทีล่ งมาตามทางลื่น ยกเว้นช่วง 𝐵𝐶 ซึง่ มีความยาว 6𝑚 วิ่ง
เข้าชนสปริงที่มีคา่ นิจสปริง 𝑘 = 2250 𝑁Τ𝑚 ทาให้สปริงถูกอัดเข้า
ไป 0.30 𝑚 จากจุดสมดุล ทาให้กล่องหยุดชัวขณะ ่ จงคานวณหา
สัมประสิทธิความเสี
์ ยดทานจลน์ระหว่างกล่องกับพืน้ ผิวในช่วง 𝐵𝐶

m
A

B C

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 96


วิธีทา เขียน FBD แสดงแรงต่าง ๆ ทั้งระบบ จากจุด 𝐴 กล่องอยู่นิ่ง
จนกระทั่งกล่องชนสปริงแล้วอัดเข้าไปเป็นระยะ 0.30 𝑚 แล้วกล่องหยุด
ชั่วขณะ แสดงว่าความเร็วไม่มีการเปลี่ยนแปลง ช่วง 𝐵𝐶 มีแรงเสียดทาน
แสดงว่ามีแรงภายนอกมากระทาจากความสัมพันธ์ระหว่างงานและ
พลังงาน จะได้

m
A

m m m

B C 1 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 97


วิธีทา จากสมการที่ 4.22 จะได้

𝑊𝑒𝑥𝑡 = ∆𝐸𝑃 + ∆𝐸𝑆 + ∆𝐸𝑘


1 1
−𝑓𝑘 s = 𝑚𝑔ℎ𝐵 − 𝑚𝑔ℎ𝐴 + 𝑘𝑥22 − 𝑘𝑥12 +0
2 2
1
−𝜇𝑘 𝑚𝑔𝑠 = −𝑚𝑔ℎ𝐴 +
2
𝑘𝑥22 (***)
1
−𝜇𝑘 (10)(9.80)(6) = −10 9.80 3 + (2250)(0.30)2
2
−588𝜇𝑘 = −294 + 101.25
−192.75
𝜇𝑘 =
−588
= 0.328

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 98


จากสมการ (***) เมือ่ นามาเขียนสมการใหม่จะได้วา่
1
𝑚𝑔ℎ𝐴 = 𝜇𝑘 𝑚𝑔𝑠 + 𝑘𝑥22
2

เขียนเป็ นสมการใหม่ นันพลั


่ งงานเปลีย่ นรูป กล่าวคือพลังงานไม่ม ี
การสูญหายจะได้เป็ น
𝐸𝐴 = 𝑊𝐵𝐶 +𝐸𝑠𝑝
คือความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน ดูตวั อย่างที่ 4.8 ประกอบ
∆𝐸1 = 𝑊1→2 + ∆𝐸2 (4.24)
ข้อควรระวัง การใช้สมการที่ 4.22 หรือสมการที่ 4.24 หรือสมการที่ (4.6) คาตอบที่ได้จะเท่ากัน
ให้ระวังเครือ่ งหมายของงาน 𝑊

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 99


จากตัวอย่างที่ 4.10 เมื่อคิดทั้งระบบใช้สมการที่ (4.24) คือความสัมพันธ์
ระหว่างงานและพลังงาน มาคานวณให้พิจารณาดังนี้
เมื่อกล่องเคลื่อนที่จากตาแหน่ง 𝐴 จากจุดหยุดนิ่ง ไปจนกระทบสปริง
ที่ตาแหน่งที่ 2 แล้วหยุดนิ่งชั่วขณะ (แสดงว่าพลังงานจลน์ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง) ช่วง 𝐵𝐶 มีแรงเสียดทาน แสดงว่าพลังงานศักย์โน้มถ่วง
เปลี่ยนเป็นงานในช่วง 𝐵𝐶 เมื่อกล่องออกจากช่วง 𝐵𝐶 ยังมีความเร็วอยู่
และเข้าชนสปริงและหยุดชั่วขณะ 𝑣2 = 0 ที่ตาแหน่ง 2 พลังงานจลน์
จะเปลี่ยนเป็นพลังงานศักย์สปริง เขียนเป็นสมการได้ดังนี้

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 100


จากสมการที่ 4.6 หรือสมการที่ 4.24 จะได้
∆𝐸𝑃 = 𝑊𝐵→𝐶 +∆𝐸𝑠𝑝
1
𝑚𝑔ℎ𝐴 = 𝑓𝑘 𝑠 +
2
𝑘𝑥22 (งานจากแรงเสียดทานเป็ นบวก)
1
= 𝜇𝑘 𝑚𝑔𝑠 + 𝑘𝑥22
2
1
10(9.80)(3) = 𝜇𝑘 10 9.80 6 + (2250)(0.30)2
2
294 = 588𝜇𝑘 + 101.25
294−101.25
𝜇𝑘 =
588
= 0.328
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 101
ตัวอย่างที่ 4.11 จากรูปออกแรง 𝐹 =
250 𝑁 ทีป ่ ลายเชือก 𝐵 เมือ่ ดึงกล่อง 𝐴 มวล
10𝑘𝑔 จากจุดหยุดนิ่งจงหาความเร็วของมวล
𝐴 เมือ่ เคลื่อนทีไ่ ด้ระยะทาง 1.5 𝑚
วิธีทา จากหัวข้อที่ 3.4.3 หาความยาวของเส้น
เชือก 𝑆𝐹 ด้านทีถ่ กู ดึงด้วยแรง 𝐹 เมือ่ มวล 𝐴
เคลื่อนทีข่ น้ึ ได้ระยะทาง 𝑆𝐴 = 1.5𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 102


วิธีทา จากหัวข้อที่ 3.4.3 หาความยาวของ
เส้นเชือก 𝑆𝐹 ด้านทีถ่ กู ดึงด้วยแรง 𝐹 เมือ่
มวล 𝐴 เคลื่อนทีข่ น้ึ ได้ระยะทาง 𝑆𝐴 =
1.5𝑚
2𝑆𝐹 + 𝑆𝐴 = 𝑙
เมือ่ ออกแรงดึงกาหนดให้ทศิ พุง่ เข้าจุดอ้างอิง
เป็ นบวกจะได้
𝑆𝐴 1.5
𝑆𝐹 = =
2 2
= 0.75 𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 103


เขียน FBD แสดงแรงทีก่ ระทาต่อกล่อง
และทีจ่ ุด 𝐵 กาหนดตาแหน่งการเคลื่อนที่
ของกล่อง 𝐴 และจุด 𝐵 เมือ่ 𝐹 คือแรง
ภายนอก ดังนันจะได้
่ วา่
1
𝑊𝑒𝑥𝑡 = ∆𝐸𝑘 + ∆𝐸𝑃
II
2 1 2
1
𝐹(𝑆𝐹 ) = 𝑚𝑣𝐼𝐼 − 𝑚𝑣𝐼2 + (𝑚𝑔ℎ𝐼𝐼 − 𝑚𝑔ℎ𝐼 )
2 2
1 2
250(0.75) = 10 𝑣𝐼𝐼 + 10(9.80)(1.5)
2
I
𝑣𝐼𝐼 = 2.85 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 104


Quiz-4.6 กล่องบรรจุภัณฑ์เคลื่อนที่ลงมาตามพื้นเอียงทามุม 300 ด้วย
ความเร็ว 1 𝑚Τ𝑠 ถ้ากล่องบรรจุภัณฑ์เคลื่อนที่ไปตามพื้นผิว 𝐴𝐵𝐶
เมื่อไปถึงสายพานลาเลียงกล่องบรรจุภณ ั ฑ์มีความเร็ว 2 𝑚Τ𝑠 จง
หารระยะทาง 𝑑 ดังรูปถ้าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ระหว่าง
พืน้ ผิว 𝐴𝐵𝐶 กับกล่องบรรจุภัณฑ์มีค่า 0.25 6.71𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 105


4.7 การดลและโมเมนตัมเชิงเส้นของอนุภาค

บางกรณีกฎการเคลื่อนทีข่ องนิวตัน และทฤษฎีของงานและ


พลังงานไม่เพียงพอนการวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ได้เช่น การ
ชนการระเบิด ดังนัน้ ในหัวข้อนี้เราจะศึกษาเกีย่ วกับโมเมนตัม การดล
การชน และกฎการอนุรกั ษ์โมเมนตัมเพือ่ นามาใช้ในการแก้ปัญหา

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 106


จากรูปอนุภาคมวล 𝑚 เคลื่อนทีต่ ามเส้นทางการเคลื่อนทีใ่ น
ระบบพิกดั แกนมุมฉาก ภายใต้แรงลัพธ์ σ 𝐹Ԧ กระทา มวล 𝑚 จะมี
ความเร็ว 𝑣 ในแนวเส้นสัมผัสกับการเคลื่อนที่ และความเร่ง 𝑎 =
𝑑𝑣Τ𝑑𝑡 ทิศเดียวกับแรงลัพธ์
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 107
จากกฎการเคลื่อนทีข่ อ้ สองของนิวตัน
𝑑𝑣
σ 𝐹Ԧ = 𝑚𝑎Ԧ = 𝑚
𝑑𝑡
𝑑
σ 𝐹Ԧ =
𝑑𝑡
(𝑚𝑣)
Ԧ (4.25)
เรียกว่าแรงดล
σ 𝐹Ԧ
𝑚𝑣Ԧ เรียกว่าโมเมนต์มันเชิงเส้นแทนด้วย 𝑃 เป็นปริมาณเวกเตอร์
ทิศเดียวกับ 𝑣Ԧ หน่วยเป็นกิโลกรัม-เมตรต่อวินาที 𝑘𝑔 ∙ 𝑚Τ𝑠 หรือ
นิวตัน-วินาที 𝑁 ∙ 𝑠 ถ้าพิจารณาการเคลื่อนที่ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ
𝑡1 → 𝑡2 แรงลัพธ์ที่กระทาต่อการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงเส้นคือ
𝑡2 𝑣2
Ԧ
‫ 𝑡׬‬σ 𝐹𝑑𝑡 = ‫𝑣𝑑𝑚 𝑣׬‬
1 1
= 𝑚𝑣Ԧ2 − 𝑚𝑣Ԧ1 (4.26)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 108
𝑡2
Ԧ
‫ 𝑡׬‬σ 𝐹𝑑𝑡
1
เรียกว่าการดล (Impulsive) ของแรง σ 𝐹Ԧ แทนด้วย
𝐼𝑚𝑝 1−2 เป็นปริมาณเวกเตอร์ทิศเดียวกับแรง σ 𝐹Ԧ ที่มากระทา หน่วย
เป็ นกิโลกรัม-เมตรต่อวินาที 𝑘𝑔 ∙ 𝑚Τ𝑠 หรือ นิวตัน-วินาที 𝑁 ∙ 𝑠
สมการเชิงเส้นของการดลและโมเมนตัมเขียนในรูปเวกเตอร์
𝑡2
𝑚𝑣Ԧ1 + ‫ 𝑡׬‬σ 𝐹𝑑𝑡
1
Ԧ = 𝑚𝑣Ԧ2 (4.27)

+ =
Initial Impulse Final
momentum diagram momentum
diagram diagram
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 109
สมการเชิงเส้นของการดลและโมเมนตัมเขียนในรูปสมการสเกลาร์ในระบบ
พิกัดแกนมุมฉาก

𝑡2
𝑚 𝑣𝑥 1 + σ ‫𝑡𝑑 𝑥𝐹 𝑡׬‬
1
= 𝑚 𝑣𝑥 2 (4.28)

𝑡2
𝑚 𝑣𝑦
1
+ σ ‫𝑡𝑑 𝑦𝐹 𝑡׬‬
1
= 𝑚 𝑣𝑦
2
(4.29)

𝑡2
𝑚 𝑣𝑧 1 + σ ‫𝑡𝑑 𝑧𝐹 𝑡׬‬
1
= 𝑚 𝑧 2 (4.30)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 110


4.8 การดล (Impulse) และแรงดล (Impulsive Force)
เมือ่ มีแรงมากระทากับวัตถุในช่วงเวลาสัน้ ๆ เช่น การเตะลูกบอล
การตอกตะปู หรือแม้กระทังการตี
่ กอล์ฟ ล้วนแต่ทาให้โมเมนตัมของ
วัตถุเปลีย่ นแปลง ถ้าพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างแรงทีม่ ากระทา
กับวัตถุและโมเมนตัมทีก่ ระทากับวัตถุ โดยพิจารณาเฉพาะกรณีทแ่ี รง
𝐹Ԧ คงที่จะได้ จากสมการที่ 4.25
𝑑 𝑑𝑃
σ 𝐹Ԧ =
𝑑𝑡
𝑚𝑣Ԧ =
𝑑𝑡
(4.31)
เรียก σ 𝐹Ԧ ในช่วงเวลาสัน้ ๆ ว่าแรงดลมีคา่ เท่ากับอัตราการเปลี่ยน
แปลงโมเมนตัมต่อเวลาที่เปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาสัน้ ๆ 𝑑𝑃Τ𝑑𝑡
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 111
เมื่อแรงที่กระทามีคา่ เปลี่ยนแปลงตามเวลา การดลเชิงเส้นของแรง
𝑡2
ในช่วงเวลา 𝑡1 ถึง 𝑡2 คือ ‫𝑡׬‬1 σ 𝐹𝑑𝑡Ԧ จะเท่ากับพืน้ ที่ใต้กราฟระหว่าง 𝐹
กับ 𝑡 ดังรูป
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 112
ตัวอย่างที่ 4.12 ลูกบอลมวล 0.5𝑘𝑔 ตกกระทบพืน้ แล้วสะท้อนกลับ
ดังรูป ไม่คิดนา้ หนักของลูกบอลขณะกระทพืน้ ดิน
ก. จงเขียนแผนผัง (diagram) ของโมเมนตัม และการดล
ข. คานวณหาขนาดของการดลที่พืน้ กระทาต่อบอล

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 113


วิธีทา ก.

+ =

𝑡2
ข. 𝑚𝑣Ԧ1 +
1
Ԧ
‫ 𝑡׬‬σ 𝐹𝑑𝑡 = 𝑚𝑣Ԧ2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 114


+ =

𝑡2
0
0.5 25cos45 𝑖Ƹ + 25𝑠𝑖𝑛45 −𝑗Ƹ 0
+ Ԧ
‫ 𝑡׬‬σ 𝐹𝑑𝑡
1
= 0.5(10𝑐𝑜𝑠300 𝑖Ƹ + 10𝑠𝑖𝑛300 𝑗Ƹ
𝑡2
Ԧ
8.839𝑖Ƹ − 8.839𝑗Ƹ + ‫ 𝑡׬‬σ 𝐹𝑑𝑡 = (4.33𝑖Ƹ + 2.5𝑗)Ƹ
1

Ԧ𝐼 = ‫𝑡׬‬2 σ 𝐹𝑑𝑡
Ԧ = −4.509𝑖Ƹ + 11.339𝑗Ƹ
𝑡1
𝐼Ԧ = (−4.509)2 +(11.339)2 𝑁 ∙ 𝑠 = 12.2 𝑁 ∙ 𝑠
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 115
𝐼Ԧ = (−4.509)2 +(11.339)2 𝑁 ∙ 𝑠
= 12.2 𝑁 ∙ 𝑠
−1 𝐼𝑦 −1 11.339
∅ = 𝑡𝑎𝑛 = 𝑡𝑎𝑛
𝐼𝑥 −4.509
0
= −68.31
ตัวอย่างที่ 4.13 นักบอลเตะบอลมวล 150𝑔
ซึง่ วางอยูบ่ นพืน้ สนามหญ้าโดยทามุม 600
ทาให้บอลตกบนสนามหญ้าห่างจากจุดเตะไป
เป็ นระยะ 12𝑚 จงหาการดลขณะทีเ่ ตะบอลที่
จุด 𝐴 ไม่คดิ การดลเนื่องจากน้ าหนักของบอล
ขณะถูกเตะ ดังรูป
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 116
วิธีทา การดลที่ลูกบอล เดิมลูกบอลอยู่นิ่ง 𝑣Ԧ1 = 0 เมื่อถูกการดล
‫ ׬‬σ 𝐹𝑑𝑡 = 𝐼 กระทาในช่วงเวลาสั้น ๆ ทาให้ลูกบอลมีความเร็ว 𝑣Ԧ2

+ =

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 117


𝑡2
Ԧ
𝑚𝑣Ԧ1 + ‫𝑡׬‬1 σ 𝐹𝑑𝑡 = 𝑚𝑣Ԧ2
𝑡2
Ԧ
0 + ‫𝑡׬‬1 σ 𝐹𝑑𝑡 = 𝑚𝑣Ԧ2
𝐼 = 𝑚𝑣Ԧ2 (1)
หาความเร็วขณะทีล่ กู บอลถูกการดล จากการเคลื่อนทีแ่ บบโปรเจคไตล์
เขียน FBD ทีบ่ อลเมือ่ เตะบอลออกไปบอลจะเคลื่อนทีแ่ บบโปรเจคไตล์

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 118


แกน 𝑦
1
𝑦 = 𝑣0𝑦 𝑡 + 𝑔𝑡 2
2
0 1
0 = 𝑣 𝑠𝑖𝑛60 𝑡 − (9.80)𝑡 2
2
4.90𝑡 2 = 0.866𝑣𝑡
𝑡 = 0.177𝑣 (2)
แกน 𝑥
𝑥 = 𝑣0𝑥 𝑡 (3)
แทนสมการที่ (2) และค่าต่าง ๆ ลงในสมการที่ (3)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 119


12 = 𝑣(𝑐𝑜𝑠600 )(0.177𝑣)
𝑣 = 11.64 𝑚 Τ𝑠
แทน 𝑣2 ด้วย 𝑣 ลงในสมการที่ (1)
𝐼 = 𝑚𝑣Ԧ2
= (0.15)(11.64)
= 1.75 𝑁𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 120


Quiz-4.7 ลูกกอล์ฟ 0.05𝑘𝑔 ถูกตีโดยไม้กอล์ฟออกจากแท่นตีโดยทา
มุม 300 ทาลูกกอล์ฟเคลื่อนตามในวิถีโค้งตกห่างจากจุดตีเป็นระยะ
150𝑚 ดังรูป ถ้าไม้กอล์ฟสัมผัสกับลูกกอล์ฟเป็นเวลา 0.5𝑚𝑠 ไม่คิดการ
ดลเนื่องจากน้าหนักของลูกกอล์ฟ
ก. จงเขียนแผนภาพแสดงโมเมนตัม และการดล
ข. คานวณหาแรงดลเฉลี่ยที่กระทาต่อลูกกอล์ฟ
3568.02𝑖Ƹ + 2060𝑗Ƹ 𝑁

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 121


ตัวอย่างที่ 4.14 เบสบอล 0.120𝑘𝑔 ถูกขว้างออกไปในแนวระดับ
ด้วยความเร็ว 24 𝑚Τ𝑠 หลังจากเบสบอลถูกตีออกไปด้วยไม้ตี เบส
บอลมีความเร็ว 36 𝑚Τ𝑠 ทามุม 400 ดังรูป ถ้าเบสบอลกระทบไม้ตี
เป็ นเวลา 0.015𝑠 จงคานวณหาแรงดลเฉลี่ยทีกระทาต่อบอล ไม่คิด
การดลเนื่องจากน้าหนักของเบสบอล

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 122


วิธีทา ภายหลังจากเบสบอลถูกตีออกไปเบสบอลมีความเร็ว 𝑣Ԧ2
เคลื่อนทีไ่ ปในระนาบ 𝑥𝑦 ดังนั่นเมื่อแยกองค์ประกอบของความเร็วใน
การเคลื่อนที่ได้ดงั สมการ
𝑡2
𝑚𝑣Ԧ1 + Ԧ
‫𝑡׬‬1 σ 𝐹𝑑𝑡 = 𝑚𝑣Ԧ2
𝑡2
−𝑚𝑣1 𝑖Ƹ + Ԧ
‫𝑡׬‬1 𝐹𝑑𝑡 = 𝑚(𝑣2 𝑐𝑜𝑠400 𝑖Ƹ + 𝑣2 𝑠𝑖𝑛400 𝑗)Ƹ
Ԧ = 0.12(36𝑐𝑜𝑠400 𝑖Ƹ + 36𝑠𝑖𝑛400 𝑗)Ƹ
−0.12 24 𝑖Ƹ + 𝐹𝑡
−2.88𝑖Ƹ + 0.015𝐹Ԧ = 3.309𝑖Ƹ + 2.777𝑗Ƹ
𝐹Ԧ = 412.6𝑖Ƹ + 185.13𝑗Ƹ 𝑁
แสดงว่าแรงดลที่กระทากับเบสบอลมีสองแรงคือ 𝐹Ԧ𝑥 = 412.6𝑁 และ
𝐹Ԧ𝑦 = 185.13 𝑁

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 123


𝐹Ԧ = (412.6)2 +(185.13)2 𝑁

= 452.23 𝑁

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 124


Quiz-4.9 รถยนต์มวล 1,800𝑘𝑔 ขับลงมาตามทางลาดเอียง 50 ด้วย
ความเร็ว 100 𝑘𝑚Τℎ𝑟 เมื่อเหยียบเบรกทาให้เกิดแรงกระทาต่อเบรก
คงที่ 7,000𝑁 นานเท่าใดรถยนต์จึงจะหยุด (9.15𝑠)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 125


ตัวอย่างที่ 4.15 ยานลูนาร์มวล 200𝑘𝑔
ก่อนถึงผิวดวงจันทร์ 10𝑠 ยานลูนาร์อยู่
เหนือผิวดวงจันทร์ 150𝑚 เคลื่อนที่ลง
ด้วยอัตราเร็ว 45 𝑚Τ𝑠 ที่ระดับความสูง
นี้ยานลานี้ได้ติดเครื่องยนต์เพื่อสร้างแรงยก
𝑇 = 1.8𝑘𝑁 เพื่อต้องการลดอัตราเร็วใน
การลงจอดบนผิวดวงจันทร์
จงหาเวลา 𝑡 ที่ทาให้ยานลูนาร์ลงจอดบนผิวดวงจันทร์ด้วยความเร็ว
1.5 𝑚Τ𝑠 ถ้าความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดใกล้ผิวดวงจันทร์มีค่า
เท่ากับ 1.62 𝑚Τ𝑠 2
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 126
วิธีทา เขียน คิดแกน 𝑦 ทิศลงเป็นบวก ก่อนถึงผิวดวง
FBD จันทร์ 10𝑠 ยานลูนาร์ต้องสร้างแรงดล
𝑡2
𝑚𝑣1 + σ ‫𝑡׬‬1 𝐹𝑑𝑡 = 𝑚𝑣2
เมื่อ 𝐹 คือแรงดลมีผลต่อแรงสองแรงคือ
𝑚𝑔 และ 𝑇 ทาให้ความเร็วของยาน
ลูนาร์ลดลง
𝑚𝑣1 + 𝑚𝑔 − 𝑇 𝑡 = 𝑚𝑣2
𝑚𝑔 − 𝑇 𝑡 = 𝑚 𝑣2 − 𝑣1
200(1.5−45)
𝑡 =
200 1.62 −1800

= 5.89𝑠
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 127
Quiz-4.8 กล่อง 𝐵 มวล 200𝑘𝑔 และ
ทรงกระบอก 𝐴 มวล 75𝑘𝑔 ผูกติดด้วยเชือก
และคล้องผ่านรอกเบาดังรูป ระบบเริ่มต้นจาก
จุดหยุดนิ่ง จงคานวณหาความเร็วของกล่อง 𝐵
และทรงกระบอก 𝐴 เมื่อเวลา 𝑡 = 3𝑠
𝑣𝐴 = 8.40 𝑚Τ𝑠 ↓; 𝑣𝐵 = 2.10 𝑚Τ𝑠 ↑

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 128


4.9 กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น
เมื่อผลรวมของแรงดลจากภายนอกที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็ น
ศูนย์ σ 𝐹Ԧ = 0 จากสมการที่ 4.27 สมการเชิงเส้นของการดลและ
โมเมนตัมมีค่าเป็น
σ 𝑚𝑖 𝑣𝑖 1 = σ 𝑚𝑖 𝑣𝑖 2 (4.32)
σ 𝑃𝑖
ก่อนชน =
σ 𝑃𝑖
หลังชน (4.33)

เรียกสมการที่ 4.32; 4.33 นี้วา่ กฎการอนุรกั ษ์โมเมนตัมเชิงเส้น


(Law of Conservation of Linear Momentum)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 129
กฎการอนุรกั ษ์ของโมเมนตัมเชิงเส้น ใช้เมื่อวัตถุชนกันหรือมี
ผลกระทบต่อกัน เมื่อวัตถุชนกันจะแรงดลขึ้น (impussive force) ภายใน
วัตถุเป็นผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงเส้น
4.10 การชนกันของวัตถุ (Impact)
ผลกระทบเกิดขึ้นเมื่อวัตถุคู่หนึ่งชนกันทาให้เกิดแรงเนื่องจากการชนมี
ค่ามากและเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ ตัวอย่างเช่นค้อนตอกตะปูหรือไม้ตีตี
ลูกเทนนิส
ถ้าแบ่งการชนระหว่างวัตถุโดยพิจารณาจากเส้นแนวการชน (line of
Impact) จะแบ่งออกได้ 2 แบบดังนี้

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 130


ก. การชนแบบผ่านจุดศูนย์กลางมวล (Direct Central Impact)

การชนแบบผ่านจุดศูนย์กลางมวล คือการชนที่วัตถุทั้งสองเคลื่อนที่
เข้าชนกันโดยความเร็วในการชนอยู่ในเส้นแนวการชน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 131


ข. การชนแบบไม่ผ่านจุดศูนย์กลางมวล (Oblique Central
Impact)

การชนแบบไม่ผ่านจุดศูนย์กลางมวล คือการชนที่วัตถุทั้งสอง
เคลื่อนที่เข้าชนกันโดยความเร็วในการชนไม่อยู่ในแนวเส้นการชน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 132


4.10.1 การชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์ เมื่อชนแล้ววัตถุจะแยกจากกัน
การชนแบบนี้จะได้ว่า
σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน (4.34)
σ 𝐸𝑘 ก่อนชน = σ 𝐸𝑘 หลังชน (4.35)

ก่อนชนและหลังชน ความเร็วอยู่ในแนวการชน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 133


σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน

โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ ทิศความเร็วไปทางขวาเป็นบวก
𝑚𝑎 (𝑣𝑎 )1 𝑖Ƹ + 𝑚𝑏 (𝑣𝑏 )1 𝑖Ƹ = 𝑚𝑎 𝑣𝑎 2 𝑖Ƹ + 𝑚𝑏 𝑣𝑏 2 𝑖Ƹ
𝑚𝑎 𝑣𝑎 1 − 𝑣𝑎 2 𝑖Ƹ = 𝑚𝑏 𝑣𝑏 2 − 𝑣𝑏 1 𝑖Ƹ (1)

σ 𝐸𝑘 ก่อนชน = σ 𝐸𝑘 หลังชน
พลังงานเป็นปริมาณสเกลาร์ นาเฉพาะขนาดของความเร็วลัพธ์มาคิด
1 1 1 1
𝑚𝑎 (𝑣𝑎 )12 + 𝑚𝑏 (𝑣𝑏 )12 = 𝑚𝑎 (𝑣𝑎 )22 + 𝑚𝑏 (𝑣𝑏 )22
2 2 2 2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 134


1 1 1 1
𝑚𝑎 (𝑣𝑎 )12 + 𝑚𝑏 (𝑣𝑏 )12 = 𝑚𝑎 (𝑣𝑎 )22 + 𝑚𝑏 (𝑣𝑏 )22
2 2 2 2

2
𝑚𝑎 { 𝑣𝑎 1 − 𝑣𝑎 22 } = 𝑚𝑏 { 𝑣𝑏 2
2 − 𝑣𝑏 12 }

𝑚𝑎 [ 𝑣𝑎 1 + 𝑣𝑎 2 𝑣𝑎 1 − 𝑣𝑎 2 ]
= 𝑚𝑏 [ 𝑣𝑏 2 + 𝑣𝑏 1 𝑣𝑏 2 − 𝑣𝑏 1 ] (2)

(2) / (1) จะได้

𝑣𝑎 1 + 𝑣𝑎 2 𝑖Ƹ = 𝑣𝑏 1 + 𝑣𝑏 2 𝑖Ƹ (4.36)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 135


ตัวอย่างที่ 4.16 มวล 𝑚𝐴 = 0.22𝑘𝑔 เคลื่อนทีไ่ ปทางขวามือด้วย
อัตราเร็ว 𝑣𝐴 1 = 5 𝑚Τ𝑠 เข้าชนมวล 𝑚𝐵 = 0.44𝑘𝑔 เคลื่อนทีไ่ ป
ทางซ้ายมือด้วยอัตราเร็ว 𝑣𝐵 1 = 2.5 𝑚Τ𝑠 ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
ดังรูปจงหาความเร็วของวัตถุทงั ้ สองภายหลังการชน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 136


วิธีทา กาหนดให้ภายหลังการชนวัตถุทงั ้ สองเคลื่อนทีไ่ ปทางขวามมือ

σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน
แกน 𝑥
𝑚𝐴 𝑣𝐴 1 − 𝑚𝐵 𝑣𝐵 1 = 𝑚𝐴 𝑣𝐴 2 + 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2
0.22 5 − 0.44(2.5) = 0.22 𝑣𝐴 2 + 0.44 𝑣𝐵 2

หารด้วย 0.22 ตลอด


18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 137
5−5 = 𝑣𝐴 2 + 2 𝑣𝐵 2

𝑣𝐴 2 = − 2𝑣𝐵 2 (1)
σ 𝐸𝑘 ก่อนชน = σ 𝐸𝑘 หลังชน
1 1 1 1
𝑚 𝑣𝐴 12 + 𝑚 𝑣𝐵 12 = 𝑚 𝑣𝐴 22 + 𝑚 𝑣𝐵 2
2 𝐴 2 𝐵 2 𝐴 2 𝐵 2
2 2
0.22(52 ) + 0.44(2.502 ) = 0.22 𝑣𝐴 2 + 0.44 𝑣𝐵 2

หารด้วย 0.22 ตลอด


2 2
25 + 12.5 = 𝑣𝐴 2 + 2 𝑣𝐵 2

𝑣𝐴 2
2 + 2 𝑣𝐵 2
2 = 37.5 (2)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 138
แทนสมการที่ (1) ใน (2)
2 2
− 2𝑣𝐵 2 + 2 𝑣𝐵 2 = 37.5
2 2
4 𝑣𝐵 2 + 2 𝑣𝐵 2 = 37.5
37.5
𝑣𝐵 2 =
6

= 2.50 𝑚Τ𝑠 ไปทางขวามือ


แทน 𝑣𝐵 2 ในสมการที (1)
𝑣𝐴 2 = −2(2.50)
= −5 𝑚Τ𝑠 ไปทางซ้ายมือ

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 139


Quiz-4.10 รถรางสองคันมวล 𝑚𝐴 = 20𝑀𝑔 และ 𝑚𝐵 = 15𝑀𝑔 วิ่ง
เข้าชนกันดังรูป จงหาแรงดลภายหลังการชนถ้ารถทั้งสองชนกันภายใน
เวลา 0.5𝑠 ทาให้รถราง 𝐵 เคลื่อนที่ไปทางขวามือด้วยความเร็ว 2 𝑚Τ𝑠
(105𝑘𝑁)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 140


ก่อนชนความเร็วอยู่ในแนวการชน หลังชนความเร็วไม่อยู่ในแนวการชน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 141


σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน

โมเมนตัมเป็ นปริมาณเวกเตอร์ ทิศความเร็วไปทางขวาเป็ นบวก ขึน้ เป็ น


บวกให้แยกแกนคิด เพื่อความสะดวกในการคานวณ

แกน 𝑥
𝑚𝑎 (𝑣𝑎 )1 + 𝑚𝑏 (𝑣𝑏 )1 = 𝑚𝑎 𝑣𝑎 2 𝑐𝑜𝑠𝜃1 + 𝑚𝑏 𝑣𝑏 2 𝑐𝑜𝑠𝜃2 (1)
แกน 𝑦
0 = 𝑚𝑎 𝑣𝑎 2 𝑠𝑖𝑛𝜃1 − 𝑚𝑏 𝑣𝑏 2 𝑠𝑖𝑛𝜃2 (2)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 142


จากกฎการอนุรกั ษ์พลังานจลน์ พลังงานจลน์เป็ นปริมาณสเกลาร์ นา
เฉพาะขนาดของความเร็วลัพธ์มาคิด
σ 𝐸𝑘 ก่อนชน = σ 𝐸𝑘 หลังชน
1 1 1 1
2
𝑚𝑎 𝑣𝑎 12 +
2
𝑚𝑏 𝑣𝑏 12 =
2
𝑚𝑎 𝑣𝑎 22 +
2
𝑚𝑏 𝑣𝑏 2
2 (3)

จากนันแก้
่ สมการโดยใช้ความสัมพันธ์ของสมการทัง้ สาม ในสมการ
พลังงานความเร็วให้ใช้ขนาดของความเร็วลัพธ์

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 143


ตัวอย่างที่ 4.17 จากรูปมวล 𝑚1 = 2 𝑘𝑔 วิ่งไปทางขวามือด้วย
ความเร็ว (𝑣1 )0 = 10 𝑚Τ𝑠 เข้าชนมวล 𝑚2 = 3 𝑘𝑔 ที่วางอยูน่ ่ิง
ภายหลังการชนมวล 𝑚1 เคลื่อนที่ในทิศทามุม 370 เหนือแกน 𝑥 มวล
𝑚2 เคลื่อนที่ในทิศทามุม 530 ใต้แกน 𝑥 ถ้าเป็ นการชนแบบยืดหยุน

สมบูรณ์ จงหาความเร็วของมวลทัง้ สองภายหลังการชน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 144


18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 145
วิธีทา σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน
แกน 𝑥
𝑚1 𝑣1 0 = 𝑚1 𝑣1 𝑐𝑜𝑠370 + 𝑚2 𝑣2 𝑐𝑜𝑠530 𝑖Ƹ
2(10) = 1.6𝑣1 + 1.8𝑣2
2 = 0.16𝑣1 + 0.18𝑣2 (1)
แกน 𝑦
0 = 𝑚1 𝑣1 𝑠𝑖𝑛370 − 𝑚2 𝑣2 𝑠𝑖𝑛530
= 1.2𝑣1 − 2.4𝑣2
𝑣1 = 2𝑣2 (2)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 146
แทนสมการที่ (2) ลงในสมการที่ (1)
2 = 0.16(2𝑣2 ) + 0.18𝑣2
= 0.5𝑣2
𝑣2 = 4 𝑚Τ𝑠

แทน 𝑣2 ใน (1) จะได้


𝑣1 = 2(4)
= 8 𝑚 Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 147


4.10.2 การชนกันของวัตถุแบบไม่ยดื หยุ่นสมบูรณ์
การชนกันของวัตถุแบบไม่ยดื หยุน่ สมบูรณ์ คือ เมื่อวัตถุทงั ้
สองชนกันแล้ววัตถุจะติดกันไป การชนแบบนี้จะได้วา่
σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน (4.37)
σ 𝐸𝑘 ก่อนชน ≠ σ 𝐸𝑘 หลังชน (4.38)
ก่อนชนและหลังชน ความเร็วอยู่ในแนวการชน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 148


σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน
โมเมนตัมเป็ นปริมาณเวกเตอร์ทศิ ความเร็วไปทางขวาเป็ นบวก
𝑚𝑎 (𝑣𝑎 )1 𝑖Ƹ + 𝑚𝑏 (𝑣𝑏 )1 𝑖Ƹ = (𝑚𝑎 +𝑚𝑏 )𝑣2 𝑖Ƹ
Ƹ
𝑚𝑎 𝑣𝑎 1 𝑖+𝑚 𝑏 𝑣𝑏 1 𝑖Ƹ
𝑣2 𝑖Ƹ =
𝑚𝑎 +𝑚𝑏
(4.39)

σ 𝐸𝑘 ก่อนชน ≠ σ 𝐸𝑘 หลังชน
พลังงานเป็นปริมาณสเกลาร์ นาเฉพาะขนาดของความเร็วลัพธ์มาคิด
σ 𝐸𝑘 ก่อนชน = 𝑚𝑎 (𝑣𝑎 )1 𝑖Ƹ + 𝑚𝑏 (𝑣𝑏 )1 𝑖Ƹ

σ 𝐸𝑘 หลังชน = (𝑚𝑎 +𝑚𝑏 )𝑣2 𝑖Ƹ


18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 149
ตัวอย่างที่ 4.18 รถยนต์มวล
𝑚1 = 1500 𝑘𝑔 เคลื่อนที่ไปทาง
ทิศตะวันออกด้วยอัตราเร็ว
(𝑣1 )0 = 25 𝑚Τ𝑠 เข้าชนกับ
รถบรรทุกมวล 𝑚2 = 2500 𝑘𝑔
ซึง่ เคลื่อนทีม่ าทางทิศเหนือด้วย
อัตราเร็ว (𝑣2 )0 = 20 𝑚Τ𝑠 ดัง
รูป ถ้าหลังชนรถทัง้ สองเคลือ่ นที่
ติดกันไป ดังรูป จงหาความเร็วของ
รถทัง้ สองหลังชนทัง้ ขนาดและ
ทิศทาง
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 150
วิธีทา จากกฎการอนุรกั ษ์เนตัม
σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน
แกน 𝑥
𝑚1 (𝑣1 )0 = 𝑚1 + 𝑚2 𝑣𝑐𝑜𝑠𝜃
1500 (25) = (1500 + 2500)(𝑣𝑐𝑜𝑠𝜃)
37,500 = (4,000)(𝑣𝑐𝑜𝑠𝜃)
𝑣𝑐𝑜𝑠𝜃 = 9.375 (1)
แกน 𝑦
𝑚2 (𝑣2 )0 = 𝑚1 + 𝑚2 𝑣𝑠𝑖𝑛𝜃
(2500)(20) = (1500 + 2500)(𝑣𝑠𝑖𝑛𝜃)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 151
50,000 = (4,000)(𝑣𝑠𝑖𝑛𝜃)
𝑣𝑠𝑖𝑛𝜃 = 12.5 (2)
สมการที่ (2) / (1)
4
𝑡𝑎𝑛𝜃 =
3
−1 4
𝜃 = 𝑡𝑎𝑛 = 53.130
3

แทนมุม 𝜃 ในสมการที่ 2
12.5
𝑣 =
𝑠𝑖𝑛53.130
= 15.63 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 152


Quiz-4.11 แท่งโลหะ 𝐴 มีมวล 15𝑘𝑔 ติดอยู่ที่ปลายสปริงที่มีค่าคงที่
สปริง 𝑘 = 10 𝑘𝑁Τ𝑚 วางอยู่บนพื้นลื่น แท่งโลหะ 𝐵 มีมวล 10𝑘𝑔
วิ่งเข้าชนแท่งโลหะ 𝐴 ด้วยความเร็ว 15 𝑚Τ𝑠 ดังรูป ภายหลังการชนแท่ง
โลหะทั่งสองติดไปด้วยกัน สปริงจะอัดเข้าไปได้มากที่สุดเท่าใด 0.3𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 153


Quiz-4.12 การตอกเสาเข็มลงในพื้นดินทรายถ้าตุ้มน้าหนักมวล 450𝑘𝑔
อยู่สูงจากเสาเข็ม 1.4𝑚 เสาเข็มฝังอยู่ในดิน 0.9𝑚 ดังรูป ถ้าเสาเข็มมีมวล
240𝑘𝑔 ถ้าปล่อยตุ้มน้าหนักลงกระทบเสาเข็ม ทาให้ทั้งสองติดไปด้วยกัน
ถ้าไม่คิดแรงต้านจากดินทรายจงคานวณหา
ก. ความเร็วของตุ้มน้าหนักและเสาเข็ม 3.42𝑚
ข. ขนาดของการดลที่ตุ้มน้าหนัก (818.1𝑁)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 154


4.11 สัมประสิทธ์การคืนตัว
𝑪𝒐𝒆𝒇𝒇𝒊𝒄𝒊𝒆𝒏𝒕 𝒐𝒇 𝒓𝒆𝒔𝒕𝒊𝒕𝒖𝒕𝒊𝒐𝒏: 𝒆
ถ้าแบ่งการชนระหว่างวัตถุโดยพิจารณาจากเส้นแนวการชน (line
of Impact) จะแบ่งออกได้ 2 แบบดังนี้
4.11.1 การชนแบบผ่านจุดศูนย์กลางมวล (Direct Central
Impact)
> <

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 155


> <

จากรูปวัตถุมวล 𝑚𝐴 และ 𝑚𝐵 เคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็วก่อนชน 𝑣Ԧ𝐴 1


และ 𝑣Ԧ𝐵 1 ตามลาดับ เมือ่ 𝑣Ԧ𝐴 1 > 𝑣Ԧ𝐵 1 ขณะชนกัน (การดลช่วง
ยุบตัว) วัตถุทงั ้ สองจะยุบตัวชัวขณะและวั
่ ตถุทงั ้ สองจะมีความเร็วเป็ น
𝑣 ∗ ก่อนจะคืนตัว (การดลช่วงคืนตัว) และแยกออกจากกัน มีความเร็ว
หลังชนเป็ นชน 𝑣Ԧ𝐴 2 และ 𝑣Ԧ𝐵 2 ตามลาดับ เมือ่ 𝑣Ԧ𝐴 2 < 𝑣Ԧ𝐵 2
เมือ่ ไม่มแี รงภายนอกมากระทาจะอนุรกั ษ์โมเมนตัม
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 156
กาหนดให้
คือแรงปฎิกริ ยิ าทีว่ ตั ถุ 𝐵 กระทากับวัตถุ 𝐴 แทนด้วย 𝐹Ԧ𝑑
𝐹Ԧ𝐵𝐴
คือแรงดลช่วงยุบตัว
𝐹Ԧ𝐴𝐵คือปฎิกริ ยิ าทีว่ ตั ถุ 𝐴 กระทากับวัตถุ 𝐵 แทนด้วย 𝐹Ԧ𝑟 คืนแรง
ดลช่วงคืนตัว
𝑒 แทนสัมประสิทธิ์การคืนตัว คืออัตราส่วนของการดลช่วงคืนตัวต่อ
การดลช่วงยุบตัว

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 157


แรงดลช่วงยุบตัว และช่วงคืนตัว
𝑡2 𝑡2
𝐷 = ‫𝑡׬‬1 𝐹Ԧ𝐴𝐵 𝑑𝑡 = − ‫𝑡׬‬1 𝐹Ԧ𝐵𝐴
𝑡2 𝑡2
𝑅= ‫𝑡׬‬1 𝐹Ԧ𝐴𝐵 𝑑𝑡= − ‫𝑡׬‬1 𝐹Ԧ𝐵𝐴
โมเมนตัม ก่อนชน + ยุบตัว เท่ากับ โมเมนตัม คืนตัว + หลังชน
𝐷 ⇒ 𝑚𝐴 𝑣𝐴 1 + 𝑚𝐵 𝑣𝐵 1 = 𝑚𝐴 𝑣 ∗ + 𝑚𝐵 𝑣 ∗ (4.40)
𝑚𝐵 𝑣𝐵 1 − 𝑚 𝐵 𝑣 ∗
= 𝑚𝐴 𝑣 ∗ − 𝑚𝐴 𝑣𝐴 1 (4.41)
𝑅 ⇒ 𝑚𝐴 𝑣 ∗ + 𝑚𝐵 𝑣 ∗ = 𝑚𝐴 𝑣𝐴 2 + 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2 (4.42)
𝑚𝐵 𝑣 ∗ − 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2 = 𝑚𝐴 𝑣𝐴 2 − 𝑚𝐴 𝑣 ∗
(4.43)
สมการที่ (4.40) จะเท่ากับสมการที่ (4.42) จะได้
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 158
σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน (4.44)
สมการที่ 4.43 / 4.41 จะได้
𝑅 𝑚𝐵 𝑣 ∗ −𝑚𝐵 𝑣𝐵 2 𝑚𝐴 𝑣𝐴 2 −𝑚𝐴 𝑣 ∗
𝑒 = = 𝑚 𝑣 −𝑚 𝑣∗ =
𝐷 𝐵 𝐵 1 𝐵 𝑚𝐴 𝑣 ∗ −𝑚𝐴 𝑣𝐴 1

𝑣 ∗ − 𝑣𝐵 2 𝑣𝐴 2 −𝑣 ∗
𝑒 = 𝑣𝐵 1 −𝑣 ∗
= 𝑣 ∗ − 𝑣𝐴 1
เมื่อ
𝑣 ∗ − 𝑣𝐵 2
𝑒 = 𝑣𝐵 1 −𝑣 ∗

𝑒 𝑣𝐵 1 − 𝑒𝑣 ∗ = 𝑣 ∗ − 𝑣𝐵 2

𝑣 ∗ + 𝑒𝑣 ∗ = 𝑒 𝑣𝐵 1 + 𝑣𝐵 2 (4.45)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 159
และ
𝑣𝐴 2 −𝑣 ∗
𝑒 =
𝑣 ∗ − 𝑣𝐴 1

𝑒𝑣 ∗ − 𝑒 𝑣𝐴 1 = 𝑣𝐴 2 − 𝑣 ∗

= 𝑣𝐴 2 + 𝑒 𝑣𝐴 1
𝑣 ∗ + 𝑒𝑣 ∗ (4.46)
สมการที่ 4.45 เท่ากับสมการที่ 4.46
𝑒 𝑣𝐵 1 + 𝑣𝐵 2 = 𝑣𝐴 2 + 𝑒 𝑣𝐴 1
𝑒 𝑣𝐴 1 − 𝑒 𝑣𝐵 1 = 𝑣𝐵 2 − 𝑣𝐴 2

𝑣𝐵 2− 𝑣𝐴 2
𝑒 = 𝑣𝐴
(4.47)
1 − 𝑣𝐵 1

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 160


สมการที่ 4.47 ให้คานึงถึงทิศทางด้วยทุกครัง้
𝑒 = 0 ; การชนแบบไม่ยดื หยุน่ สมบูรณ์
สัมประสิทธิการคื
์ นตัว = ൞ 0 < 𝑒 < 1 ; การชนแบบไม่ยดื หยุน่
𝑒 = 1 ; การชนแบบยืดหยุน่ สมบูรณ์

ตัวอย่างที่ 4.19 แผ่นจานกลม 𝐴 มีมวล 2𝑘𝑔 ไถลไปบนพืน้ ราบลื่น


ด้วยความเร็ว (𝑣𝐴 )1 = 5 𝑚Τ𝑠 พุง่ เข้าชนแผ่นจาน 𝐵 มวล 4𝑘𝑔 ที่
ไถลด้วยความเร็ว (𝑣𝐵 )1 = 2 𝑚Τ𝑠 ในทิศตรงข้าม ในทิศผ่านจุด
ศูนย์กลางมวล ดังรูป ถ้าสัมประสิทธิ ์การคืนตัวระหว่างแผ่นจานทัง้ สอง
𝑒 = 0.4 จงหาความเร็วภายหลังการชนของแผ่นจานทัง้ สอง

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 161


วิธีทา การกฎการอนุรกั ษ์โมเมนตัม

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 162


σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน
แกน 𝑥 (→ +)
𝑚𝐴 (𝑣𝐴 )1 +𝑚𝐵 (𝑣𝐵 )1 = 𝑚𝐴 (𝑣𝐴 )2 +𝑚𝐵 (𝑣𝐵 )2
2 5 + 4(−2) = 2(𝑣𝐴 )2 +4(𝑣2 )𝐵
2 = 2(𝑣𝐴 )2 +4(𝑣𝐵 )2 (1)

(𝑣𝐵 )2 −(𝑣𝐴 )2
จาก 𝑒 = (𝑣𝐴 )1 −(𝑣𝐵 )1
(𝑣𝐵 )2 −(𝑣𝐴 )2
0.4 = 5−(−2)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 163


2.8 = (𝑣𝐵 )2 −(𝑣𝐴 )2
(𝑣𝐵 )2 = 2.8 + (𝑣𝐴 )2 (2)
แทนสมการที่ (2) ลงใน (1)
2 = 2(𝑣𝐴 )2 +4(2.8 + 𝑣𝐴 2 )
= 2(𝑣𝐴 )2 + 11.2 + 4(𝑣𝐴 )2
(𝑣𝐴 )2 = −1.53 𝑚Τ𝑠 ไปทางซ้าย
แทนค่า (𝑣𝐴 )2 ในสมการที่ (2)
(𝑣𝐵 )2 = 2.8 − 1.53
= 1.27 𝑚Τ𝑠 ไปทางขวา
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 164
ตัวอย่างที่ 4.20 กล่อง 𝐴 มวล 15𝑘𝑔 เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 𝑣 =
10 𝑚Τ𝑠 บนพื้นราบที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานจนล์ 𝜇𝑘 = 0.3
ขณะที่อยู่ห่างจากกล่อง 𝐵 มวล 10𝑘𝑔 เป็นระยะ 𝑆 = 4𝑚 ถ้ากล่อง 𝐵
ติดอยู่กับสปริงไม่ยืด มีค่าคงที่สปริง 𝑘 = 1000 𝑁Τ𝑚 เมื่อกล่อง 𝐴 ชน
กล่อง 𝐵 สปริงจะหดเข้าไปได้สูงสุดเท่าใด ถ้า 𝑒 = 0.6 และแรงเสียด
ทานกระทาในช่วงความยาว 𝑆 เท่านั้น

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 165


วิธีทา เขียน FBD แสดงแรงที่กระทากับกล่อง 𝐴 ช่วงที่แรกกล่อง 𝐴
เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 10𝑚Τ𝑠 จากตาแหน่งที่ 1 วิ่ง เข้าชนกล่อง 𝐵 ซึ่ง
วางอยู่นิ่งที่ตาแหน่งที่ 2 หาความเร็วของกล่อง 𝐴 ขณะชนกล่อง 𝐵

2 1

เมื่อมีแรงภายนอก(แรงเสียดทาน)มากระทากับกล่องมวล 𝐴 ทาให้เกิดงาน
จากทฤษฎีงานและพลังงานจะได้ว่า
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 166
𝑊1→2 = ∆𝐸𝑘
1 1
−𝜇𝑘 𝑚𝐴 𝑔 𝑆 = 2
𝑚𝐴 (𝑣𝐴 )2 − 𝑚𝐴 (𝑣𝐴 )12
2
2
1 1
−0.3(15)(9.80)(4) = 2
2
15 (𝑣𝐴 )2 − (15)(102 )
2
(𝑣𝐴 )22 = 76.48 (𝑚 𝑠) Τ 2
(𝑣𝐴 )2 = 8.745 𝑚Τ𝑠
ขณะเข้าชนกลาง 𝐵 กล่อง 𝐴 มีความเร็ว 8.745 𝑚Τ𝑠
ช่วงที่สอง กล่อง 𝐴 ขณะเข้าชนกล่อง 𝐵 ซึ่งวางอยู่นิ่งมีความเร็ว
8.745 𝑚Τ𝑠 หาความเร็วของมวลทั้งสองภายหลังการชน

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 167


จากกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม และสัมประสิทธิ์การคืนตัวระหว่างกล่องทั้ง
สองขณะชนกัน ให้แนวกันชนผ่านจุดศูนย์กลางมวล

2 1

คิดแกน 𝑥 กาหนดให้ทิศทางซ้ายมือเป็นบวก +
𝑚𝐴 (𝑣𝐴 )1 + 𝑚𝐵 (𝑣𝐵 )1 = 𝑚𝐴 (𝑣𝐴 )2 + 𝑚𝐵 (𝑣𝐵 )2

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 168


15 8.745 + 0 = 15(𝑣𝐴 )2 + 10(𝑣𝐵 )2
3(𝑣𝐴 )2 + 2(𝑣𝐵 )2 = 26.235 (1)
(𝑣𝐵 )2 −(𝑣𝐴 )2
𝑒 = (𝑣𝐴 )1 −(𝑣𝐵 )1
(𝑣𝐵 )2 −(𝑣𝐴 )2
0.6 = 8.745−0
(𝑣𝐵 )2 − (𝑣𝐴 )2 = 5.247
(𝑣𝐵 )2 = 5.247 + (𝑣𝐴 )2 (2)
แทนสมการที่ (2) ลงในสมการที่ (1)
3(𝑣𝐴 )2 + 2{5.247 + (𝑣𝐴 )2 } = 26.235

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 169


5(𝑣𝐴 )2 = 15.741
(𝑣𝐴 )2 = 3.148 𝑚Τ𝑠 (3)
เป็นบวกแสดงว่าหลังชนกล่อง 𝐵 กล่อง 𝐴 วิ่งไปทางซ้ายด้วยความเร็ว
3.148 𝑚Τ𝑠
แทนสมการที่ (3) ลงในสมการที่ (2)
(𝑣𝐵 )2 = 5.247 + 3.148
= 8.395 𝑚Τ𝑠
ค่าที่ได้เป็นบวกแสดงว่าหลังชนกล่อง 𝐵 วิ่งไปทางซ้ายด้วยความเร็ว
8.395 𝑚Τ𝑠 อัดสปริงเข้าไปได้มากที่สุดแสดงว่ากล่อง 𝐵 หยุดนิ่ง
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 170
กล่าวคือพลังงานจลน์ที่เกิดจากกล่อง 𝐵 กลายเป็นพลังงานศักย์ยืดหยุ่น
ภายในสปริง จากทฤษฎีงานและพลังงานช่วงอัดสปริงพื้นไม่มีแรงเสียดทาน
ทาให้งานช่วงอัดสปริงเป็นศูนย์ ดังนั้นจากกฎการอนุรักษ์พลังงานจะได้ว่า

2 1

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 171


𝐸1 = 𝐸2
1 1 1 1
2
𝑚𝐵 (𝑣𝐵 )1 + 𝑘𝑥12
2
2
= 2
𝑚𝐵 (𝑣𝐵 )2 + 𝑘𝑥22
2
2
1 1
2
10 8.395 2 + 0 = 0 + (1000)𝑥22
2
𝑥22 = 0.705
𝑥2 = 𝑥𝑚𝑎𝑥
= 0.840 𝑚

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 172


Quiz 4.13 ทรงกระบอกสองชิ้นเคลื่อนที่เข้าหากันตามแกนโลหะลื่น
ถ้าสัมประสิทธิ์การคืนตัวมีค่า 𝑒 = 0.6 จงคานวณหาความเร็ว 𝑣1′
และ 𝑣2′ ของมวลทั้งสองภายหลังการชน
𝑣1′ = 4.52 𝑚Τ𝑠 ไปทางซ้าย; 𝑣2′ = 2.68 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 173


4.11.2 การชนแบบไม่ผา่ นจุดศูนย์กลางมวล (Oblique Central
Impact)

(n;x)

(t;y)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 174
จากรูปเมื่อ 𝑣Ԧ𝐴 1 และ 𝑣Ԧ𝐵 1 เป็นความเร็วต้นก่อนชนที่ทราบค่าเป็น
ปริมาณเวกเตอร์ องค์ประกอบของความเร็วตามแนวเส้นการชน 𝑛
แกน 𝑥 และตามแนวเส้นสัมผัส 𝑡 แกน 𝑦 คือ
𝑣𝐴 1,𝑛 = 𝑣𝐴 1 𝑐𝑜𝑠𝛼1
𝑣𝐴 1,𝑡 = 𝑣𝐴 1 𝑠𝑖𝑛𝛼1
𝑣𝐵 1,𝑛 = − 𝑣𝐵 1 𝑐𝑜𝑠𝛽1
𝑣𝐵 1,𝑡 = 𝑣𝐵 1 𝑠𝑖𝑛𝛽1

ภายหลังการชนกรณีมีตัวแปรไม่ทราบค่า 4 ตัวแปรได้แก่
𝑣𝐴 2 ; 𝑣𝐵 2 ; 𝛼2 ; 𝛽2 การแก้สมการต้องตั้งสมการอย่างน้อย 4 สมการ
ดังนี้
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 175
ก. กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น ตามเส้นแนวการชน 𝑛 ทั้งระบบ (มวล
ทั้งสองก้อน)
𝑚𝐴 𝑣𝐴 1,𝑛 + 𝑚𝐵 𝑣𝐵 1,𝑛 = 𝑚𝐴 𝑣𝐴 (4.48) 2,𝑛 + 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2,𝑛

สมการที่ 4.48 ถ้ามวล 𝑚𝐴 ≫ 𝑚𝐵 หรือ 𝑚𝐵 ≫ 𝑚𝐴 กฎการอนุรักษ์ใช้


ไม่ได้
ข. กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น ตามเส้นแนวสัมผัส 𝑡 คิดมวล 𝑚𝐴
𝑚𝐴 𝑣𝐴 1,𝑡 = 𝑚𝐴 𝑣𝐴 2,𝑡 (4.49)
ค. กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น ตามเส้นแนวสัมผัส 𝑡 คิดมวล 𝑚𝐵
𝑚𝐵 𝑣𝐵 1,𝑡 = 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2,𝑡 (4.50)
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 176
ง. สัมประสิทธ์การคืนตัว 𝑒 ตามเส้นแนวการชน 𝑛
𝑣𝐵 2,𝑛 − 𝑣𝐴 2,𝑛
𝑒 = 𝑣𝐴 1,𝑛 − 𝑣𝐵 1,𝑛
(4.51)
การแทนค่าต่าง ๆ ในสมการที่ 4.48; 4.49; 4.50 และ 4.51 ให้คานึงถึงทิศ
ในการคานวณ

ตัวอย่างที่ 4.21 บอลวิ่งด้วยความเร็ว 16 𝑚Τ𝑠 โดยทามุม 300 เข้า


กระทบแผ่นโลหะหนัก ดังรูป จงคานวณหาความเร็ว 𝑣 ′ และมุม 𝜃 ′ ขณะ
กระดอนกลับ ถ้าสัมประสิทธิ์การคืนตัว 𝑒 มีค่าเท่ากับ 0.5

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 177


วิธีทา โจทย์กาหนดสัมประสิทธิ์การคืนตัว 𝑒 = 0.5

2
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 178
กาหนดให้ 1 แทนบอล; 2 แทนแผ่นโลหะหนัก นั่นคือ 𝑚2 ≫ 𝑚1 เมือ
บอลตกกระทบแผ่นโลหะหนักแผ่นโลหะหนักจะอยู่นิ่งความเร็วเป็นศูนย์ กฎ
อนุรักษ์โมเมนตัมทั้งระบบไม่นามาคิด

จากกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมแกน 𝑡 คิดที่บอล
𝑚1 𝑣1 𝑐𝑜𝑠300 = 𝑚1 𝑣 ′ 𝑐𝑜𝑠𝜃 ′
16𝑐𝑜𝑠300 = 𝑣 ′ 𝑐𝑜𝑠𝜃 ′
𝑣 ′ 𝑐𝑜𝑠𝜃 ′ = 13.856 (1)
จากสัมประสิทธิ์การคืนตัว 𝑒 ตามเส้นแนวการชน 𝑛

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 179


𝑣𝐵 2,𝑛 − 𝑣𝐴 2,𝑛
𝑒 = 𝑣𝐴 1,𝑛 − 𝑣𝐵 1,𝑛

𝑣2 2,𝑛 − 𝑣 ′ 𝑛
0.5 =
𝑣1 1,𝑛 − 𝑣𝐵 1,𝑛
0−𝑣 ′ 𝑠𝑖𝑛𝜃′
=
−16𝑠𝑖𝑛300 −0
𝑣 ′ 𝑠𝑖𝑛𝜃 ′ = 4 𝑚Τ𝑠 (2)
นาสมการที่ (2) / (1)
𝑣 ′ 𝑠𝑖𝑛𝜃 ′ 4
=
𝑣 ′ 𝑐𝑜𝑠𝜃 ′ 18.756

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 180


4
𝑡𝑎𝑛𝜃 ′
= 18.756
4
𝜃 ′
= 𝑡𝑎𝑛 −1
13.856
= 16.100
แทนมุม 𝜃 ′ ในสมการที่ (1) หรือ (2) ก็จะได้คาตอบเท่ากันในที่นี้แทนใน
สมการที่ (2)
4
𝑣 ′
= 𝑠𝑖𝑛16.100
= 14.42 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 181


ตัวอย่างที่ 4.22 แผ่นทรงกลม 𝐴 และ 𝐵 ทั้งสองตัวมีมวล 0.50 𝑘𝑔
เท่ากัน ทรงกลม 𝐴 มีความเร็ว 𝑣𝐴 1 = 6 𝑚Τ𝑠 วิ่งเข้าชนทรงกลม 𝐵
มีความเร็ว 𝑣𝐵 1 = 4 𝑚Τ𝑠 ทิศดังรูปจงคานวณหาความเร็วของทรง
กลมทั้งสองทั้งสองภายหลังการชน ให้สัมประสิทธิ์การคืนตัวมีค่า 𝑒 =
0.75

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 182


วิธีทา

σ 𝑃ก่อนชน = σ 𝑃หลังชน

แกน 𝑥 สมมุติความเร็วหลังชน 𝑣𝐴 2𝑥 และ 𝑣𝐵 2𝑥 มีค่าเป็นบวก


𝑚𝐵 𝑣𝐵 1 𝑐𝑜𝑠𝜃 − 𝑚𝐴 𝑣𝐴 1 = 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2𝑥 + 𝑚𝐴 𝑣𝐴 2𝑥

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 183


3
0.5 4
5
− 0.5(6) = 0.5 𝑣𝐵 2𝑥 + 0.5 𝑣𝐴 2𝑥
2.4 − 6 = 𝑣𝐵 2𝑥 + 𝑣𝐴 2𝑥
𝑣𝐴 2𝑥 = −3.6 − 𝑣𝐵 2𝑥 (1)

แกน 𝑦 คิดที่มวล 𝑚𝐵
𝑚𝐵 𝑣𝐵 1 𝑠𝑖𝑛𝜃 = 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2𝑦
4
0.5 4
5
= 0.5 𝑣𝐵 2𝑦
3.2 = 𝑣𝐵 2𝑦
𝑣𝐵 2𝑦 = 3.20 𝑚Τ𝑠 ทิศขึ้น (2)

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 184


หาค่าสัมประสิทธิ์การคืนตัวเมื่อ D = Deformation = ช่วงยุบตัว ; R =
Restoration = ช่วงคืนตัว จากรูป 𝑣𝐴 1 = 6 𝑚Τ𝑠 ทิศทางซ้าย
เครื่องหมายเป็นลบ ส่วนทิศที่ไม่ทราบกาหนดทิศไปทางขวามือเป็นบวก
คิดแกน 𝑥
𝑡2 𝑡2
𝐷⇒ − ‫𝑡׬‬1 𝐹Ԧ𝐴𝐵 𝑑𝑡 = ‫𝑡׬‬1 𝐹Ԧ𝐵𝐴 𝑑𝑡
𝑡2 𝑡2
𝑅 ⇒ − ‫𝑡׬‬1 𝐹Ԧ𝐴𝐵 𝑑𝑡 = ‫𝑡׬‬1 𝐹Ԧ𝐵𝐴 𝑑𝑡

เมื่อ 𝐹Ԧ𝐴𝐵 คือแรงที่ 𝐴 กระทากับ 𝐵 และ 𝐹Ԧ𝐵𝐴 คือแรงที่ 𝐵 กระทากับ 𝐴


จากกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 185
𝐷 ⇒ 𝑚𝐵 𝑣𝐵 1𝑥 − 𝑚𝐴 𝑣𝐴 1𝑥 = 𝑚𝐵 𝑣 + 𝑚𝐴 𝑣
𝑚𝐵 𝑣𝐵 1𝑥 − 𝑚𝐵 𝑣 = 𝑚𝐴 𝑣 + 𝑚𝐴 𝑣𝐴 1𝑥

𝑅 ⇒ 𝑚𝐵 𝑣 + 𝑚𝐴 𝑣 = 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2𝑥 + 𝑚𝐴 𝑣𝐴 2𝑥

𝑚𝐵 𝑣 − 𝑚𝐵 𝑣𝐵 2𝑥 = 𝑚𝐴 𝑣𝐴 2𝑥 − 𝑚𝐴 𝑣

𝑅 𝑚𝐵 𝑣−𝑚𝐵 𝑣𝐵 2𝑥
𝑒 = 𝐷
= 𝑚𝐵 𝑣𝐵 1𝑥 −𝑚𝐵 𝑣
𝑚𝐴 𝑣𝐴 2𝑥 − 𝑚𝐴 𝑣
= 𝑚𝐴 𝑣 + 𝑚𝐴 𝑣𝐴 1𝑥

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 186


𝑣 + 𝑒𝑣 = 𝑒 𝑣𝐵 1𝑥 + 𝑣𝐵 2𝑥 (3)
𝑣 + 𝑒𝑣 = 𝑣𝐴 2𝑥 − 𝑒 𝑣𝐴 1𝑥 (4)
สมการที่ (3) = (4) จะได้
𝑣𝐴 2𝑥 − 𝑣𝐵 2𝑥
𝑒 = 𝑣𝐵 1𝑥 + 𝑣𝐴 1𝑥
***

ค่า 𝑣𝐴 1𝑥 เป็นบวกแสดงว่าทิศไปทางซ้ายตามที่กาหนด
= 6 𝑚 Τ𝑠
ครั้งแรก แทนค่าต่าง ๆ จะได้
𝑣𝐴 2𝑥 − 𝑣𝐵 2𝑥
0.75 = 3
4 +6
5
𝑣𝐴 2𝑥 − 𝑣𝐵 2𝑥
= 8.4
18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 187
6.3 = 𝑣𝐴 2𝑥 − 𝑣𝐵 2𝑥

𝑣𝐵 2𝑥 = 𝑣𝐴 2𝑥 − 6.3 (5)
แทนสมการที่ (5) ลงใน (1)
𝑣𝐴 2𝑥 = −3.6 − 𝑣𝐴 2𝑥 + 6.3
= 1.35 𝑚Τ𝑠 ทิศไปทางขวา
แทน 𝑣𝐴 2𝑥 ลงในสมการที่ (5)
𝑣𝐵 2𝑥 = 1.35 − 6.3

= −4.95 𝑚Τ𝑠 ทิศไปทางซ้าย


18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 188
𝑣Ԧ𝐵 2 = 𝑣Ԧ𝐵 2𝑥 + 𝑣Ԧ𝐵 2𝑦
= −4.95𝑖Ƹ + 3.20𝑗Ƹ 𝑚Τ𝑠
3.20
∅ = 𝑡𝑎𝑛 −1
−4.95

= −32.880
ทามุม 32.880 กับแกน −𝑥 ทิศตามเข็มนาฬิกา

𝑣Ԧ𝐴 2 = 𝑣Ԧ𝐴 2𝑥 + 𝑣Ԧ𝐴 2𝑦


= 1.35𝑖Ƹ 𝑚Τ𝑠

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 189


Quiz 4.14 ลูกเหล็ก 𝐴 ตกกระทบแผ่นโลหะหนักขนาดใหญ่ 𝐵 ด้วย
ความเร็ว 𝑣0 = 24 𝑚Τ𝑠 ทามุม 𝜃 = 600 ถ้าสัมประสิทธิ์การคืนตัวมีค่า
𝑒 = 0.8 จงคานวณหาความเร็ว 𝑣 และมุม 𝜃 ลูกเหล็กขณะกระดอนกลับ
ดังรูป 20.51 𝑚Τ𝑠 ; 54.1830

18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 190


18/07/66 :: Sema Sonprasom :: 191

You might also like