You are on page 1of 44

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์

รายงานการวางแผนการพยาบาล (Nursing Care Plan)


วิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑

ชื่อ-สกุล นักศึกษา นางสาวมนธาพร บุญเจือ เลขที่ 51 ชั้นปี 2 รุ่น 51


หลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต
วันที่ 23 มีนาคม 2564 หอผู้ป่ วย โสต ศอ นาสิก เตียง 20
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-สกุล ผู้ป่ วย นางสาวบุญส่ง เวชดง อายุ 68 ปี สถานภาพสมรส หย่า
ร้าง
เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ การศึกษา ประถมศึกษาปี ที่ 4 อาชีพ รับจ้าง
รายได้ 2000 บาท/เดือน
ที่อยู่ปั จจุบัน 117 หมู่ 1 ตำบล กุดลาด อำเภอ เมืองอุบลราชธานี จังหวัด
อุบลราชธานี
รับไว้ในโรงพยาบาลวันที่ 18 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 13.06 น.
รับไว้ในความดูแลของนักศึกษาวันที่ 23 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา
16.20 น.
ประวัติครอบครัว
สถานภาพในครอบครัว ( ) หัวหน้าครอบครัว ( / ) สมาชิก
บุคคลในความรับผิดชอบ - คน
สภาพแวดล้อม บ้านไม้ 1 ชั้น มีต้นไม้รอบๆบ้าน อากาศถ่ายเทสะดวก
สุขภาพอนามัย ผู้ป่ วยบอกว่าญาติเสียชีวิตหมดแล้ว อาศัยเพียงลำพัง ไม่มี
ลูก และอย่ากับสามี
ประวัติการเจ็บป่ วย
อาการสำคัญ ปวดแผลใต้ลิ้นฝั่ งขวามากขึ้น รับประอาหารได้น้อยลง กลืน
ลำบาก 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔
ประวัติการเจ็บป่ วยปั จจุบัน
1 ปี ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่ วยเริ่มมีอาการปวดฟั น มีแผลใต้ลิ้นฝั่ งขวา
ไปรักษาที่โรงพยาบาล 50 พรรษา แพทย์แนะนำให้ผ่าตัด แต่ผู้ป่ วยปฏิเสธ
แพทย์จึง consult pallitive care
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการปวดมากขึ้น รับประทานอาหารได้
น้อยลง กลืนลำบาก จึงตัดสินใจผ่าตัด แพทย์ plan operation วันที่ 29
มีนาคม 2564
ประวัติการเจ็บป่ วยในอดีต
5 ปี ก่อน มีโรคประจำตัวเป็ น Hypertention (HT) และ Diabetes
Mellitus (DM) type 2 รับการรักษาที่โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ รับ
ประทานยาสม่ำเสมอ และมาตามนัดทุกครั้ง มียาอินซูลินฉีด 15-0-10 ต่อวัน
มีการแพ้ยา Penicillin
ปฏิเสธการเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง
การประเมินภาวะจิตใจ สังคมและจิตวิญาณของผู้ป่ วยและครอบครัว
ผู้ป่ วยอย่าร้างสามีได้ 8 ปี ไม่มีบุตร อาศัยอยู่คนเดียว มีวิตกกังวลเกี่ยว
กับการเจ็บป่ วยของตัวเอง และกังวลในเรื่องไม่มีคนดูแล เนื่องจากญาติก็สีย
หมดแล้ว และอาศัยอยู่เพียงคนเดียว มีเพียงเพื่อนบ้านที่คอยแวะมาเยี่ยม
นานๆครั้ง ผู้ป่ วยมีวิธีแก้วิตกกังวลของตนเอง คือการสวดมนต์ นั่งสมาธิ ก่อน
เข้านอนวันละ 20 นาที และพยายามไม่คิดมาก

การวินิจฉัยโรคแรกรับ (วันที่ 18 มีนาคม 2564)


Cancer tongue with Hypokalemia with Hypercalcemia
การวินิจฉัยโรคปั จจุบัน (วันที่ 23 มีนาคม 2564)
Cancer tongue underying HT, DM type 2
การรักษาเฉพาะ/การผ่าตัด (พร้อมเหตุผลของการรักษา/การผ่าตัด)

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


Plan OR for Near Total Glossectomy + Pt. Modified radical
neck dissection + Rt. Pectoralis major myocutaneous flap (PMM
Flap) วันที่ 29 มีนาคม 2564 เนื่องจากแผลใต้ลิ้นเป็ นเรื้อรังและรักษาไม่
หายด้วยยา จึงได้รักษาโดยวิธีการผ่าตัดเอาลิ้นออกทั้งหมดและเอาต่อมน้ำ
เหลืองพร้อมกล้ามเนื้อ เส้นประสาทและหลอดเลือดดำ และปลูกถ่าย
ซ่อมแซมผิวหนังและกล้ามเนื้อบริเวณผนังหน้าอกทดแทน
การรักษาที่ได้รับในปั จจุบัน (วันที่ 23-25 มีนาคม 2564)
Order for one day Order for continuous
23/03/2564 - Blenderized (1:1) 400 ml x
- 0.9 % NaCl 1000 ml + K2HPO4 feed + น้ำตาม 50 cc/feed.
40 mg - Vit C 100 1x2 po pc.
V 80 ml/hr x II dose. - Tramadol 50 mg 1 q 8 hr.
- Ekcl 30 ml po. x 1 dose. - Clinda 600 mg v q 8 hr.
- 50% MgSO4 4 g + nss 1000 ml
V drip in 4 hr x 3 days.
- พรุ่งนี้ e’lyte + P, Ca.
24/03/2564 - Blenderized (1:1) 400 ml x
- 0.9 % NaCl 1000 ml + K2HPO4 feed + น้ำตาม 50 cc/feed.
40 mg - Vit C 100 1x2 po pc.
V 80 ml/hr x II dose - Tramadol 50 mg 1 q 8 hr.
- 50% MgSO4 4 g + nss 1000 ml - Clinda 600 mg v q 8 hr.
V drip in 4 hr..
- รอ Lab electrolyte PO4, Ca วัน
นี้
- DTX prefeed keep 80-200.
25/03/2564 - Blenderized (1:1) 400 ml x
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
- 50% MgSO4 4 g + nss 1000 ml feed + น้ำตาม 50 cc/feed.
V drip in 4 hr. (วันสุดท้าย) - Vit C 100 1x2 po pc.
- DTX prefeed keep 80-200. - Tramadol 50 mg 1 q 8 hr.
- Clinda 600 mg v q 8 hr.

การตรวจร่างกายตามระบบ
Genaral Survey : หญิงไทย รูปร่างผอม รู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง
Skin : สีผิวปกติตามเชื้อชาติ มีความตึงตัวของผิวหนังดี มีขาวาบวมปลาย
เท้ากดบุ๋ม Pitting edema 1+
Head : ศีรษะและใบหน้า สมมาตรกันทั้ง 2 ข้าง การกระจายตัวของผมปกติ
Eyes : ไม่มีหนังตาตก เยื่อบุตาขาวไม่ซีด ตาขาวไม่เหลือง การมองเห็นปกติ
Ear : ไม่พบก้อนเนื้อบริเวณหูด้านนอก ช่องหูทั้ง 2 ข้างปกติ การได้ยินปกติ
Nose : รูปพรรณสัณฐานภายนอกปกติ เยื่อบุจมูกสีชมพู
Mouth : ริมฝี ปากไม่ซีด มีแผลภายในปากบริเวณลิ้นฝั่ งขวา
Neck : ไม่มีคอติดแข็ง หลอดลมอยู่ตรงกลาง กลืนลำบาก ไม่มีหลอดเลือด
ดำโป่ งพอง ต่อมน้ำเหลืองไม่โต
Breasts : ขนาดเต้านม 2 ข้างปกติ ไม่พบก้อนเนื้อ
Respiration system : ทรวงอกขยายเท่ากันเวลาหายใจ เสียงหายใจปกติ
ไม่พบ wheezing และ Crepitation ลักษณะการหายใจสม่ำเสมอ
สรุปผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่แรกรับจนถึงปั จจุบัน

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ชนิดของ ค่าปกติ ค่าที่ตรวจได้ การแปลความหมายของ
การตรวจ ว.ด.ป. ว.ด.ป ข้อมูลโดยละเอียด
19/03/2 23/03/2
564 564
CBC
Hb 13-18 14.0 - Normal
mg/dl mg/dl
Hct 41-50% 42.5% - Normal
Plt count 140,000- 400,000 - Normal
3
400,000 cell/mm
3
cell/mm
Plt smear - Adequate - Normal
WBC 4,500- 15,000 - มีภาวะติดเชื้อ
3
10,000 cell/mm
3
Cell/mm
MCV 80-98 fL 84 fL - Normal
Neutrophil 40-75 % 78 % - มีภาวะติดเชื้อ
Lymphocyt 20-50 % 1% มีภาวะติดเชื้อ
e
Monocyte 2-10 % 7% - Normal
Eosinophil 0-6 % 0% - Normal
Basophil 0-1 % 0% - Normal
MCH 22-31 pg 28.5 pg - Normal
MCHC 32-36 33.6 g/dL - Normal
g/dL
RBC 4.5-5.5 4.92 - Normal
6 6
x10 / x10 /
3 3
mm mm
MPV 6-10 ft 7 ft - Normal
Creatinine
eGFR >90 107 - Normal
creatinine 0.45-1.1 0.46 -
Normal
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
ชนิดของ ค่าปกติ ค่าที่ตรวจได้ การแปลความหมายของ
การตรวจ ว.ด.ป. ว.ด.ป ข้อมูลโดยละเอียด
19/03/2 23/03/2
564 564
mg/dL mg/dL
Electrolyte

Total CO2 20-31 28 29 Normal


mmol/L mmol/L mmol/L
Cholride 99-109 104 101 Normal
mmol/L mmol/L mmol/L
Potassium 3.5-5.5 3.3 4.3 Normal
mmol/L mmol/L mmol/L
Sodium 132-146 137 135 Normal
mmol/L mmol/L mmol/L
Calcium 8.7-10.4 17.9 9.1 Normal
mg/dL mg/dL mg/dL
Glucose

Glucose 74-106 139 - มีภาวะ Hyperglycemia


mg/dL mg/dL
Magnesium 1.3-2.7 1.1 1.9 Normal
mg/dL mg/dL mg/dL
Phosphoru 2.4-5.1 1.1 2.5 Normal
s mg/dL mg/dL mg/dL
Protein 5.7-8.2 6.65 - Normal
mg/dL mg/dL

การตรวจพิเศษ/ผลการตรวจ(วันที่ 18/03/2564)
- EKG : sinus rhythm with premature atrial complexes T wave
abnormality, consider ischemia abnormal ECG
- CXR : normal

ยาที่ผู้ป่ วยได้รับ
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
วันที่ได้ ชื่อยา ขนาด ทางที่ การออกฤทธิ์/สรรพคุณ ผลข้างเคียง
รับ ให้ เวลาที่ให้
27/03/2 - 0.9% NaCl เป็ น electrolyte ที่ ชัก กระตุก เหงื่อ
564 1000 ml + จำเป็ นในเซลล์(เป็ น ออก กล้ามเนื้อ
K2HPO4 40 mg v ประจุบวกที่อยู่ใน cell อ่อนแรง กระสับ
+
80 ml/hr x II ร้อยละ 98 ของ K กระส่าย ความดัน
dose ทั้งหมดในร่างกาย) ต่ำ ตะคริว หัวใจ
(Dipotassium สำหรับใช้ในการนำของ เต้นเร็ว ปวด
phosphate) กระแสประสาทที่หัวใจ บริเวณหลอดเลือด
สมอง และกล้ามเนื้อ
และสมดุลกรดเบส
รักษาหรือป้ องกันภาวะ
ฟอสเฟตในเลือดต่ำ
รุนแรง

- EKCl 30 ml po. โพแทสเซียม คลอไรด์ อาการคลื่นไส้ อาเ


X 1 dose เป็ นอิเล็กโทรไลท์ใช้ จียน แน่นท้อง
(Potassium สำหรับทดแทน ท้องเสีย เลือดออก
chloride) โพแทสเซียม ไอออน ในระบบทางเดิน
โพแทสเซียม คลอไรด์ อาหาร แผลใน
ใช้เป็ นแหล่งของ กระเพาะอาหาร แ
โพแทสเซียม แคท ผลในช่องปาก
ไอออน ซึ่งแคทไอออน
ที่อยู่ภายในเซลล์เหล่า
นี้มีความจำเป็ นอย่าง
ยิ่งในการรักษาระดับ
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
วันที่ได้ ชื่อยา ขนาด ทางที่ การออกฤทธิ์/สรรพคุณ ผลข้างเคียง
รับ ให้ เวลาที่ให้
ความเป็ นกรด-ด่าง
รวมไปถึงการรักษา
สมดุลของเหลวและอิ
เล็กโทรไลท์ภายใน
เซลล์ ใช้สำหรับภาวะ
ระดับโพแทสเซียมใน
เลือดต่ำ
-50 % MgSO4 4 ยาจะออกฤทธิ์กด CNS คลื่นไส้อาเจียน
g + NSS 1000 และกดกล้ามเนื้อเรียบ หน้าแดง มึนงง
ml v drip in 4 hr กล้ามเนื้อลาย และ สับสน ง่วงหลับ
x 3 day กล้ามเนื้อหัวใจ ระงับ หายใจช้า กดการ
(Magnesium อาการชัก (โดยกด ทำงานของระบบ
sulfate) ประสาท CNS และลด กล้ามเนื้อ กล้าม
การหลั่ง เนื้ออ่อนแรง ความ
acetylcholine ทำให้ ดันโลหิตต่ำ หัวใจ
กั้นการทำงานของ เต้นช้า
ระบบประสาท และ
กล้ามเนื้อส่วนปลาย)
รักษาและป้ องกันภาวะ
แมกนีเซียมในเลือดต่ำ
(hypomagnesemia)
- vit C (100) 1x2 ช่วยสร้าง collagen ท้องเสีย ท้องอืด
o pc. ซึ่งเป็ นองค์ประกอบ ท้องเฟ้ อ มีอาการ
ของกระดูกอ่อน ฟั น แสบร้อนกลางอก
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
วันที่ได้ ชื่อยา ขนาด ทางที่ การออกฤทธิ์/สรรพคุณ ผลข้างเคียง
รับ ให้ เวลาที่ให้
และผนังหลอดเลือด คลื่นไส้อาเจียน
ช่วยให้แผลหายเร็ว ดูด
ซึมเหล็ก ใช้ในภาวะ
ขาดวิตามินซี และการ
หายของแผลได้เร็วขึ้น
- Gabapentin กาบาเพนตินมี รู้สึกมึนงง มีการก
400 mg 1x2 po โครงสร้างคล้ายกันกับ รอกตาที่ผิดปกติ
pc. สารสื่อประสาท ที่ชื่อ ตาพร่ามัว เกิด
ว่า กาบา (GABA) แต่ พฤติกรรมก้าวร้าว
กาบาเพนติน ไม่ได้ออก วิตกกังวล ซึมเศร้า
ฤทธิ์ทั้งกาบาอะโกนิส มีปั ญหาเรื่องการ
(agonist) หรือกาบา ควบคุมสมาธิ
แอนทาโกนิส อารมณ์แปรปรวน
(antagonist) กาบา ขาดความเชื่อมั่น
เพนตินจับกับตัวรับ ร้องไห้โดยไม่มี
อย่างแน่นหนาใน สาเหตุ
บริเวณสมอง บริเวณนี้ อยากตาย
เป็ นบริเวณที่มีโวลเทจ
เกท แคลเซียมแชนเนล
(voltage-gated calc
ium channel) ที่เป็ น
ทางผ่านของแคลเซียม
ควบคุมหน่วยย่อย
แอลฟ่ า-2/เดลต้า-1
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
วันที่ได้ ชื่อยา ขนาด ทางที่ การออกฤทธิ์/สรรพคุณ ผลข้างเคียง
รับ ให้ เวลาที่ให้
ทางผ่านนี้เป็ นตัว
ควบคุมการหลั่งออก
ของสารสื่อประสาทที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับ
กระบวนการเกิดการ
ชักและการเกิดความ
เจ็บปวดข้อบ่งใช้
สำหรับลดอาการปวด
ประสาทส่วนปลาย
(peripheral
neuropathic pain)
- Tramadol 50 เป็ นยาในกลุ่มโอปี ปวดศีรษะ วิงเวียน
mg 1 q 8 hr ออยด์ (Opioid) ศีรษะ บ้านหมุน
ที่นำมาใช้เป็ นยา ง่วงนอน คลื่นไส้
บรรเทาอาการ ท้องผูก
ปวดระดับปานกลางถึง
ระดับ
รุนแรง ทรามาดอลมี
ประสิทธิภาพ
ในการบรรเทาอาการ
ปวดได้ดี
เทียบเท่ากับมอร์ฟั นใช้
สำหรับบรรเทาอาการ
ปวดระดับต่ำถึงปาน
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
วันที่ได้ ชื่อยา ขนาด ทางที่ การออกฤทธิ์/สรรพคุณ ผลข้างเคียง
รับ ให้ เวลาที่ให้
กลาง
- Clinda 600 mg การออกฤทธิ์ของยาค คลื่นไส้ อาเจียน
v q 8 hr. ลินดามัยซิน ตัวยาจะ ปวดหัว เวียนหัว
(Clidamycin) เข้าไปยับยั้ง อ่อนเพลีย ไม่
กระบวนการสังเคราะห์ สบาย
โปรตีนของเชื้อ เจ็บคอ ท้องเสีย
แบคทีเรีย ทำให้เชื้อ ปวดท้อง ไม่สบาย
เจริญเติบโตไม่ได้หรือ ท้อง มีแผลหรือ
ตายไปในที่สุด เจ็บที่ลิ้นและปาก
ใช้รักษาการติดเชื้อ
แบคทีเรีย

สรุปพยาธิสภาพในผู้ป่ วยรายนี้
มะเร็งลิ้นจัดอยู่ในกลุ่มมะเร็งช่องปาก ซึ่งเกิดจากเซลล์เซลล์สความัส
เป็ นมะเร็งช่องปากชนิดหนึ่ง เนื้องอกเริ่มต้นจากเซลล์ที่ปกคลุมพื้นผิวด้านใน
ของช่องปาก มะเร็งเซลล์สความัส มักเริ่มต้นจากโรคก่อนเป็ นมะเร็งที่เรียกว่า
dysplasia สความัส ซึ่งอาจมีอยู่เป็ นเวลาหลายปี ที่จะกลายเป็ นมะเร็งเซลล์ส
ความัส การสุบบุหรี่และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกฮอล์ในระดับสูง การมีแผล
เรื้อรังในปาก จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งทั้งเซลล์สความัสและ
สความัส dysplasia ซึ่งผู้ป่ วยมีพยาธิสภาพเป็ นแผลในปากเรื้อรัง และกลิ่น
เหม็น ภายในลิ้นเซลล์เจริญเติบโตมากผิดปกติ อีกทั้งยังสามารถแพร่กระจาย
ไปยังส่วนอื่น ๆ อย่างคอหรือต่อมน้ำเหลืองได้ จึงได้รับการผ่าตัดเอาลิ้นออก
ทั้งหมด
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
สรุปอาการและอาการแสดง ตั้งแต่แรกรับจนถึงวันที่รับไว้ในความดูแล
แรกรับ ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง มีแผลใต้ลิ้นฝั่ งขวา แดง มีกลิ่น
เหม็น และปวด คอไม่บวมโต on NG for feed สาย NG ไม่มีเลื่อนหลุด
feed รับได้ ไม่มีท้องอืด ไม่มีหายใจหอบเหนื่อย on sur plug ที่แขนซ้าย
และขาขวา ไม่มี ปวด บวม แดง ปั สสาวะบ่อย ไม่มีแสบขัด สีปั สสาวะเหลือง
ใส ไม่มีกลิ่น นอนหลับดี ไม่มีตื่นตอนกลางคืน V/S T=36.1, P=106, R=20,
BP=104/63 mmHg
24/03/2564 ผู้ป่ วยร็สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง มีแผลใต้ลิ้นฝั่ งขวา แดง
ปวด มีกลิ่นเหม็น แพทย์ให้ Tramal 50 mg 1 q 8 hr. มีอาการปวดลดลง
pain score 5/10 คะแนน on NG for feed Blendera (1:1) 400 ml x 4
feed + น้ำตาม 50 cc/feed รับได้ ไม่มีท้องอืด มีปั ญหาเรื่อง electrolyte
imbalance Ca สูง และ Mg ต่ำ หลังแก้ Ca=9.1, Mg=1.9 ไม่มีกล้ามเนื้อ
อย่างแรง ไม่มีชา ตามปลายมือปลายเท้า หายใจไม่หอบเหนื่อย on sur plug
แขนซ้ายและขาขวาไม่มีปวด บวม แดง ปั สสาวะบ่อย ไม่แสบขัด ปั สสาวะ
เหลืองใส ไม่มีกลิ่น นอนหลับดี ไม่ตื่นตอนกลางคืน
25/03/2564 ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง มีแผลใต้ลิ้นฝั่ งขวา แดง
ปวด มีกลิ่นเหม็น pain score = 8/10 on NG for feed สาย NG ไม่มีเลื่อน
หลุด feed รับได้ ไม่มีท้องอืด ไม่มีหายใจหอบเหนื่อย electrolyte
imbalance แก้ครบ ไม่มีกล้ามเนื้ออย่างแรง ไม่มีชา ตามปลายมือปลายเท้า
นอนหลับดี
V/S : T = 36.1 C, P= 106 Bpm, R= 20 bpm, BP= 104/63 mmHg

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
1. ไม่สุขสบาย ข้อมูล วัตถุประสงค์ 1. วัดสัญญาณชีพ ความดันโลหิตปกติอยู่ใน ผู้ป่ วยปวดแผลใต้
เนื่องจากปวด สนับสนุน เพื่อบรรเทาอาการ ค่า 120-140/60-90 mmHg ทุก 4 ชั่วโมง ลิ้นลดลงจาก 8
แผลบริเวณใต้ SD : ผู้ป่ วย ปวด เพื่อติดตามสัญญาณชีพ คะแนน เป็ น 5
ลิ้น บอกว่าปวด เกณฑ์การ 2. ประเมินความปวดโดยใช้ pain score คะแนน ความดัน
แผลบริเวณใต้ ประเมิน ทุก 4 ชั่วโมงประเมินความรุนแรงของ โลหิต 104/63
ลิ้น - ผู้ป่ วยบ่นว่าปวด อาการปวดแผลใต้ลิ้นเพื่อติดตามอาการปวด
OD : มีแผล แผลใต้ลิ้นลดลง และวางแผนการพยาบาล
ใต้ลิ้น - ประเมินความ 3. ส่งเสริมให้ดูแลความสะอาดของช่องปาก
: pain ปวดโดยใช้ pain และฟั นโดยการ irrigate ช่องปากด้วย 0.9%
score 8/10 score ลดลงจาก NSS เพื่อป้ องกันเชื้อโรคที่อาจทำให้เกิดการ
คะแนน 8/10 คะแนน ติดเชื้อ
- ความดันโลหิต 4. จัดท่านอนของผู้ป่ วยให้ผู้ในท่านอนหัวสูง
ปกติอยู่ในค่า 120- เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดและลดอาการ

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
140/60-90 ปวดได้
mmHg 4. ดูแลให้ยาบรรเทาอาการปวด Tramadal
50 mg q 8 hr
ตามแผนการรักษาและสังเกตผลข้างเคียง
ของยา เช่น ปวดศีรษะ วิงเวียน ศีรษะ บ้าน
หมุน ง่วงนอน คลื่นไส้ ท้องผูก
และยา Gabapentin 400 mg 1x2 po pc.
ตามแผนการรักษาและสังเกตผลข้างเคียง ผู้ป่ วยไม่มีไข้
2. เสี่ยงต่อการ ของยา เช่น รู้สึกมึนงง มีการกรอกตาที่ผิด WBC อยู่ในค่า
ติดเชื้อเนื่องจาก ปกติ ตาพร่ามัว เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว วิตก ปกติ
3
มีแผลเรื้อรัง ข้อมูล วัตถุประสงค์ กังวล ซึมเศร้า 10000 cell/mm
บริเวณลิ้น สนับสนุน เพื่อป้ องกันการติด 5. ให้ผู้ป่ วยประเมินช่องปากด้วยตนเองทุก Neutrophil 75
SD : ผู้ป่ วย เชื้อ วันเพื่อเฝ้ าระวังการติดเชื้อ หรือเลือดออก % Lymphocyte

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
บอกว่าปวด เกณฑ์การ จากแผลในช่องปาก หากพบให้แจ้งพยาบาล 20 %
บริเวณลิ้น ประเมิน หรือแพทย์เจ้าของไข้
OD : มีแผล - ประเมิน 1. ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง ให้
o
เรื้อรังบริเวณ สัญญาณชีพ อุณหภูมิอยู่ในค่าปกติ 36.4-37.4 C เพื่อ
ลิ้น อุณหภูมิอยู่ในค่า ติดตามการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
: ปกติ 36.4-37.4 2. สังเกตอาการว่ามีปวด บวม แดง ร้อน
o
WBC C หรือมี Discharge บริเวณลิ้น เพื่อประเมิน
150000 - ประเมินความ แผลและรายงานแพทย์
3
cell/mm สะอาดในช่องปาก 3. ส่งเสริมให้ดูแลความสะอาดของช่องปาก
: ไม่มีจุดเชื้อราใน และฟั นโดยการ irrigate ช่องปากด้วย 0.9%
Neutrophil ช่องปาก หรือเกิด NSS เพื่อป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
78 % ฝ้ าขาว 4. ดูแลให้ได้รับยาฆ่าเชื้อ Clindamycin
: - สังเกตอาการว่า 600 mg v q 8 hr ตามแผนการรักษาและ

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
Lymphocyt มีปวด บวม แดง สังเกตผลข้างเคียงของยา เช่น มีผื่นคัน ท้อง
e1% ร้อน หรือมี เดิน อุจจาระเป็ นเลือด อาเจียน เพื่อ
3. เสี่ยงต่อ Discharge ประเมินความผิดปกติของการใช้ยาและ ผู้ป่ วยไม่มีอาการ
ภาวะระดับ - WBC อยู่ในค่า รายงานแพทย์ และยาที่ช่วยให้แผลสมาน แสดงของภาวะ
น้ำตาลในเลือด ปกติ 4500- เร็วขึ้น vit C (100) 1x2 o pc. ตาม น้ำตาลในเลือดสูง
สูงเนื่องจากไม่ 10000 แผนการรักษาและสังเกตผลข้างเคียงของยา เช่น การเหงื่อออก
3
สามารถนำ cell/mm เช่น ท้องเสีย ท้องอืด ท้องเฟ้ อ มีอาการแสบ ตัวเย็น หรือ
น้ำตาลไปใช้ได้ - Neutrophil 40- ร้อนกลางอก คลื่นไส้อาเจียน ผิวหนังแห้ง DTX
75 % 5. ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่า 100 mg/dL
- Lymphocyte WBC Neutrophil Lymphocyte
ข้อมูล 20-50 %
สนับสนุน
SD : ผู้ป่ วย

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
บอกว่า 1. วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมิน
เหนื่อย วัตถุประสงค์ อาการเปลี่ยนแปลง และวางแผนการช่วย
อ่อนเพลีย เพื่อป้ องกันภาวะ เหลือได้ทันท่วงทีฃ
OD : DTX= ระดับน้ำตาลใน 2. สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการ
139 mg/dL เลือดสูง เปลี่ยนแปลงของผู้ป่ วย เช่น ซึม
เกณฑ์การ กระวนกระวาย ชักหรือหมด สติ อ่อนเพลีย
ประเมิน ผิวแห้ง กระหายน้ำ อาเจียน ปวดท้อง ปวด
1. ความดันโลหิต เมื่อยตามร่างกาย ชีพจรเต้นเร็ว เพื่อให้
130/90 -90 /60 ความรู้สึกตัวและรายงานแพทย์
มิลลิเมตรปรอท 3. ดูแลการได้รับยาลดระดับน้ำตาลยา
4. มีภาวะเสีย 2. ระดับน้ำตาลใน อินซูลินฉีด 15-0-10 ต่อวัน ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี
สมดุลของ น้ำ เลือดอยู่ในเกณฑ์ ตามแผนการรักษาของแพทย์และติดตาม ไม่มีอาการสับสน
และอิเล็กโทร 80 - 100 mg/dL ผลข้างเคียงของยา เช่น รู้สึกวิตกกังวล กล้ามเนื้อเกร็งหรือ

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
ไลต์ (Fluid & 3. ไม่มีอาการ มึนงง ซึมเศร้า ตาพร่ามัว มีอาการหนาวสั่น อ่อนแรง มีอาการ
Electrolyte แสดงของภาวะ และมีเหงื่อออก ตัวเย็น เกิดอาการชัก คลื่นไส้แต่ไม่
imbalance) น้ำตาลในเลือดสูง กระตุก ชัก หรือตัวสั่น ผิวหนังซีด หรือมีผื่น อาเจียน
เนื่องจากความ เช่น การเหงื่อออก ขึ้น ปากแห้ง ไอ กลืนลำบาก ปั สสาวะน้อย T=36.7C
สามารถในการ ตัวเย็น หรือ ลง หัวใจเต้นเร็ว หรือเต้นผิดปกติ P=84/m
รับประทานลด ผิวหนังแห้ง ตาลึก 4. ดูแลให้ผู้ป่ วยได้รับสารน้ำเพื่อให้ร่างกาย R=20/m
ลง ข้อมูล โบ๋ คลื่นไส้ เจือจางระดับน้ำตาลในเลือด BP=110/ 70
สนับสนุน อาเจียน ซึมลง 5. ดูแลให้ผู้ป่ วยพักผ่อนให้เพียงพอเพื่อลด mmHg. ผลตรวจ
SD : ผู้ป่ วย หรือหมดสติ การใช้พลังงานขิงร่างกาย Serum
บอกว่ากลืน อ่อนเพลีย ผิวแห้ง 6. ติดตามผลระดับน้ำตาลในเลือดเพื่อ electrolyte ได้
ลำบาก กระหายน้ำ ปวด ประเมินระดับน้ำตาลอย่างใกล้ชิดเพื่อให้ ค่า K = 3.3
OD : ค่า K = ท้อง ปวดเมื่อย ความช่วยเหลือผู้ป่ วย ได้ทันท่วงที mmol/L ต่ำ
3.3 mmol/L ตามร่างกาย ชีพจร ค่า phosphorus

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
ต่ำ เต้นเร็ว 1. ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อ = 2.5 mgl/dL
: ติดตามการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ ค่า Magnesium
ค่า phospho 2. สังเกตอาการและอาการแสดงของของ = 1.9 mgl/dL
วัตถุประสงค์
rus = 1.1 การเสียสมดุลของอิเล็กโทรไลต์ เช่น เป็ น ค่า Ca = 9.1
ได้รับน้ำและอิเลก
mgl/dL ต่ำ เหน็บหรือชาตามร่างกาย หัวใจเต้นผิด mgl/dL
โตรลัยต์ เพียงพอ
: ค่า จังหวะหรือเต้นเร็วผิดปกติ เหนื่อยล้า ไม่มี
ต่อความต้องการ
Magnesium แรง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
ของร่างกาย
= 1.1 ท้องเสีย ตะคริวที่ท้อง กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกณฑ์ประเมินผล
mgl/dL ต่ำ ชัก สับสน และอาจทำให้รู้หงุดหงิดฉุนเฉียว
- Vital signs ปกติ
: ค่า Ca ได้
- ไม่มีอาการและ
= 17.9 3. ดูแลให้ได้รับ ยา สารน้ำ และอิเลกโทร
อาการแสดงของ
mgl/dL สูง ไลต์ทดแทน
ของการเสียสมดุล
: ตรวจ - ยา EKCl 30 ml po. X 1 dose ตาม
ของอิเล็กโทรไลต์
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
EKG พบ เช่น เป็ นเหน็บ แผนการรักษาและสังเกตผลข้างเคียง เช่น
sinus หรือชาตาม อาการคลื่นไส้ อาเจียน แน่นท้อง ท้องเสีย
rhythm with ร่างกาย หัวใจเต้น - ยา 0.9% NaCl 1000 ml + K2HPO4 40
premature ผิดจังหวะหรือเต้น mg v 80 ml/hr x II dose ตามแผนการ
atrial เร็วผิดปกติ รักษาและสังเกตผลข้างเคียง เช่น ชัก
complexes เหนื่อยล้า ไม่มีแรง กระตุก เหงื่อออก กล้ามเนื้ออ่อนแรง กระ
t wave ปวดศีรษะ คลื่นไส้ สับกระส่าย ความดันต่ำ ตะคริว หัวใจเต้น
abnormality อาเจียน ท้องผูก เร็ว
,consider ท้องเสีย ตะคริวที่ - ยา 50 % MgSO4 4 g + NSS 1000 ml v
ischemia ท้อง กล้ามเนื้อ drip in 4 hr x 3 day ตามแผนการรักษา
abnormal อ่อนแรง ชัก และสังเกตผลข้างเคียง เช่น คลื่นไส้อาเจียน
ECG สับสน และอาจ หน้าแดง มึนงง สับสน ง่วงหลับ หายใจช้า
ทำให้รู้หงุดหงิด กดการทำงานของระบบกล้ามเนื้อ

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
5. เสี่ยงต่อ ฉุนเฉียวได้ เป็ นต้น 4. บันทึกสารน้ำเข้าและออก และ บันทึก
ภาวะพร่องของ - ค่า K = 3.5-5.5 ลักษณะ และปริมาณของ ปั สสาวะ
สารอาหารและ mmol/L 5. ติดตามผลการตรวจ Serum
น้ำในร่างการ - ค่า phosphorus electrolyte อย่างใกล้ชิด
เนื่องจาก = 2.4-5.1
พฤติกรรมการ mgl/dL ผู้ป่ วยได้รับ
รับประทาน - Magnesium = ประทานอาหาร
อาหาร 1.3-2.7 mgl/dL เพียงพอต่อความ
เปลี่ยนแปลง - ค่า Ca = 8.7- ต้องการ น้ำหนัก
10.4 ไม่ลดลงจากเดิม
mgl/dL ไม่มีภาวะขาดสาร
อาหาร

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน

ข้อมูล
สนับสนุน
SD : ผู้ป่ วย
บอกว่ากลืน
ลำบาก 1. ประเมินอาการขาดสารอาหาร เช่น น้ำ
OD : มีแผล หนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ ผมร่วง ตัวซีด
บริเวณใต้ลิ้น ง่วง อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ เพื่อเฝ้ าระวัง
: มีภาวะ วัตถุประสงค์ อาการขาดสารอาหาร
กลืนลำบาก เพื่อให้ร่างกายได้ 2. ดูแล Nose care และสาย NG ปิ ดพลาส

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
รับสารอาหารและ เตอร์ให้แน่น ไม่ให้สายดึงรั้งหรือเลื่อนหลุด
สารน้ำในปริมาณที่ เพราะอาจจะทำให้กระทบต่อบาดแผล
เพียงพอต่อความ กระตุ้นให้ลุกนั่งบนเตียง มีการเคลื่อนไหว
ต้องการของ ร่างกายและลำไส้เพื่อให้ลำไส้ทำงานได้ดี
ร่างกาย 3. ดูแลให้ส่งเสริมให้ดูแลความสะอาดของ
เกณฑ์การ ช่องปากและฟั นโดยการ irrigate ช่องปาก
ประเมิน ด้วย 0.9% NSS เพื่อกระตุ้นการอยาก
- ผู้ป่ วยได้รับสาร อาหารของผู้ป่ วย
อาหารที่เพียงพอ 4. ดูแลให้ได้รับอาหาร Blendera 1:1 400
ต่อความต้องการ ml ให้ได้ตามเวลาและแผนการรักษา
- ผู้ป่ วยไม่มีอาการ 5. ควรจัดท่าให้อยู่ในท่าศีรษะสูงเพื่อป้ องกัน
ขาดสารอาหาร การสำลัก (Aspiration) ให้ลุกนั่งบนเตียง
เช่น น้ำหนักลด หรือไขหัวเตียงสูงก่อนให้อาหารและอยู่ใน

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
โดยไม่ทราบ ท่าเดิมอย่างน้อย 30 นาที
สาเหตุ ผมร่วง 6. ก่อน Feed อาหารทุกครั้งควรทดสอบว่า
6. วิตกกังวล ตัวซีด ง่วง สาย NG อยู่ในตำแหน่งกระเพาะอาหารหรือ
เนื่องจากขาด อ่อนเพลีย ไม่และ Check residual food จากการ fe
ความเข้าใจใน เวียนศีรษะ ed ครั้งก่อน
เรื่องโรคและ - ประเมินด้าน 7. ชั่งน้ำหนัก 1 ครั้ง/สัปดาห์ เพื่อติดตาม
การรักษา โภชนาการโดยใช้ ประเมินผล
แบบฟอร์ม 8. ติดตามการประเมินผลแบบฟอร์ม ผู้ป่ วยบอกว่าไม่
Nutrition alert Nutrition alert form วิตกกังวลเกี่ยวกับ
form เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงและให้สารอาหารให้ โรคและการรักษา
อยู่ในเกณฑ์ปกติ

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน

ข้อมูล
สนับสนุน
SD : ผู้ป่ วย
บอกว่าวิตก
กังวลจากการ
เจ็บป่ วยและ
7. ปฏิบัติตัวไม่ การดูแลรักษา
ถูกต้อง
เนื่องจากขาด

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
ความเข้าใจใน
การดูแลตนเอง ผู้ป่ วยเข้าใจในการ
ก่อนผ่าตัด 1. สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีกับผู้ป่ วยและญาติ เจ็บป่ วยและ
ให้การช่วยเหลืออย่างเอื้ออาทร เพื่อสร้าง ปฏิบัติตัวถูกต้อง
ความไว้วางกับผู้ป่ วย ก่อนผ่าตัด
2. ประเมินความรู้สึกของผู้ป่ วยและญาติ
วัตถุประสงค์ เปิ ดโอกาสให้ผู้ป่ วยและญาติได้พูดระบาย
เพื่อคลายความ ความรู้สึกออกมาและซักถามเกี่ยวกับอาการ
วิตกกังวลและมี ของตนเอง เพื่อให้ผู้ป่ วยบอกถึงปั ญหาการ
ความเข้าใจในเรื่อง วิตกกังวล
โรคมากขึ้น 3. อธิบายวัตถุประสงค์และขั้นตอนในการ
เกณฑ์การ รักษาพยาบาลต่างๆ ให้ผู้ป่ วยและญาติได้มี
ข้อมูล ประเมิน ส่วนร่วมในการตัดสินใจมากที่สุด

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
สนับสนุน - ผู้ป่ วยไม่บ่นว่า 4. วางแผนการพยาบาล เพื่อประคับ
SD : ผู้ป่ วย วิตกกังวล ประคองผู้ป่ วย อธิบายและตอบคำถามของผู้
วิตกกังวล - ผู้ป่ วยสามารถ ป่ วยและครอบครัวเพื่อคลายความวิตกกังวล
เกี่ยวกับการ อธิบายในเรื่องโรค 5. ให้ผู้ป่ วยและญาติได้กำหนดและควบคุม
ผ่าตัด ของผู้ป่ วยได้ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ได้ด้วย
ตนเองโดยไม่ขัดต่อแผนการรักษาของแพทย์
6. แนะนำวิธีผ่อนคลายความเครียด เช่น
สวดมนต์ ทำสมาธิ กำหนดลมหายใจ
7. แนะนำญาติให้ดูแลเอาใจผู้ป่ วยอย่างใกล้
ชิดและให้กำลังใจ

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน

1. อธิบายให้ผู้ป่ วย / ญาติเข้าใจเกี่ยวกับโรค
และความจำเป็ นของการรักษาโดยการ
วัตถุประสงค์ ผ่าตัด
เพื่อให้ผู้ป่ วยมี 2. แนะนำให้ผู้ป่ วยเตรียมการจองเลือดหรือ
ความรู้ในการดูแล ถ้ามีญาติสามารถบริจาค ให้ญาติมาบริจาค
ตนเองก่อนการ ได้
ผ่าตัด 3. แนะนำการปฏิบัติตัว เช่น งดน้ำงด
เกณฑ์การ อาหาร ประมาณ 6 ชั่วโมง ก่อนผ่าตัด หรือ
ประเมิน ตามคำสั่งแพทย์โดยอาหารที่รับประทาน
- ผู้ป่ วยไม่บ่นว่า ก่อนงดควรเป็ นอาหารอ่อน ย่อยง่าย ถอด
8. ปฏิบัติตัวไม่ วิตกกังวลเกี่ยวกับ ฟั นปลอม เครื่องประดับหรือของมีค่าก่อน
ถูกต้อง การเจ็บป่ วย เข้าห้องผ่าตัด เตรียมผ่าตัดตามคำสั่งแพทย์

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
เนื่องจากขาด - ผู้ป่ วยปฏิบัติตัว โดยเจ้าหน้าที่ เช่น สวนสายปั สสาวะ การใช้
ความเข้าใจใน ถูกต้องเข้าใจการ ยาก่อนผ่าตัด ผู้ป่ วยเข้าใจในการ
การดูแลตนเอง ดูแลตนเองก่อน 4. ดูแลความสะอาดช่องปากโดยการ เจ็บป่ วยและ
หลังผ่าตัด ผ่าตัด irrigate ด้วย 0.9% NSS เพื่อวางแผนการ ปฏิบัติตัวถูกต้อง
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลช่องปากที่ถูก หลังผ่าตัด
ต้อง ซึ่งส่งผลให้มีสุขอนามัยในช่องปากที่ดี
ลดความเสี่ยงของการเกิดการอักเสบขณะ
ผ่าตัด
5. อธิบายสภาพหลังผ่าตัด การใส่ NG เพื่อ
ให้อาหารทางสายยาง การให้สารน้ำทาง
หลอดเลือดดำ และการคาสายสวนปั สสาวะ
6. ให้ความมั่นใจในผู้ป่ วยเกี่ยวกับความ
ปลอดภัย การดูแลอย่างใกล้ชิด สามารถกด

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
ออดเรียกทันทีเมื่อต้องการความช่วยเหลือ
ข้อมูล หรือสามารถติดต่อกับผู้อื่นโดยการแสดง
สนับสนุน ท่าทางประกอบคำพูดโดยใช้ริมฝี ปาก หรือ
SD : ผู้ป่ วย การเขียนถามตอบ
วิตกกังวล 7. อธิบายการเตรียมร่างกายบริเวณที่ผ่าตัด
เกี่ยวกับการ ตำแหน่งที่จะตัดเนื้อเยื่อเสริม (Flap)และ
ผ่าตัด มาร์กบริเวณที่จะผ่าตัด

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน

วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่ วยมี
ความรู้ในการดูแล
ตนเองหลังการ
ผ่าตัด 1. ดูแลให้ผู้ป่ วยให้ได้ความอบอุ่นในร่างกาย
เกณฑ์การ เช่น ห่มผ้า

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
ประเมิน 2. ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
- ผู้ป่ วยไม่บ่นว่า ตาม routine post op care จนกว่าจะ
วิตกกังวลเกี่ยวกับ คงที่
การเจ็บป่ วย 3. จัดท่านอนหน้าผู้ป่ วยผ่าตัดบริเวณอก ให้
- ผู้ป่ วยปฏิบัติตัว นอนหงาย เพื่อไม่ให้เกิดการกระทบ
ถูกต้องเข้าใจการ กระเทือนบริเวณแผลผ่าตัด และทับบริเวณ
ดูแลตนเองก่อน แผล
ผ่าตัด 4. ดูแลให้ได้รับยาฆ่าเชื้อหลังการผ่าตัด ตาม
แผนการรักษาของแพทย์
5. ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง และได้รับออก
ชิเจนอย่างเพียงพอ (keep O2 sat > 95%)
กรณีผู้ป่ วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ดูแลให้ผู้
ป่ วยปลอดภัยจากภาะแทรกช้อนที่เกิดจาก

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
การใช้เครื่องช่วยหายใจและปฏิบัติตามวิธี
ปฏิบัติการดูแลผู้ป่ วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
6. ให้ผู้ป่ วยนอนหัวสูงประมาณ 15-40
องศา เพื่อให้มีการไหลเวียนของน้ำเหลือง
จากบริเวณคอเป็ นไปได้สะดวก และเพื่อลด
บวมบริเวณคอและใบหน้า
7. ดูแลความสะอาดช่องปากโดยการ
irrigate ด้วย 0.9% NSS เพื่อวางแผนการ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลช่องปากที่ถูก
ต้อง ลดความเสี่ยงของการเกิดกอักเสบหลัง
ผ่าตัด
8. สังเกต/บันทึกสี และปริมาณของสารคัด
หลั่งจากท่อระบาย ถ้ามีปริมาณมากกว่า

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
200 ซีซี / ชั่วโมง รายงานแพทย์ และ
แนะนำให้ผู้ป่ วยดูแลสาย drain ไม่ให้หัก
พับ งอ หรือเลื่อนหลุดและให้อยู่ใน
สุญญากาศตลอดเวลา
9. สังเกตอาการผิดปกติของแผลผ่าตัด
ได้แก่
- ต้องสังเกตลักษณะของแผล flap เพราะ
อาจเกิดน้ำเหลืองหรือเลือดคั่ง ถ้ามีการคั่ง
ของเลือดหรือน้ำเหลืองต้องรายงานแพทย์
เพื่อทำการรักษาที่เหมาะสม
10. การดูแลทำความสะอาดแผล flap เพื่อ
ให้แผลสะอาดและป้ องกันเชื้อโรคที่อาจจะ
ให้เกิดการติดเชื้อได้

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน
11. สังเกตแผล flap ต้องมีเลือดมาเลี้ยง
อย่างเพียงพอ และการไหลกลับของเลือด
ต้องดี แผลจึงจะหาย อาการผิดปกติที่จะ
เกิดขึ้นได้แก่ สีผิวของ flap เป็ นสีชมพูซีด
อาจเกิดจากเลือดมาเลี้ยงบริเวณผ่าตัดไม่พอ
ถ้ามีสีฟ้ าแสดงถึงการคั่งของเลือดดำ หรือมี
เลือดเข้ามามากเกิน สีของ flap ต้องใกล้
เคียงกับแผลที่นำมาปลูกถ่าย donor site
อุณหภูมิของแผลควรจะอุ่น ถ้าเย็นแสดงว่า
เลือดมาเลี้ยงน้อย

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ข้อวินิจฉัยการ ข้อมูล วัตถุประสงค์และ กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผล ประเมินผลการ
พยาบาล สนับสนุน เกณฑ์การ พยาบาล
ประเมิน

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


สรุปผลการดูแลและการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่ วย
ผู้ป่ วยไทยไทย อายุ 68 ปี อาการสำคัญมาโรงพยาบาล ปอดแผลใต้ลิ้น
เรื้อรัง รับประทานอาหารน้อยลง กลืนลำบากก่อนมาโรงพยาบาล 1 วัน แรก
รับ ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง มีแผลใต้ลิ้นฝั่ งขวา แดง มีกลิ่นเหม็น และ
ปวด on NG for feed on sur plug ที่แขนซ้ายและขาขวา ปั สสาวะบ่อย
ไม่มีแสบขัด สีปั สสาวะเหลืองใส ไม่มีกลิ่น V/S T=36.1, P=106, R=20,
BP=104/63 mmHg 24/03/2564 ผู้ป่ วยร็สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง มีแผลใต้
ลิ้นฝั่ งขวา แดง ปวด มีกลิ่นเหม็น แพทย์ให้ Tramal 50 mg 1 q 8 hr.มี
อาการปวดลดลง pain score 5/10 คะแนน on NG for feed Blendera
(1:1) 400 ml x 4 feed + น้ำตาม 50 cc/feed มีปั ญหาเรื่อง electrolyte
imbalance Ca สูง และ Mg ต่ำ หลังแก้ Ca=9.1, Mg=1.9 on sur plug
แขนซ้ายและขาขวาไม่มีปวด บวม แดง ปั สสาวะบ่อย ไม่แสบขัด ปั สสาวะ
เหลืองใส ไม่มีกลิ่น 25/03/2564 ผู้ป่ วยรู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง มีแผลใต้ลิ้น
ฝั่ งขวา แดง ปวด มีกลิ่นเหม็น pain score = 8/10 electrolyte
imbalance แก้ครบ V/S : T = 36.1 C, P= 106 Bpm, R= 20 bpm,
BP= 104/63 mmHg

การวินิจฉัยครั้งสุดท้าย (ก่อนจำหน่าย)

Cencer tongue underying HT, DM type 2

คำแนะนำที่จำเป็ นหรือแผนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่ วยรายนี้


วางแผนการจำหน่ายโดยใช้หลัก D -METHOD ดังนี้
D Diagnosis : โรคมะเร็งลิ้น เป็ นหนึ่งในโรคมะเร็งช่องปากที่มีความรุนแรง
และมีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันของผู้ป่ วยค่อนข้างมาก โดยสาเหตุ
คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑
หลักของการเกิดแผลบริเวณลิ้นเรื้อรัง ซึ่งอาจจะมีส่วนทำให้เกิดโรคมะเร็งลิ้น
ได้ อาการแสดงที่บ่งบอกว่าเป็ นโรคมะเร็งลิ้น ได้แก่ มีก้อน ปวด เจ็บ หรือมี
แผลที่ลิ้นเรื้อรังนานประมาณ 2 – 4 สัปดาห์ขึ้นไป การรักษาโรคมะเร็งลิ้น
จะขึ้นกับระยะของตัวโรคและสุขภาพของผู้ป่ วย โดยส่วนใหญ่จะเริ่มด้วยการ
ผ่าตัดเป็ นหลัก ซึ่งหลักการของการผ่าตัดลิ้น ที่สำคัญคือเอาส่วนที่เป็ นมะเร็ง
ออกให้หมด และจะพิจารณาต่อไปว่าสูญเสียเนื้อลิ้นไปเพียงใด วิธีป้ องกันโรค
มะเร็งลิ้น เมื่อไรก็ตามที่พบแผล หรือก้อนบนลิ้น หรือที่ผิดจากปกติของลิ้น ที่
ไม่หายเองใน 2 - 4 สัปดาห์ ควรรีบพบแพทย์เพื่อทำการตรวจวินิจฉัย และ
อาจจะมีภาวะแทรกซ้อน เช่น กลืนลำบาก มีปั ญหาในการพูด การสื่อสาร
อารมณ์เปลี่ยนแปลง มะเร็งกระจายที่อื่น ควรให้การรักษา เพื่อป้ องกัน
ปั ญหาในการลุกลามของมะเร็งลิ้นได้

M Medicine
ให้คำแนะนำเรื่องยาและแนะนำให้ผู้ป่ วยรับประทานยาให้คบตาม
แพทย์สั่ง และไม่หยุดยาเอง
- 0.9% NaCl 1000 ml + K2HPO4 40 mg v 80 ml/hr x II dose
(Dipotassium phosphate)
สรรพคุณ รักษาหรือป้ องกันภาวะ ฟอสเฟตในเลือดต่ำรุนแรง
ผลข้างเคียง ชัก กระตุก เหงื่อออก กล้ามเนื้ออ่อนแรง กระสับกระส่าย
ความดันต่ำ ตะคริว หัวใจเต้นเร็ว ปวดบริเวณหลอดเลือด

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


- EKCl 30 ml po. X 1 dose (Potassium chloride)
สรรพคุณ รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโทรไลท์ภายในเซลล์ ใช้
สำหรับภาวะระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ ผลข้างเคียง อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน แน่นท้อง ท้องเสีย เลือดออกในระบบทางเดินอาหาร แผล
ในกระเพาะอาหาร แผลในช่องปาก

- 50 % MgSO4 4 g + NSS 1000 ml v drip in 4 hr x 3 day


(Magnesium sulfate)
สรรพคุณ รักษาและป้ องกันภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ
(hypomagnesemia)
ผลข้างเคียง คลื่นไส้อาเจียน หน้าแดง มึนงง สับสน ง่วงหลับ หายใจช้า
กดการทำงานของระบบกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความดันโลหิตต่ำ
หัวใจเต้นช้า

- vit C (100) 1x2 o pc.


สรรพคุณ ใช้ในภาวะขาดวิตามินซี
ผลข้างเคียง ท้องเสีย ท้องอืด ท้องเฟ้ อ มีอาการแสบร้อนกลางอก
คลื่นไส้อาเจียน

- Gabapentin 400 mg 1x2 po pc.


สรรพคุณ ใช้สำหรับลดอาการปวดประสาทส่วนปลาย (peripheral
neuropathic pain)
ผลข้างเคียง รู้สึกมึนงง มีการกรอกตาที่ผิดปกติ ตาพร่ามัว เกิด
พฤติกรรมก้าวร้าว วิตกกังวล ซึมเศร้า มีปั ญหาเรื่องการควบคุมสมาธิ
อารมณ์แปรปรวน ขาดความเชื่อมั่น ร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุอยากตาย

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


- Tramadol 50 mg 1 q 8 hr
สรรพคุณ ใช้สำหรับบรรเทาอาการปวดระดับต่ำถึงปานกลาง
ผลข้างเคียง ปวดศีรษะ วิงเวียน ศีรษะ บ้านหมุน ง่วงนอน คลื่นไส้ ท้อง
ผูก

- Clinda 600 mg v q 8 hr.(Clidamycin)


สรรพคุณ ใช้รักษาการติดเชื้อแบคทีเรีย
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว เวียนหัว อ่อนเพลีย ไม่สบาย
เจ็บคอ ท้องเสีย ปวดท้อง ไม่สบายท้อง มีแผลหรือเจ็บที่ลิ้นและปาก

E Environment
การจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพให้เหมาะสม
ควรจัดหาเตียงนอนหัวสูงเพื่อสามารถ feed อาหารให้ตนเองเอง จัดสิ่งของ
เครื่องใช้ที่จำเป็ นให้อยู่ใกล้ เช่น กระจกเพื่อดูว่ามีน้ำลายซึมออกมาไหม ดู
แผลว่ามี discharge ออกมาไหม หรือจัดอุปกรณ์สำหรับการ irigate เพื่อ
สะดวกต่อการใช้งาน และจัดเตรียมแพมเพิสให้เพียงพอต่อการใช้งาน เปิ ด
หน้าต่างประตูเพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก

T Treatment
แนะนำให้ผู้ป่ วยทำแผลผ่าตัดอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง และแห้งอยู่เสมอ ดูแล
สาย NG เปลี่ยนพลาสเตอร์ที่ติดสายยางกับจมูกทุก 2 – 3 วัน หรือเมื่อหลุด
ทำความสะอาดรูจมูก และรอบจมูกด้วยไม้พันสำลี หรือผ้าชุบน้ำ ระวังสาย
ยางเลื่อหลุด หัก พับงอ ควรนำมาพบแพทย์เพื่อเปลี่ยนสายให้อาหารเมื่อ
สกปรก หรือ ทุก 1 เดือน

H Health แนะนำการส่งเสริมฟื้ นฟูร่างกายให้ผู้ป่ วย

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


1. ดูแลด้านอาหาร แนะนำให้ป่ วยได้รับสารน้ำและสารอาหารที่เพียงพอ
Blendera ทาง NG tube และรับประทานวิตามินส่งเสริมในร่างกาย ตาม
แผนการรักษา
2. ดูแลด้านการออกกำลังกายแบบ active exercise
ท่าที่ 1 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ หัวไหล่ในการยกแขน : ยก
แขนขึ้น-ลงช้าๆ พร้อมกันทั้งสองข้าง
ท่าที่ 2 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ หัวไหล่ในการกางแขน :
กางแขนออกข้างลำตัวจนสุดช่วงการเคลื่อนไหว แล้ว หุบขาเข้าหาลำตัว ทำ
พร้อมกันทั้งสองข้าง
ท่าที่ 3 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อใน การงอศอกและเหยียด
ศอก : งอและเหยียดศอกขึ้น-ลง ทำช้าๆ พร้อมกันทั้ง สองข้าง
ท่าที่ 4 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ ข้อมือและกล้ามเนื้อในมือ :
กำมือให้แน่น พร้อมกับกระดกข้อมือลง แล้วแบบมือ ออกพร้อมกับกระดก
ข้อมือขึ้น
ท่าที่ 5 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ สะโพก : นอนหงาย ชันเข่า
ขึ้นมาทั้งสองข้าง แล้วยกก้นขึ้นให้ ลอยขึ้นจากพื้นเตียง หรือค้างไว้สัก
ครู่(ประมาณ 5 วินาที) จากนั้นเอาก้นลงพื้นช้าๆ
ท่าที่ 6 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อใน การงอเข่า งอสะโพก :
งอเข่าและงอสะโพกเข้าหาลำตัวโดยลากขาติดเตียง แล้วเหยียดออก ทำทีละ
ข้างช้าๆ แล้วจึงสลับข้าง
ท่าที่ 7 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อใน การเหยียดเข่าและงอ
สะโพก : นอนราบขาเหยียดตรง ยกขาข้างหนึ่งขึ้น แล้วค่อยๆ วางลงพื้นช้าๆ
ท่าที่ 8 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อใน การเหยียดเข่า : ใช้
หมอนสามเหลี่ยมรองใต้เข่า ให้เข่าอยู่ในท่างอ แล้วเตะขาขึ้น-ลงช้าๆ ท าที
ละข้างสลับกัน

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


ท่าที่ 9 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อใน การกางขาและหุบขา :
นอนหงาย ขาเหยียดตรง กางขาออกให้มากที่สุด เท่าที่จะทำได้ และหุบขา
เข้าหาลำตัวช้าๆ ทำทีละข้างสลับกัน
ท่าที่ 10 ท่าออกกำลังกายเพื่อเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ ในการกระดกเท้าขึ้นและ
ลง : กระดกข้อเท้าขึ้น สลับกับถีบปลายเท้าลง โดยทำทีละข้างหรือทำพร้อม
กันสองข้างก็ได้
3. ดูแลด้านอารมณ์ ฝึ กทำจิตใจให้สดชื่นแจ่มใส มองโลกในแง่ดี ฝึ กเป็ นคน
สุขุมรอบคอบ ไม่ใจร้อน โกรธง่าย ไม่เอาจริงเอาจังกับทุกอย่างจนเกินไป ไม่
หวั่นไหวง่าย ไม่ควรหมกมุ่นกับเรื่องไร้สาระ เมื่อมีความเครียดทางจิตใจหรือ
มีปั ญหา ควรหาโอกาสผ่อนคลาย ด้วยการทำงานอดิเรก การสวมมนต์ นั่ง
สมาธิ การออกกำลังกายจะทำให้มีจิตใจที่สบายขึ้น
4. ดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จัดบริเวณเตียง โต๊ะของเครื่องใช้ ให้สะอาด
อยู่เสมอเพื่อป้ องกันเชื้อโรค และจัดให้เป็ นระเบียบ
5. ดูแลด้านอโรคยา หลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคซ้ำ เรื่องการดูแล
ความสะอาดของช่องปาก เพื่อป้ องกันเชื้อโรค
6. ดูแลด้านอบายมุข หลีกเลี่ยง แอลกอฮอล์ สารเสพติด

O Out patient
แนะนำให้ผู้ป่ วยมาตรวจตามแพทย์นัด เพื่อติดตามอาการหลังการ
ผ่าตัด การเปลี่ยนแปลงหลังการผ่าตัด โดยตรวจบริเวณแผลผ่าตัด(Flap)
และลิ้น โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

D Diet
แนะนำให้ป่ วยได้รับสารน้ำและสารอาหารที่เพียงพอ Blendera ทาง
NG tube วิตามินที่ส่งเสริมในร่างกาย ตามแผนการรักษาของแพทย์

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑


S symtom
แนะนำเมื่อผู้ป่ วยมีอาการผิดปกติ แผลมีปวด บวม แดง มีหนอง หรือมี
การฉีกขาดของแผล ให้รีบมาพบแพทย์ทันทีเพื่อทำการรักษา

หนังสืออ้างอิง
จักรกริช กล้าผจญ. การออกกำลังกายเพื่อการบำบัดรักษา. เวชศาสตร์
ฟื้นฟูสำหรับเวชปฏิบัติทั่วไป. เชียงใหม่:
สุทินการพิมพ์; 2549:69-90.
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุรี่. (2563). มะเร็งลิ้นเป็ นอย่างไร. สืบค้น 27
กุมภาพันธ์ 2565. จาก
http://http://ashthailand.or.th/smartnews/post/detail/
ศรีสุนทรา เจิมวรพิพัฒน์. (2555). การพยาบาลหู คอ จมูก (ฉบับปรับปรุง
ครั้งที่ 1). นนทบุรี : สถาบันพระบรม ชนก
โรงพยาบาลเวชธานี. (2564). ลิ้นเป็ นแผล อาจเป็ นสัญญาณเตือนโรคมะเร็งลิ้น. สืบค้น 27 กุมภาพันธ์
2565. จาก https://www.vejthani.com/th/2021/11/

คู่มือการศึกษาภาคปฏิบัติวิชา ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๑

You might also like