You are on page 1of 13

สิทธิการลาของข้าราชการ

สิทธิที่สามารถลาได้ในรอบปีงบประมาณ
ลาป่วย 60 วันทาการ

ตามระเบียบ
ลากิจส่วนตัว 45 วันทาการ
(สาหรับรับราชการปีแรก ไม่เกิน 15 วันทาการ) สานัก
ลาพักผ่อน ปีงบประมาณละ 10 วันทาการ นายกรัฐมนตรี
(สาหรับรับราชการปีแรก ต้องทางานครบ 6 เดือน
จึงมีสิทธิลาได้) ว่าด้วยการลา
ลาคลอดบุตร 90 วัน ของข้าราชการ
ลาไปช่วยเหลือ 15 วัน/ครั้ง
พ.ศ. 2555
ภริยาที่คลอดบุตร ระยะเวลาที่ขอลาภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ภริยาคลอดบุตร
ลาอุปสมบท หรือ 120 วัน
ลาไปประกอบ (ต้องรับราชการมาแล้ว 12 เดือน)

พิธีฮัจย์
ลาเข้ารับการ ระยะเวลาตามที่หมายกาหนด
ตรวจเลือก/เข้า
รับการเตรียมพล
ลาไปศึกษา
ลาได้ไม่เกิน 4 ปี / อาจลาได้มากกว่า 4 ปี
ฝึกอบรม แต่รวมแล้วไม่เกิน 6 ปี
ปฏิบต
ั กิ ารวิจัย
หรือดูงาน
ลาติดตามคู่สมรส ลาได้ไม่เกิน 2 ปี ในกรณีจาเป็นอาจอนุญาตให้ลาต่อได้อีก
2 ปี รวมแล้วไม่เกิน 4 ปี ถ้าเกินต้องลาออกจากราชการ
สิทธิการลาของข้าราชการ

แนวทางปฏิบต
ั ิ
การลาป่วย 1 2 3
ส่งใบลาก่อนหรือ กรณีป่วยจนไม่ ลาป่วย 30 วัน
หลังในวันที่ลา สามารถลงชื่อใน ขึ้นไป ต้องมี
เว้นแต่กรณี ใบลาได้ จะให้ผู้อื่น ใบรับรองแพทย์
จาเป็น ให้ส่งใบลา ลาแทนได้ แนบพร้อมใบลา/
หลักเกณฑ์ ในวันแรกที่มา ลาป่วยไม่ถึง 30 วัน
• ข้าราชการลาป่วยโดยได้รับเงินเดือน ปฏิบัติงาน อยู่ในดุลพินิจ
ปีละไม่เกิน 60 วันทาการ ผู้บังคับบัญชา
• กรณีเกิน 60 วันทาการ เป็นอานาจ
ของอธิบดีในการอนุญาต
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลา แนวทางปฏิบต
ั ิ
1 2 3
คลอดบุตร ส่งใบลาต่อ กรณีไม่สามารถลง การลาคลอดบุตร
ผู้บังคับบัญชา ชื่อในใบลาได้ จะให้ ที่คาบเกีย่ วกับการ
ผู้อื่นลาแทนก็ได้ ลาประเภทใดก็ตาม
ให้ถือว่าการลา
หลักเกณฑ์ ประเภทนั้น
• ลาครั้งละไม่เกิน 90 วัน สิ้นสุดลง
ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์
• หากประสงค์จะลากิจส่วนตัวเพื่อเลีย้ งบุตรต่อ
ให้ลาได้ไม่เกิน 150 วันทาการ
แต่ไม่มีสท
ิ ธิได้รบ
ั เงินเดือนระหว่างลาต่อเนื่อง
ดังกล่าว
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลากิจ แนวทางปฏิบต
ั ิ
1 2 3 4
ส่วนตัว กรณีเหตุพิเศษ ในระหว่างลากิจ
ส่งใบลาต่อ ต้องได้รับ ไม่อาจส่งใบลา ส่วนตัว หากมี
ผู้บังคับบัญชา การอนุญาต ได้ส่งใบลา ราชการจาเป็น
จึงจะหยุด พร้อมเหตุผล
หลักเกณฑ์ ราชการได้ ความจาเป็นใน
ผู้บังคับบัญชา
สามารถเรียก
• ลาได้ตามจริง แต่ไม่เกินปีละ 45 วันทาการ วันแรกที่มา ตัวกับปฏิบัติ
จึงจะได้รับเงินเดือน ปฏิบัติราชการ ราชการได้
• ในปีแรกของการเข้ารับราชการ ลาได้ไม่เกิน
15 วันทาการ จึงยังคงได้รับเงินเดือน
• กรณีลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตรต่อเนื่องจากการลาคลอดบุตร
ลาได้ไม่เกิน ๑๕๐ วันทาการ แต่ไม่มีสิทธิได้รับเงินเดือน
ระหว่างลาต่อเนื่องดังกล่าว
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลา แนวทางปฏิบต
ั ิ
1 2
พักผ่อน ส่งใบลาต่อ หากมีราชการ
ผู้บังคับบัญชา จาเป็น
ผู้บังคับบัญชา
หลักเกณฑ์ สามารถเรียกตัว
• ลาได้ไม่เกิน 10 วันทาการต่อปี ยกเว้นบรรจุเข้ารับราชการไม่ถงึ 6 เดือน มาปฏิบัติราชการได้
ไม่มีสทิ ธิลา
• สะสมวันลาได้ไม่เกิน 20 วันทาการ
• รับราชการติดต่อกันตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป มีสิทธิสะสมวันลาพักผ่อน
ได้ไม่เกิน 30 วันทาการ
• ผู้มีอานาจอนุญาตให้ลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งได้ โดยมิให้เสียหาย
แก่ราชการ
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลาอุปสมบท แนวทางปฏิบตั ิ
หรือการลาไป 1 2 3 4
ประกอบพิธีฮจั ย์ ผู้บส่ังคังใบลาต่ อ
บบัญชาไม่
เมื่อได้รับอนุญาต
ให้ลาแล้ว ต้อง
ต้องกลับมา
รายงานตัวปฏิบัติ
หากไม่สามารถ
อุปสมบทหรือ
น้อยกว่า 60 วัน/ อุปสมบทหรือ รายการภายใน ไปประกอบพิธี
ชี้แจงเหตุผลหาก ออกเดินทางไป 5 วัน นับแต่วันที่
หลักเกณฑ์ มีเหตุพิเศษไม่อาจ ประกอบพิธีฮัจย์ ลาสิกขาหรือวันที่
ฮัจย์ได้ให้ถอน
ใบลา และ
• ไม่เคยลาประเภทนี้มาก่อน เสนอใบลาได้ ภายใน 10 วัน เดินทางกลับถึง นับเป็นวันลากิจ
• ลาได้ไม่เกิน 120 วัน แต่ต้องรับราชการ ภายใน 60 วัน นับแต่วันเริ่มลา ประเทศไทย ส่วนตัว
มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี
• ข้าราชการยังไม่เคยอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
หรือยังไม่เคยประกอบ พิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ
สามารถลาโดยได้รับเงินเดือนระหว่างลาได้ไม่เกิน
120 วัน
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลาเข้ารับราชการ แนวทางปฏิบตั ิ
ตรวจเลือกหรือเข้า 1 2 3 4
เข้ารับการตรวจ
รับการเตรียมพล ให้รายการต่อ
เลือกหรือเข้ารับ
เมื่อพ้นจากการ
เข้ารับการตรวจ
กรณีจาเป็น
ผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชา
การเตรียมพล เลือกหรือเข้ารับ
ก่อนวันเข้ารับ อาจขยายเวลา
ตามวันเวลาที่ใน การตรวจ
หลักเกณฑ์ การตรวจเลือก
หมายเรียกนั้น เตรียมพลให้
ให้ได้ แต่รวม
• การเข้ารับการตรวจเลือก - เพื่อรับ ไม่น้อยกว่า
โดยไม่ต้อรอ รายงานตัวกลับ
แล้วไม่เกิน
ราชการเป็นทหารกองประจาการ 48 ชั่วโมง 15 วัน
รับคาสั่งอนุญาต ภายใน 7 วัน
• การเข้ารับการเตรียมพล - เข้ารับการฝึก
วิชาทหาร หรือทดลองความพร้อมตาม
กฎหมายว่าการรับราชการทหาร
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลาไปศึกษา แนวทางปฏิบต ั ิ
ฝึกอบรม ปฏิบัตก ิ าร 1 2 3
เมื่อสิ้นภารกิจการ
วิจัย หรือดูงาน เสนอใบลาต่อ
ผู้บังคับบัญชา
เมื่อได้รับอนุญาต
ต้องทาสัญญากับ ลา ให้รีบรายงาน
เพื่อพิจารณา ส่วนราชการ ตัวเข้าปฏิบต
ั ิ
อนุญาต ต้นสังกัด ราชการ และ
หลักเกณฑ์ รายงานผลของ
• ลาได้ไม่เกิน 4 ปี / อาจลาได้มากกว่า ภารกิจต่อ
4 ปี แต่รวมแล้วไม่เกิน 6 ปี ผู้บังคับบัญชา
• ต้องกลับรับราชการชดใช้เป็นเวลา
ไม่น้อยกว่า 2 เท่าของเวลาที่ลาไป
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลาไปปฏิบตั งิ าน แนวทางปฏิบตั ิ
ในองค์การระหว่าง 1 2 3 4
ประเทศ ประเภทที่ 1 ประเภทที่ 2
ไม่ได้รับ
เงินเดือนใน
การลาเฉพาะ
ประเภทที่ 2
ลาได้ ลาได้ ระหว่างลา ให้กลับมา
ไม่เกิน 4 ปี ไม่เกิน 1 ปี ปฏิบัติงานใน
หลักเกณฑ์ ถ้าเกินต้องสัง่ องค์การระหว่าง
ปฏิบัติราชการ
เป็นระยะเวลา
• ประเภทที่ 1 ประเทศไทยเป็นสมาชิกใน ให้ผนู้ น
ั้ ออก ประเทศ เว้นแต่ 1 เท่าของเวลา
องค์กรระหว่างประเทศ จากราชการ เงินที่ได้รับจาก ที่ลาไปหรือ
• ประเภทที่ 2 การไปปฏิบัติงาน องค์กร ต่ากว่า ชดใช้เบี้ยปรับ
นอกเหนือจากประเภทที่ 1 เงินเดือนจาก แก่ราชการ
ทางราชการ
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลาติดตาม แนวทางปฏิบต
ั ิ
1 2
คู่สมรส เสนอใบลาต่อ
มีอานาจอนุญาต
จะอนุญาตให้ลา
ผู้บังคับบัญชา ครั้งเดียวหรือ
เพื่อพิจารณา หลายครั้งก็ได้
หลักเกณฑ์ อนุญาต โดยมิให้เสียแก่ทาง
• ลาได้ไม่เกิน 2 ปี ราชการ และไม่เกิน
• ผู้มีอานาจอนุญาต อาจให้ลาได้อีก 2 ปี แต่ทั้งนี้ไม่เกิน 4 ปี ระยะเวลาที่กาหนด
ถ้าเกินต้องลาออกจากราชการ
• ไม่ได้รับเงินเดือนระหว่างลา
สิทธิการลาของข้าราชการ

การลาไปฟื้นฟู แนวทางปฏิบต
ั ิ
1
สมรรถภาพด้านอาชีพ เสนอหรือจัดส่งใบลาต่อผู้บงั คับบัญชาพร้อมแสดงหลักฐาน
เกี่ยวกับหลักสูตรทีป่ ระสงค์จะลา และเอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง (ถ้ามี)
เพื่อพิจารณาอนุญาตและเมื่อได้รับอนุญาตแล้ว จึงจะหยุด
หลักเกณฑ์ ราชการเพื่อไปฟื้นฟูสมรรถภาพทางด้านอาชีพได้
• ได้รับอันตรายหรือการป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบต ั ริ าชการในหน้าที่ มีสิทธิลา
ไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพครัง้ หนึง่ ได้ตามระยะเวลาทีก ่ าหนดไว้ใน
หลักสูตรทีป่ ระสงค์ลา แต่ไม่เกิน 12 เดือน
• ได้รับอันตรายหรือป่วยเจ็บเพราะเหตุอื่น ให้ผมู้ อี านาจพิจารณาหรืออนุญาตพิจารณาให้ลาได้ตามระยะเวลา
ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรทีป่ ระสงค์จะลา แต่ไม่เกิน 12 เดือน ต้องเป็นหลักสูตรที่ส่วนราชการหน่วยงานของรัฐ
องค์กรการกุศลอันเป็นสาธารณะหรือสถาบันทีไ่ ด้รับรองจากหน่วยงานของทางราชการ เป็นผู้จัดหรือร่วมจัด
สิทธิการลาของข้าราชการ
คู่มือการใช้งาน ระบบการลา (e-Leave) ระบบการลาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Leave)
สาหรับผูใ้ ช้งานทัว่ ไป
ใช้กรณีลาป่วย
ลากิจ
และลาพักผ่อน
(ที่ไม่เกินสิทธิที่ได้รับ)

You might also like