You are on page 1of 47

กระบวนการพยาบาล (Nursing process)

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แบบฟอร์มการใช้กระบวนการพยาบาล
ชื่อนักศึกษา น.ส. ชนิดาภา โพธิ์ทอง รหัสประจำตัว 6314680494
ชั้นปี ที่ 4
รายวิชา พย. 493 ปฎิบัติการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ภาคการศึกษา 1
ปี การศึกษา 2566
อาจารย์นิเทศ ผศ.ดร. อังคณา จิรโรจน์

ชื่อผู้รับบริการ น.ส. ลิน (นามสมมุติ) เพศ หญิง (LGBT) อายุ 25 ปี


สถานภาพสมรส คู่
เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ อาชีพ ไม่ได้ประกอบอาชีพ
Admit ครั้งที่ 2
ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย รายได้ครอบครัว/เดือน ไม่ทราบ
ที่อยู่ ตำบลลำโพ อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
โรงพยาบาล ศรีธัญญา หอผู้ป่ วย ศรีธัญญา 7
วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 29 ตุลาคม 2566
การวินิจฉัยครั้งแรก Paranoid schizophrenia, Period of observation less
than one year.
การวินิจฉัยครั้งสุดท้าย Paranoid schizophrenia, Period of observation
less than one year.
รับไว้ในความดูแลตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2566 ถึงวัน
ที่…...……….………………………….…......

** แหล่งข้อมูลและความน่าเชื่อถือของข้อมูลและเหตุผล (เพิ่มเติมในรายวิชา
พ.ย.493)
แหล่งข้อมูลที่ได้ ได้จากแฟ้ มประวัติของผู้รับบริการ มีความน่าเชื่อถือ 90%
เนื่องจากเป็ นข้อมูลที่ได้มีการบันทึกประวัติการรักษาของผู้รับบริการทั้งในการ
รักษาครั้งก่อนและการรักษาปั จจุบัน และข้อมูลที่ได้จากผู้รับบริการ มีความน่า
เชื่อถือ 95% เนื่องจากเป็ นข้อมูลที่ได้จากการสื่อสารกับผู้รับบริการโดยตรง โดย
ขณะสอบถามผู้รับบริการมีการรับรู้ที่ปกติ ไม่มีอาการหูแว่ว ประสาทหลอน และ
ข้อมูลที่ได้มีความตรงกับแฟ้ มประวัติข้อมูล ดังนั้นจึงถือว่าเป็ นข้อมูลที่มีความน่า
เชื่อถือ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ประวัติการเจ็บป่ วยของผู้ใช้บริการ
1.1 อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
มีอาการพูดคนเดียวเอะอะโวยวาย หวาดระแวง ทำร้ายร่างกายบิดามารดา 7
ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
1.2 ประวัติการเจ็บป่ วยในปั จจุบันและ/หรือการตั้งครรภ์ การคลอดใน
ปั จจุบัน
1 ปี ก่อนมาโรงพยาบาล (สิงหาคม 2565) อยู่วัดเป็ นเจ้าหน้าที่วัด บอกว่ามีพลัง
ทางจิต บอกว่าสามารถรู้ว่าคนอื่นเป็ นโรคอะไร มีอาการหูแว่ว บอกว่ามีคนมาคุย
ด้วย ไม่ยอมทานข้าว ไม่ยอมนอน ไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลสามพราน ส่งตัวต่อ
ไปที่ โรงพยาบาลสถาบันกัลยา แจ้งว่าเป็ นโรคจิต ทานยา 3 ตัว ทานยาไม่ต่อเนื่อง
กลับไปอยู่ที่วัดต่อ อาการปกติดี
2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการหูแว่ว พูดคนเดียว นอนไม่หลับ
1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล แฟนโทรหาบิดามารดาของผู้รับบริการให้มารับ
ไปรักษา เนื่องจากมีอาการพูดคนเดียว บอกว่าตนเองรู้ว่าคนอื่นเป็ นโรคอะไร มี
อาการหูแว่ว และไม่นอนหลับ
วันนี้ (29 ตุลาคม 2566) มีอาการหงุดหงิด ทำร้ายร่างกายบิดามารดา จึงนำ
ตัวส่งมาโรงพยาบาล
1.3 ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีตและ/หรือการตั้งครรภ์ การคลอดใน
อดีต
ปฎิเสธการมีโรคประจำตัว ปฎิเสธการใช้สารเสพติด และปฎิเสธประวัติการ
เกิดอุบัติเหตุและการผ่าตัด
มีประวัติเป็ นสมาธิสั้นทำการรักษาที่ โรงพยาบาลศิริราชตั้งแต่อายุ 9 ปี ทานยาต่อ
เนื่องจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 หลังเรียนจบทานยาไม่ต่อเนื่อง
2. ประวัติการเจ็บป่ วยของครอบครัว
ปฏิเสธประวัติโรคจิตเวชในครอบครัว
3. การประเมินผู้ใช้บริการตามแผนสุขภาพ วันที่ประเมิน 29 ตุลาคม 2566
(แรกรับ)
น้ำหนัก 87 กก. ส่วนสูง……......……….ซม. อุณหภูมิ 36.5 องศาเซลเซียส ความ
ดันโลหิต 127/82 mmHg
ชีพจร. 82. ครั้ง/นาที จังหวะ สม่ำเสมอ
อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที จังหวะ สม่ำเสมอ
BMI= การแปล
ผล...............................................................................................................
วันที่ซักประวัติ 16 พฤศจิกายน 2566
3.1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
S: “ที่ผมต้องมาอยู่ที่โรงพยาบาล เพราะว่าช่วงนั้นผมมีความวิตกกังวล มีอาการ
หูแว่ว และประสานหลอน ตอนนี้ไม่มีอาการแบบนั้นแล้ว คุณหมอบอกว่าเหลือ
แค่ปรับยาก็จะกลับบ้านได้”
O: ลักษณะทั่วไป : หญิงวัยกลางคน ผมสั้น แต่งกายด้วยชุดของโรงพยาบาล
รูปร่างสมส่วน ไม่ปรากฏความพิการ
3.2 อาหารและการเผาผลาญสารอาหาร
S: “ปกติผมจะกินข้าวประมาณ 2 มื้อ กินมังสวิรัติ แต่มาที่นี้ก็กิน 3 มื้อ ผมแพ้
กุ้งถ้ากินจะผื่นขึ้น”
3.3 การขับถ่าย
S: ปั สสาวะประมาณวันละ 5-6 ครั้งต่อวัน อุจจาระวันละ 1 ครั้ง ปฏิเสธ
อาการท้องผูก ปฎิเสธอาการแสบขัดขณะปั สสาวะ
O: ประเมินไม่พบการใช้ถุง/สายสวนปั สสาวะ สามารถเข้าห้องน้ำได้ด้วยตนเอง
3.4 กิจกรรมและการออกกำลังกาย
S: “ตอนปกติไม่ได้ออกกำลังกายจริงๆจังๆ ส่วนใหญ่จะช่วยทำงานที่วัด เลี้ยง
เต่า กวาดลานวัด และช่วยงานที่วัดเวลามีงานสำคัญต่างๆ มาอยู่ที่นี้ก็จะมีออก
กำลังกายทุกเช้าตามที่พี่ๆเขาให้ทำ”
O: Motor power Gr. 5 all สามารถเคลื่อนไหว ดำเนินกิจวัตรประจำวันได้
ด้วยตนเอง
3.5 การพักผ่อน นอนหลับ
S: “ผมเข้านอนเวลา 21.00-22.00 น. มีตื่นมาตอน 03.00 น. มาสวดมนต์
สวดเสร็จก็หลับต่อ ตื่นอีกทีก็ตอน 6.00 น.”
O: ผู้รับบริการรู้สึกตัวดี ประเมินไม่พบอาการอ่อนเพลีย
3.6 สติปั ญญาและการรับรู้
.................................................................................................................................
.................................................................
3.7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
.................................................................................................................................
................................................................

3.8 บทบาทและสัมพันธภาพ
S: ครอบครัวผมแยกทางกันตั้งแต่เด็ก ผมมีพี่ชาย 1 คน แม่กับพี่ชายแยกกันไปอยู่
อีกที่ ปั จจุบันผมอยู่กับแฟนและแม่บุญธรรมที่ทำงานอยู่ที่วัดสามพราน ผมเคย
ทะเลาะกับที่บ้านกับพ่อ และไม่ได้ติดต่อกับแม่และพี่ชายเลย ไม่รู้ว่าเป็ นยังไงบ้าง
แต่เมื่อวานพ่อผมพาผมไปหาหมอเรื่องกระดูก ผมก็ได้พูดคุยทำความเข้าใจกับพ่อ
และพ่อจะติดต่อกับแม่และพี่ชายให้ หลังจากได้คุยกับพ่อ ผมก็รู้สึกดีขึ้นและดีใจที่
ได้เคลียร์ใจกับพ่อ เริ่มรู้สึกว่าความสัมพันธ์จากที่เป็ นแม่เหล็กที่ไม่ติดกัน ก็เริ่ม
ค่อยๆปรับเข้าหากันได้มากขึ้น”
3.9 เพศและการเจริญพันธุ์
S : “ตอนนี้ผมอยู่กับแฟนที่เป็ นผู้หญิงกับแม่บุญธรรมที่วัด คบกับแฟนมาตั้งแต่
ตอนที่ยังเรียนมหาลัย”
O: พฤติกรรมตามเพศ : แต่งกายด้วยชุดของโรงพยาบาลแบบกางเกง ผมสั้น พูด
ลงท้ายด้วยคำว่า “ครับ” และผู้แทนตนเองว่า “ผม”
3.10 การปรับตัวและการทนทานกับความเครียด
S: “ตอนก่อนผมมีกังวลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผมกับพ่อ แต่พ่อได้ปรับความ
เข้าใจก็ดีขึ้น สิ่งที่ยังมีกังวลอยู่ก็คงจะเป็ นเรื่องการปรับยา เพราะผมทานยาของที่
รักษากระดูกกับยาจิตเวชแล้วมีอาการเวียนหัว ตอนนี้หมอก็กำลังปรับยาอยู่”
3.11 คุณค่าและความเชื่อ
S: “ปกติผมชอบทำงานที่วัด ชอบช่วยเหลือวัด นั่งสมาธิเจริญภาวนา การเจ็บป่ วย
ครั้งนี้ผมคิดว่าเกิดจากการที่ผมวิตกกังวลมากเกิดไปเลยทำให้เกิดหูแว่ว และ
ประสาทหลอน”
หมายเหตุ:
การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้ใช้บริการตามแผนสุขภาพควรครอบคลุมทั้ง Subjective
data และ Objective date

4. การตรวจเพื่อการวินิจฉัย
วันที่ ชนิดของการ ค่าปกติ ผลการตรวจ วิเคราะห์ผล
ตรวจ
29/10/ CBC
66 WBC 5000- 14030 เม็ดเลือดขาวมากกว่า
10000/uL ปกติ แสดงถึงมีการติด
เชื้อในร่างกาย
RBC 4.30
3.93-5.22 จำนวนเม็ดเลือดแดง
อยู่ในเกณฑ์ปกติ
Hb 10.9
11.2-15.7 ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด
g/dL แดงน้อยกว่าปกติ บ่งบ
Hct 34 อกวว่ามีภาวะโลหิต
จาง
Platelet 34-45% 353 ความเข้มข้นของเม็ด
เลือดแดงอยู่ในเกณฑ์
140-400 ปกติ
ปริมาณเกล็ดเลือดอยู่
ในเกณฑ์ปกติ

วันที่ ชนิดของการ ค่าปกติ ผลการตรวจ วิเคราะห์ผล


ตรวจ
MCV 80-95 fl 76.3 ปริมาณเม็ดเลือดแดง
เฉลี่ยน้อยกว่าปกติ บ่ง
บอกว่ามีภาวะโลหิต
จาง
MCH 27-32 pg 25.3
ปริมาณเฉลี่ยของฮีโม
โกลบินในเม็ดเลือด
แดงน้อยกว่าปกติ บ่ง
MCHC 32-36 33.2 บอกว่ามีภาวะโลหิต
g/dL จาง

Neutrophil 65 ความเข้มข้นเฉลี่ยของ
55-75% ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด
แดงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
Eosinophils 1
1-7% จำนวนเม็ดเลือดขาว
ชนิด Neutrophil อยู่
Basophils 0 ในเกณฑ์ปกติ
0-1%
จำนวนเม็ดเลือดขาว
Monocytes 6 ชนิด Eosinophils อยู่
2-6% ในเกณฑ์ปกติ

จำนวนเม็ดเลือดขาว
ชนิด Basophils อยู่ใน
เกณฑ์ปกติ

จำนวนเม็ดเลือดขาว
ชนิด Monocytes อยู่
ในเกณฑ์ปกติ
วันที่ ชนิดของการ ค่าปกติ ผลการตรวจ วิเคราะห์ผล
ตรวจ
29/10/ UA
66 Color Red มีเลือดปนในปั สสาวะ
Appearance Turbid ปั สสาวะขุ่นข้น บ่ง
บอกถึงการมีสิ่งปน
Leukocytes 0-0 2+ เปื้ อนในปั สสาวะ
มีเม็ดเลือดขาวใน
ปั สสาวะ บ่งบอกถึง
Ketone 0-0 2+ การมีการติดเชื้อใน
Nitrite 0-0 Negative ระบบทางเดินปั สสาวะ
Urobillinogen 0-0 Negative ตรวจพบคีโตนใน
ปั สสาวะ
Bilirubin 0-0 Negative ไม่พบไนเตรทใน
Protein 0-0 2+ ปั สสาวะ (ปกติ)
ไม่พบยูโรบิลิโนเจนใน
ปั สสาวะ (ปกติ)
Glucose 0-0 Negative ไม่พบบิริลูบินใน
Sp.gr. 1.005- 1.025 ปั สสาวะ (ปกติ)
1.010 พบโปรตีนในปั สสาวะ
Blood 3+ บ่งบอกถึงการมีอัตรา
0-0 การกรองของไตมี
ประสิทธิภาพลดลง
PH 6 ไม่พบน้ำตาลใน
6-7 ปั สสาวะ (ปกติ)
WBC 3-5 ความถ่วงจำเพาะของ
0-0 ปั สสาวะอยู่ในเกณฑ์
cell/HPF ปกติ
Bacteria Moderate มีเลือดปนเปื อนใน
ปั สสาวะบ่งบอกถึงการ
0-0 มีการอักเสบติดเชื้อใน
ระบบทางเดินปั สสาวะ
ความเป็ นกรด-ด่างใน
ปั สสาวะอยู่ในเกณฑ์
ปกติ
มีเม็ดเลือดขาวใน
ปั สสาวะ บ่งบอกถึง
การมีการติดเชื้อใน
ระบบทางเดินปั สสาวะ
พบแบคทีเรียใน
ปั สสาวะ แสดงถึงมี
การติดเชื้อในระบบ
ทางเดินปั สสาวะ
วันที่ ชนิดของการ ค่าปกติ ผลการตรวจ วิเคราะห์ผล
ตรวจ
6/11/6 CBC
6 WBC 5000- 10230 เม็ดเลือดขาวมากกว่า
10000/uL ปกติ แสดงถึงมีการติด
เชื้อในร่างกาย
RBC 4.20
3.93-5.22 จำนวนเม็ดเลือดแดง
อยู่ในเกณฑ์ปกติ
Hb 10.9
11.2-15.7 ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด
g/dL แดงน้อยกว่าปกติ บ่ง
Hct 32 บอกว่ามีภาวะโลหิต
จาง
34-45% ความเข้มข้นของเม็ด
Platelet 315 เลือดแดงน้อยกว่าปกติ
บ่งบอกว่ามีภาวะโลหิต
MCV 140-400 77.1 จาง
ปริมาณเกล็ดเลือดอยู่
80-95 fl ในเกณฑ์ปกติ
MCH 26 ปริมาณเม็ดเลือดแดง
เฉลี่ยน้อยกว่าปกติ บ่ง
27-32 fl บอกว่ามีภาวะโลหิต
MCHC 33.6 จาง
ปริมาณเฉลี่ยของฮีโม
Neutrophil 32-36 68 โกลบินในเม็ดเลือด
g/dL แดงน้อยกว่าปกติ บ่ง
Eosinophils 1 บอกว่ามีภาวะโลหิต
55-75% จาง
Basophils 1 ความเข้มข้นเฉลี่ยของ
1-7% ฮีโมโกลบินในเม็ดเลือด
Monocytes 5 แดงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
0-1% จำนวนเม็ดเลือดขาว
ชนิด Neutrophil อยู่
2-6% ในเกณฑ์ปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว
ชนิด Eosinophils อยู่
ในเกณฑ์ปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว
ชนิด Basophils อยู่ใน
เกณฑ์ปกติ
จำนวนเม็ดเลือดขาว
ชนิด Monocytes อยู่
ในเกณฑ์ปกติ

วันที่ ชนิดของการ ค่าปกติ ผลการตรวจ วิเคราะห์ผล


ตรวจ
6/11/6 UA
6 Color Yellow
Appearance Clear
Leukocytes 0-0 Negative ไม่พบเม็ดเลือดขาวใน
ปั สสาวะ (ปกติ)
Ketone 0-0 Negative ไม่พบพบคีโตนใน
Nitrite 0-0 Negative ปั สสาวะ (ปกติ)
Urobillinogen 0-0 Negative ไม่พบไนเตรทใน
ปั สสาวะ (ปกติ)
Bilirubin 0-0 Negative ไม่พบยูโรบิลิโนเจนใน
Protein 0-0 Negative ปั สสาวะ (ปกติ)
Glucose 0-0 Negative ไม่พบบิริลูบินใน
Sp.gr. 1.005- 1.005 ปั สสาวะ (ปกติ)
1.010 ไม่พบโปรตีนใน
Blood 0 ปั สสาวะ (ปกติ)
0-0 ไม่พบน้ำตาลใน
PH 7 ปั สสาวะ (ปกติ)
6-7 ความถ่วงจำเพาะของ
WBC 0 ปั สสาวะอยู่ในเกณฑ์
0-0 ปกติ
Bacteria cell/HPF 0 ไม่พบเม็ดเลือดแดงใน
ปั สสาวะ (ปกติ)
0-0 ความเป็ นกรด-ด่างใน
ปั สสาวะอยู่ในเกณฑ์
ปกติ
ไม่พบเม็ดเลือดขาวใน
ปั สสาวะ (ปกติ)
5. แผนการรักษา

One day Continue


29/10/66 29/10/66
- Admit -Regular diet
- Blood for CBC, Cr , E’lyte, LFT, -Record V/S
VDRL, ATK -SAFE precaution
-UA, UPT Medication
- ตามประวัติการรักษาจากโรง -Risperidone (4 mg/day)
พยาบาลสถาบันกัลยา ทานครั้งละ 1 เม็ด (2mg) วันละ 2
ครั้ง เช้าและก่อนนอน
-trihexyphenidyl (2 mg) 1 tab po
prn. For EPS q 8 hr
-Clonazepam (1 mg) 1 tab po hs
1 tab po prn. For insomnia
-haloperidol 5 mg IM prn. q 12 hr.
for agitation
30/10/66
-UA, CBC 30/10/66
-Ofloxacin (200 mg.) 2x2 po. pc. x
7 วัน

13/11/66 11/11/66
อนุญาตให้ญาติรับผู้ป่ วยไปตรวจ -Perskindol spray พ่นบริเวณที่มี
follow up ที่ โรงพยาบาล จุฬา วันที่ อาการปวด
15/11/66

5. การออกฤทธิ์ของยา และการพยาบาล
ชื่อยา การออกฤทธิ์ อาการข้างเคียง การพยาบาล
Risperidone ตัวยาจะออกฤทธิ์ ง่วงซึม น้ำหนัก ตรวจสอบชื่อยา ชื่อผู้ป่ วย
โดยเข้าจับกับตัวรับ เพิ่มขึ้น นอนไม่ ก่อนเตรียมยาให้แก่ผู้ป่ วย
ในสมองที่มีชื่อว่า
หลับ เบื่ออาหาร พร้อมทั้งตรวจสอบ
Dopamine
ใจสั่น และมี ประวัติการแพ้ยาเพื่อ
receptor และ
Serotonin
โอกาสเกิดอาการ ป้ องกันการเกิดอาการแพ้ยา
receptor และเกิด EPS จากนั้นสอบถามชื่อผู้ป่ วย
การเปลี่ยนแปลง (Extrapyramida แจ้งชื่อยา วัตถุประสงค์ใน
สมดุลทางเคมีต่างๆ l side effect) การให้ยา อาการ
ในลักษณะของการ ได้แก่ มีอาการหด ข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นให้
ต้านการทำงาน
เกร็งของกล้าม ผู้ป่ วยทราบและดูแลให้ยา
(Antagonist) ที่ผิด
เนื้อ(acute กับผู้ป่ วยตามหลักการ
ปกติของสารสื่อ
dystopia), มี บริหารยา 10 R และตามคำ
ประสาทที่เกี่ยวข้อง
คือ Dopamine อาการ สั่งแพทย์โดยดูแลให้ผู้ป่ วย
และ Serotonin กระวนกระวาย(A รับได้รับประทานยา
ที่มีหน้าท่ีสำคัญใน kathisia), มี Risperidone 2mg ทาน
การควบคุม อาการ ครั้งละ 1
ความคิด อารมณ์
สั่น(Parkinsonis เม็ด วันละ 2 ครั้ง เช้าและ
และพฤติกรรมของ
m), มีอาการปาก ก่อนนอน
บุคคล
ขมุบขมิบ หรือดูด พร้อมทั้งติดตามเฝ้ าระวัง
ปาก (Tardive อาการข้างเคียงของยาที่
dyskinesia) อาจเกิดขึ้น ได้แก่ ง่วงซึม
นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ใจ
สั่น และเฝ้ าระวังการเกิด
อาการ EPS
(Extrapyramidal side
effect) ได้แก่ มีอาการหด
เกร็งของกล้ามเนื้อ(acute
dystopia), มีอาการ
กระวนกระวาย(Akathisia),
มีอาการ
สั่น(Parkinsonism), มี
อาการปากขมุบขมิบ หรือ
ดูดปาก (Tardive
dyskinesia)
หากพบอาการเหล่านี้
รุนแรงให้ทำการปรึกษา
แพทย์และหาแนวทางการ
แก้ไขให้กับผู้ป่ วยในระดับ
ต่อไป จากนั้นทำการบันทึก
และประเมินผลหลังให้ยา
trihexyphe Trihexyphenid กระสับกระส่าย ตรวจสอบชื่อยา ชื่อผู้ป่ วย
nidyl y ออกฤทธิ์ปี ดกั้น คลื่นใส้อาเจียน ก่อนเตรียมยาให้แก่ผู้ป่ วย
ตัวรับ วิงเวียนศรีษะ พร้อมทั้งตรวจสอบ
acetycholine ประวัติการแพ้ยาเพื่อ
ทำให้ ป้ องกันการเกิดอาการแพ้ยา
acetycholine จากนั้นสอบถามชื่อผู้ป่ วย
ไม่สามารถออก แจ้งชื่อยา วัตถุประสงค์ใน
ฤทธิ์ได้ ยาชนิดนี้ การให้ยา อาการ
ใช้ควบคุม Extra- ข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นให้
Pyramidal ผู้ป่ วยทราบและดูแลให้ยา
Symptoms กับผู้ป่ วยตามหลักการ
(EPS) ซึ่งมี บริหารยา 10 R และตามคำ
ลักษณะคือ สั่งแพทย์โดยดูแลให้ผู้ป่ วย
อาการหดเกร็ง รับได้รับประทานยา
ของกล้ามเนื้อ Trihexyphenidyl 2 mg
(dystonia) ทานครั้งละ 1 เม็ดเมื่อมี
อาการ อาการ EPS ทุก 8 ชั่วโมง
กระวนกระวาย พร้อมทั้งติดตามเฝ้ าระวัง
ไม่หยุดนิ่ง อาการข้างเคียงของยาที่
(akathisia) การ อาจเกิดขึ้น ได้แก่ กระสับ
เคลื่อนไหวแบบผู้ กระส่าย คลื่นไส้ อาเจียน
ป่ วยโรคพาร์กิน วิงเวียนศีรษะ จากนั้น
สัน ทำการบันทึกและประเมิน
(parkinsonism) ผลหลังให้ยา
และความผิดปกติ
การเคลือนไหว
ของริมฝี ปากและ
ลิ้น (tardive
dyskinesia)
Clonazepa เป็ นยาในกลุ่ม อาการไม่พึง ตรวจสอบชื่อยา ชื่อผู้ป่ วย
m benzodiazepin ประสงค์เกิดจาก ก่อนเตรียมยาให้แก่ผู้ป่ วย
es ออกฤทธ์ิกด ฤทธิ์กดระบบ พร้อมทั้งตรวจสอบ
ระบบประสาท ประสาทส่วน ประวัติการแพ้ยาเพื่อ
ส่วนกลางโดย กลาง อาการที่ ป้ องกันการเกิดอาการแพ้ยา
เป็ น agonist ที่b พบส่วนใหญ่ คือ จากนั้นสอบถามชื่อผู้ป่ วย
enzodiazepine ง่วงซึม กล้ามเนื้อ แจ้งชื่อยา วัตถุประสงค์ใน
receptor ซ่ึงจับ ทำงานไม่ การให้ยา อาการ
กลุ่มอยู่กับ ประสานกัน ข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้นให้
GABAA กล้ามเนื้อเปลี้ย ผู้ป่ วยทราบและดูแลให้ยา
receptor และ c สับสน มึนงง กับผู้ป่ วยตามหลักการ
hloride เวียนศีรษะ ใจสั่น บริหารยา 10 R และตามคำ
channel อยู่ที่ ชีพจรเต้นเร็ว สั่งแพทย์โดยดูแลให้ผู้ป่ วย
เยื่อหุ้มเซลล์ รับได้รับประทานยา
ประสาท ทำให้ Clonazepam 1mg ทาน
GABA receptor ครั้งละ 1
ทำงานได้มากขึ้น เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ส่งผลให้ พร้อมทั้งติดตามเฝ้ าระวัง
chloride อาการข้างเคียงของยาที่
channel ปี ด อาจเกิดขึ้น ได้แก่ ง่วงซึม
ยอมให้ chloride กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสาน
ions กัน กล้ามเนื้อเปลี้ย สับสน
เข้าสู่เซลล์มากขึ้น มึนงงเวียนศีรษะ ใจสั่น
เกิด ชีพจรเต้นเร็ว หากพบ
hyperpolarizati อาการเหล่านี้รุนแรงให้
on และยับยั้ง ทำการปรึกษาแพทย์และหา
การทำหน้าที่ของ แนวทางการแก้ไขให้กับผู้
เซลล์ประสาท ป่ วยในระดับต่อไป จากนั้น
ต่างๆ ทำให้มีผล ทำการบันทึกและประเมิน
ลดอาการวิตก ผลหลังให้ยา
กังวล และทำให้
ง่วงหลับ
haloperidol กลไกการออก มีโอกาสเกิด ตรวจสอบชื่อยา ชื่อผู้ป่ วย
ฤทธิ์ของยาคือ อาการ EPS ก่อนเตรียมยาให้แก่ผู้ป่ วย
ฮาโลเพอริดอล (Extrapyramida พร้อมทั้งตรวจสอบ
เป็ นยาในกลุ่มยา l side effect) ประวัติการแพ้ยาเพื่อ
ต้านจิตเภท มี ได้แก่ มีอาการหด ป้ องกันการเกิดอาการแพ้ยา
ฤทธิ์ยับยั้งตัวรับ เกร็งของกล้าม ดูแลให้ยากับผู้ป่ วยตามหลัก
โดปามีน ชนิดดี เนื้อ(acute การบริหารยา 10 R และ
1 และดี 2 ที่ dystopia), มี ตามคำสั่งแพทย์โดยดูแลให้
บริเวณโพสท์ไซ อาการ ผู้ป่ วยรับได้รับประทานยา
แนปติก กระวนกระวาย(A haloperidol 5 mg IM
(postsynaptic kathisia), มี prn. q 12 hr. for
dopamine D1 / อาการ agitation
D2 receptor) สั่น(Parkinsonis พร้อมทั้งติดตามเฝ้ าระวัง
ในสมองส่วนมีโซ m), มีอาการปาก อาการข้างเคียงของยาที่
ลิมบิก และลด ขมุบขมิบ หรือดูด อาจเกิดขึ้น ได้แก่ เฝ้ าระวัง
การปลดปล่อย ปาก (Tardive การเกิดอาการ EPS
ฮอร์โมนจากสม dyskinesia) (Extrapyramidal side
องส่วนไฮโพทา effect) ได้แก่ มีอาการหด
ลามัสและสมอง เกร็งของกล้ามเนื้อ(acute
ส่วนไฮโพไฟเซียล dystopia), มีอาการ
ทำให้เกิดภาวะ กระวนกระวาย(Akathisia),
สงบ และลด มีอาการ
อาการก้าวร้าว สั่น(Parkinsonism), มี
โดยไม่ก่อให้เกิด อาการปากขมุบขมิบ หรือ
การเห็นภาพ ดูดปาก (Tardive
หลอน และ dyskinesia)
อาการหลงผิด หากพบอาการเหล่านี้
รุนแรงให้ทำการปรึกษา
แพทย์และหาแนวทางการ
แก้ไขให้กับผู้ป่ วยในระดับ
ต่อไป จากนั้นทำการบันทึก
และประเมินผลหลังให้ยา
หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4

ลักษณะทั่วไป เพศหญิง วัยกลางคน


(General รูปร่าง
Apperance) สมส่วน ผมสั้น แต่ง
กายด้วยชุดของโรง
พยาบาลแบบกางเกงสี
เขียวมีอาการสั่นเล็ก
น้อย ไม่ปรากฎความ
พิการ

การพูด ( Speech) พูดความเร็วปกติ


เสียงดัง จังหวะราบ
รื่น สามารถตอบ
คำถามได้

อารมณ์ที่แสดงออก มีอารมณ์สงบ ไม่มี


(Affect) อาการหงุดหงิดหรือ
หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4

เศร้า มีสีหน้ายิ้มแย้ม
เมื่อพูดถึงเรื่องที่
สามารถปรับความ
เข้าใจกับบิดาได้

ความคิด (Thought) ระหว่างที่สอบถาม


คำถาม ผู้รับบริการ
สามารถตอบได้ตรง
คำถาม เนื้อหามีความ
สัมพันธ์สอดคล้องกับ
คำถาม และชัดเจน
ไม่มีอาการหลงผิด

การรับรู้ (Perceptions) ไม่พบหูแว่ว


ประสาทหลอน

การรู้สึกตัวและการรู้คิด
หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4

(Sensorium and
Cognition)

รู้สึกตัวดี
ระดับการรู้สึกตัว

ทราบว่าวันนี้เป็ นวัน
การรับรู้วัน เวลา สถานที่ พฤหัสบดี ช่วงบ่าย
บุคคล ขณะนี้อยู่ที่โรง
พยาบาล และตอนนี้
กำลังพูดคุยอยู่กับ
นักศึกษาพยาบาล

ความสนใจสมาธิ ไม่ได้ประเมิน

ความจำ Recently memory:


หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4

ทราบว่าอาหารที่ทาน
กลางวันเป็ น ข้าว
หมูแดง
Remote memory:
จำได้ว่าตอนมัธยม
ตนเองเรียนที่
โรงเรียนเซนต์โยเซฟ
และตอนเรียน
ความรู้ทั่วไป มหาวิทยาลัยเรียนที่
มหาวิทยาลัย
รามคำแหง คณะ
วิศวกรรมศาสตร์
ความคิดเชิงนามธรรม ทราบว่าเดือน
พฤศจิกายนมีเทศกาล
สำคัญคือ เทศกาล
หัวข้อการประเมิน สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4

วันลอยกระทง

ไม่ได้ประเมิน

การตัดสินใจ ไม่ได้ประเมิน
(judgment)

การหยั่งรู้สภาพความเจ็บ บอกว่าการเจ็บป่ วย
ป่ วย ครั้งนี้เกิดจากการที่ตน
(Insight) วิตกกังวลมากเกินไป
เลยทำให้มีอาการหู
แว่ว และ
ประสาทหลอน
5. สรุปประเด็นปั ญหาของผู้รับบริการ ระบุผลการรวบรวมข้อมูลตามแบบแผน
สุขภาพและการประเมินสภาพจิตว่าพบความผิดปกติในด้านใดอย่างไรบ้าง
ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน คือ

1. ด้านร่างกาย
- เสี่ยงต่อการเกิดอาการข้างเคียงจากยาจิตเวช โดยผู้รับบริการเคยมีประวัติมี
อาการตัวเกร็ง และมือสั่น
เดินทรงตัวได้ช้า ดังนั้นจึงมีความเสี่ยงในการเกิดอาการข้างเคียงจากยาจิตเวชซ้ำ
2. ด้านจิตใจ
-มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการปรับยา
3. ด้านสังคม
-มีสัมพันธภาพในครอบครัวบกพร่อง โดยผู้รับบริการบอกว่าตนเองนั้น
ทะเลาะกับบิดา และเพิ่งสามารถปรับความเข้าใจกับบิดาได้ไม่นาน
- เสี่ยงต่อการทำร้ายผู้อื่น โดยผู้รับบริการมีประวัติหูแว่ว ประสาทหลอน และ
ทำร้ายผู้อื่น
6. แผนการพยาบาลและการดำเนินการตามแผน

ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ
พยาบาลและ พยาบาลและ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลการ
กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล
ผล พยาบาล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
#1.เสี่ยงต่อการ วัตถุประสงค์ 1.ประเมินการรับรู้ของผู้รับ 1.เพื่อประเมินการรับรู้ 16/11/66
ทำร้ายร่างกายผู้ ทางการพยาบาล บริการที่เป็ นความเสี่ยงต่อการ ของผู้รับบริการที่เป็ น ผู้รับบริการ
อื่น ระยะสั้น ทำร้ายร่างกายผู้อื่น ได้แก่ ความเสี่ยงต่อการ รู้สึกตัวดี
ข้อมูลสนับสนุน ผู้รับบริการไม่ ประเมินการมีอาการหูแว่ว ทำร้ายร่างกายผู้อื่น เช่น ประเมินไม่พบ
Subjective data ทำร้ายผู้อื่นขณะที่ ประสาทหลอน โดยประเมินจาก อาการหู อาการหูแว่ว
29/10/66 มี รักษาตัวในโรง การรับรู้เกี่ยวกับประสาทสัมผัส แว่ว เห็นภาพหลอน ประสาทหลอน
อาการพูดคนเดียว พยาบาล ทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และ เป็ นต้น และนำข้อมูลที่ ไม่พบอาการ
เอะอะโวยวาย ระยะยาว สัมผัสทางกาย ได้มาใช้ในการวางแผน ก้าวร้าว ได้รับ
ระแวงว่าจะมีคนมา ผู้รับบริการไม่มี ให้การพยาบาลที่เหมาะ การเข้าร่วม
ทำร้าย ทุบตีบิดา พฤติกรรมก้าวร้าว สม กิจกรรมบำบัด
หวาดระแวงและ 2.สร้างสัมพันธภาพเพื่อการ (จิ๊กซอว์พา
ทำร้ายผู้อื่น บำบัดโดยรับฟั งสิ่งที่ผู้รับบริการ 2.เพื่อยอมรับและ เพลิน) ให้ความ
เกณฑ์การประเมิน พูด แสดงการยอมรับอาการ ทำความเข้าใจกับ ร่วมมือดีมีพูด
ผล ประสาทหลอนของผู้รับบริการ อาการของผู้รับบริการที่ คุยกับเพื่อนบ้าง
1.ขณะที่รักษาตัว และบอกความเป็ นจริงให้ผู้รับ เกิดขึ้น และนำเสนอ ในระหว่างทำ
ในโรงพยาบาลผู้รับ บริการรับรู้ ความเป็ นจริงให้แก่ผู้รับ แต่เมื่อผู้นำกลุ่ม
บริการไม่มีอาการ บริการทราบเพื่อให้ผู้รับ เตือนถึงกติกา
ก้าวร้าว และ 3.แนะนำวิธีจัดการควบคุม บริการมีการรับรู้ที่ตรง การทำกลุ่ม
ทำร้ายผู้อื่น อารมณ์ การจัดการอารมณ์ และ กับความเป็ นจริง ผู้รับบริการรับ
สามารถอยู่ร่วมกับ วิธีการหลีกเลี่ยงอาการหูแว่วแก่ 3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้รับ ฟั งและปฏิบัติ
ผู้อื่นได้ ผู้รับบริการ ได้แก่ ไม่ควรอยู่คน บริการสามารถจัดการ ตาม และ
2.ผู้อื่นไม่ได้รับ เดียว อารมณ์ของตนเองได้ สามารถทำ
อันตรายจากอาการ อย่างเหมาะสมและ กิจกรรมร่วมกับ
ก้าวร้าวของผู้รับ 4.เปิ ดโอกาสให้ผู้รับบริการได้เข้า สามารถทำกิจกรรมร่วม ผู้อื่นได้ ก่อนจบ
บริการ ร่วมกิจกรรมกลุ่มกับผู้อื่นเมื่อมี กับผู้อื่นได้ กิจกรรมผู้รับ
อาการสงบ 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้รับ บริการมี
บริการ
มีปฎิสัมพันธ์ร่วมกับผู้
อื่น

ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ
พยาบาลและ พยาบาลและ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลการ
กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล
ผล พยาบาล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
5.กล่าวชื่นชมผู้รับบริการ เมื่อผู้ 5.เพื่อเป็ นการส่งเสริม การตีศรีษะท่าน
รับบริการปฎิบัติพฤติกรรมที่ แรงทางบวกให้แก่ผู้รับ อื่น โดยให้
เหมาะสม บริการให้มีแรงจูงใจใน เหตุผลว่า
การปฎิบัติพฤติกรรมที่มี เป็ นการหยอก
6.จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เหมาะสม ล้อกัน ผู้นำกลุ่ม
และปลอดภัย 6.เพื่อลดปั จจัยเสี่ยงที่ ได้กล่าวตัก
อาจก่อให้เกิดอันตราย เตือนและได้ให้
ต่อผู้รับบริการและผู้อื่น ขอโทษและพูด
จากการมีสิ่งแวดล้อมไม่ คุยปรับความ
7.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการ เหมาะสม เข้าใจกับผู้รับ
รักษา ได้แก่ บริการท่านนั้น
- Risperidone 2 mg รับ 7.เพื่อให้ผู้รับบริการได้ ก่อนจบ
ประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 รับยาตามแผนการ กิจกรรม
ครั้ง เช้าและก่อนนอน รักษา โดย 17/11/66
Risperidone ผู้รับบริการรู้สึก
จะเข้าจับกับตัวรับใน ตัวดี ประเมินไม่
สมองที่มีชื่อว่า พบอาการหูแว่ว
Dopamine receptor ประสาทหลอน
และ Serotonin ไม่พบอาการ
receptor และเกิดการ ก้าวร้าว ได้รับ
เปลี่ยนแปลงสมดุลทาง การเข้าร่วม
เคมีต่างๆในลักษณะ กิจกรรมบำบัด
ของการต้านการทำงาน ภาพพิมพ์ ให้
(Antagonist) ที่ผิดปกติ ความร่วมมือดี
ของสารสื่อประสาทที่ สามารถทำ
เกี่ยวข้อง คือ กิจกรรมร่วมกับ
Dopamine และ ผู้อื่นได้
Serotonin ทีมีหน้าท่ี
สำคัญในการควบคุม
ความคิด อารมณ์และ
พฤติกรรมของบุคคล

ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ
พยาบาลและ พยาบาลและ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลการ
กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล
ผล พยาบาล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
8.ประเมินอาการข้างเคียงหลังได้ 8.เพื่อสังเกตและเฝ้ า
รับยา ได้แก่ ง่วงซึม น้ำหนักเพิ่ม ระวังอาการข้างเคียง
ขึ้น นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ใจ ของยาหากเกิดอาการ
สั่น และฝ้ าระวังการเกิดเกิด ข้างเคียงรุนแรงจะได้ให้
อาการ EPS (Extrapyramidal แก้ไขให้กับผู้รับบริการ
side effect) ได้อย่างทันท่วงที

9.ประเมินผลหลังให้การพยาบาล 9.เพื่อนำข้อมูลที่ได้จาก
การประเมินหลังให้การ
พยาบาลมาใช้ในการ
วางแผนทางการ
พยาบาลในครั้งต่อไป
ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ
พยาบาลและ พยาบาลและ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลการ
กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล
ผล พยาบาล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
#2.เสี่ยงต่อการ วัตถุประสงค์ 1.ประเมินอาการและอาการ 1.เพื่อประเมินความ 16/11/66
เกิดอาการข้าง ทางการพยาบาล แสดงของอาการข้างเคียงจากยา รุนแรงอาการและ ผู้รับบริการ
เคียงจากยาจิตเวช ผู้รับบริการ จิตเวช (Extrapyramidal side อาการแสดงของอาการ รู้สึกตัวดี
ปลอดภัยและไม่ effect) ได้แก่ มีอาการหดเกร็ง ข้างเคียงจากยาจิตเวช ประเมินพบมี
ข้อมูลสนับสนุน เกิดอันตรายจาก ของกล้ามเนื้อ(acute และนำข้อมูลที่ได้มาใช้ อาการสั่นเล็ก
Objective data อาการข้างเคียงจาก dystopia), มีอาการ ในการวางแผนให้การ น้อย
-ได้รับการรักษา ยาจิตเวช กระวนกระวาย(Akathisia), มี พยาบาลที่เหมาะสม 17/11/66
โดยยา อาการสั่น(Parkinsonism), มี ผู้รับบริการรู้สึก
Risperidone 2 เกณฑ์การประเมิน อาการปากขมุบขมิบ หรือดูด ตัวดี ประเมินยัง
mg รับประทาน ผล ปาก (Tardive dyskinesia) คงพบมีอาการ
ครั้งละ 1 เม็ด วัน 1.ผู้รับบริการไม่เกิด 2.เพื่อให้ผู้รับบริการได้ สั่นเล็กน้อย
ละ 2 ครั้ง เช้าและ อันตรายจากการได้ 2.อธิบายให้ผู้รับบริการทราบถึง ทราบข้อมูลเกี่ยวกับ
ก่อนนอน รับยาทางจิตเวช อาการข้างเคียงของยาจิตเวช อาการข้างเคียงที่อาจ
4/11/2566 ตามแผนการรักษา เกิดขึ้นได้จากการได้รับ
สังเกตพบผู้รับ ได้แก่ ยาทางจิตเวช
บริการมีหน้าเรียบ ไม่เกิดอาการหด 3.ดูแลให้ผู้รับบริการได้รับยาตาม
เฉย พูดคุยโต้ตอบ เกร็งของกล้าม แผนการรักษาเมื่อพบอาการข้าง 3.เพื่อให้ผู้รับบริการได้
ได้เมื่อถาม ใช้เวลา เนื้อ(acute เคียงของยา รับยาตามแผนการ
นึกนาน มีอาการ dystopia), ไม่เกิด trihexyphenidyl 2 mg ทาน รักษาเมื่อเกิดอาการข้าง
ตัวเกร็ง และมือสั่น อาการ ครั้งละ 1 เม็ด ทุก 8 ชั่วโมง เมื่อ เคียงจากการได้รับยา
เดินทรงตัวได้ช้า ได้ กระวนกระวาย(Ak มีอาการ EPS จิตเวชตามแผนการ
รับยา athisia), ไม่เกิด รักษา โดย
trihexyphenidyl อาการ Trihexyphenidy ออก
เพื่อสงบอาการ สั่น(Parkinsonism) ฤทธิ์ปี ดกั้นตัวรับ
, ไม่เกิดอาการปาก acetycholine
ขมุบขมิบ หรือดูด
ปาก (Tardive
dyskinesia)

ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ
พยาบาลและ พยาบาลและ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลการ
กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล
ผล พยาบาล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
ทำให้ acetycholine
ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้
ใช้ควบคุม Extra-
Pyramidal
4.รายงานให้แพทย์ทราบเมื่อผู้รับ Symptoms
บริการมีอาการข้างเคียงจากการ
ได้รับยาจิตเวช 4.เพื่อให้แพทย์ผู้ทำการ
รักษาทราบ และได้
ทำการวางแผนการ
รักษาแก้ไขให้กับผู้รับ
5.ประเมินผลหลังให้การพยาบาล บริการได้อย่างทันท่วงที
พร้อมทั้งเฝ้ าระวังอาการข้างเคียง
ของยาจิตเวชอย่างต่อเนื่องใน 5.เพื่อนำข้อมูลที่ได้จาก
ระหว่างทำการรักษาที่โรง การประเมินหลังให้การ
พยาบาล พยาบาลมาใช้ในการ
วางแผนทางการ
พยาบาลในครั้งต่อไป
ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ
พยาบาลและ พยาบาลและ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลการ
กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล
ผล พยาบาล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
#3.สัมพันธภาพ วัตถุประสงค์ 1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้รับ 1.เพื่อเป็ นการสร้าง
ในครอบครัว ทางการพยาบาล บริการ ให้ผู้รับบริการเกิดความ สัมพันธภาพกับผู้รับ
บกพร่อง เพื่อส่งเสริมให้ผู้รับ เชื่อมั่น และไว้วางใจ โดยใช้คำ บริการให้เกิดความเชื่อ
ข้อมูลสนับสนุน บริการมี พูดที่เข้าใจง่าย และใช้คำถาม มั่นและไว้วางใจ ทำให้
Subjective data สัมพันธภาพที่ดีใน ปลายเปิ ด ผู้รับบริการเล่าความ
“ครอบครัวผมแยก ครอบครัว รู้สึก ความคิด ความ
ทางกันตั้งแต่เด็ก กังวลของตนออกมา
ผมมีพี่ชาย 1 คน เกณฑ์การประเมิน และนำข้อมูลที่ได้มาใช้
แม่กับพี่ชายแยก ผล ในการวางแผนทางการ
กันไปอยู่อีกที่ ผู้รับบริการและ พยาบาลที่เหมาะสม
ปั จจุบันผมอยู่กับ ครอบครัวเข้าใจ 2.เปิ ดโอกาสให้ผู้รับบริการได้
แฟนและแม่ และพูดคุยกันมาก ระบายความรู้สึก และความขับ 2.เพื่อให้ผู้รับบริการได้
บุญธรรมที่ทำงาน ขึ้น ข้องใจ ระบายความขับข้องใจที่
อยู่ที่วัดสามพราน มีต่อครอบครัว และเพื่อ
ผมเคยทะเลาะกับ นำข้อมูลที่ได้มาวางแผน
ที่บ้านกับพ่อ และ ให้การพยาบาลอย่าง
ไม่ได้ติดต่อกับแม่ 3.ส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้ติดต่อ เหมาะสม
และพี่ชายเลย แต่ กับครอบครัวได้พูดคุย แสดง
เมื่อวานพ่อผมพา ความเข้าใจซึ่งกันและกัน และ 3.เพื่อเสริมสร้าง
ผมไปหาหมอเรื่อง กระตุ้นการมีส่วนร่วมใน สัมพันธภาพที่ดีใน
กระดูก ผมก็ได้พูด ครอบครัว ครอบครัวให้แก่ผู้รับ
คุยทำความเข้าใจ บริการ
กับพ่อ และพ่อจะ
ติดต่อกับแม่และพี่
ชายให้ หลังจากได้
คุยกับพ่อ ผมก็รู้สึก
ดีขึ้นและดีใจที่ได้
เคลียร์ใจกับพ่อ”
ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ
พยาบาลและ พยาบาลและ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลการ
กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล
ผล พยาบาล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
4.กล่าวชื่นชมและให้กำลังใจผู้รับ เพื่อเป็ นการส่งเสริมแรง
บริการ เมื่อผู้รับบริการเริ่มมี ทางบวกให้แก่ผู้รับ
สัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว บริการให้มีแรงจูงใจใน
การสร้างสัมพันธภาพที่
ดีในครอบครัว

5.ประเมินผลหลังให้การพยาบาล 5.เพื่อนำข้อมูลที่ได้จาก
พร้อมทั้งติดตามสัมพันธภาพ การประเมินหลังให้การ
ระหว่างผู้รับบริการและ พยาบาลมาใช้ในการ
ครอบครัวอย่างต่อเนื่อง วางแผนทางการ
พยาบาลในครั้งต่อไป

ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล ประเมินผลการ


พยาบาลและ พยาบาลและ พยาบาล
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน
ผล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
#4.เสี่ยงต่อการก วัตถุประสงค์ 1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้รับ 1.เพื่อเป็ นการสร้าง
ลับมาเป็ นซ้ำ ทางการพยาบาล บริการ ให้ผู้รับบริการเกิดความ สัมพันธภาพกับผู้รับ
เนื่องจากขาด ระยะสั้น : ผู้รับ เชื่อมั่น และไว้วางใจ โดยใช้คำ บริการให้เกิดความเชื่อ
ความตระหนักใน บริการไม่มีอาการ พูดที่เข้าใจง่าย และใช้คำถาม มั่นและไว้วางใจ ทำให้
การรับประทานยา กำเริบของโรค ปลายเปิ ด ผู้รับบริการเล่าความ
ระยะยาว : ผู้รับ รู้สึก ความคิด ความ
ข้อมูลสนับสนุน บริการไม่กลับมา กังวลของตนออกมา
Objective data เข้ารับการรักษาซ้ำ และนำข้อมูลที่ได้มาใช้
จากประวัติการ เกณฑ์การประเมิน ในการวางแผนทางการ
รักษาพบว่า ผล พยาบาลที่เหมาะสม
1 ปี ก่อนมาโรง 1.ผู้รับบริการมี 2.ให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้รับ
พยาบาลผู้รับ ความรู้ความเข้าใจ บริการเกี่ยวกับโรค paranoid 2.เพื่อให้ผู้รับบริการมี
บริการได้รับการ เกี่ยวกับโรค schizophrenia และอาการของ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยว
รักษาทางจิตเวชที่ schizophrenia โรค ดังนี้ Paranoid กับโรค และเป็ นการ
โรงพยาบาล โดยสามารถบอก schizophrenia หมายถึง ภาวะ เสริมสร้างการหยั่งรู้
สถาบันกัลยาภาย ความหมาย และ ที่สมองมีความผิดปกติ ทำให้มี สภาพความเจ็บป่ วยให้
หลังการจำหน่าย อาการของโรคได้ ความคิดหรือการรับรู้ที่ผิดปกติ แก่ผู้รับบริการ
กลับบ้านพบว่า 2.ผู้รับบริการเล็ง เช่น หลงเชื่อผิดๆว่าจะมีคนมา
ผู้รับบริการมี เห็นถึงความสำคัญ ทำร้าย มีอาการหูแว่ว เห็นภาพ
พฤติกรรมการรับ ของการทานยา หลอน เป็ นต้น
ประทานยาไม่ สม่ำเสมอสามารถ
สม่ำเสมอ บอกประโยชน์ของ
การทานยา
สม่ำเสมอได้

ข้อวินิจฉัยทางการ วัตถุประสงค์การ
พยาบาลและ พยาบาลและ
ข้อมูลสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลการ
กิจกรรมการพยาบาล เหตุผลการพยาบาล
ผล พยาบาล
(ระยะสั้นและระยะ
ยาว)
3.กระตุ้นให้ผู้รับบริการค้นหา 3.เพื่อเป็ นการกระตุ้นให้
สาเหตุของการเจ็บป่ วยที่ต้อง ผู้รับบริการได้วิเคราะห์
กลับมารักษาซ้ำ สาเหตุที่ทำให้เกิด
อาการของโรคซ้ำและ
เพื่อทำให้ผู้รับบริการ
ตระหนักถึงสาเหตุที่
ทำให้เกิดการกำเริบของ
4.ส่งเสริมให้ผู้รับบริการเกิด โรค
ความตระหนักและเล็งเห็นถึง
ความสำคัญของการปฎิบัติตัวที่ 4.เพื่อส่งเสริมให้ผู้รับ
เหมาะสม และการทานยาอย่าง บริการตระหนักถึงความ
สม่ำเสมอ สำคัญของการทานยา
อย่างสม่ำเสมอตาม
แผนการรักษา ลด
5.กล่าวชื่นชมผู้รับบริการ เมื่อผู้ โอกาสเสี่ยงในการกลับ
รับบริการปฎิบัติพฤติกรรมการ มาเป็ นซ้ำ
ทานยาที่เหมาะสม
5.เพื่อเป็ นการส่งเสริม
6.ประเมินผลหลังให้การพยาบาล แรงทางบวกให้แก่ผู้รับ
และติดตามพฤติกรรมการรับ บริการให้มีแรงจูงใจใน
ประทานยาของผู้รับบริการอย่าง การปฎิบัติพฤติกรรมที่มี
ต่อเนื่อง เหมาะสม
6.เพื่อนำข้อมูลที่ได้จาก
การประเมินหลังให้การ
พยาบาลมาใช้ในการ
วางแผนทางการ
พยาบาลในครั้งต่อไป
7. สรุปข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล และผลการพยาบาล

หญิงไทย(LGBT) อายุ 25 ปี แพทย์วินิจฉัย Paranoid schizophrenia เข้ารับ


การรักษาเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2566 จากการซักประวัติและตรวจร่างกาย
สามารถสรุปข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ได้ดังนี้
#1.เสี่ยงต่อการทำร้ายร่างกายผู้อื่น
#2.เสี่ยงต่อการเกิดอาการข้างเคียงจากยาจิตเวช
#3.สัมพันธภาพในครอบครัวบกพร่อง
#4.เสี่ยงต่อการกลับมาเป็ นซ้ำ เนื่องจากขาดความตระหนักในการรับประทานยา

You might also like