You are on page 1of 24

SOAP NOTE

Problem lists: 1.Diabetes mellitus type2 with DRPs need to


additional drug therapy

2. simple hyperglycemia

Patient profile

ผู้ป่วยพระเพศชาย อายุ : 53 แผนก : อายุรกรรม สิทธิการ


รักษา : ภิกษุ/ผู้นำศาสนาในเขต

น้ำหนัก : 53 kg ส่วนสูง : 165 CM BMI : 19.467 RR :


20/min

BP: 144/67 Pulse : 97/min FBS(Plasma) : 584

CC: เวียนศีรษะ เป็ นมาเมื่อเช้า

HPI: มารับยาต่อเนื่อง เวียนหัว รู้สึกอ่อนเพลีย ชาปลายมือปลาเท้า เท้า


และขาบวม 2 ข้างมาประมาณ 3-4 วัน เพราะช่วงนีไ้ ปนั่งสอบมา ต้องนั่ง
ตลอดทัง้ วัน ไม่ปวด ไอช่วงเย็น คันคอ ไม่เจ็บคอ นอนไม่หลับ

PMH: DM,HT,DLP

SH: สูบบุหรี่ 10+ มวน/วัน

ALL: ไม่แพ้ยา

Vital sign วันที่ 2-3/12/2562

Blood sugar
รายการ หน่วย ค่าปกติ 2/12/63 3/12/63
FBS mg/dL 75-115 584 -
(fingerstrip
)
FBS mg/dL - 584 509
(Plasma)

ผลทางห้องปฏิบัติการ ค่าปกติ 2/12/63 3/12/63

BUN (mg/dl) 6 - 20 23.1 22.1

Creatinine (mg/dl) 0.57 - 1.17 1.58 1.39

Na (mmol/L) 136 - 145 128.6 138.2

K (mmol/L) 3.4 - 4.5 4.32 3.85

Cl (mmol/L) 98 - 107 96 105

CO2 (mmol/L) 22 - 29 26 27

GFR (%) 90 - 120 49.21 57

MED:

ยาเดิม
1.Metformin 500 mg 2x2 PO pc

2.Glipizide 5 mg 2x2 PO pc

3.Insulatard 16-0-16 sc ac

ยาที่ได้รับในโรงพยาบาลตัง้ แต่วันที่ 2-3 ธันวาคม 2563 (Current


medications)

ธันวาคม 2563
Medication 2 3
1.NSS 1000 ml iv drip in / /
1 hr
2.RI 8 unit iv stat /
3.Dimenhydrinate 50 mg /
iv prn q 6 hr
4.simvastatin 20 mg 1x1 / /
pc hs
ธันวาคม 2562
Medication 2 3
5.MTV 1x2 po pc /
6. cetirizine 10 mg 1x1 po / /
hs
7.Lorazepam 0.5 mg 1x1 / /
po hs
8.Glyceryl guaicolate 1x3 / /
po pc
9.RI 12 unit sc stat /
10. Metformin 500 mg /
2x2 pc เช้า,เทียง
11.Pioglitazone 30 mg /
1x1 pc
12.NPH 16-0-16 unit sc ac /

ยาที่ผู้ป่วยได้รับกลับบ้าน(Home medication)

1.Metformin 500 mg 2x2 pc เช้า,เทียง


2.Pioglitazone 30 mg 1x1 pc
3.NPH 16-0-16 unit sc ac
4.simvastatin 20 mg 1x1 pc hs
5.cetirizine 10 mg 1x1 po hs
6.Lorazepam 0.5 mg 1x1 po hs
7.Dimenhydrinate 50 mg 1x1 prn / q 8 hr

Subjective data(S)
• ผู้ป่วยพระเพศชาย อายุ 53 ปี น้ำหนัก 53 ส่วนสูง 165 BMI
19.467
• มารับยาต่อเนื่อง เวียนหัว รู้สึกอ่อนเพลีย ชาปลายมือปลาเท้า
• โรคประจำตัว เบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือดสูง
• ไม่มีประวัติแพ้ยา
• สูบบุหรี่10+ มวน/วัน

Objective(O)

Blood sugar

รายการ หน่วย ค่าปกติ 2/12/63 3/12/63


FBS mg/dL 75-115 584 -
(fingerstrip
)
FBS mg/dL - 584 509
(Plasma)

ผลทางห้องปฏิบัติการ ค่าปกติ 2/12/63 3/12/63

BUN (mg/dl) 6 - 20 23.1 22.1

Creatinine (mg/dl) 0.57 - 1.17 1.58 1.39

Na (mmol/L) 136 - 145 128.6 138.2

K (mmol/L) 3.4 - 4.5 4.32 3.85

Cl (mmol/L) 98 - 107 96 105

CO2 bicabonate 26 27
(mmol/L) 22 - 29

GFR (%) 90 - 120 49.21 57


Assessment(A)

Ethiology

โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็ นชนิดที่พบบ่อยที่สุดในคนไทย พบ


ประมาณร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานทัง้ หมด เป็ นผลจากการ มีภาวะ
ดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance) ร่วมกับความบกพร่องในการผลิต
อินซูลินที่เหมาะสม (relative insulin deficiency) มักพบในคนอายุ 30
ปี ขึน
้ ไป รูปร่างท้วมหรืออ้วน (ดัชนีมวลกายในคนเอเชีย 23 กก./ม.2 )
อาจไม่มีอาการผิดปกติ หรืออาจมีอาการของโรคเบาหวานได้ อาการมัก
ไม่รุนแรงและค่อยเป็ นค่อยไป มักมี ประวัติโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในพ่อ
แม่ หรือ พี่ น้อง โดยที่ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดนีพ
้ บมาก
เมื่อ มีอายุสูงขึน
้ มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึน
้ การขาดการออกกำลังกาย และพบ
มากขึน
้ ในหญิงที่มีประวัติการเป็ นเบาหวาน ขณะตัง้ ครรภ์

Diagnosis :

ผู้ป่วยรายนีไ้ ด้รับการวินิจฉัยว่าเป็ นเบาหวานชนิดที่2 และยาเดิมที่ผู้ป่วย


ใช้รักษาคือ 1.Metformin

500 mg 2x2 po pc 2.Glipizide 5 mg 2x2 PO pc 3.NPH 16-0-16


sc ac
Severity : ประเมิน ASCVD

ผู้ป่วยรายนีม
้ ีระดับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเส้นเลือดหัวใจและหลอด
เลือดในระยะ 10 ปี เท่ากับ 12.6% ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงปานกลาง

ตามคำแนะนำของ ADA 2021 ผู้ป่วยที่มีอายุ  ≥ 40 ปี และไม่มี


ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดในระยะ 10 ปี
เท่ากับ >20% ควรจะได้รับยา Statin ในขนาดกลาง

ผู้ป่วยรายนีไ้ ด้รับยา Simvastatin 20 mg/day เป็ น primary


prevention จึงถือว่ามีความเหมาะสมแล้ว

Severity : ประเมินการได้ Antiplatelet agent

ADA 2021 แนะนำการใช้ยา Aspirin สำหรับ primary


prevention ทัง้ ในผู้ชายและผู้หญิงที่มีอายุ ≥ 50 ปี ที่มีความเสี่ยง
(Major) อย่างน้อย 1 อย่าง ได้แก่ มีประวัติครอบครัวเป็ น ASCVD ,โรค
ความดันโลหิตสูง,โรคไขมันในเลือดผิดปกติ,สูบบุหรี่,โรคไตวายเรื้อรัง ผู้ที่
ไม่มีความเสี่ยงในการเกิด Bleeding เช่น ผู้สูงอายุ,anemia,โรคไต โดยผู้
ป่ วยรายนีย
้ ังไม่ได้รับยา Aspirin ซึง่ สมควรที่จะได้รับเพื่อป้ องกันการเกิด
ASCVD

Assessment of therapeutic
จากแนวทางการรักษาของ American diabetes Association
2021 ได้ เสนอแนะการใช้ยารักษาภาวะน้ำตาลในเลือดสูงในผู้ป่วยโรค
เบาหวานประเภทที่ 2 ด้วย metformin เป็ นทางเลือกแรก (First line)
ร่วมกับการปรับพฤติกรรม หากยังไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายการรักษา
ควรพิจารณาเพิ่มยาอีก 1 ชนิด โดยผู้ป่วยรายนีไ้ ม่มี ASCVD risk / HF /
CKD สามารถให้ยากลุ่ม Sulfonylurea,thiazolidinedione(TZD),DPP-
4 inhibitors,SGLT2 inhibitors,GLP-1 receptor agonists หรือ basal
insulin โดยพิจารณาจากอาการไม่พึงประสงค์จากการเกิดภาวะน้ำตาล
ในเลือดต่ำ ,การเพิ่มขึน
้ ของน้ำหนักตัว, ราคา ซึ่งหากพิจารณาในเรื่องของ
ราคาจะสามารถใช้ได้ 2 กลุ่ม คือ 1.Sulfonylurea ได้แก่ยา Glipizide
2.thiazolidinedione(TZD) ได้แก่ ยา Pioglitazone ซึง่ เดิมหมอสั่งจ่าย
Glipizide 5 mg 2x2 PO pc แต่ยังไม่สามารถควบคุมน้ำตาลได้จึง
เปลี่ยน ไปใช้เป็ น Pioglitazone ตามแนวทางการรักษา
ประเมิน IESAC

Pioglitazone rosiglitazone
Indication Diabetes mellitus type 2
Efficacy ในการศึกษาของ Goldberg, R และคณะ ได้ทำการศึกษาแบบ
prospective, randomized,double blind ซึ่งเป็ นการเปรียบเทียบ
ประสิทธิภาพระหว่างยา pioglitazone และ rosiglitazone ในผู้ป่วยเบา
หวานชนิดที่ 2 และโรคไขมันในเลือดสูง ผลพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญ แม้ว่ายาทัง้ สองตัวจะสามารถเพิ่ม HDL cholesterol แต่
pioglitazone สามารถเพิ่ม HDL ได้มากกว่า รวมถึงเรื่องของ LDL
pioglitazone สามารถลดขนาด LDL ในขณะที่ rosiglitazone ทำไม่ได้
Goldberg, R. B., Kendall, D. M., Deeg, M. A., Buse, J. B., Zagar, A.
J., Pinaire, J. A., ... & Jacober, S. J. (2005). A comparison of lipid
and glycemic effects of pioglitazone and rosiglitazone in patients
with type 2 diabetes and dyslipidemia. Diabetes care, 28(7),
1547-1554.
จากการศึกษาของ Boyle, P และคณะ ในเรื่องของผล Pioglitazone และ
rosiglitazone ต่อระดับไขมันในเลือดและการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 พบว่าการรักษาด้วย pioglitazone มีความ
สัมพันธ์กับการลดระดับไขมันในเลือดมากกว่าการรักษาด้วย rosiglitazone
ในขณะที่ความสามารถในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดทำได้เท่ากัน
Boyle, P. J., King, A. B., Olansky, L., Marchetti, A., Lau, H., Magar,
R., & Martin, J. (2002). Effects of pioglitazone and rosiglitazone on
blood lipid levels and glycemic control in patients with type 2
diabetes mellitus: a retrospective review of randomly selected
medical records. Clinical therapeutics, 24(3), 378-396.

Safety Edema 4.8-15.3% Edema 4.8 -14.7


Weight increased Weight increased
Headache 9.1% Headache
(adult5.9%,pediatric17%)
Adherenc 30 mg 1x1 ac 4 mg 1x1 ac
e
Cost 1.83/tab ยาถูกถอนจากบัญชี

ผู้ป่วยมี A1C >10 % หรือ FBS มากกว่าเท่ากับ 300 mg/dl และมี


catabolic feature คือน้ำหนักลดเยอะ ปั สสาวะบ่อย จึงให้ใช้
combination injection therapy (ใช้ insulin ร่วมด้วย)
โดยเริ่มจากให้ basal analog หรือ NPH insulin ขนาด 0.1-0.2
IU/kg a day แล้วพิจารณาดูอาการทางคลินิกพร้อมปรับยาให้เหมาะสม
กับผู้ป่วย ซึ่งผู้ป่วยรายนีเ้ ดิมได้รับ NPH insulin sc 16-0-16 ac เช้า,เย็น
(0.6x53=32unit) แต่ผู้ป่วยเป็ นพระ รับประทานอาหารแค่เช้า-เที่ยง จึง
ปรับให้ฉีด NPH insulin 16-16-0 ac เช้า,เที่ยง

P:
Therapeutic plan
1.Metformin 500 mg 2x2 pc เช้า,เที่ยง
2.Pioglitazone 30 mg 1x1 pc เช้า
3.NPH 16-16-0 unit sc ac เช้า,เที่ยง
Goal:

1.ควบคุมระดับน้ำตาลขณะอดอาหารได้ตามเป้ าหมาย คือ 80-130


mg/dL และ A1C ไม่ควรต่ำกว่า 7% เพราะจะเสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลใน
เลือดต่ำ
2.ควบคุมปั จจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนเรื้อรังจากเบาหวาน เช่น
ชะลอความเสื่อมของไต

3.ไม่เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (hyperglycemia) หรือมีระดับน้ำตาล


ในเลือด <70 mg/dL

Therapeutic monitoring
Parameters ที่ใช้เป็ นเป้ าหมายการประเมินการรักษามีดังนี ้
1. ตรวจติดตามระดับน้ำตาลในเลือดสะสม A1C ทุก 3 เดือน
2. ตรวจติดตามระดับน้ำตาลขณะอดอาหาร Fasting plasma glucose
3.นัดติดตามระดับน้ำตาลในเลือดหลังการเปลี่ยนการรักษา 2 สัปดาห์

ADR monitoring
อาการข้างเคียงหรืออาการไม่พึงประสงอาจพบได้จากยา
1.ยากลุ่ม Biguanides (metformin) ทำให้เกิด lactic acidosis
Hypoglycemia N/V Diarrhea
2. ยากลุ่ม Thiazolidinediones (Pioglitazone) Hypoglycemia อาจ
ส่งผลการดูดซึมอาหารช้าลง
3. Insulin อาจทำให้เกิด Hypoglycemia , weigh gain
Patient education:
-แนะนำผู้ป่วยหลีกเลี่ยงอาหารหวานและความออกกำลังกายอย่างน้อย
3-4 ครัง้ / สัปดาห์
-ยาฉีด insulin กรณีที่ยังไม่เปิ ดใช้ต้องเก็บไว้ในตู้เย็นช่องธรรมดาห้ามเก็บ
ในช่องแช่แข็งห้ามเก็บไว้บริเวณฝาตู้เย็นเนื่องจากอุณหภูมิจะไม่คงที่
-กรณีเปิ ดใช้แล้วสามารถเก็บที่อุณหภูมิห้องได้ 30 วัน
-การฉีดยาใต้ผิดหนังให้เอียงเข็ม 45-90 องศาและเปลี่ยนบริเวณที่ฉีดทุก
วันเพื่อลดการเกิด Lipodyhtrophy ห้ามเขย่าขวดให้ใช้วิธีกลิง้ ขวดบนฝา
มือเพื่อให้อุณหภูมิยาใกล้เคียงกับอุณหภูมิร่างกาย
-หลีกเลี่ยงการดื่มสุราเนื่องจากการดื่มสุราเป็ นปั จจัยกระตุ้นให้เกิด lactic
acidosis
Future plan:
1.ติดตามค่า parameters ที่กล่าวไปข้างต้น
2.ตรวจติดตามระดับน้ำตาลในเลือดสะสม A1C ทุก 3 เดือน

Problem lists: 2. simple hyperglycemia

Subjective data(S)
• ผู้ป่วยพระเพศชาย อายุ 53 ปี น้ำหนัก 53 ส่วนสูง 165 BMI
19.467
• มารับยาต่อเนื่อง เวียนหัว รู้สึกอ่อนเพลีย ชาปลายมือปลาเท้า
• โรคประจำตัว เบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือดสูง
• ไม่มีประวัติแพ้ยา
• สูบบุหรี่10+ มวน/วัน

Objective(O)
Blood sugar

รายการ หน่วย ค่าปกติ 2/12/63 3/12/63


FBS mg/dL 75-115 584 -
(fingerstrip
)
FBS mg/dL - 584 509
(Plasma)

ผลทางห้องปฏิบัติการ ค่าปกติ 2/12/63 3/12/63

BUN (mg/dl) 6 - 20 23.1 22.1

Creatinine (mg/dl) 0.57 - 1.17 1.58 1.39

Na (mmol/L) 136 - 145 128.6 138.2

K (mmol/L) 3.4 - 4.5 4.32 3.85

Cl (mmol/L) 98 - 107 96 105

CO2 bicarbonate 26 27
(mmol/L) 22 - 29

GFR (%) 90 - 120 49.21 57


Assessment(A)

ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็ นภาวะฉุกเฉินที่ผู้ป่วยจะมีอาการหิว
น้ำบ่อย ปั สสาวะบ่อย ซึมเศร้า และอาจหมดสติถ้าระดับน้ำตาลสูงมาก
เป็ นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุ
ระดับน้ำตาลในเลือดสูงมักเกิดควบคู่กับโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยปกติ
ร่างกายของจะมีกลไกดึงน้ำตาลออกจากเลือดไปใช้เป็ นพลังงานผ่าน
ฮอร์โมนอินซูลิน แต่เมื่อเป็ นโรคเบาหวานร่างกายจะเกิดการดื้อต่อ
อินซูลิน ทำให้ดึงน้ำตาลออกจากเลือดได้น้อยลงจนเกิดเป็ นระดับน้ำตาล
ในเลือดสูง อาการของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ กระหายน้ำมาก
คลื่นไส้ ปั สสาวะบ่อยและมากผิดปกติโดยเฉพาะเวลากลางคืน อ่อนเพลีย
เหนื่อยง่าย น้ำหนักลด ตาพร่ามัว ซึม อาจถึงขัน
้ หมดสติ หรือมีการชัก
กระตุกเฉพาะที่

ซึ่งอาการที่ผู้ป่วยมา คือ เวียนหัว รู้สึกอ่อนเพลีย ชาปลายมือปลา


เท้า มีระดับน้ำตาลที่สูงมาก และมีโรคประจำตัวคือ โรคเบาหวานชนิดที่
2 จึงจัดว่าผู้ป่วยเข้าได้กับภาวะดังกล่าว

Risk factor

1.ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ค่อยดี

2.เมื่อมีความเจ็บป่ วยรุนแรงหรือ ร่างกายเกิดการติดเชื้อ จะทำให้ระดับ


น้ำตาลในเลือดสูงมากขึน

3.จากขาดการฉีดอินซูลิน
4.ได้รับยาไม่เพียงพอ หรือภาวะเครียดจากการเจ็บป่ วย

5. รับประทานของหวาน ผลไม้มาก

โดยผู้ป่ วยรายนีม
้ ีปั จจัยเสี่ย ง คือ ชอบรับ ประทานของหวาน ขนมครก
เครื่องดื่มกระทิงแดง

Severity

ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง แบ่งเป็ น 3 ประเภท ได้แก่

1. ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงแต่ไม่พบกรดคีโทนคั่ง (simple
hyperglycemia) คือ ภาวะนีพ
้ บได้ในผู้เป็ นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุม
ระดับน้ำตาลได้ไม่ค่อยดี จะด้วยสาเหตุใดก็ตาม

อาการของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง

-  กระหายน้ำมาก คลื่นไส้ ปั สสาวะบ่อยและมากผิดปกติโดยเฉพาะเวลา


กลางคืน

-  อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย น้ำหนักลด

-  ตาพร่ามัว

-  ซึม อาจถึงขัน
้ หมดสติ หรือมีการชักกระตุกเฉพาะที่

2.  ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงและมีกรดคีโตนคั่ง (Diabetes ketoacidosis)


คือ ภาวะที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก ร่วมกับมีสารคีโตนคั่งในเลือด
อย่างเฉียบพลัน ทำให้มีกรดเกินในกระแสเลือด ภาวะนีค
้ ่อนข้างอันตราย
รุนแรง หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีอาจเสียชีวิตได้ มักเกิดในผู้
เป็ นเบาหวานชนิดที่1 อาการที่พบบ่อย

-  คลื่นไส้ อาเจียนมาก
-  ปั สสาวะบ่อย

-  ลมหายใจมีกลิ่นเหมือนผลไม้ หายใจเหนื่อยหอบลึก อาจช็อคหมดสติ

โดยมีเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะ DKA คือ

- ระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด (plasma glucose) >200 มก./ดล.

- พ บ ภ า ว ะ เ ล ือ ด เ ป็ น ก ร ด (acidosis): bicarbonate <15 ม ิล ล ิ


โมล/ลิตร) และ/หรือคีโทนในปั สสาวะ (มัก >2+)

3. ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงชนิด hyperglycemic hyperosmolar state


(HHS) พบใน type 2 diabetes, type 1 diabetes ตลอดจนในทารกที่
เป็ น neonatal diabetes ซึ่งผูป
้ ่ วย type 1 diabetes อาจมี HHS ได้
ถ้าดื่มสารน้ำที่มีน้ำตาลมากๆ ก่อนได้รับการวินิจฉัย ลักษณะอาการทาง
คลินก
ิ ของผู้ป่วย HHS มีความคาบเกี่ยวกับ DKA แต่ผู้ป่วย HHS มักมี
ความรุนแรงของการขาดน้ำมากกว่า DKA แต่มีภาวะ acidosis น้อยกว่า
ถ้ามี acidosis มักเกิดจากภาวะ lactic acidosis จาก hypoperfusion

เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะ hyperglycemic hyperosmolar state (HHS)


1. ภาวะน้ำตาลสูงในเลือด: ระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด >600 มก./ดล.
(33.3 มิลลิโมล/ลิตร)
2. Arterial pH >7.3 หรือ venous pH >7.25
3. Serum bicarbonate >15 มิลลิโมล/ลิตร
4. มีคีโทนในปั สสาวะเล็กน้อย หรือมีคีโทนเล็กน้อยหรือไม่มีเลยในเลือด
5. Effective plasma osmolality >320 mOsm/kg H2O (ดูวิธีการค้า
นวณหน้า 9)
6. ซึมหรือชัก (ประมาณร้อยละ 50)
ซึง่ ผู้ป่วยรายนีไ้ ม่ได้มีการตรวจคีโทนในปั สสาวะ และ มีค่า bicarbonate
= 22 (ค่าปกติ22 - 29) แต่ระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด <600 มก./ดล.
จึงจัดผู้ป่วยเป็ นภาวะน้ำตาลในเลือ ดสูงแต่ไ ม่พ บกรดคีโ ทนคั่ง (simple
hyperglycemia)

Assessment of therapeutic
ยาที่ผู้ป่วยได้รับขณะที่อยู่โรงพยาบาล

1.NSS 1000 ml iv drip in 1 hr

2.Regular insulin 8 unit iv stat

3.Dimenhydrinate 50 mg iv prn q 6 hr

4.simvastatin 20 mg 1x1 pc hs

5.MTV 1x2 po pc

6. cetirizine 10 mg 1x1 po hs

7.Lorazepam 0.5 mg 1x1 po hs

8.Glyceryl guaicolate 1x3 po pc

9.RI 12 unit sc stat


Kitabchi, A. E., Umpierrez, G. E., Murphy, M. B., & Kreisberg, R. A. (2006).
Hyperglycemic crises in adult patients with diabetes: a consensus statement from
the American Diabetes Association. Diabetes care, 29(12), 2739-2748.

เนื่องจากผู้ป่วยมีการสูญเสียน้ำ มีค่าอิเล็กโทรไลท์ที่ผิดปกติ และมี


ค่าน้ำตาลที่สงู เสี่ยงต่อการเกิด DKA ดังนัน
้ ผู้ป่วยควรที่จะได้รับการ
รักษาในโรงพยาบาล โดย American Diabetes Association ได้แนะนำ
ดังนี ้

1.แก้ไขภาวะขาดน้ำในผู้ป่วยที่มีการสูญเสียน้ำ เพื่อทดแทนน้ำและ
ป้ องกันการเกิดภาวะ Shock โดยเริ่มให้ 0.9% Nacl 1L/hr
- ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ NSS 1000 ml iv drip in 1 hr เพื่อแก้ไขภาวะ
ขนาดน้ำ โดยเริ่มให้ 0.9% Nacl 1L/hr จึงถือว่าเหมาะสม เพื่อช่วยใน
การลดระดับน้ำตาลและเป็ นการชดเชยการเสียน้ำ

2.ลดระดับน้ำตาลในเลือด : โดยให้ Regular insulin 0.15 unit/kg ซึ่งผู้


ป่ วยรายนี ้ หนัก 53 kg จึงต้องให้ RI ในขนาด 53 x 0.15 = 7.95 ≈ 8
unit ผู้ป่วยได้รับ Regular insulin 8 unit iv stat จึงถือว่าเหมาะสม

3.ผู้ป่วยได้รับยาฉีด Dimenhydrinate 50 mg iv prn q 6 hr เนื่องจาก


ผู้ป่วยมาด้วยอาการคลื่นไส้อาเจียน จึงถือว่าเหมาะสม

4.ผู้ป่วยสมควรได้รับ simvastatin 20 mg 1x1 pc hs เป็ น primary


prevention การเกิดโรคหลอดเลือดและสมอง

5.MTV ช่วยลดอาการอ่อนเพลียจากที่ผู้ป่วยสูญเสียน้ำ

6.ผู้ป่วยมีอาการ ไอ คันคอ จึงให้ยา cetirizine 10 mg 1x1 po hs ซึ่ง


เป็ นยาแก้แพ้ไปตามอาการ จึงถือว่าเหมาะสม

7.ผู้ป่วยมีอาการนอนไม่หลับ จึงให้ยา Lorazepam 0.5 mg 1x1 po hs

ช่วยในการนอนหลับ จึงถือว่าเหมาะสม

8.ผู้ป่วยมีอาการไอ จึงให้ยา Glyceryl guaicolate 100 mg 1x3 po pc


ที่ช่วยกดการไอ จึงถือว่าเหมาะสม

9.RI 12 unit sc stat ผู้ป่วยมีFBS>400 ซึง่ ให้ในขนาด 12 unit จึงถือว่า


เหมาะสม
ข้ อมูลจาก : โรงพยาบาลลำพูน

Plan

Therapeutic

1.NSS 1000 ml iv drip in 1 hr

2.Regular insulin 8 unit iv stat

3.Dimenhydrinate 50 mg iv prn q 6 hr

4.simvastatin 20 mg 1x1 pc hs

5.MTV 1x2 po pc

6. cetirizine 10 mg 1x1 po hs

7.Lorazepam 0.5 mg 1x1 po hs

8.Glyceryl guaicolate 100 mg 1x3 po pc

9.RI 12 unit sc stat


Goal

1. แก้ไขภาวะขาดน้ำ
2. ลดระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงปกติ
3. ค้นหาและรักษาปั จจัยกระตุ้นการเกิด

Therapeutic monitoring
+
1.ตรวจติดตามค่า Electrolyte เช่น NA
2. ตรวจติดตามค่าการทำงานของไต Creatinine BUN, electrolytes
3.ตรวจติดตามระดับน้ำตาลขณะอดอาหาร Fasting plasma glucose

ADR monitoring

1.NSS 1000 ml อาจทำให้เกิด หลอดเลือดดำอักเสบ

2.Regular insulin ทำให้เกิด Hypoglycemia , weigh gain

3.Dimenhydrinate 50 mg iv prn q 6 hr ทำให้เกิด N/V ง่วงนอน

4.simvastatin 20 mg ทำให้ ปวดท้อง ท้องผูก คลื่นไส้ Rhabdomyosis

5.MTV 1x2 po pc ทำให้เกิดท้องผูก อุจจาระดำ N/V ปวดท้อง

6. cetirizine 10 mg ทำให้เกิดง่วงนอน ปวดหัว

7.Lorazepam 0.5 mg ทำให้เกิดเวียนหัว ง่วงนอน ซึมเศร้า

8.Glyceryl guaicolate 100 mg ทำให้เกิด N/V

Patient education:
1.อธิบายปั จจัยชักนำหรือปั จจัยส่งเสริมให้เกิดน้ำตาลในเลือดสูง เช่น
การผ่าตัด การได้รับอุบัติเหตุ ได้รับยาบางชนิด ได้รับยาเบาหวานใน
ขนาดน้อยไป

Future plan
ถ้า Gluclose < 250 mg/dl ให้เปลี่ยนเป็ น dextrose 5% ใน 0.45%
NACl เพื่อป้ องกันภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ร่วมกับให้insulin iv infution
0.05-0.1 unit/kg/day หรือ insulin sc 5-10 unit q 2 hr

You might also like