You are on page 1of 48

บทที่ 3

กฎหมายเกีย่ วกับการประกอบธุรกิจโรงแรม
3.1 กฎหมายเกีย่ วกับการ ประกอบธุรกิจโรงแรม
ปั จจุบนั มีการประกอบธุ รกิ จการให้บริ การที่พกั ในรู ปแบบและลักษณะต่าง ๆ มากมาย
และมีแนวโน้มที่จะมีการขยายตัวมากยิ่งขึ้นเพื่อรองรับการเจริ ญเติบโตทางภาคธุ รกิจการท่องเที่ยว
ซึ่ งรู ปแบบการให้บริ การด้านที่พกั แรมในปั จจุบนั มีชื่อเรี ยกที่หลากหลายและรู ปแบบที่พกั ที่แตกต่างกัน
เช่ น รี ส อร์ ท (Resort) เซอร์ วิส อพาร์ ท เมนท์ (Service Apartment) อิ น ท์ (Inn) เกสต์เ ฮาส์
(Guesthouse) โฮมสเตย์ (Homestay) โมเต็ล (Motel) ที่พกั บนเรื อแบบบ้านหรื อเรื อนแพ (Houseboat) เรื อ
สาราญ (Yacht) กระโจมหรื อเต็นท์ (Tent) และอื่น ๆ อีกมากมาย โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง สถานที่ พ กั
ของทางราชการที่มีการให้ประชาชนทัว่ ไปเช่ าพักได้เช่ นที่พกั ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทาให้เกิ ด
ความสับสนว่ากิ จการที่ พกั แรมประเภทใดบ้างที่ เป็ นโรงแรมหรื อไม่เป็ นโรงแรมตามกฎหมาย1
หากเป็ นการประกอบการที่เข้าลักษณะเป็ นโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรมแล้ว ผูป้ ระกอบธุ รกิจ
โรงแรมยังมีหน้าที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายฉบับ อาทิเช่น กฎหมายว่าด้วยโรงแรม
ซึ่ งเป็ นกฎหมายหลักที่ควบคุ มและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจโรงแรมซึ่ งกาหนดให้การประกอบธุ รกิ จ
โรงแรมต้องได้รับ ใบอนุ ญาตและปฏิ บตั ิ ใ ห้เป็ นไปตามกฎหมายว่า ด้วยโรงแรม ส าหรั บ อาคาร
โรงแรมถื อว่าเป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุ มอาคาร การก่อสร้ าง
ดัดแปลงอาคารเพื ่อ เป็ นโรงแรมจึ ง มี ค วามมัน่ คงแข็ง แรง มี ร ะบบความปลอดภัย ส าหรั บ
ผูใ้ ช้อ าคาร ต้อ งปฏิ บ ตั ิ ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุ มอาคาร หากโรงแรมนั้นมี จานวน
ห้องพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไปหรื อมีพ้ืนที่ใช้สอยตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป จะมีกฎหมายควบคุม
มาตรฐานเพิ่ มขึ้ นอี กหนึ่ ง ฉบับ คื อ กฎหมายว่า ด้วยการส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้อ ม
แห่ ง ชาติ ซ่ ึ งก าหนดให้ ต้อ งจัด ท ารายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม นอกจากนี้
ยัง ต้อ งตรวจสอบพื้ น ที่ ที่ ต้ ัง ของโรงแรมว่ า ที่ ต้ ัง ของโรงแรมอยู่ ใ นเขตการบังคับ ใช้ ก ฎหมาย
ว่าด้วยการผังเมืองหรื อไม่ หากอยู่ในเขตการบังคับใช้ก ฎหมายว่า ด้วยการผัง เมือ ง ต้อ งพิจ ารณา
ต่อ ไปว่า โรงแรมตั้ง อยู่ใ นเขตผัง เมือ งรวมประเภทใด เป็ นประเภทที่ส ามารถประกอบธุ รกิจ

1
สานักการสอบสวนและนิ ติการกรมการปกครอง. (มปป.) กฎหมายโรงแรม. กรุ งเทพฯ: อาสารักษาดินแดน
กรมการปกครอง. หน้า 1.
21

โรงแรมได้ห รื อ ไม่ หากที ่ดิน ประเภทดัง กล่า วถูก ก าหนดห้า มมิ ใ ห้ ป ระกอบธุ ร กิ จ โรงแรม
ผูป้ ระกอบธุ รกิจโรงแรมย่อมไม่สามารถประกอบธุ รกิจโรงแรมในพื้นที่ดงั กล่าวได้ เนื่ องจากขัดต่อ
กฎหมายว่า ด้ว ยการผัง เมื อง และในกรณี ที่ โ รงแรมมี ห้อ งครั ว ห้อ งอาหาร การจัด เก็ บ วัตถุ ดิ บ
ในการท าอาหาร การจัด เก็ บ ขยะมู ล ฝอย สระว่า ยน้ า ฯลฯ ต้อ งอยู่ภ ายใต้บ งั คับ ของกฎหมาย
ว่า ด้วยการสาธารณสุ ข รวมถึง หากโรงแรมจะขายเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ก็ตอ้ งปฏิ บตั ิให้เป็ นไป
ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิตและกฎหมายว่าด้วยการควบคุมเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ เป็ นต้น
จะเห็นได้วา่ การประกอบธุ รกิจโรงแรมนั้นมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายฉบับที่ผปู้ ระกอบ
ธุ รกิจโรงแรมจะต้องดาเนินการให้เป็ นไปตามกฎหมายทุกฉบับที่กล่าวมา การศึกษาเกี่ยวกับปั ญหา
และอุ ปสรรคทางกฎหมายในการขอรั บใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิ จโรงแรมในบทนี้ ผูเ้ ขียนจึงได้
ศึ ก ษาเพี ย งเฉพาะบทบัญ ญัติ แ ห่ ง กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้อ งหลัก ๆ และเห็ น ว่ า ยัง เป็ นอุ ป สรรค
ต่อการยืน่ ขอใบอนุญาตประกอบธุ รกิจโรงแรมในปัจจุบนั

3.1.1 พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547


พระราชบัญ ญัติ โ รงแรม พุ ท ธศัก ราช 2478 ได้ป ระกาศบัง คับ ใช้ ม าเป็ นเวลานาน
และมี บ ทบัญ ญัติ บ างประการที่ ไ ม่ เ หมาะสมกับ สภาวการณ์ ใ นปั จ จุ บ ัน ซึ่ งสภาพเศรษฐกิ จ
และการประกอบธุ รกิ จ โรงแรมได้พ ฒ ั นาและขยายตัวมากยิ่ ง ขึ้ น ดัง นั้น เพื่ อ เป็ นการส่ ง เสริ ม
และยกระดับ มาตรฐานการประกอบธุ รกิ จโรงแรมและก าหนดหลักเกณฑ์ในการประกอบธุ รกิ จ
โรงแรมให้เหมาะสมกับสภาพของการประกอบธุ รกิ จโรงแรมแต่ละประเภทจึ งจาเป็ นต้องยกเลิ ก
พระราชบัญ ญัติ โ รงแรม พุ ท ธศัก ราช 24782 และประกาศบัง คับ ใช้พ ระราชบัญ ญัติ โ รงแรม
พ.ศ. 25473 เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและการประกอบธุ รกิจโรงแรมในยุคปั จจุบนั
พระราชบัญ ญัติ โ รงแรม พ.ศ. 2547 ถื อ เป็ นกฎหมายที่ ว างมาตรการและระเบี ย บ
การประกอบธุ รกิ จโรงแรม เช่ น การขออนุ ญาตประกอบธุ รกิ จโรงแรม การต่ออายุใ บอนุ ญาต
การโอนใบอนุ ญาต การเลิ กประกอบธุ รกิจโรงแรม การกาหนดหน้าที่ผไู ้ ด้รับใบอนุ ญาตประกอบ
ธุ รกิจโรงแรม การกาหนดหน้าที่ผจู ้ ดั การโรงแรม เป็ นต้น ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มและยกคุณภาพ
ของธุ รกิ จที่พ กั แรมให้มีมาตรฐานที่สู งขึ้ น เนื่ องจากธุ รกิ จโรงแรมมีล กั ษณะเป็ นการให้บริ ก าร

2
ยกเลิกพระราชบัญญัติโรงแรม พุทธศักราช 2478 , พระราชบัญญัติโรงแรม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2484 ,
พระราชบัญญัติโรงแรม (ฉบับที่3) พุทธศักราช2495 , พระราชบัญญัติโรงแรม (ฉบับที่4) พุทธศักราช 2503.
3
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 12 พฤษภาคม 2547 เป็ นต้นไป. (2547, 12 พฤศจิกายน).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 121 (ตอนที่ 70 ก), หน้า 12.
22

แก่สาธารณะและมีความสาคัญต่อการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวให้มีบริ การที่ มีคุณภาพ


และปลอดภัยมากยิง่ ขึ้น4
โดยมาตรา 4 แห่ งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 ได้กาหนดขอบเขตของการบังคับ
ใช้ดว้ ยการให้นิยามของคาว่า “โรงแรม” ให้หมายความว่า สถานที่พกั ที่จดั ขึ้นโดยมีวตั ถุ ประสงค์
ในทางธุ รกิจเพื่อให้บริ การที่พกั ชัว่ คราวสาหรับคนเดินทางหรื อบุคคลอื่นใดโดยมีค่าตอบแทน
นอกจากนี้ มาตรา 4 แห่ งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 ได้กาหนดข้อยกเว้นไว้ชดั เจน
ว่า สถานที่ พ ัก ดัง ต่ อ ไปนี้ “ไม่ ถื อ เป็ นโรงแรม” ซึ่ งจะมี ผ ลท าให้ ที่ พ กั แรมลัก ษณะดัง ต่ อ ไปนี้
ไม่อยูภ่ ายใต้บงั คับของพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้แก่
1) สถานที่พกั ที่ จดั ตั้งขึ้นเพื่อให้บริ การที่ พกั ชัว่ คราวซึ่ งดาเนิ นการโดยส่ วนราชการ
รั ฐ วิ ส าหกิ จ องค์ ก ารมหาชน หรื อหน่ ว ยงานอื่ น ของรั ฐ หรื อเพื่ อ การกุ ศ ลหรื อการศึ ก ษา
โดยมิ ใ ช่ เป็ นการหาผลก าไรหรื อรายได้มาเพื่อแบ่งปั นกัน ตัวอย่างเช่ น บ้านพักคนชรา ค่ ายลู กเสื อ
วัด สถานสงเคราะห์ที่พกั อาศัยให้แก่ผไู ้ ร้ที่อยูอ่ าศัย ศูนย์อพยพช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยพิบตั ิ เป็ นต้น
ทั้ง นี้ สาเหตุ ที่ ก าหนดให้ ส ถานที่ พ กั ดัง กล่ า วไม่ เ ป็ นโรงแรม เนื่ อ งจากโรงแรม
ตามพระราชบัญ ญัติ ฉ บับ นี้ ต้ อ งเป็ นการประกอบธุ ร กิ จ ที่ พ ัก แรมในเชิ ง พาณิ ช ย์ ซึ่ งต้อ งมี
วัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาผลกาไรจากการให้บริ การอย่างเป็ นปกติทางการค้าเป็ นสาคัญ แต่สถานที่
พัก อาศัย ดัง กล่ า วถู ก ตั้ง ขึ้ น โดยมี ว ตั ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ การบ าเพ็ญ ประโยชน์ สงเคราะห์ ส่ ว นรวม
หรื อเป็ นบทบาทหน้าที่ ของรัฐที่ ตอ้ งจัดหาสาธารณู ปโภคให้แก่ ประชาชนโดยไม่มีวตั ถุ ประสงค์
ที่จะแสวงหาผลกาไร
2) สถานที่พกั ที่จดั ตั้งขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้บริ การที่พกั อาศัยโดยคิดค่าบริ การ
เป็ นรายเดือนขึ้นไปเท่านั้น เช่น หอพัก แมนชัน่ อพาร์ ตเมนท์ รู มเซอร์ วิส สาเหตุที่สถานที่พกั เหล่านี้
ไม่เป็ นโรงแรมตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ เนื่ องจากการประกอบธุ รกิจโรงแรมเป็ นการให้บริ การที่พกั
เป็ นการชัว่ คราวหรื อต่ากว่ารายเดื อนเท่านั้น แต่สถานที่พกั ที่คิดค่าบริ การเป็ นรายเดื อนขึ้ นไปนั้น
มีลกั ษณะผูกพันให้เช่ าอสังหาริ มทรัพย์เป็ นระยะเวลาหนึ่ งซึ่ งสิ ทธิ หน้าที่ของผูป้ ระกอบการและผูเ้ ข้า
พักในฐานะผูใ้ ห้เช่ าและผูเ้ ช่ าย่อมอยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ลักษณะเช่ าทรัพย์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่พกั ประเภทหอพักซึ่ งผูเ้ ข้าพักอาศัยมักเป็ นเด็กและเยาวชนที่อยูร่ ะหว่าง
การศึกษาเล่าเรี ยนก็มีพระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ. 2507 ควบคุมกากับและดูแลบรรดาหอพักต่าง ๆ
ของเอกชนเพื่อมิให้แสวงหาประโยชน์ทางการค้ามากกว่าการดูแลสวัสดิ ภาพและความปลอดภัย
ของผูพ้ กั อาศัยไว้เป็ นการเฉพาะแล้ว

4
หมายเหตุทา้ ยพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547.
23

3) สถานที่พกั อื่นใดตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง
ทั้งนี้ เมื่ อพิจารณากฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุ รกิ จ
โรงแรม พ.ศ. 2551 ซึ่ งออกโดยอานาจของรั ฐมนตรี ว่า การกระทรวงมหาดไทยโดยค าแนะน า
ของคณะกรรมการส่ งเสริ มและกากับธุ รกิจโรงแรมได้กาหนดหลักเกณฑ์ไว้วา่ สถานที่พกั ที่มีจานวน
ห้องพักในอาคารเดียวกันหรื อหลายอาคารรวมกันไม่เกิน 4 ห้องและมีจานวนผูพ้ กั รวมกันทั้งหมด
ไม่ เ กิ น ยี่สิ บ คน ซึ่ งจัด ตั้ง ขึ้ น เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารที่ พ กั ชั่ว คราวส าหรั บ คนเดิ น ทางหรื อ บุ ค คลอื่ น ใด
โดยมีค่าตอบแทนอันมีลกั ษณะเป็ นการประกอบกิจการเพื่อหารายได้เสริ มและได้แจ้งให้นายทะเบียน
ทราบตามแบบที่ รัฐมนตรี ก าหนดไม่ เป็ นโรงแรมตามมาตรา 4 (3) ของพระราชบัญญัติโรงแรม
พ.ศ. 25475
สถานที่ พ ัก แรมใดที่ มี ล ัก ษณะเข้า องค์ ป ระกอบตามค านิ ย ามของค าว่ า “โรงแรม”
จะต้องอยู่ภายใต้การกากับดู แลตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 25476 โดยผูย้ ื่นขอรับใบอนุ ญาต
จะต้อ งเป็ นผู ้มี คุ ณ สมบัติ ต ามที่ ก ฎหมายก าหนด 7เมื่ อได้รั บ ค าขออนุ ญ าตแล้ว ให้ น ายทะเบี ย น
เป็ นผูต้ รวจสอบพิจารณาว่าเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนดหรื อไม่8
เมื่อเป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนดให้ออกใบอนุ ญาตหรื อกรณี ไม่สามารถออกใบอนุญาตได้
เนื่องจากไม่เข้าหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนดต้องแจ้งเหตุผลแก่ผยู ้ ื่นคาขอด้วย9 กรณี ได้รับอนุญาตแล้ว
ใบอนุ ญาตให้ใช้ได้กบั โรงแรมที่ ระบุชื่อไว้เท่านั้นและให้มีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที่ ออกใบอนุ ญาต10
ใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจโรงแรมนี้ หากหมดอายุตอ้ งสามารถต่ออายุใบอนุ ญาตได้11 และการโอน
ใบอนุ ญาตสามารถกระทาได้โดยต้องพิจารณาถึงคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผูข้ ออนุญาต
เป็ นการเฉพาะซึ่งต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด12

5
ข้อ 1 แห่งกฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. (2551, 23 พฤษภาคม).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 (ตอนที่ 70 ก), หน้า 7.
6
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 15.
7
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 16.
8
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 17.
9
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 18.
10
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 19.
11
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 21.
12
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 24.
24

ผูป้ ระกอบธุ ร กิ จโรงแรมต้อ งแต่ง ตั้ง ผูจ้ ดั การคนหนึ่ ง เป็ นผูม้ ีห น้า ที่จดั การโรงแรม13
โดยจะเป็ นคนเดียวกันกับผูป้ ระกอบธุรกิจโรงแรมก็ได้
ทั้งนี้ มีขอ้ สังเกตมาตรา 654 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ใช้ถอ้ ยคาว่า “เจ้าสานัก
โรงแรม” หมายถึง บรรดาผูค้ วบคุ มและจัดการสถานที่ทุกชนิ ดที่จดั ตั้งขึ้ นเพื่อรับสิ นจ้างสาหรับ
คนเดินทางหรื อบุคคลที่หาที่อยูท่ ี่พกั ชัว่ คราว14 ไม่วา่ จะมีชื่อเรี ยกว่า โรงแรม โฮเต็ล โมเต็ล รี สอร์ ท
บังกะโลก็ตาม โดยได้รับค่าตอบแทน15 ซึ่ งย่อมครอบคลุ มทั้งผูป้ ระกอบธุ รกิจโรงแรมหรื อเจ้าของ
โรงแรมและผูจ้ ดั การโรงแรมด้วย 16 โดยผูจ้ ดั การโรงแรมต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกาหนด17
ผูป้ ระกอบธุ รกิจโรงแรมและผูจ้ ดั การโรงแรมต้องมีหน้าที่ตามที่กฎหมายบัญญัติ 18 ต้องจัดทาบันทึก
รายการต่ า ง ๆ เกี่ ย วกับ ผูพ้ กั และจ านวนผูพ้ กั 19 พระราชบัญ ญัติโ รงแรม พ.ศ. 2547 ได้ก าหนด
หลักเกณฑ์สาหรับการกากับการประกอบธุ รกิจโรงแรมโดยให้อานาจนายทะเบียนโรงแรมมีอานาจ
ออกค าสั่ ง ระงับ การกระท าใด ๆ สั่ ง ให้ แก้ไ ขหรื อมี ค าสั่ ง เพิ ก ถอนใบอนุ ญาต หากมี ก ารฝ่ าฝื น
ไม่ปฏิ บตั ิตามกฎหมาย ซึ่ งผูท้ ี่ได้รับผลกระทบจากการออกคาสั่งใด ๆ ของนายทะเบียนโรงแรม
มีสิทธิ ที่จะยื่น อุ ท ธรณ์ คาสั่ง ของนายทะเบี ย นโรงแรม โดยคณะกรรมการส่ ง เสริ ม และกากับ
ธุ ร กิ จ โรงแรมมีอานาจพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ และแจ้งคาวินิจฉัยพร้อมด้วยเหตุผลเป็ นหนังสื อ
ไปยังนายทะเบียนและผูอ้ ุทธรณ์ทราบ สาหรั บการฝ่ าฝื นหรื อไม่ปฏิ บตั ิตามพระราชบัญญัติโรงแรม
พ.ศ. 2547 ได้ก าหนดบทลงโทษไว้ 2 ประเภท คื อ บทก าหนดโทษทางปกครองและบทก าหนด
โทษทางอาญา
การขออนุ ญาตประกอบธุ รกิ จโรงแรมหากประกอบธุ รกิ จให้บริ การที่พกั หากมีลกั ษณะ
เข้าข่ายตามบทนิ ยามของคาว่า โรงแรม” ตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 แล้ว ผูป้ ระกอบธุ รกิ จ
โรงแรมต้อ งปฏิ บ ัติ ต ามเงื่ อ นไขและมาตรการต่ า งๆ ตามพระราชบัญ ญัติ โ รงแรม พ.ศ. 2547
จะต้อ งยื่ น ขออนุ ญ าตและต้อ งได้ รั บ อนุ ญ าตจากนายทะเบี ย นโรงแรมก่ อ นจึ ง จะสามารถ

13
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 30.
14
พลประสิ ทธิ์ ฤทธิ์รักษา. (2535). สรุปวิชากฎหมายยืมฝากทรัพย์ เก็บของในคลังสินค้ าประนีประนอมยอมความการพนัน
ขันต่ อ. กรุ งเทพฯ: วิญญูชน. หน้า 95.
15
ไผทชิต เอกจริ ยกร. (2559). คาอธิบายยืมฝากทรัพย์ (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุ งเทพฯ: วิญญูชน. หน้า 259.
16
นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์. (2558). หลักกฎหมายเอกเทศสัญญาลักษณะยืม-ฝากทรั พย์ . กรุ งเทพฯ: วิญญูชน.
หน้า 272.
17
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 33.
18
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 34.
19
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 35.
25

ประกอบธุรกิจโรงแรมได้20 มิฉะนั้นจะมีความผิดตามกฎหมายซึ่ งมีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรื อปรับ


ไม่ เ กิ น 20,000 บาท หรื อ ทั้ง จ าทั้ง ปรับ และมีโ ทษปรับ รายวัน อีก วัน ละไม่เ กิน 10,000 บาท
ตลอดเวลาที่ยงั ฝ่ าฝื นอยู่21 เว้นแต่โรงแรมเปิ ดดาเนิ นกิ จการมาก่อนหรื อในวันที่ 12 พฤษภาคม 2548
ให้ ประกอบธุ รกิ จต่ อไปได้ โดยต้องมายื่ นค าขออนุ ญาตต่ อนายทะเบี ยนภายใน 1 ปี นับแต่ ว นั ที่
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การอนุญาตประกอบธุ รกิจโรงแรมตามมาตรา 13 มีผลใช้
บังคับ22 โดยไม่มีความผิดฐานประกอบธุ รกิ จโรงแรมโดยไม่ไ ด้รับ อนุ ญาตตามพระราชบัญญัติ
โรงแรม พ.ศ. 2547 แต่อาจมีความผิดตามกฎหมายอื่น ๆ ได้ เช่น กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
กฎหมายว่าด้วยการผังเมือง กฎหมายว่าด้วยการส่ งเสริ มและรักษาคุ ณภาพสิ่ งแวดล้อม และกฎหมาย
ว่าด้วยการสาธารณสุ ข เป็ นต้น
3.1.2 กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 255123
ตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 มาตรา 4 มาตรา 524 และมาตรา 1325 ได้ให้อานาจ
ในการออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ในการประกอบธุ รกิจโรงแรม ซึ่ งในปี พ.ศ. 2551
20
มาตรา 15 ห้ามมิให้ผใู ้ ดประกอบธุรกิจโรงแรม เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน การขอใบอนุญาต
และการออกใบอนุญาตให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนด
21
มาตรา 59 ผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา 15 วรรคหนึ่ ง ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่ งปี หรื อปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
หรื อทั้งจาทั้งปรับและปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทตลอดเวลาที่ยงั ฝ่ าฝื นอยู่
22
มาตรา 63 ผูใ้ ดประกอบธุรกิจโรงแรมโดยไม่ได้รับใบอนุญาตอยูก่ ่อนหรื อในวันที่พระราชบัญญัติน้ ี ใช้บงั คับ
ถ้าประสงค์จะประกอบธุรกิจโรงแรมต่อไปต้องยื่นคาขอรับใบอนุญาตต่อนายทะเบียนภายในหนึ่ งปี นับแต่วนั ที่
กฎกระทรวงซึ่ งออกตามมาตรา 13 ใช้บงั คับเมื่อได้ยื่นคาขอรับใบอนุญาตแล้วให้ นายทะเบียนรับคาขอดังกล่าว
เพื่อดาเนิ นการต่อไปตามพระราชบัญญัติน้ี และให้ผูน้ ้ ันประกอบธุรกิจโรงแรมต่อไปได้จนกว่าจะได้รับแจ้ง
การไม่อนุญาตจากนายทะเบียน
23
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุ รกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. (2551, 23 พฤษภาคม).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 (ตอนที่ 70 ก), หน้า 7.
24
มาตรา 5 ให้รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี และให้มีอานาจแต่งตั้งนายทะเบียน
ออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติน้ ี ยกเว้นค่าธรรมเนียม และกาหนดกิจการ
อื่นหรื อออกประกาศเพื่อปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี
กฎกระทรวงและประกาศนั้นเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บงั คับได้
25
มาตรา 13 เพื่อประโยชน์ในการกาหนดและควบคุมมาตรฐานของโรงแรม ส่ งเสริ มการประกอบธุรกิจโรงแรม
และส่ งเสริ มและรั กษาคุ ณภาพสิ่ งแวดล้อม ความมัน่ คงแข็งแรง สุ ขลักษณะหรื อความปลอดภัยของโรงแรม
รัฐมนตรี โดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดประเภทของโรงแรม และกาหนด
หลักเกณฑ์และเงื่ อนไขเกี่ ยวกับสถานที่ ต้ งั ขนาด ลักษณะสิ่ งอานวยความสะดวก หรื อมาตรฐานการประกอบ
ธุรกิจของโรงแรม ทั้งนี้ เงื่อนไขดังกล่าวให้รวมถึงการห้ามประกอบกิจการอื่นใดในโรงแรมด้วย
26

กระทรวงมหาดไทยได้ออกกฎกระทรวงโดยอาศัย อานาจตามบทบัญญัติดัง กล่ า วโดยใช้ชื่ อว่า


กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์ก ารประกอบธุ รกิ จโรงแรม พ.ศ. 2551 ซึ่ งในข้อ 1
แห่ ง กฎกระทรวงดัง กล่ า วก าหนดไว้ว่า “ให้ ส ถานที่ พ กั ที่ มี จ านวนห้ อ งพัก ในอาคารเดี ย วกัน
หรื อหลายอาคารรวมกันไม่เกิน 4 ห้องและมีจานวนผูพ้ กั รวมกันทั้งหมดไม่เกิน 20 คนซึ่ งจัดตั้งขึ้น
เพื่อให้บริ ก ารที่พกั ชัว่ คราวสาหรับคนเดิ นทางหรื อบุค คลอื่นใดโดยมีค่าตอบแทนอันมีล กั ษณะ
เป็ นการประกอบกิ จการเพื่อหารายได้เสริ มและได้แจ้งให้นายทะเบียนทราบตามแบบที่ รัฐมนตรี
กาหนดไม่เป็ นโรงแรมตาม (3) ของบทนิยามคาว่า “โรงแรม” ในมาตรา 4”
โดยเหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับดังกล่าวเกิดขึ้นจากความนิ ยมการท่องเที่ยว
เชิ งอนุรักษ์ในปั จจุบนั ทาให้แต่ละท้องถิ่นมีการประกอบธุ รกิจให้บริ การสถานที่พกั แรมขนาดเล็ก
เพื่อสร้างรายได้เสริ มให้แก่คนในท้องถิ่นและส่ งเสริ มกิจการท่องเที่ยวรวมทั้งเผยแพร่ และอนุ รักษ์
ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่นเช่นนี้ เพื่อประโยชน์ในการส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจ
ที่พกั แรมดังกล่าว กฎหมายจึงกาหนดให้สถานที่พกั ขนาดเล็กซึ่ งมีห้องพักไม่เกิน 4 ห้องและมีจานวน
ผู ้พ ัก ไม่ เ กิ น 20 คน ซึ่ งให้ บ ริ การเพื่ อ หารายได้ เ สริ มไม่ เ ป็ นโรงแรมตามมาตรา 4 (3) แห่ ง
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 254726
นอกจากข้อยกเว้นตามมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 แล้ว
กฎกระทรวงก าหนดประเภทและหลัก เกณฑ์ก ารประกอบธุ รกิ จโรงแรม พ.ศ. 2551 ได้ก าหนด
หลักเกณฑ์ ข้อยกเว้นไว้สถานที่พกั ที่ไม่เป็ นโรงแรมและประเภทของโรงแรมต้องมีองค์ประกอบ
ดังนี้27
1) สถานที่พกั ที่มีจานวนห้องพักในอาคารเดียวกันหรื อหลายอาคารรวมกันไม่เกิน 4
ห้อง
2) มีจานวนผูพ้ กั รวมกันทั้งหมดไม่เกิน 20 คน (พิจารณาจากเตียง ที่นอน อุปกรณ์
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผูพ้ กั
3) ซึ่ งจัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริ การที่พกั ชัว่ คราวสาหรับคนเดินทางหรื อบุคคลอื่นใด

กฎกระทรวงตามวรรคหนึ่ ง รั ฐ มนตรี จะก าหนดหลัก เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขเกี่ ย วกับ สถานที่ ต้ ัง


ขนาด ลักษณะสิ่ งอานวยความสะดวก และมาตรฐานการประกอบธุรกิจของโรงแรมแต่ละประเภทให้แตกต่างกัน
ก็ ไ ด้ ทั้ง นี้ โดยค านึ ง ถึ ง ลัก ษณะของท้อ งที่ ที่ โ รงแรมตั้ง อยู่ห รื อความจ าเป็ นในการควบคุ ม ดู แ ลโรงแรม
ในแต่ละประเภทหรื อความเหมาะสมกับลักษณะของโรงแรมแต่ละประเภท
26
หมายเหตุทา้ ยกฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551.
27
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 1 ออกโดยอาศัยอานาจ
ตามความใน (3) ของบทนิยามมีคาว่า “โรงแรม” ในพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547. มาตรา 4.
27

4) การประกอบกิจการต้องเป็ นการประกอบกิจการที่ไม่ใช่อาชีพหลัก
5) ต้องแจ้งให้นายทะเบี ยนทราบตามแบบหนังสื อแจ้งสถานที่ พกั ที่ ไม่เป็ นโรงแรม
ตามกฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุ รกิจโรงแรม พ.ศ. 2551
กล่าวโดยสรุ ป สถานที่พกั ซึ่ งมีวตั ถุประสงค์ในทางธุ รกิจเพื่อให้บริ การสาหรับคนเดินทาง
หรื อบุ คคลอื่ นใดที่ เรี ย กเก็ บค่ าที่ พ กั ต่ ากว่า เดื อนลงไปและไม่ เข้าข้อยกเว้นดังที่ กล่ า วมาข้างต้น
ถือเป็ น “โรงแรม” ตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 ทั้งสิ้ นไม่วา่ จะมีชื่อเรี ยกว่าอย่างไรก็ตาม
กฎหมายก าหนดให้ ส ถานที่ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ต้ อ งแจ้ ง ต่ อ นายทะเบี ย นโรงแรม
โดยหลักเกณฑ์ในการแจ้งและรับแจ้งตามแบบที่รัฐมนตรี กาหนดนั้นประกอบไปด้วย28
1) ชื่อ สกุล อายุ อาชีพ เลขประจาตัวประชาชน และภูมิลาเนา
2) แจ้งชื่ อสถานที่พกั ที่ไม่เป็ นโรงแรมและประสงค์จะตั้งเป็ นที่ให้พกั แรม โดยอาจ
ตั้งอยูใ่ นภูมิลาเนาของผูแ้ จ้งหรื อสถานที่อื่นก็ได้
3) แจ้งราคาห้องพัก
4) ระบุลกั ษณะที่พกั
5) ระบุสิทธิ ในที่ดินอันเป็ นที่ต้ งั ของที่พกั ว่า มีเอกสารสิ ทธิ์ หรื อไม่มีเอกสารสิ ทธิ์
6) แนบหลักฐานสาเนาทะเบียนบ้าน สาเนาบัตรประชาชน แผนที่ต้ งั ของสถานที่พกั
7) สถานที่ ยื่น แบบหนังสื อแจ้ง ในกรุ งเทพมหานคร ยื่น ณ ศูนย์บริ ก ารประชาชน
กรมการปกครอง ถนนนครสวรรค์ เขตดุ สิ ต ในจัง หวัด อื ่น ยื ่น ณ ที ่ ว ่า การอ าเภอท้อ งที่
ที่ ต้ งั สถานที่ พกั ที่ไม่เป็ นโรงแรม
เมื่อได้แจ้งการประกอบกิจการสถานที่พกั ที่ไม่เป็ นโรงแรมแล้วจะได้รับหนังสื อรับแจ้ง
สถานที่พกั ที่ไม่เป็ นโรงแรมตามกฎกระทรวงนี้ โดยแสดงว่า บุคคลตามชื่ อและสกุลที่ได้ยื่น แบบ
หนัง สื อ แจ้ง เป็ นผูไ้ ด้รั บ การยกเว้น ให้ ป ระกอบธุ ร กิ จ สถานที่ พ กั ที่ ไ ม่ เ ป็ นโรงแรม ตามข้อ 1
แห่ ง กฎกระทรวงก าหนดประเภทและหลั ก เกณฑ์ ก ารประกอบธุ ร กิ จ โรงแรม พ.ศ. 2551
ทั้ง นี้ กฎกระทรวงมิ ได้กาหนดหลักเกณฑ์หรื อมาตรฐานในการพิ จารณาประกอบหนังสื อรั บแจ้ง
แต่อย่างใดและขาดหลักเกณฑ์ทางกฎหมายเพื่อกาหนดมาตรการในการส่ ง เสริ มและกากับดู แล
เพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ ผูใ้ ช้บ ริ ก ารต่ า งไปจากการประกอบธุ ร กิ จ โรงแรมซึ่ งถู ก ก าหนดหลัก เกณฑ์
และมาตรฐานในการกาหนดควบคุมและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจไว้อย่างชัดเจน

28
แบบหนังสื อแจ้งสถานที่พกั ไม่เป็ นโรงแรมตามกฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจ
โรงแรม พ.ศ. 2551.
28

กฎกระทรวงก าหนดประเภทและหลัก เกณฑ์ ก ารประกอบธุ ร กิ จ โรงแรม พ.ศ. 2551


ได้แบ่งโรงแรมเป็ น 4 ประเภท ดังต่อไปนี้29
1) โรงแรมประเภท 1 หมายความว่า โรงแรมที่ให้บริ การเฉพาะห้องพัก
2) โรงแรมประเภท 2 หมายความว่า โรงแรมที่ให้บริ การห้องพักและอาหารหรื อ
สถานที่สาหรับบริ การอาหารหรื อสถานที่สาหรับประกอบอาหาร
3) โรงแรมประเภท 3 หมายความว่า โรงแรมที่ให้บริ การห้องพัก ห้องอาหารหรื อ
สถานที่สาหรับบริ การอาหารหรื อสถานที่สาหรับประกอบอาหารและสถานบริ การตามกฎหมาย
ว่าด้วยสถานบริ การหรื อห้องประชุมสัมมนา
4) โรงแรมประเภท 4 หมายความว่า โรงแรมที่ให้บริ การห้องพัก ห้องอาหารหรื อ
สถานที่ สาหรับบริ การอาหารหรื อสถานที่สาหรับประกอบอาหาร สถานบริ การตามกฎหมายว่าด้วย
สถานบริ การและห้องประชุมสัมมนา
ทั้งนี้ กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุ รกิจโรงแรม พ.ศ. 2551
ก าหนดให้ธุ รกิ จที่ พ กั แรมตามบทนิ ย าม “โรงแรม” ตามมาตรา 4 แห่ ง พระราชบัญญัติดัง กล่ า ว
ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์และสาระสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมอาคาร สิ่ งปลูกสร้างและสิ่ งอานวย
ความสะดวกภายในโรงแรม ดังต่อไปนี้
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขสาหรับโรงแรมทุกประเภท
1) สถานที่ต้ งั ของโรงแรมต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนี้30
(1.1) ตั้งอยู่ในทาเลที่ เหมาะสม ไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพและอนามัยของผูพ้ กั
และมีการคมนาคมสะดวกและปลอดภัย
(1.2) เส้นทางเข้าออกโรงแรมต้องไม่ก่อให้เกิดปั ญหาด้านการจราจร
(1.3) ในกรณี ที่ใช้พ้ืนที่ ประกอบธุ รกิ จโรงแรมในอาคารเดี ยวกันกับการประกอบ
กิ จการอื่ นต้อ งแบ่ ง สถานที่ ใ ห้ ชัด เจนและการประกอบกิ จ การอื่ น ต้อ งไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การ
ประกอบธุ รกิจโรงแรม
(1.4) ไม่ต้ งั อยูใ่ นบริ เวณหรื อใกล้เคียงกับโบราณสถาน ศาสนสถาน หรื อสถานอัน
เป็ นที ่เ คารพในทางศาสนา หรื อ สถานที ่อื ่น ใดอัน จะท าให้เ กิ ด ทัศ นี ย ภาพที ่ไ ม่เ หมาะสม
กระทบต่อความมัน่ คงและการดารงอยู่ของสถานที่ดงั กล่าว หรื อจะทาให้ขดั ต่อขนมธรรมเนี ยม
ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น
29
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551 ข้อ 2 ออกโดยอาศัยอานาจ
ตามความในมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547.
30
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 3.
29

2) การบริ การและสิ่ งอานวยความสะดวกสาหรับผูพ้ กั 31


(2.1) สถานที่ลงทะเบียนผูพ้ กั
(2.2) โทรศัพท์หรื อระบบการติดต่อสื่ อสารทั้งภายในและภายนอกโรงแรม โดยจะจัด
ให้มีเฉพาะภายนอกห้องพักก็ได้ แต่ตอ้ งมีจานวนเพียงพอต่อการให้บริ การแก่ผพู ้ กั
(2.3) การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการส่ งต่อผูป้ ่ วยไปยังสถานพยาบาลใกล้เคียง
(2.4) ระบบรักษาความปลอดภัยอย่างทัว่ ถึงตลอดยีส่ ิ บสี่ ชวั่ โมง
(2.5) โรงแรมต้อ งจัด ให้ มี ห้ อ งน้ า และห้ องส้ ว มในส่ ว นที่ ใ ห้บ ริ ก ารสาธารณะ
โดยจัดแยกส่ วนสาหรับชายและหญิงและต้องรักษาความสะอาดอย่างสม่าเสมอ32
(2.6) ห้องพักต้องไม่มีรูปแบบทางสถาปั ตยกรรมที่มีลกั ษณะเหมือนหรื อคล้ายหรื อมุ่ง
หมายให้เหมือนหรื อคล้ายกับศาสนสถานหรื อสถานอันเป็ นที่เคารพในทางศาสนา33
(2.7) ห้ อ งพัก ต้อ งมี เ ลขที่ ป ระจ าห้ อ งพัก ก ากับ ไว้ทุ ก ห้ อ งเป็ นตัว เลขอารบิ ก
โดยให้แสดงไว้บริ เวณด้านหน้าห้องพักที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนและในกรณี ที่โรงแรมใด
มีหลายอาคารเลขที่ประจาห้องพักแต่ละอาคารต้องไม่ซ้ ากัน ประตูห้องพักให้มีช่องหรื อวิธีการอื่น
ที่สามารถมองจากภายในสู่ ภายนอกห้องพักได้และมี กลอนหรื ออุ ป กรณ์ อื่นที่ สามารถล็ อกจาก
ภายในห้องพักทุกห้อง34
(2.8) สถานที่ จ อดรถของโรงแรมที่ อ ยู่ ติ ด ห้ อ งพัก ต้ อ งไม่ มี ล ั ก ษณะมิ ด ชิ ด
และต้องสามารถมองเห็นรถที่จอดอยูไ่ ด้ตลอดเวลา35
(2.9) อาคารสาหรับใช้เป็ นโรงแรมที่ต้ งั อยูใ่ นท้องที่ที่มีกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
อาคารใช้บ งั คับ ต้องมีหลักฐานแสดงว่าได้รับอนุ ญาตให้ใ ช้อาคารเป็ นโรงแรมหรื อมีใ บรับรอง
การตรวจสภาพอาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร36
(2.10) อาคารสาหรั บใช้เป็ นโรงแรมที่ ต้ งั อยู่ในท้องที่ ที่ไม่มีกฎหมายว่าด้วยการ
ควบคุ มอาคารใช้บงั คับต้องมี ใบรั บรองการตรวจสอบสภาพอาคารว่ามี ความมัน่ คงแข็งแรงและ
ปลอดภัยโดยผูซ้ ่ ึ งได้รับ ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชี พวิศวกรรมควบคุ มหรื อผูซ้ ่ ึ งได้รับใบอนุ ญาต
ประกอบวิชาชี พสถาปั ตยกรรมควบคุ มตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นและผ่านการตรวจพิจารณาจาก

31
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 4.
32
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 5.
33
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 6.
34
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 7.
35
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 8.
36
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 9.
30

นายทะเบียนว่าเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนดในข้อ 11 ข้อ 12 ข้อ 13 ข้อ 14 ข้อ 15 ข้อ


16 และข้อ 1737
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขสาหรับโรงแรมแต่ละประเภท
โรงแรมแต่ละประเภทต้องปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1) โรงแรมประเภทที่ 1 ต้อง (1) มีห้องพักไม่เกิน 50 ห้อง (2) ห้องทุกห้องมีพ้ืนที่ใช้
สอยไม่นอ้ ยกว่า 8 ตารางเมตร ไม่รวมห้องน้ าห้องส้วมและระเบียงห้องพัก (3) มีห้องน้ าห้องส้วม
เพียงพอแก่ผพู ้ กั 38
2) โรงแรมประเภทที่ 2 (1) ห้องพักทุกห้องต้องมีพ้ืนที่ใช้สอยไม่นอ้ ยกว่า 8 ตาราง
เมตร ไม่รวมห้องน้ าห้องส้วมและระเบียงห้องพัก (2) มีห้องน้ าและห้องส้วมที่ถูกสุ ขลักษณะสาหรับ
ผูพ้ กั 39
3) โรงแรมประเภท 3 และประเภท 4 ต้อง (1) ห้องพักทุกห้องต้องมีพ้ืนที่ใช้สอยไม่นอ้ ย
กว่า 14 ตารางเมตร ไม่ ร วมห้ อ งน้ า ห้ อ งส้ ว มและระเบี ย งห้ อ งพัก (2) มี ห้ อ งน้ า และห้ อ งส้ ว ม
ที่ ถู ก สุ ข ลัก ษณะในห้อ งพัก ทุก ห้อ ง (3) กรณี ม ีห ้อ งพัก ไม่เ กิน 80 ห้อ ง ห้า มมีส ถานบริ ก าร
ตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริ การ40
3.1.3 ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อ ง หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารในการพิ จ ารณา
การขอใบอนุญาตและการออกใบอนุญาตให้ ประกอบธุรกิจโรงแรม41
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 15 แห่ งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547
สามารถสรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้
1) ผูใ้ ดประสงค์จะประกอบธุ รกิจโรงแรมให้ยื่นคาขอรับใบอนุ ญาต ต่อนายทะเบียน
ท้องที่ที่โรงแรมตั้งอยูพ่ ร้อมด้วยเอกสารหลักฐาน เช่น (1) สาเนาบัตรประจาตัวประชาชนและสาเนา
ทะเบี ย นบ้า นบ้า น (2) แบบแปลนแผนผัง (3) แผนที่ แสดงบริ เวณและสถานที่ ต้ งั ของโรงแรม
และสถานที่ใกล้ เคียง (4) หลักฐานแสดงว่าอาคารที่ใช้ในการประกอบธุ รกิจโรงแรมได้รับอนุญาต
ให้ใช้อาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการการควบคุมอาคาร (5) หลักฐานแสดงถึงสิ ทธิ ที่จะใช้อาคาร

37
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 10.
38
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 18.
39
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 19.
40
กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2551. ข้อ 20.
41
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการพิจารณาการขอใบอนุ ญาตและการออก
ใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจโรงแรม. (2552, 11 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 126 (ตอนพิเศษ 164 ง),
หน้า 47.
31

หรื อ สถานที่ ประกอบธุ รกิ จโรงแรม (6) หนังสื อรั บรองการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบ
สิ่ งแวดล้อม (กรณี ตอ้ งจัดทารายงานฯ ตามกฎหมายว่าด้วยการส่ งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม
แห่งชาติ) เป็ นต้น42
เมื่ อ นายทะเบี ย นได้รั บ ค าขอรั บ ใบอนุ ญ าตตามวรรคหนึ่ งแล้ว ให้ น ายทะเบี ย น
ตรวจสอบความถู ก ต้อง ครบถ้ว นของคาขอ หากปรากฏไม่ ถู ก ต้อ ง ครบถ้ว น ให้น ายทะเบี ย น
แจ้ง ผลการตรวจสอบให้ผขู ้ อรับใบอนุญาตทราบ แก้ไขภายในกาหนดระยะเวลา หากพ้นกาหนด
ผูข้ อฯ ไม่สามารถดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องให้นายทะเบียนคืนคาขอ แก่ผขู ้ อรับใบอนุญาต
กรณี ผขู้ อรับใบอนุญาตยืนยันความถูกต้องครบถ้วนของเอกสารแล้ว ให้นายทะเบียน
ดาเนินการต่อไป ซึ่งการยืน่ เอกสารตาม (4) และ (6) นั้น ผูข้ ออนุ ญาตประกอบธุ รกิจโรงแรมอาจยื่น
คาขอ ตามแบบที่ก ฎหมายว่า ด้ว ยการนั้น ก าหนดต่อ นายทะเบีย นพร้ อ มกับ การยื่น คาขอก็ไ ด้
กรณี เช่นนี้ให้นายทะเบียนส่ งแบบคาขอดังกล่าวพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องไปให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ
พิจารณาดาเนินการ และให้นายทะเบียนรอการพิจารณาออกใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจโรงแรมไว้ก่อน
จนกว่า จะได้รั บ ผลการพิ จ ารณาจากหน่ ว ยงานที่ รั บ ผิด ชอบและให้ ถื อว่า ค าขอรั บ ใบอนุ ญ าต
ตามกฎหมายอื ่ น ที ่ เ กี ่ ย วข้อ งกับ การประกอบธุ ร กิ จ โรงแรม เป็ นค าขอรั บ ใบอนุ ญ าต
ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
2) เมื่อนายทะเบียนได้รับเรื่ องการขออนุ ญาตฯ นายทะเบียนอาจแจ้งคณะกรรมการ
พิ จารณากลั่นกรองการดาเนิ นการตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 ไปดาเนิ นการตรวจ
โรงแรมตามหลัก เกณฑ์ที ่ก าหนดตามกฎหมายว่า ด้ว ยโรงแรม ให้เ สร็ จ สิ ้ น ภายในยี ่สิ บ วัน
นับ แต่วนั ได้รับคาขอ และให้รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมเสนอความเห็นต่อนายทะเบีย น
โรงแรมเพื่อพิจารณาดาเนินการต่อไป43
3) ในกรณี ดงั ต่อไปนี้ให้นายทะเบียนพิจารณาไม่อนุญาตให้ประกอบธุ รกิจโรงแรม44
(1) กรณี ผูข้ อรั บใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิ จโรงแรมขาดคุ ณสมบัติ หรื อมี ล ักษณะ
ต้องห้ามตามมาตรา 16

42
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการพิจารณาการขอใบอนุ ญาตและการออก
ใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจโรงแรม ข้อ 1.
43
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการพิจารณาการขอใบอนุ ญาตและการออก
ใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจโรงแรม ข้อ 3.
44
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการพิจารณาการขอใบอนุ ญาตและการออก
ใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจโรงแรม ข้อ 4.
32

(2) กรณี ที่ผขู ้ อรับใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจโรงแรมเป็ นคนต่างด้าวขาดคุณสมบัติ


หรื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุ รกิจของคนต่างด้าว
(3) อาคารหรื อสถานที่ต้ งั ไม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง
กาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุ รกิจโรงแรม
(4) ที่ ดิ น และอาคารที่ ใ ช้เ ป็ นที่ ต้ งั โรงแรมผูข้ ออนุ ญ าตไม่ เ ป็ นผูถ้ ื อ กรรมสิ ท ธิ์
หรื อไม่มีสิทธิ ครอบครองหรื อไม่มีสิทธิ ใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารดังกล่าว เช่ น สิ ทธิ ในการเช่ า
การยินยอมให้ใช้ประโยชน์ในที่ดินและอาคารเพื่อประกอบธุ รกิจโรงแรม เป็ นต้น
(5) อาคารที่ อยู่ภายใต้บงั คับตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุ มอาคาร ก่ อสร้ า งไม่
ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร กฎหมายว่าด้วยการผังเมือง
กฎหมายว่าด้วยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุ ข และกฎหมาย
ว่าด้วยการส่ งเสริ มและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ
(6) เหตุสาคัญอย่างอื่น ๆ ที่ปรากฏชัดทาให้ไม่สมควรประกอบธุ รกิจโรงแรม
3.1.4 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 252245
สถานที่พกั แรมในปั จจุบนั มีหลากหลายรู ปแบบ เช่ น ตึ กขนาดใหญ่ บ้านเดี่ยว บ้านทรง
ไทย บ้านสวน กระท่อมไม้ บังกะโล ไม้เรื อน บ้านต้นไม้ เรื อนแพ เป็ นต้น ซึ่ งภายในที่พ กั แรม
ก็ม กั มีสิ่ ง ปลูก สร้ า งและสิ่ ง อานวยความสะดวกที่มีรู ป ลัก ษณ์แ ปลกตา เน้น ความสร้า งสรรค์
สวยงาม เพื่อดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว เมื่อสถานที่พกั แรมถูกใช้เป็ นที่รองรับนักท่องเที่ยว
จานวนมาก ความมัน่ คง แข็ง แรงของอาคารรวมทั้ง ความปลอดภัย ของนัก ท่องเที่ย วผูใ้ ช้อาคาร
จึง เป็ นเรื่ อ งสาคัญ อย่า งยิ่ง จึงทาให้รัฐต้องกาหนดมาตรการทางกฎหมายสาหรับควบคุ มอาคาร
สิ่ งปลูกสร้ างและสิ่ งอานวยความสะดวกภายในที่พกั แรมเพื่อให้มีสภาพมัน่ คง แข็งแรง มีระบบ
ป้ องกันภัยที่เป็ นมาตรฐานและปลอดภัยแก่ผใู ้ ช้อาคาร
พระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 มาตรา 34 (8) ได้กาหนดแนวปฏิ บตั ิของผูป้ ระกอบ
ธุ ร กิ จ โรงแรมและผู จ้ ดั การโรงแรมให้ม ี ห น้า ที ่ แ ละความรั บ ผิด ชอบร่ ว มกัน ดู แ ลรั ก ษา
สภาพของโรงแรมให้มีความมัน่ คง แข็งแรงของอาคารจึงต้องเป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุม
อาคารและคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
มาตรการทางกฎหมายควบคุ มอาคารและสิ่ งปลู กสร้ างของที่ พกั แรม หากเป็ นโรงแรม
ตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 ย่อมอยูภ่ ายใต้มาตรา 34 (8) ที่กาหนดให้ธุรกิจที่พกั แรม

45
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522. (2560, 11 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ม 126 (ตอนที่ 18 ก),
หน้า 1.
33

มี ห น้า ที่ ดูแ ลรัก ษาสภาพของโรงแรมให้ม ีค วามมัน่ คงแข็ง แรงตามกฎหมายควบคุ ม อาคาร


และคาสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่ น ซึ่ งจะอยู่ภายใต้ดุลพินิจของนายทะเบียนโรงแรมด้วยวิธีกากับ
การควบคุม ทางทะเบี ยนและใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ โรงแรมตามมาตรา 18 และมาตรา 22
รวมถึงข้อ 3 แห่งกฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุ รกิจโรงแรม พ.ศ. 2551
ที่ ก าหนดให้ ส ถานที่ ต้ งั ของโรงแรมต้องตั้ง อยู่ใ นท าเลที่ เ หมาะสม ไม่ เป็ นอันตรายต่ อสุ ข ภาพ
มี เ ส้ น ทางเข้ า ออกและการคมนาคมที่ ส ะดวกและปลอดภั ย ตลอดจนข้ อ 9 และข้ อ 10
แห่ งกฎกระทรวงได้กาหนดให้มีการตรวจสอบสภาพความมัน่ คงแข็งแรงและปลอดภัยของอาคาร
ที่ใช้เป็ นโรงแรม โดยผูไ้ ด้รับ ใบอนุ ญ าตประกอบวิช าชี พ สถาปั ต ยกรรมควบคุม ตามกฎหมาย
และผ่านการตรวจพิจารณาจากนายทะเบียนอีกครั้งหนึ่ง
พระราชบัญญัติควบคุ มอาคาร พ.ศ. 2522 มาตรา 32 (1) ได้ก าหนดให้อาคารส าหรั บ
ใช้เป็ นโรงแรมเป็ นอาคารประเภทควบคุมการใช้ กล่าวคือ เมื่อได้รับอนุ ญาตให้ก่อสร้ าง ดัดแปลง
หรื อเคลื่อนย้ายอาคาร หรื อได้รับใบรับแจ้งตามมาตรา 39 ทวิ และดาเนิ นการเสร็ จแล้วก่อนจะเข้าใช้
พื้นที่อาคารเพื่อเป็ นโรงแรม ต้องแจ้งเป็ นหนังสื อให้เจ้าพนักงานท้องถิ่ นทราบเพื่อให้เจ้าพนักงาน
ท้องถิ่ นดาเนิ นการตรวจสอบการก่ อสร้ าง ดัดแปลง หรื อเคลื่ อนย้ายอาคารนั้นและออกใบรับรอง
ให้ แ ก่ ผู ้ไ ด้รั บ ใบอนุ ญ าต หรื อ แจ้ง ตามมาตรา 39 ทวิ เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ อ าคารนั้น ได้ต ามที่
ได้รับอนุญาตหรื อตามที่ได้แจ้งไว้ตามมาตรา 39 ทวิ
1) ด้านความปลอดภัย
(1.1) มาตรการควบคุมอาคารสิ่ งปลูกสร้างและสิ่ งอานวยความสะดวก
มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ได้กาหนดว่า “อาคาร”
หมายถึง ตึก บ้าน เรื อน โรง ร้าน แพ สานักงาน และสิ่ งที่สร้างขึ้นอย่างอื่น ซึ่ งบุคคลอาจเข้าอยูห่ รื อเข้า
ใช้สอยได้และหมายความรวมถึงสะพาน ทางหรื อท่อระบายน้ า ท่าน้ า ท่าจอด เรื อ กาแพง รั้วหรื อประตู
ที่สร้างขึ้นติดต่อหรื อใกล้เคียงกับที่สาธารณะหรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นให้บุคคลทัว่ ไปใช้สอยและพื้นที่หรื อสิ่ ง
ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็ นที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเข้าออกของรถยนต์ และให้หมายความรวมถึงส่ วน
ต่าง ๆ ของอาคารด้วย
ส่ วน “ผูต้ รวจสอบ” ตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
หมายความว่า ผูซ้ ่ ึงได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรื อผูซ้ ่ ึงได้รับใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพสถาปั ตยกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นแล้วแต่กรณี ซ่ ึ งได้ข้ ึนทะเบียนไว้
ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
34

ทั้งนี้ การตรวจสอบอาคารมี 2 ประเภท ดังนี้ 46


1) การตรวจสอบใหญ่ทุกระยะ 5 ปี ซึ่ งได้แก่
(1.1) การตรวจสอบความมั่น คงแข็ ง แรงของอาคาร เช่ น การต่ อ เติ ม
ดัดแปลง ปรับปรุ งตัวอาคาร การเปลี่ยนแปลงน้ าหนักบรรทุกบนพื้นอาคาร การเปลี่ยนสภาพการใช้
อาคาร การเปลี่ยนแปลงวัสดุก่อสร้างหรื อวัสดุตกแต่งอาคาร การชารุ ดสึ กหรอของอาคาร การวิบตั ิ
ของโครงสร้างอาคาร การทรุ ดตัวของฐานรากอาคาร
(1.2) การตรวจสอบระบบและอุปกรณ์ประกอบของอาคาร เช่น ระบบลิฟต์
ระบบบันไดเลื่อน ระบบไฟฟ้ า ระบบปรับอากาศ ระบบประปา ระบบระบายน้ าเสี ยและกาจัดขยะ
มูลฝอย ระบบระบายอากาศ ระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและทางเสี ยงระบบป้ องกันและระงับ
อัคคีภยั
(1.3) การตรวจสอบสมรรถนะของอุปกรณ์ อพยพผูใ้ ช้อาคารเมื่ อเกิ ดเหตุ
ฉุกเฉิน
(1.4) การตรวจสอบระบบบริ หารจัดการความปลอดภัยภายในอาคาร เช่ น
แผนบริ หารจัดการความปลอดภัยและแผนบริ หารจัดการของผูต้ รวจสอบอาคาร เป็ นต้น
2) การตรวจสอบประจาปี กล่าวคือ ผูต้ รวจสอบอาคารจะทาการตรวจสอบเป็ น
ประจาทุกปี และมีการตรวจสอบในลักษณะเดียวกับแผนการตรวจสอบใหญ่ทุก 5 ปี ที่ได้จดั ทาไว้
ดังนั้น อาจสรุ ปได้ว่า พระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. 2522 มีขอบเขตการใช้
บังคับที่กว้าง เพราะใช้บงั คับกับอาคารซึ่ งใช้ประกอบธุ รกิ จที่ พกั แรมทุ กประเภท ทั้งที่ มีสถานะ
เป็ นโรงแรมตามพระราชบัญ ญัติ โ รงแรม พ.ศ. 2547 และธุ ร กิ จ ที่ พ กั แรมประเภทอื่ น ที่ ไ ม่ ไ ด้
อยู่ภายใต้ก ารก ากับ และดู แลของพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 และกฎกระทรวงก าหนด
ประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุ รกิจโรงแรม พ.ศ. 2551 เพราะลักษณะของสถานที่พกั แรม
ทุก ประเภทซึ่ งได้ แ ก่ โรงแรม รี สอร์ ท โฮเทล โฮมสเตย์ เกสต์ เ ฮาส์ เรื อนแพ เป็ นต้ น
ต่ า งก็ อยู่ใ นความหมายของค าว่า “อาคาร” ตามมาตรา 4 พระราชบัญญัติ ควบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522
ด้วยกันทั้งสิ้ น
2) มาตรการป้ องกันอัคคีภยั
พระราชบัญญัติควบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522 ได้กาหนดว่า โรงแรมที่มีจานวนห้องพัก
ตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไปเป็ นอาคารที่ตอ้ งมีการตรวจสอบอาคารและอุปกรณ์เกี่ยวกับการป้ องกันอัคคีภยั
ในทุกระยะ 5 ปี ดังต่อไปนี้

46
สิ นิทธ์ บุญสิ ทธิ์. (2550). กฎหมายควบคุมอาคาร. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า. หน้า 27.
35

(1) การตรวจสอบระบบป้ องกันและระงับอัคคีภยั ซึ่ งได้แก่ บันไดหนีไฟ ทางหนี


ไฟ เครื่ องหมายและไฟป้ ายทางออกฉุ กเฉิ น ระบบระบายควันและควบคุ มการแพร่ กระจายควัน
ระบบไฟฟ้ าสารองฉุ กเฉิ น ระบบลิ ฟต์ ระบบดับเพลิ ง ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ อุปกรณ์
ดับเพลิง ระบบจ่ายน้ าดับเพลิง เครื่ องสู บน้ าดับเพลิงและหัวฉีดน้ าดับเพลิง ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ

(2) การตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอุปกรณ์ สาหรับอพยพผูใ้ ช้อาคาร ซึ่ ง


ได้แก่ สมรรถนะของบันไดหนี ไ ฟ ทางหนี ไ ฟ เครื่ องหมายป้ ายไฟทางออกฉุ ก เฉิ น ระบบแจ้ง
สัญญาณเหตุเพลิงไหม้
(3) มาตรการจัดแบ่งพื้นที่สาหรับจอดรถยนต์
ในขณะเดิ นทางท่องเที่ยวรถยนต์ถือว่าเป็ นทรัพย์สินที่จาเป็ นและมีมูลค่ามากชิ้ น
หนึ่งสาหรับนักท่องเที่ยวซึ่ งรถยนต์จดั เป็ นเป้ าหมายสาคัญของอาชญากรที่นิยมโจรกรรมเพื่อนาไป
ขายต่อสาหรับหาเงินมาใช้สอยต่อไป เช่ นนี้ รัฐจึงจาเป็ นต้องออกมาตรการทางกฎหมายบังคับให้ผู้
ประกอบธุ รกิ จ ที่ พ กั แรมจัดแบ่ ง พื้ นที่ ภายในบริ เวณที่ พ กั แรมไว้ส าหรั บ ดู แลและรั ก ษารถยนต์
ของนักท่องเที่ยวไม่ให้ถูกงัดแงะหรื อขโมย
โดยพระราชบัญญัติควบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522 กาหนดว่า “อาคาร” หมายความ
รวมถึงพื้นที่หรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็ นที่จอดรถ ที่กลับรถและทางเข้าออกของรถ สาหรับอาคารที่
กาหนดตามมาตรา 8 (9) ซึ่ งมี สาระส าคัญว่า รั ฐมนตรี ว่า การกระทรวงมหาดไทยโดยคาแนะนา
ของคณะกรรมการควบคุ มอาคารมี อ านาจออกกฎกระทรวงเรื่ องพื้ นที่ หรื อสิ่ งที่ สร้ างขึ้ นเพื่ อใช้
เป็ นที่จอดรถ ที่กลับรถและทางเข้าออกของรถ สาหรับอาคารบางชนิ ดหรื อบางประเภทตลอดจน
ลักษณะและขนาดของพื้ นที่ หรื อสิ่ ง ที่ ส ร้ า งขึ้ นดัง กล่ า วเพื่ อ ประโยชน์ แห่ ง ความมัน่ คงแข็ง แรง
ปลอดภัยและการอานวยความสะดวกแก่การจราจร
ทั้งนี้ กฎกระทรวงกาหนดประเภทของอาคารที่ตอ้ งมีที่จอดรถและจานวนที่จอด
รถยนต์ไ ด้ออกโดยอาศัยอานาจตามมาตรา 8 (9) แห่ งพระราชบัญญัติค วบคุ มอาคาร พ.ศ. 2522
ได้กาหนดเรื่ องที่ จอดรถสาหรั บโรงแรมไว้ว่า ข้อ 2 ให้โรงแรมที่ มีพ้ืนที่ ห้องโถงหรื อพื้ นที่ ที่ใ ช้
เพื่อการพาณิ ชยกรรมในหลังเดี ยวหรื อหลายหลังรวมกันตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้ นไป จะต้องมีที่
จอดรถ ที่ ก ลับ รถยนต์และทางเข้าออกรถยนต์ นอกจากนี้ ย งั ได้ก าหนดข้อ ยกเว้น ส าหรั บ กรณี
ที่ โ รงแรมดัง กล่ า วตั้ง อยู่ ใ นพื้ น ที่ ที่ ต ามสภาพธรรมชาติ ไ ม่ ส ามารถน ารถยนต์เ ข้า ไปจอดได้
จะไม่จดั ให้มีที่จอดรถยนต์ ที่กลับรถยนต์หรื อทางเข้าออกรถยนต์ก็ได้ ซึ่ งในเขตท้องที่อื่นที่ไม่ใช่
เขตกรุ งเทพมหานครและมีการบังคับใช้กฎหมายควบคุมอาคารจะต้องคานึงถึงเกณฑ์ของขนาด
พื้นที่ห้องโถงและพื้นที่ที่ใช้เพื่อกิจการพาณิ ชยกรรมแทนโดยมีเกณฑ์วา่ ห้องโถงพื้นที่ 30 ตารางเมตร
36

ให้ มี ที่ จอดรถไม่ น้ อยกว่ า 1 คัน และพื้ น ที่ ที่ ใ ช้ เ พื่ อ การพาณิ ช ยกรรม 40 ตารางเมตร ต้อ งมี ที่
จอดรถยนต์ไม่นอ้ ยกว่า 1 คัน
นอกจากนี้ กฎกระทรวงกาหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุ รกิ จโรงแรม
พ.ศ. 2551 ได้กาหนดไว้วา่ ข้อ 8 สถานที่จอดรถของโรงแรมที่อยูต่ ิดห้องพักต้องมีลกั ษณะมิดชิ ด
และต้องสามารถมองเห็นรถที่จอดอยูไ่ ด้ตลอดเวลา
จากบทบัญ ญัต ิข า้ งต้น พอสรุ ป ได้ว า่ มาตรการทางกฎหมายที ่ก าหนดให้ผู ้
ประกอบธุ รกิจที่พกั แรมจัดแบ่งพื้นที่ไว้สาหรับให้ผเู ้ ข้าพักใช้จอดรถนั้น เป็ นประโยชน์ต่อการรักษา
ความปลอดภัยในทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว เพราะจะทาให้นกั ท่องเที่ยวไม่ตอ้ งนารถไปจอดไกล ๆ
ตามริ มถนนหรื อที่ เปลี่ ยวอื่น ๆ ซึ่ งอาจเป็ นมูลเหตุจูงใจให้คนร้ายโจรกรรมรถยนต์ได้สาเร็ จและ
สะดวกมากขึ้น ซึ่ ง เมื่ อ พิจ ารณาถึ ง ขอบเขตการบัง คับ ใช้จ ะเห็ น ได้ว่า พระราชบัญ ญัติค วบคุ ม
อาคาร พ.ศ. 2522 ใช้บงั คับกับธุ รกิจที่พกั แรมทุกประเภท ส่ วนกฎกระทรวงกาหนดประเภทของ
อาคารที่ตอ้ งมีที่จอดรถและจานวนที่ จอดรถยนต์น้ นั เป็ นกฎเกณฑ์กาหนดรายละเอี ยดที่ ออกตาม
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แต่ใช้คาว่า “โรงแรม” โดยไม่มีบทนิ ยามขอบเขตที่
ชัดเจนว่า ใช้บงั คับกับธุ รกิจที่ พกั แรมประเภทโรงแรมเท่า นั้นหรื อไม่ ส่ วนกฎกระทรวงกาหนด
ประเภทและหลักเกณฑ์ การประกอบธุ รกิจโรงแรม พ.ศ. 2551 ไม่ใช้บงั คับกับธุ รกิจที่พกั แรมอย่าง
อื่นที่ไม่ได้อยูใ่ นความหมายของโรงแรมตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547
3.1.5 กฎกระทรวงฉบับ ที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญ ญัติค วบคุ ม
การก่อสร้ างอาคาร พ.ศ. 247947
โดยเหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ เกิดขึ้นเนื่ องจากพระราชบัญญัติควบคุม
การก่อสร้ างอาคาร พุทธศักราช 2479 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิ วตั ิ ฉบับที่ 192
ลงวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 กาหนดให้ เจ้าของอาคารบางประเภทที่ใช้ในบริ การสาธารณะ
เพื่อหาประโยชน์ ต้องจัดให้มีที่จอดรถยนต์สาหรับผูท้ ี่ใช้ประโยชน์จากอาคารนั้น และการกาหนด
ประเภทของอาคาร การก าหนดจ านวนพื้ น ที่ ที่ ต้อ งมี แ ละใช้เ ป็ นที่ จ อดรถยนต์ ที่ ก ลับ รถยนต์
และทางเข้าออกของรถยนต์ ให้กระทาโดยกฎกระทรวง48
ตามกฎกระทรวงฉบับ ที่ 7 พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญ ญัติ ค วบคุ ม
การก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2479 ซึ่งสรุ ปสาระสาคัญในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับโรงแรมได้ดงั นี้
47
กฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่ อสร้างอาคาร พ.ศ. 2479.
(2517, พฤษภาคม 21). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 91 (ตอนที่ 86), หน้า. 220.
48
หมายเหตุทา้ ยกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร
พ.ศ. 2479
37

ข้อ 1 ในกฎกระทรวงนี้
(7) “โรงแรม” หมายความว่า อาคารหรื อส่ วนหนึ่ งส่ วนใดของอาคารที่ ใช้เป็ น
โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
ข้อ 2 ให้ ก าหนดประเภทของอาคารซึ่ งต้อ งมี ที่ จ อดรถยนต์ ที่ ก ลับ รถยนต์แ ละ
ทางเข้าออกรถยนต์ ไว้ดงั ต่อไปนี้
(2) โรงแรมที่มีหอ้ งพักตั้งแต่ 30 ห้องขึ้นไป
(4) ภัตตาคารที่มีพ้นื ที่สาหรับตั้งโต๊ะอาคารตั้งแต่ 150 ตารางเมตรขึ้นไป
(6) สานักงานที่มีพ้นื ที่ต้ งั แต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
(7) อาคารขนาดใหญ่
(8) ห้องโถงของโรงแรมตาม (2) ภัตตาคารตาม (4) หรื ออาคารขนาดใหญ่ตาม (7)
ข้อ 3 จานวนที่จอดรถยนต์ ต้องจัดให้มีตามกาหนดดังต่อไปนี้
(1) ในเขตกรุ ง เทพมหานคร เฉพาะในเขตเทศบาลนครหลวง ตามประกาศ
ของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 25 ลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2514
(ข) โรงแรม
โรงแรมที่มีห้องพักไม่เกิน 100 ห้อง ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่นอ้ ยกว่า 10 คัน
สาหรับห้องพัก 30 ห้องแรก ส่ วนที่เกิน 30 ห้อง ให้คิดอัตรา 1 คันต่อ 5 ห้อง เศษของ 5 ห้อง ให้คิด
เป็ น 5 ห้อง
โรงแรมที่มีห้องพักเกิน 100 ห้อง ให้มีที่จอดรถยนต์ตามอัตราที่กาหนดใน
วรรคหนึ่ง สาหรับห้องพัก 100 ห้องแรก ส่ วนที่เกิน 100 ห้อง ให้คิดอัตรา 1 คันต่อ 10 ห้อง เศษของ
10 ห้อง ให้คิดเป็ น 10 ห้อง
(ช) ห้องโถงของโรงแรม ภัตตาคาร หรื ออาคารขนาดใหญ่ตามข้อ 2 (8) ให้มีที่
จอดรถยนต์ไม่นอ้ ยกว่า 1 คันต่อพื้นที่ห้องโถง 10 ตารางเมตร เศษของ 10 ตารางเมตร ให้คิดเป็ น
10 ตารางเมตร
(2) ในเขตเทศบาลทุ ก แห่ ง หรื อในเขตท้อ งที่ ที่ ไ ด้ มี พ ระราชกฤษฎี ก าให้ ใ ช้
พระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช 2479 ใช้บงั คับ
(ข) โรงแรม
โรงแรมที่ มี ห้ อ งพัก ไม่ เ กิ น 100 ห้ อ ง ให้ มี ที่ จ อดรถยนต์ไ ม่ น้อ ยกว่า 5 คัน
สาหรับห้องพัก 30 ห้องแรก ส่ วนที่เกิน 30 ห้อง ให้คิดอัตรา 1 คันต่อ 10 ห้อง เศษของ 10 ห้อง ให้
คิดเป็ น 10 ห้อง
38

โรงแรมที่ มีห้องพักเกิ น 100 ห้อง ให้มีที่จอดรถยนต์ตามอัตราที่ กาหนดใน


วรรคหนึ่ง สาหรับห้องพัก 100 ห้องแรก ส่ วนที่เกิน 100 ห้อง ให้คิดอัตรา 1 คันต่อ 15 ห้อง เศษของ
15 ห้อง ให้คิดเป็ น 15 ห้อง
(ช) ห้องโถงของโรงแรม ภัตตาคาร หรื ออาคารขนาดใหญ่ตามข้อ 2 (8) ให้มีที่
จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่ห้องโถง 30 ตารางเมตร เศษของ 30 ตารางเมตร ให้คิดเป็ น
30 ตารางเมตร
ข้อ 5 ที่จอดรถยนต์ 1 คัน ต้องเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้ากว้างไม่นอ้ ยกว่า 2.50 เมตร ยาวไม่นอ้ ย
กว่า 6 เมตร โดยต้องทาเครื่ องหมายแสดงลักษณะและขอบเขตของที่จอดรถไว้ให้ปรากฏ
ข้อ 6 ที่จอดรถยนต์ ต้องจัดให้อยู่ภายในบริ เวณของอาคารนั้น ถ้าอยู่ภายนอกอาคาร
ต้องมีทางไปสู่ อาคารนั้นไม่เกิน 200 เมตร
ข้อ 9 ทางเข้าออกของรถยนต์ตอ้ งกว้างไม่นอ้ ยกว่า 6 เมตร ในกรณี ที่จดั ให้รถยนต์วิ่ง
ได้ทางเดี ยว ทางเข้าและทางออกต้องกว้างไม่น้อยกว่า 3.50 เมตร โดยต้องทาเครื่ องหมายแสดง
ทางเข้าและทางออกไว้ให้ปรากฏ และปากทางเข้าออกของรถยนต์ตอ้ งเป็ นดังนี้
(1) แนวศูนย์กลางปากทางเข้าออกของรถยนต์ตอ้ งไม่อยู่ในที่ที่เป็ นทางร่ วมหรื อทาง
แยก และต้องห่ างจากจุดเริ่ ม ต้นโค้ง หรื อหักมุมของขอบทางร่ วมหรื อขอบทางแยกสาธารณะ มี
ระยะไม่นอ้ ยกว่า 20 เมตร
(2) แนวศูนย์กลางปากทางเข้าออกของรถยนต์ตอ้ งไม่อยูบ่ นเชิงลาดสะพาน และ
ต้องห่างจากจุดสุ ดเชิงลาดสะพานมีระยะไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร
3.1.6 กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบั ญญั ติ ค วบคุ ม
อาคาร พ.ศ. 252249
เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ ก ฎกระทรวงฉบับ นี้ คื อ โดยที่ ม าตรา 8 (4) (5) และ(6)
แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 บัญญัติให้รัฐมนตรี มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนด
แบบและวิธีการเกี่ยวกับการติดตั้งระบบป้ องกันอัคคีภยั แบบและจานวนของห้องน้ าและห้องส้วม
ระบบการจัดแสงสว่างและการระบายอากาศและระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสารองสาหรับกรณี ฉุกเฉิ น
เพื่อประโยชน์แห่งความปลอดภัย การป้ องกันอัคคีภยั การสาธารณสุ ข การรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม
และการผังเมือง ดังนั้น สมควรออกกฎกระทรวงกาหนดแบบ วิธีการ จานวน และระบบดังกล่าว50
49
กฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522. (2537, 13 มิถุนายน).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 111 (ตอนที่ 23 ก), หน้า. 37.
50
หมายเหตุทา้ ยกฎกระทรวงฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
39

กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522


วิเคราะห์ศพั ท์อาคารบางประเภท ในข้อ 1ไว้ดงั นี้
"ห้องแถว" หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้ างติดต่อกันเป็ นแถวยาวตั้งแต่สองคูหาขึ้ น
ไปมีผนังร่ วมแบ่งอาคารเป็ นคูหาและประกอบด้วยวัสดุไม่ทนไฟเป็ นส่ วนใหญ่
"ตึก แถว" หมายความว่า อาคารที่ ก่ อ สร้ า งติ ด ตั้ง กัน เป็ นแถวยาวตั้ง แต่ส องคู ห า
ขึ้ นไปมีผนังร่ วมแบ่งอาคารเป็ นคูหาและประกอบด้วยวัสดุทนไฟ เป็ นส่ วนใหญ่
"บ้านแถว" หมายความว่า ห้องแถวหรื อตึกแถวที่ใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัย ซึ่ งมีที่วา่ งด้านหน้า
และด้านหลังระหว่างรั้วหรื อแนวเขตที่ดินกับตัวอาคารแต่ละคูหา
"บ้านแฝด" หมายความว่า อาคารที่ใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัยก่อสร้างติดต่อกันสองบ้านมีผนัง
ร่ ว มแบ่ ง อาคารเป็ นบ้า น มี ที่ ว่า งระหว่า งรั้ วหรื อ แนวเขตที่ ดิ นกับ ตัวอาคารด้า นหน้า ด้า นหน้า
และด้านข้างของแต่ละบ้าน และมีทางเข้าออกของแต่ละบ้านแยกจากกันเป็ นสัดส่ วน
"อาคารอยูอ่ าศัยรวม" หมายความว่า อาคารหรื อส่ วนใดส่ วนหนึ่งของอาคารที่ใช้เป็ นที่
อยู่อาศัยส าหรั บหลายครอบครั ว โดยแบ่ง ออกเป็ นหน่ วยแยกจากกันสาหรั บแต่ละครอบครั ว มี
ห้องน้ า ห้องส้วม ทางเดินทางเข้าออก และทางขึ้นลงหรื อลิฟต์แยกจากกันหรื อร่ วมกัน
ข้ อ 2 อาคารดั ง ต่ อ ไปนี้ ต้ อ งมี วิ ธี ก ารเกี่ ย วกั บ การป้ องกั น อัค คี ภ ัย ตามที่ ก าหนด
ในกฎกระทรวงนี้
(2) อาคารที่ใช้เป็ นที่ชุมนุมของประชาชน เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม
ข้อ 3 ห้องแถว ตึ ก แถว บ้า นแถว และบ้า นแฝด ที่ มี ค วามสู ง ไม่ เ กิ น 2 ชั้น ต้องติ ดตั้ง
เครื่ องดับ เพลิ ง แบบมื อ ถื อ อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ งตามชนิ ด และขนาดที่ ก าหนดไว้ใ นตารางที่ 1
ท้ายกฎกระทรวงนี้ จานวนคูหาละ 1 เครื่ อง
อาคารอื่นนอกจากอาคารตามวรรคหนึ่ง ต้องติดตั้งเครื่ องดับเพลิงแบบมือถืออย่างใดอย่างหนึ่ ง
ตามชนิดและขนาดที่กาหนดไว้ในตารางตามวรรคหนึ่ ง สาหรับดับเพลิงที่เกิดจากประเภทของวัสดุ
ที่ มี ในแต่ล ะชั้นไว้ 1 เครื่ อง ต่ อพื้นที่ อาคารไม่ เกิ น 1,000 ตารางเมตร ทุ ก ระยะไม่เกิ น 45 เมตร
แต่ไม่นอ้ ยกว่าชั้นละ 1 เครื่ อง
การติ ด ตั้ง เครื่ องดับ เพลิ ง ตามวรรคหนึ่ งและวรรคสอง ต้ อ งติ ด ตั้ง ให้ ส่ ว นบนสุ ด
ของตัว เครื่ อ งสู ง จากระดับ พื้ น อาคารไม่ เ กิ น 1.50 เมตร ในที่ ม องเห็ น สามารถอ่ า นค าแนะน า
การใช้ได้และสามารถนาไปใช้งานได้โดยสะดวก และต้องอยูใ่ นสภาพที่ใช้งานได้ตลอดเวลา
40

3.1.7 กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 44 (พ.ศ. 2538) ออกตามความในพระราชบั ญญั ติ ค วบคุ ม


อาคาร พ.ศ. 252251
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่องจากได้มีประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ่ ง แวดล้อม ออกตามความในกฎหมายเกี่ ย วกับ การส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณภาพ
สิ่ งแวดล้อม กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาดรวมทั้ง
มาตรฐานควบคุ ม การระบายน้ าทิ้ ง จากที่ ดิ น จัด สรร รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงมหาดไทย
โดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุ มอาคาร เห็นสมควรแก้ไขข้อกาหนดเกี่ยวกับขนาดอาคาร
และค่ า มาตรฐานควบคุ ม การระบายน้ า ทิ้ ง จากอาคารตามที่ ก าหนดในกฎกระทรวง ฉบับ ที่ 44
(พ.ศ. 2538) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ให้สอดคล้องกับประกาศ
กาหนดตามมาตรฐานดังกล่าว52
กฎกระทรวงฉบับที่ 44 (พ.ศ. 2538) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.
2522 มีลกั ษณะสาคัญสรุ ปได้ดงั นี้
ข้อ 1 ในกฎกระทรวงนี้
“น้ าเสี ย” หมายความว่า ของเหลวที่ผา่ นการใช้แล้วทุกชนิ ดทั้งที่มีกากและไม่มี
กาก
“ระบบบาบัดน้ าเสี ย” หมายความว่า กระบวนการทาหรื อการปรับปรุ งน้ าเสี ย
ให้มีคุณภาพเป็ นน้ าทิ้ง รวมทั้งการทาให้น้ าทิ้งพ้นไปจากอาคาร
“น้ าทิ้ง” หมายความว่า น้ าจากอาคารที่ผา่ นระบบบาบัดน้ าเสี ยแล้วจนมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานคุณภาพน้ าทิ้งที่กาหนดสาหรับการที่จะระบายลงแหล่งรองรับน้ าทิ้งได้
“แหล่งรองรับน้ าทิ้ง” หมายความว่า ท่อระบายน้ าสาธารณะ คู คลอง แม่น้ า
ทะเล และแหล่งน้ าสาธารณะ
ข้อ 2 อาคารที่ ก่ อสร้ า งหรื อดัดแปลงต้องมี ก ารระบายน้ า ฝนออกจากอาคารที่
เหมาะสมและเพียงพอที่จะไม่ก่อให้เกิ ดความเดื อดร้ อนราคาญแก่ ผอู ้ ื่นหรื อเกิ ดน้ าไหลนองไปยัง
ที่ดินอื่นที่มีเขตติดต่อกับเขตที่ดินที่เป็ นที่ต้ งั ของอาคารนั้นการระบายน้ าฝนออกจากอาคารตามวรรค
หนึ่งจะระบายลงสู่ แหล่งรองรับน้ าทิ้งโดยตรงก็ได้

51
กฎกระทรวงฉบับที่ 44 (พ.ศ. 2538) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522. (2538, 7 กุมภาพันธ์).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 112 (ตอนที่ 6 ก), หน้า. 25.
52
หมายเหตุทา้ ยกฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
41

ข้อ 3 อาคารอาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีระบบบาบัดน้ าเสี ย


ที่มีประสิ ทธิ ภาพเพียงพอในการปรับปรุ งน้ าเสี ยจากอาคารให้เป็ นน้ าทิง้ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด
ไว้ในข้อ 4 ก่อนที่จะระบายลงสู่ แหล่งรองรับน้ าทิ้ง
(1) อาคาร ประเภท ก
(ข) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ที่มีจานวนห้องพักรวมกันทุกชั้นใน
อาคารหลังเดียวกันหรื อหลายหลัง รวมกัน เกิน 200 ห้อง
(2) อาคาร ประเภท ข
(ข) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ที่มีจานวนห้องพักรวมกันทุกชั้นใน
อาคารหลังเดียวกันหรื อหลายหลัง รวมกัน เกิน 60 ห้อง แต่ไม่เกิน 200 ห้อง
(3) อาคาร ประเภท ค
(ข) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ที่มีจานวนห้องพักรวมกันทุกชั้นใน
อาคารหลังเดียวกันหรื อหลายหลัง รวมกัน ไม่เกิน 60 ห้อง
ข้อ 10 อาคารที่ใช้เป็ นตลาดโรงแรม ภัตตาคาร หรื อสถานพยาบาล ต้องจัดให้มี ที่
รองรับขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกลู โดยมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
(1) ผนังต้องทาด้วย วัสดุถาวรและทนไฟ
(2) พื้นผิวภายใน ต้องเรี ยกและกันน้ าซึ ม
(3) ต้องมีการป้ องกันกลิ่นและน้ าฝน
(4) ต้องมีการระบายน้ าเสี ยจากขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกลู ลงสู่ ระบบบาบัดน้ าเสี ย
(5) ต้องมีการระบายอากาศ และป้ องกันน้ าเข้า
(6) ต้องมีความจุไม่นอ้ ยกว่า 1.2 ลิตร ต่อพื้นที่ของอาคารหนึ่งตารางเมตร
(7) ต้องจัดไว้ในที่ ที่สามารถขนย้ายขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิ กูลได้โดยสะดวก
และต้องมีระยะห่ างจากสถานที่ประกอบอาหารและสถานที่เก็บอาหารไม่น้อยกว่า 4 เมตร แต่ถา้ ที่
รองรับขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกูลมีขนาดความจุเกินกว่า 3 ลูกบาศก์เมตร ต้องมีระยะห่ างจากสถานที่
ดังกล่าวไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร
42

3.1.8 กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 47 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบั ญญั ติ ค วบคุ ม


อาคาร พ.ศ. 252253
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ เนื่ องจากอาคารบางอาคารซึ่ งก่อสร้ าง
ดัด แปลง หรื อเคลื่ อ นย้า ย โดยได้รั บ อนุ ญ าตตามพระราชบัญ ญัติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522
หรื ออาคารบางอาคารซึ่ งได้ก่อสร้ าง ดัดแปลง หรื อเคลื่ อนย้ายก่ อนวันที่ พระราชบัญญัติควบคุ ม
อาคาร พ.ศ. 2522 ใช้บ งั คับ มี ส ภาพหรื อมี ก ารใช้ที่ อาจเป็ นภยันตรายต่ อสุ ข ภาพ ชี วิต ร่ า งกาย
หรื อทรั พย์สินหรื ออาจไม่ปลอดภัยจากอัคคี ภยั หรื อก่ อให้เกิ ดเหตุ ราคาญหรื อกระทบกระเทื อน
ต่ อ การรั ก ษาคุ ณภาพสิ่ ง แวดล้อม สมควรปรั บ ปรุ ง หลัก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อนไขในการให้
เจ้า พนักงานท้องถิ่ นมี อานาจสั่งให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารดังกล่ าวปรั บปรุ งหรื อแก้ไ ข
ระบบความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภยั ของอาคาร54
กฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
สรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้
ข้อ 2 ในกฎกระทรวงนี้
“อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ ใ ช้เ พื่ อประโยชน์ ใ นการชุ ม นุ ม คนได้
โดยทัว่ ไป เพื่อกิจกรรมทางราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรื อการ
พาณิ ชยกรรม เช่ น โรงมหรสพ หอประชุ ม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึก ษา หอสมุด สนาม
กี ฬากลางแจ้ง สถานกีฬาในร่ ม ตลาด ห้างสรรพสิ นค้า ศูนย์การค้า สถานบริ การ เป็ นต้น
ข้อ 3 ในกรณี ที่ อ าคารซึ่ งก่ อ สร้ า ง ดัด แปลง หรื อ เคลื่ อ นย้า ยโดยได้รั บ อนุ ญ าต
ตามพระราชบัญ ญัต ิค วบคุม อาคาร พ.ศ. 2522 มีส ภาพหรื อ มีก ารใช้ที ่อ าจเป็ นภย นั ตราย
ต่อสุ ขภาพ ชี วิต ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน หรื ออาจไม่ปลอดภัยจากอัคคีภยั หรื อก่อให้เกิดเหตุราคาญ
หรื อกระทบกระเทื อนต่ อการรั ก ษาคุ ณภาพสิ่ ง แวดล้อม ให้เจ้า พนัก งานท้องถิ่ นมี อานาจสั่ ง ให้
เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารดาเนิ นการแก้ไขให้เป็ นไปตามกฎกระทรวงที่ ออกตามมาตรา 8
หรื อข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นที่ออกตามมาตรา 9 หรื อมาตรา 10 ที่ใช้บงั คับอยูใ่ นวันที่ได้รับอนุ ญาตหรื อใบรับ
แจ้งให้ก่อสร้ าง ดัดแปลง หรื อเคลื่ อนย้ายอาคารให้แล้วเสร็ จภายในระยะเวลาที่เจ้าพนักงานท้องถิ่ น
ก าหนดแต่ ต้องไม่ น้อยกว่า สามสิ บ วัน ในกรณี ที่ มี เหตุ อนั สมควร เจ้า พนัก งานท้องถิ่ นจะขยาย
ระยะเวลาออกไปอีกก็ได้
53
กฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522. (2540, 2 ตุลาคม).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 114 (ตอนที่ 52 ก), หน้า. 27.
54
หมายเหตุทา้ ยกฎกระทรวงฉบับที่ 47 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
43

ข้อ 4 ในกรณี ที่อาคารซึ่ งก่อสร้าง ดัดแปลง หรื อเคลื่อนย้ายก่อนวันที่พระราชบัญญัติ


ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ใช้บงั คับ และอยูภ่ ายใต้บงั คับแห่ งพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร
พุ ทธศักราช 2479 หรื อพระราชบัญญัติ ควบคุ ม การก่ อสร้ างในเขตเพลิ ง ไหม้พุ ท ธศัก ราช 2476
มีสภาพหรื อมีการใช้ที่อาจเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชี วิต ร่ างกาย หรื อทรัพย์สินหรื ออาจไม่ปลอดภัย
จากอัคคี ภ ัย หรื อก่ อให้ เกิ ดเหตุ ร าคาญ หรื อกระทบกระเทื อนต่ อการรั กษาคุ ณภาพสิ่ ง แวดล้อม
ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่ นมี อานาจสั่งให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารดาเนิ นการแก้ไขให้เป็ นไป
ตามกฎกระทรวง เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจงั หวัด กฎ ข้อบังคับ ประกาศ หรื อคาสั่งที่ได้ออกโดยอาศัย
อานาจตามพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช 2479 หรื อพระราชบัญญัติควบคุ ม
การก่อสร้างในเขตเพลิ งไหม้ พุทธศักราช 2476 แล้วแต่กรณี ที่ใช้บงั คับอยูใ่ นขณะนั้นให้แล้วเสร็ จ
ภายในระยะเวลาที่ เ จ้า พนัก งานท้อ งถิ่ นก าหนดแต่ ต้อ งไม่ น้อ ยกว่า สามสิ บ วัน ในกรณี ที่ มี เ หตุ
อันสมควรเจ้าพนักงานท้องถิ่นจะขยายระยะเวลาออกไปอีกก็ได้
ในกรณี ที่ อ าคารซึ่ งก่ อ สร้ า ง ดัด แปลง หรื อ เคลื่ อ นย้า ยก่ อ นวัน ที่ พ ระราชบัญ ญัติ
ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ใช้บงั คับ แต่ไม่อยูภ่ ายใต้บงั คับแห่ งพระราชบัญญัติควบคุ มการก่อสร้าง
อาคาร พุทธศักราช 2479 หรื อพระราชบัญญัติควบคุ มการก่ อสร้ างในเขตเพลิ งไหม้ พุทธศักราช
2476 มีสภาพหรื อมีการใช้ที่อาจเป็ นภยันตรายต่อสุ ขภาพ ชี วิต ร่ างกาย หรื อทรัพย์สิน หรื ออาจไม่
ปลอดภัยจากอัค คี ภ ยั หรื อ ก่ อ ให้เ กิ ด เหตุ ราคาญ หรื อ กระทบกระเทื อ นต่อ การรั ก ษาคุ ณ ภาพ
สิ่ ง แวดล้อ มให้เจ้าพนักงานท้องถิ่ นมี อานาจสั่งให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารดาเนิ นการแก้ไข
เท่าที่จะกระทาได้ตามความจาเป็ นและความเป็ นธรรมแก่เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารให้แล้วเสร็ จ
ภายในระยะเวลาที่ เจ้าพนักงานท้องถิ่ นกาหนดแต่ตอ้ งไม่น้อยกว่าสามสิ บวัน ในกรณี ที่มีเหตุ อนั
สมควรเจ้าพนักงานท้องถิ่นจะขยายระยะเวลาออกไปอีกก็ได้
ข้อ 5 ในกรณี ที่ อาคารตามข้อ 3 หรื อข้อ 4 เป็ นอาคารสู ง อาคารขนาดใหญ่ พิ เศษ
อาคารขนาดใหญ่ อาคารสาธารณะ อาคารอยู่อาศัย รวม โรงงาน ภัต ตาคาร และสานัก งาน มี
สภาพหรื อ มีการใช้ที่อาจไม่ปลอดภัยจากอัคคีภยั ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอานาจสั่งให้เจ้าของหรื อผู ้
ครอบครองอาคารดาเนิ น การแก้ไ ขให้อ าคารดัง กล่า วมีร ะบบความปลอดภัย เกี่ ย วกับ อัค คีภ ยั
ภายในระยะเวลาที่เจ้าพนักงานท้องถิ่ นกาหนด แต่ตอ้ งไม่น้อยกว่าสามสิ บวัน ในกรณี ที่มีเหตุอนั
สมควรเจ้าพนักงานท้องถิ่นจะขยายระยะเวลาออกไปอีกก็ได้
ในการสั่ง การให้แก้ไขอาคารตามวรรคหนึ่ ง เจ้า พนัก งานท้องถิ่ นจะสั่งให้เจ้าของ
หรื อผูค้ รอบครองอาคารดาเนิ นการได้ในกรณี ดงั ต่อไปนี้
44

(3) ติดตั้งเครื่ องดับเพลิ งแบบมือถือตามชนิ ดและขนาดที่กาหนดไว้ในตารางท้าย


กฎกระทรวงนี้อย่างใดอย่างหนึ่งสาหรับดับเพลิงที่เกิดจากประเภทของวัสดุที่มีในแต่ละชั้น โดยให้มี
1 เครื่ องต่อพื้นที่ไม่เกิน 1,000 ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน 45.00 เมตร แต่ไม่นอ้ ยกว่าชั้นละ 1 เครื่ อง
การติดตั้งเครื่ องดับเพลิ งแบบมือถื อนี้ ต้องติดตั้งให้ส่วนบนสุ ดของตัวเครื่ องสู งจาก
ระดับพื้นอาคารไม่เกิน 1.50 เมตร ในที่มองเห็น สามารถอ่านคาแนะนาการใช้ได้และสามารถเข้าใช้
สอยได้สะดวก และต้องอยูใ่ นสภาพที่ใช้งานได้ตลอดเวลา
3.1.9 กฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบั ญญั ติ ค วบคุ ม
อาคาร พ.ศ. 252255
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็ นการสมควรกาหนดลักษณะ
แบบ รู ปทรง สัดส่ วน เนื้ อที่ ที่ต้ งั ของอาคาร ระดับ เนื้ อที่ของที่วา่ งภายนอกอาคารหรื อแนวอาคาร
และระยะหรื อระดับระหว่างอาคารกับอาคารหรื อเขตที่ ดินของผูอ้ ื่ น หรื อระหว่างอาคารกับถนน
ทางเท้าหรื อที่สาธารณะ เพื่อประโยชน์แห่ งความมัน่ คงแข็งแรง ความปลอดภัย การป้ องกันอัคคีภยั
การสาธารณสุ ข การรั ก ษาคุ ณภาพสิ่ งแวดล้อม การผังเมื อง การสถาปั ตยกรรมและการอานวย
ความสะดวกแก่ การจราจร ประกอบกับมาตรา 8 (1) (7) และ (8) แห่ งพระราชบัญญัติควบคุ มอาคาร
พ.ศ. 2522 ได้บญั ญัติให้การกาหนดดังกล่าวต้องเป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง56
ข้อ 1 ในกฎกระทรวงนี้
“อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุ มคนได้
โดยทัว่ ไปเพื่อกิ จกรรมทางราชการ การเมื อง การศึ กษา การศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรื อการ
พาณิ ชยกรรม เช่ น โรงมหรสพ หอประชุ ม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกี ฬา
กลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ ม ตลาด ห้างสรรพสิ นค้า ศูนย์การค้า สถานบริ การ ท่าอากาศยาน อุโมงค์
สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรื อ โป๊ ะจอดเรื อ สุ สาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็ นต้น
“โรงแรม” หมายความว่า อาคารหรื อ ส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดของอาคารที่ ใ ช้เ ป็ น
โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
ข้อ 14 สิ่ งที่สร้างขึ้นสาหรับ ติดหรื อตั้ง ป้ ายที่ติดตั้งบนพื้นดินโดยตรงให้ทาด้วยวัสดุทน
ไฟทั้งหมด

55
กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522. (2543, สิ งหาคม 7).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 117 (ตอนที่ 75 ก), หน้า. 16.
56
หมายเหตุ ท้ า ยกฎกระทรวงฉบั บ ที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร
พ.ศ. 2522
45

ข้อ 15 เสา คาน พื้น บันได และผนังของอาคารที่สูงตั้งแต่สามชั้นขึ้นไป โรงมหรสพ


หอประชุม โรงงาน โรงแรม โรงพยาบาล หอสมุด ห้างสรรพสิ นค้า อาคารขนาดใหญ่ สถานบริ การ
ตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริ การ ท่าอากาศยาน หรื ออุโมงค์ ต้องทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟด้วย
ข้อ 22 ห้องหรื อส่ วนของอาคารที่ใช้ในการทากิ จกรรมต่าง ๆ ต้องมีระยะดิ่ งไม่น้อย
กว่าตามที่กาหนดไว้ ดังต่อไปนี้
1. ห้องที่ใช้เป็ นที่พกั อาศัย บ้านแถว ห้องพักโรงแรม ห้องเรี ยนนักเรี ยนอนุ บาล
ครัวสาหรับอาคารอยูอ่ าศัย ห้องพักคนไข้พิเศษ ช่องทางเดินในอาคารระยะดิ่ง 2.60 เมตร
3.1.10 กฎกระทรวงฉบั บที่ 64 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบั ญญัติค วบคุ ม
อาคาร พ.ศ. 252257
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็ นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติม
การจัดให้มีที่จอดรถยนต์และจานวนที่จอดรถยนต์ สาหรับโรงแรมตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุ มการก่อสร้ างอาคาร พุทธศักราช 2479
ซึ่ ง ยัง ใช้บ ัง คับ อยู่ตามบทเฉพาะกาลมาตรา 79 แห่ ง พระราชบัญญัติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522
เพื่อให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ในปั จจุบนั 58
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (2) ของข้อ 2 แห่ งกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออก
ตามความในพระราชบัญญัติควบคุ มการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช 2479 และให้ใช้ความต่อไปนี้
แทน
“(2) โรงแรมที่ มี พ้ื นที่ ห้อ งโถงหรื อ พื้ น ที่ ที่ ใ ช้เ พื่ อ กิ จการพาณิ ช ยกรรมในหลัง
เดียวกันหรื อหลายหลังรวมกันตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป”
ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้ เป็ นวรรคสองของข้อ 2 แห่ งกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ
2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช 2479
“ในกรณี ที่โรงแรมตาม (2) หรื อโรงแรมที่ มีลกั ษณะอาคารขนาดใหญ่ตาม (7)
ตั้งอยูใ่ นพื้นที่ที่ตามสภาพธรรมชาติไม่สามารถนารถยนต์เข้าไปใช้ได้ จะไม่จดั ให้มีที่จอดรถยนต์ที่
กลับรถยนต์และทางเข้าออกของรถยนต์ก็ได้”

57
กฎกระทรวงฉบับ ที่ 64 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญ ญัติค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522. (25 55,
พฤศจิกายน 30). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 129 (ตอนที่ 112 ก), หน้า. 20.
58
หมายเหตุ ท้ า ยกฎกระทรวงฉบั บ ที่ 64 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบั ญ ญัติ ค วบคุ ม อาคาร
พ.ศ. 2522
46

ข้อ 4 ให้ย กเลิ ก ความใน (ข) ของ (1) ของข้อ 3 แห่ ง กฎกระทรวง ฉบับ ที่ 7 (พ.ศ.
2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุ มการก่อสร้ างอาคาร พุทธศักราช 2479 และให้ใช้
ความต่อไปนี้แทน
“(ข) โรงแรม ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่นอ้ ยกว่า 1 คันต่อพื้นที่ห้องโถง 10 ตารางเมตร
เศษของ 10 ตารางเมตร ให้คิดเป็ น 10 ตารางเมตร และไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้ นที่ ที่ใช้เพื่อกิ จการ
พาณิ ชยกรรม 20 ตารางเมตร เศษของ 20 ตารางเมตร ให้คิดเป็ น 20 ตารางเมตร”
ข้อ 6 ให้ย กเลิ ก ความใน (ข) ของ (2) ของข้อ 3 แห่ ง กฎกระทรวง ฉบับ ที่ 7 (พ.ศ.
2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุ มการก่อสร้ างอาคาร พุทธศักราช 2479 และให้ใช้
ความต่อไปนี้แทน
“(ข) โรงแรม ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้นที่ ห้องโถง 30 ตารางเมตร
เศษของ 30 ตารางเมตร ให้คิดเป็ น 30 ตารางเมตร และไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื้ นที่ ที่ใช้เพื่อกิ จการ
พาณิ ชยกรรม 40 ตารางเมตร เศษของ 40 ตารางเมตร ให้คิดเป็ น 40 ตารางเมตร”
3.1.11 กฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอืน่ ทีใ่ ช้ ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 255959
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่ นที่ใช้ประกอบ
ธุ รกิ จโรงแรม พ.ศ. 2559 คือ โดยที่มีการนาอาคารประเภทอื่นมาให้บ ริ ก ารที่พ กั แก่ป ระชาชน
เป็ นการทัว่ ไป ซึ่ งลักษณะและโครงสร้ างของอาคารที่ มีอยู่เดิ มไม่สอดคล้องกับอาคารที่ จะนามา
ประกอบธุ รกิ จโรงแรมตามที่กฎหมายว่าด้วยการควบคุ มอาคารกาหนด จึงทาให้อาคารดังกล่าว
ไม่ ส ามารถขอรั บ ใบอนุ ญ าตเพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ โรงแรมตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงแรมได้
เพื่ อ ให้อ าคารที่ มี อยู่แ ล้ว ซึ่ ง ได้มี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขให้ มี ล ัก ษณะหรื อ มาตรฐานความปลอดภัย
ของอาคารตามที่ ก ฎหมายก าหนดสามารถขออนุ ญาตเปลี่ ย นการใช้อ าคารเพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ
โรงแรมได้60
ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บงั คับได้มีกาหนดห้าปี
ข้อ 2 ในกรณี ที่กฎกระทรวงนี้ มิได้กาหนดเรื่ องใดไว้ ให้นาข้อกาหนดเรื่ องนั้นตาม
กฎกระทรวงอื่น ข้อบัญญัติทอ้ งถิ่ น หรื อประกาศของรัฐมนตรี ที่ออกตามพระราชบัญญัติควบคุ ม
อาคาร พ.ศ. 2522 ที่ใช้บงั คับเป็ นการทัว่ ไป มาใช้บงั คับแก่อาคารตามกฎกระทรวงนี้ โดยอนุ โลม
เว้นแต่ขอ้ กาหนดเกี่ยวกับบันไดหนีไฟให้ใช้บงั คับตามที่กาหนดในกฎกระทรวงนี้

59
กฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2559. (2559, สิ งหาคม 19).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 133 (ตอนที่ 72 ก), หน้า. 8.
60
เหตุผลท้ายกฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. 2559
47

ข้อ 3 กฎกระทรวงนี้ ให้ใช้บงั คับแก่อาคารที่มีอยู่ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ ใช้บงั คับ


และจะเปลี่ยนการใช้อาคารมาประกอบธุ รกิจโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ดังต่อไปนี้
(1) โรงแรมที่ให้บริ การเฉพาะห้องพัก
(2) โรงแรมที่ให้บริ การห้องพักและห้องอาหาร หรื อสถานที่สาหรับบริ การอาหาร
หรื อสถานที่สาหรับประกอบอาหาร
ข้อ 4 การยื่นคาขอรับใบอนุ ญาตเปลี่ ยนการใช้อาคารมาประกอบธุ รกิ จโรงแรมตาม
กฎกระทรวงนี้ ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็ จตามที่ได้รับอนุ ญาตภายในห้าปี นับแต่วนั ที่กฎกระทรวงนี้
ใช้บงั คับ
ในกรณี ที่ต้องมี การดัดแปลงอาคารก่ อนการขอรั บใบอนุ ญาตเปลี่ ยนการใช้อาคาร
ให้ยนื่ คาขอรับใบอนุญาตหรื อแจ้งและดาเนินการตามมาตรา 39 ทวิ เพื่อดัดแปลงอาคารภายในสองปี
นับแต่วนั ที่กฎกระทรวงนี้ใช้บงั คับ
ข้อ 5 อาคารที่จะเปลี่ยนการใช้มาประกอบธุ รกิจโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
ให้มี ที่ว่างของอาคารไม่ น้อยกว่า 10 ใน 100 ส่ วนของพื้ นที่ ช้ ันใดชั้นหนึ่ งที่ มากที่ สุ ดของอาคาร
และต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
(1) อาคารไม่เกินสองชั้นที่มีจานวนห้องพักในอาคารหลังเดียวกันไม่เกิน 10 ห้อง
(ก) ช่องทางเดินในอาคารกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร
(ข) บันไดกว้างไม่นอ้ ยกว่า 0.90 เมตร และต้องมีระยะห่ างตามแนวทางเดินไม่
เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุ ดบนพื้นชั้นนั้น
(ค) หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรสาหรับส่ วนต่าง ๆ ของอาคารให้คานวณโดยเฉลี่ยไม่
ต่ากว่า 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
(ง) ติ ดตั้ง เครื่ อ งดับ เพลิ ง แบบมื อถื อหรื อ เครื่ องดับ เพลิ ง ยกหิ้ วตามประเภท
ขนาดและสมรรถนะตามมาตรฐานเครื่ องดับเพลิ งแบบมื อถื อหรื อเครื่ องดับเพลิ งยกหิ้ วของกรม
โยธาธิ การและผังเมือง ไม่นอ้ ยกว่าชั้นละหนึ่ งเครื่ อง โดยต้องติดตั้งให้ส่วนบนสุ ดของตัวเครื่ องสู ง
จากระดับพื้นอาคารไม่เกิน 1.50 เมตร ในที่มองเห็น สามารถอ่านข้อแนะนาการใช้ได้ และสามารถ
เข้าใช้สอยได้สะดวก
(2) อาคารที่ไม่ใช่อาคารตาม (1) ที่มีจานวนห้องพักในชั้นเดียวกันไม่เกิน 20 ห้อง
(ก) ช่องทางเดินในอาคารมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.20 เมตร
(ข) หน่ วยน้ าหนักบรรทุกจรสาหรับอาคารให้เป็ นไปตามกฎกระทรวงที่ออก
ตามมาตรา 8 (2) และ (3) เว้นแต่หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรของบันไดและช่องทางเดินที่เปลี่ยนการใช้
อาคารจากห้องแถว หรื อตึกแถว หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรต้องไม่ต่ากว่า 200 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
48

(3) อาคารที่ไม่ใช่อาคารตาม (1) ที่มีจานวนห้องพักในชั้นเดียวกันเกินกว่า 20 ห้อง


(ก) ช่องทางเดินในอาคารมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร
(ข) หน่ วยน้ าหนักบรรทุกจรสาหรับอาคารให้เป็ นไปตามกฎกระทรวงที่ออก
ตามมาตรา 8 (2) และ (3) เว้นแต่หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรของบันไดและช่องทางเดินที่เปลี่ยนการใช้
จากห้องแถว หรื อตึกแถว หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรต้องไม่ต่ากว่า 200 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
(4) เสา คาน ตง พื้น บันได โครงหลังคา และผนังของอาคารตั้งแต่สามชั้นขึ้นไป ต้อง
ทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟ
(5) อาคารตั้งแต่สี่ช้ นั ขึ้นไปต้องมีบนั ไดหนีไฟที่มีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
(ก) บันไดหนี ไฟที่ไม่ใช่ บนั ไดในแนวดิ่ งซึ่ งมีความเหมาะสมกับพื้นที่ของอาคาร
แต่ละชั้นเพื่อให้สามารถลาเลียงบุคคลทั้งหมดในอาคารออกนอกอาคารได้ภายในหนึ่งชัว่ โมง
(ข) บันไดหนี ไฟภายในอาคารต้องมีผนังทุก ด้านโดยรอบที่ทาด้วยวัส ดุ ทน
ไฟได้ไม่นอ้ ยกว่า 30 นาที
(ค) กรณี ที่นาบันไดหลักมาเป็ นบันไดหนี ไฟหรื อมีบนั ไดหนี ไฟเพิ่มจากบันได
หลัก ช่ อ งประตู สู่ บ ัน ไดหนี ไ ฟต้อ งเป็ นบานเปิ ดท าด้ ว ยวัส ดุ ท นไฟได้ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 30 นาที
พร้ อมติ ดตั้งอุ ปกรณ์ ชนิ ดที่ บงั คับให้บานประตูปิดได้เองเพื่อป้ องกันควันและเปลวไฟมิ ให้เข้าสู่
บันไดหนีไฟ
(ง) ต้องมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟโดยไม่มีสิ่งกีดขวาง
(จ) ต้องมีความลาดชันของบันไดน้อยกว่า 60 องศา
ข้อ 6 การน าอาคารประเภทอื ่น มาประกอบธุ ร กิ จ โรงแรมตามกฎหมายว่า ด้ว ย
โรงแรม ให้ใช้ขอ้ กาหนดเกี่ยวกับแนวอาคาร ระยะดิ่งของอาคาร ระยะหรื อระดับระหว่างอาคารกับ
อาคารหรื อเขตที่ดินของผูอ้ ื่น หรื อระหว่างอาคารกับถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ทางหรื อที่สาธารณะ
และที่ จ อดรถยนต์ต ามประเภทอาคารที่ ก ฎหมายก าหนดในขณะที่ ไ ด้รั บ อนุ ญ าตให้ ก่ อ สร้ า ง
หรื อดัดแปลงอาคารนั้น
3.1.12 กฎกระทรวงกาหนดลัก ษณะอาคารประเภทอื่น ที่ใ ช้ ป ระกอบธุ ร กิจ โรงแรม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 256161
เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่ นที่ใช้ประกอบ
ธุ รกิ จโรงแรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 คือ โดยที่เป็ นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อกาหนดเกี่ ยวกับ

61
กฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561. (2561, ตุลาคม 25).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 (ตอนที่ 85 ก),. หน้า. 1.
49

การดัดแปลงอาคารหรื อการเปลี่ ยนการใช้อาคารมาประกอบธุ รกิ จโรงแรม เพื่อขยายระยะเวลา


ให้เจ้าของหรื อผูค้ รอบครองอาคารประเภทอื่นมีระยะเวลาในการดาเนินการเพื่อให้ได้รับใบรับรอง
การดัดแปลงอาคารหรื อใบอนุ ญาตเปลี่ยนการใช้อาคารมาประกอบธุ รกิจโรงแรมได้ภายในห้าปี
นับแต่วนั ที่กฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุ รกิ จโรงแรม พ.ศ. 2559
ใช้บงั คับ และแก้ไขเพิ่มเติมการกาหนดเกี่ยวกับลักษณะอาคารที่จะดัดแปลงมาประกอบธุ รกิจโรงแรม
ตลอดจนควบคุ ม ให้ อ าคารที่ จ ะดัด แปลงมาประกอบธุ ร กิ จ โรงแรมมี ล ัก ษณะหรื อ มาตรฐาน
ความปลอดภั ย ของอาคารตามที่ ก าหนด 62 โดยเป็ นการยกเลิ ก ความในข้ อ 4 และข้ อ 5
ของกฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุ รกิจโรงแรม พ.ศ. 2559 และให้ใช้
ความต่อไปนี้แทน
ข้อ 4 63 อาคารที ่ จ ะดัด แปลงหรื อ อาคารที ่ จ ะเปลี ่ ย นการใช้ม าประกอบธุ ร กิ จ
โรงแรมตามกฎกระทรวงนี้ ต้องได้รับใบรับรองการดัดแปลงอาคารหรื อใบอนุ ญาตเปลี่ ยนการ
ใช้อาคารมาประกอบธุ รกิจโรงแรม แล้วแต่กรณี ภายในห้าปี นับแต่วนั ที่กฎกระทรวงนี้ใช้บงั คับ
ข้อ 564 อาคารที่จะดัดแปลงหรื ออาคารที่จะเปลี่ยนการใช้มาประกอบธุ รกิ จโรงแรม
ตามกฎหมายว่า ด้วยโรงแรม ให้มี ที่ ว่า งของอาคารไม่น้อยกว่า 10 ใน 100 ส่ วนของพื้ นที่ ช้ ันใด
ชั้นหนึ่งที่มากที่สุดของอาคารและต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
(1) อาคารไม่เกินสองชั้นที่มีจานวนห้องพักในอาคารหลังเดียวกันไม่เกิน 10 ห้อง
(ก) ช่องทางเดินในอาคารกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร
(ข) บันไดกว้างไม่นอ้ ยกว่า 0.90 เมตร และต้องมีระยะห่ างตามแนวทางเดินไม่
เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุ ดบนพื้นชั้นนั้น
(ค) หน่ วยน้ าหนักบรรทุกจรสาหรับส่ วนต่าง ๆ ของอาคารให้คานวณโดยเฉลี่ ย
ไม่ต่ากว่า 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
(ง) มีการติดตั้งเครื่ องดับเพลิงแบบมือถือหรื อเครื่ องดับเพลิงยกหิ้ วตามประเภท
ขนาดและสมรรถนะตามมาตรฐานเครื่ องดั บ เพลิ ง แบบมื อ ถื อ หรื อเครื่ องดั บ เพลิ ง ยกหิ้ ว
ของกรมโยธาธิ การและผังเมือง ไม่นอ้ ยกว่าชั้นละหนึ่งเครื่ อง โดยต้องให้ส่วนบนสุ ดของตัวเครื่ อง

62
เหตุผลท้ายกฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
63
ข้อ 4 แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2561
64
ข้อ 5 แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงกาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2561
50

สู ง จากระดับ พื้ น อาคารไม่ เ กิ น 1.50 เมตร ในที่ ม องเห็ น สามารถอ่ า นข้อ แนะน าการใช้ ไ ด้
และสามารถเข้าใช้สอยได้สะดวก
(2) อาคารที่ไม่ใช่อาคารตาม (1) ที่มีจานวนห้องพักในชั้นเดียวกันไม่เกิน 20 ห้อง
(ก) ช่องทางเดินในอาคารมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.20 เมตร
(ข) หน่ วยน้ าหนักบรรทุกจรสาหรับอาคารให้เป็ นไปตามกฎกระทรวงที่ออก
ตามมาตรา 8 (2) และ (3) เว้นแต่หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรของบันไดและช่องทางเดินที่เปลี่ยนการใช้
อาคารจากห้องแถวหรื อตึกแถว หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรต้องไม่ต่ากว่า 200 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
(3) อาคารที่ไม่ใช่อาคารตาม (1) ที่มีจานวนห้องพักในชั้นเดียวกันเกินกว่า 20 ห้อง
(ก) ช่องทางเดินในอาคารมความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร
(ข) หน่ วยน้ าหนักบรรทุกจรสาหรับอาคารให้เป็ นไปตามกฎกระทรวงที่ออก
ตามมาตรา 8 (2) และ (3) เว้นแต่หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรของบันไดและช่องทางเดินที่เปลี่ยนการใช้
จากห้องแถวหรื อตึกแถว หน่วยน้ าหนักบรรทุกจรต้องไม่ต่ากว่า 200 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
(4) อาคารสามชั้นที่มีเสา คาน ตง พื้น บันได โครงหลังคา หรื อผนังของอาคารที่
ทาด้วยวัส ดุ ไ ม่ ท นไฟ ต้องติ ดตั้ง ระบบความปลอดภัย ด้านอัค คี ภยั เพิ่ ม เติ ม ทุ ก ชั้นตามที่ ก าหนด
ดังต่อไปนี้
(ก) ติดตั้งระบบสัญญาเตือนเพลิงไหม้ โดยอย่างน้อยต้องประกอบด้วย
1) อุปกรณ์ส่งสัญญาณเพื่อให้หนีไฟที่สามารถส่ งเสี ยงหรื อสัญญาณให้คนที่
อยูใ่ นอาคารได้ยนิ หรื อทราบอย่างทัว่ ถึง
2) อุปกรณ์แจ้งเหตุที่มีท้ งั ระบบแจ้งเหตุอตั โนมัติ และระบบแจ้งเหตุที่ใช้มือ
เพื่อให้อุปกรณ์ตาม 1) ทางาน
(ข) ติดตั้งระบบไฟส่ องสว่างสารองเพื่อให้มีแสงสว่างสามารถมองเห็ นช่ อง
ทางเดิ นได้ขณะเพลิ งไหม้ และมี ป้ายบอกชั้นและป้ ายบอกทางหนี ไฟที่ด้านในและด้านนอกของ
ประตูหนีไฟด้วยตัวอักษรที่สามารถมองเห็นได้ชดั เจนซึ่งต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 10 เซนติเมตร
(ค) ติ ดตั้ง เครื่ องดับ เพลิ ง แบบมื อถื อหนึ่ ง เครื่ องต่ อ พื้ น ที่ อ าคารไม่ เกิ น 200
ตารางเมตรทุกระยะไม่เกิน 30 เมตร แต่ไม่นอ้ ยกว่าชั้นละสองเครื่ อง
(5) อาคารตั้งแต่สี่ช้ นั ขึ้นไปต้องมี เสา คาน ตง พื้น บันได โครงหลังคา และผนัง
ของอาคารที่ทาด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟ และต้องมีบนั ไดหนีไฟที่มีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
(ก) บันไดหนี ไฟที่ไม่ใช่ บนั ไดในแนวดิ่ งซึ่ งมีความเหมาะสมกับพื้นที่ของอาคาร
แต่ละชั้นเพื่อให้สามารถลาเลียงบุคคลทั้งหมดในอาคารออกนอกอาคารได้ภายในหนึ่งชัว่ โมง
51

(ข) บันไดหนี ไฟภายในอาคารต้องมีผนังทุก ด้านโดยรอบที่ทาด้วยวัส ดุ ทน


ไฟได้ไม่นอ้ ยกว่า 30 นาที
(ค) กรณี ที่นาบันไดหลักมาเป็ นบันไดหนี ไฟหรื อมีบนั ไดหนี ไฟเพิ่มจากบันได
หลักช่ องประตูสู่บนั ไดหนี ไฟต้องเป็ นบานเปิ ดทาด้วยวัสดุ ทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 30 นาที พร้ อม
ติดตั้งอุปกรณ์ชนิ ดที่บงั คับให้บานประตูปิดได้เองเพื่อป้ องกันควันและเปลวไฟมิให้เข้าสู่ บนั ไดหนี
ไฟ
(ง) ต้องมีทางเดินไปยังบันไดหนีไฟโดยไม่มีสิ่งกีดขวาง
(จ) ต้องมีความลาดชันของบันไดน้อยกว่า 60 องศา”
3.1.13 พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 251865
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่บทบัญญัติในกฎหมายว่าด้วย
การผัง เมื อ งซึ่ งใช้บ ัง คับ อยู่ใ นปั จ จุ บ ัน ยัง ไม่ มี ม าตรการทางกฎหมายเพี ย งพอที่ จ ะท าให้ บ รรลุ
วัตถุ ประสงค์ของการผังเมืองได้ และไม่สามารถใช้บงั คับกฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมืองรวม
ได้อ ย่า งต่ อเนื่ อ ง อัน เนื่ อ งมาจากการวางและจัด ท าผัง เมื องรวมมี ข้ นั ตอนและรายละเอี ย ดมาก
ทาให้ไม่อาจดาเนิ นการวางและจัดทาผังเมื องรวมได้ท นั ก าหนดเวลาที่ ผ งั เมื องรวมเดิ มสิ้ นสุ ดลง
เป็ นเหตุให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการผังเมืองในระหว่างที่ยงั ไม่มี
ผังเมืองรวมฉบับใหม่ใช้บงั คับ ประกอบกับในปั จจุบนั ได้มีการใช้บงั คับกฎหมายว่าด้วยการกาหนด
แผนและขั้น ตอนการกระจายอานาจให้แก่ อ งค์ก รปกครองส่ วนท้อ งถิ่ น ซึ่ ง กฎหมายดัง กล่ า วมี
บทบัญญัติ ที่กาหนดให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมีภารกิ จในการผังเมืองด้วย ดังนั้น เพื่อให้การ
วางและจัด ท าผัง เมื อ งรวมและการใช้ บ ัง คับ กฎหมายเป็ นไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเกิ ด
ประสิ ทธิ ผลสู งสุ ด สมควรกาหนดกลไกทางกฎหมายที่สามารถผลักดันให้การวางและจัดทาผังเมือง
รวมบรรลุวตั ถุ ประสงค์ของการผังเมือง รวมทั้งปรับปรุ งองค์ประกอบของคณะกรรมการผังเมือง
ให้เหมาะสม66
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน้ ี
“การผังเมือง” หมายความว่า การวาง จัดทาและดาเนิ นการให้เป็ นไปตามผังเมืองรวม
และผัง เมื องเฉพาะในบริ เวณเมื องและบริ เวณที่ เกี่ ยวข้องหรื อชนบท เพื่อสร้ างหรื อพัฒนาเมือง
หรื อส่ วนของเมืองขึ้นใหม่หรื อแทนเมืองหรื อส่ วนของเมืองที่ได้รับความเสี ยหายเพื่อให้มีหรื อทา

65
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518. (2518, กุมภาพันธ์ 13). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 92 (ตอนที่ 33/ฉบับพิเศษ),
หน้า. 8.
66
เหตุผลท้ายพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
52

ให้ดียิ่งขึ้ นซึ่ งสุ ขลักษณะ ความสะดวกสบาย ความเป็ นระเบี ยบ ความสวยงาม การใช้ประโยชน์


ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม เพื่อ ส่ งเสริ มการเศรษฐกิ จ
สังคม และสภาพแวดล้อม เพื่อดารงรั กษาหรื อบู รณะสถานที่ และวัตถุ ที่ มีป ระโยชน์หรื อคุ ณค่ า
ในทางศิ ล ปกรรม สถาปั ตยกรรม ประวัติ ศ าสตร์ หรื อโบราณคดี หรื อเพื่ อ บ ารุ งรั ก ษา
ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศที่งดงาม หรื อมีคุณค่าในทางธรรมชาติ
“ผังเมืองรวม” หมายความว่า แผนผัง นโยบายและโครงการ รวมทั้งมาตรการควบคุม
โดยทัว่ ไป เพื่ อ ใช้เ ป็ นแนวทางในการพัฒ นา และการด ารงรั ก ษาเมื องและบริ เ วณที่ เ กี่ ย วข้อ ง
หรื อชนบทในด้านการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ ง การสาธารณู ปโภค
บริ การสาธารณะ และสภาพแวดล้อม เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ของการผังเมือง
“ผังเมืองเฉพาะ” หมายความว่า แผนผังและโครงการดาเนิ นการเพื่อพัฒนาหรื อดารง
รั กษาบริ เวณเฉพาะแห่ ง หรื อกิ จการที่ เกี่ ยวข้อง ในเมื องและบริ เวณที่ เกี่ ย วข้องหรื อชนบท เพื่ อ
ประโยชน์แก่การผังเมือง
“อาคาร” หมายความว่า อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุ มการก่ อสร้ า งอาคาร
รวมทั้งสิ่ งปลูกสร้างทุกชนิดหรื อสิ่ งอื่นใดที่วางบน ใต้ หรื อผ่านเหนือพื้นดิน หรื อพื้นน้ า
มาตรา 1467 ในการวางและจัดทาผังเมืองรวมหรื อผังเมืองเฉพาะ จะตราพระราชกฤษฎีกา
กาหนดเขตที่ดินที่จะทาการสารวจเพื่อการวางและจัดทาผังเมืองรวมหรื อผังเมืองเฉพาะไว้ก็ได้
มาตรา 1768 ผังเมืองรวมประกอบด้วย
(5) ข้อกาหนดที่จะให้ปฏิบตั ิหรื อไม่ให้ปฏิบตั ิเพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของผังเมือง
รวมทุกประการ ดังต่อไปนี้
(ก) ประเภทและขนาดกิจการที่จะอนุญาตหรื อไม่อนุ ญาตให้ดาเนิ นการ
(ข) ประเภท ชนิ ด ขนาด ความสู ง และลักษณะของอาคารที่ จะอนุ ญาตหรื อไม่
อนุญาตให้สร้าง
(ค) อัตราส่ วนพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้
เป็ นที่ต้ งั อาคาร
(ง) อัตราส่ วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่แปลงที่ดินที่ใช้เป็ นที่ต้ งั อาคาร
(จ) อัตราส่ วนพื้นที่ ว่างอันปราศจากสิ่ งปกคลุ มของแปลงที่ ดินที่อาคารตั้งอยู่ต่อ
พื้นที่ใช้สอยรวมของอาคาร

67
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518. มาตรา 14 .
68
มาตรา 17 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการผังเมือง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558
53

(ฉ) ระยะถอยร่ นจากแนวธรรมชาติ ถนน แนวเขตที่ดิน อาคาร หรื อสถานที่อื่น ๆ ที่


จาเป็ น
(ช) ขนาดของแปลงที่ดินที่จะอนุญาตให้สร้างอาคาร
(ซ) ข้อ ก าหนดอื่ น ที่ จ าเป็ นโดยรั ฐ มนตรี ป ระกาศก าหนดตามค าแนะน าของ
คณะกรรมการผังเมือง
มาตรา 28 ผังเมืองเฉพาะประกอบด้วย
(5) ข้อกาหนดที่จะให้ปฏิ บตั ิหรื อไม่ให้ปฏิ บตั ิเพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของผัง
เมืองเฉพาะทุกประการหรื อบางประการ ดังต่อไปนี้
(ก) แนวทางและขนาดของที่อุปกรณ์
(ข) ประเภท ชนิ ด ขนาด และจานวนของอาคารที่จะอนุ ญาตหรื อไม่อนุ ญาตให้
สร้าง
(ค) ประเภท ชนิด ขนาด จานวนและลัก ษณะของอาคารที่ชารุ ดทรุ ดโทรม หรื ออยู่
ในสภาพอันเป็ นที่น่ารังเกี ยจ หรื อน่ าจะเป็ นอันตรายแก่ผูอ้ าศัยหรื อสัญจรไปมาซึ่ งจะถูกสั่งให้ร้ื อ
หรื อย้ายตามคาสัง่ ของคณะกรรมการบริ หารการผังเมืองส่ วนท้องถิ่นตามมาตรา 55
(ง) การใช้ ป ระโยชน์ ข องอาคารที่ อ นุ ญ าตให้ ส ร้ า งขึ้ นใหม่ หรื ออนุ ญ าต
ให้เปลี่ ยนแปลง อันผิดไปจากการใช้ประโยชน์ตามที่ได้ขอไว้เมื่อขออนุ ญาตก่อสร้ าง ซึ่ งจะต้อง
ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น
(จ) ขนาดและแปลงที่ดินที่จะอนุ ญาตให้เป็ นที่สร้างอาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ต่าง
ๆ ตามที่ ได้ระบุไว้ในผังเมื องเฉพาะ รวมทั้งบริ เวณของที่ ดินที่ ก าหนดให้เป็ นที่ โล่ งเพื่ อประโยชน์
ตามที่ระบุไว้
(ฉ) การส่ งเสริ มดารงรั กษาหรื อบูรณะสถานที่หรื อวัตถุ ที่มีประโยชน์หรื อคุ ณค่า
ในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์หรื อโบราณคดี
(ช) การดารงรักษาที่โล่ง
(ซ) การส่ งเสริ มหรื อบารุ งรักษาต้นไม้เดี่ยวหรื อต้นไม้หมู่
(ฌ) การรื้ อ ย้าย หรื อดัดแปลงอาคาร
(ญ) การอื่นที่จาเป็ นเพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองเฉพาะ
54

3.1.14 คาสั่ งหัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 6/2562 เรื่อง มาตรการส่ งเสริมและ
พัฒนามาตรฐานการประกอบธุรกิจโรงแรมบางประเภท69
เมื่ อ วัน ที่ 12 มิ ถุ น ายน 2562 ค าสั่ ง หัว หน้ า คณะรั ก ษาความสงบแห่ ง ชาติ ที่ 6/2562
เรื่ อง มาตรการส่ งเสริ มและพัฒนามาตรฐานการประกอบธุ รกิจโรงแรมบางประเภท มีผลบังคับใช้
เนื่ อ งจากปรากฏว่ า มี ผูน้ าอาคาร บ้า นเรื อ นที่ อ ยู่อ าศัย เปิ ดให้ บ ริ ก ารในรู ป แบบของโรงแรม
ตามแหล่ งท่องเที่ยวต่าง ๆ เพื่อหารายได้ มีจานวนมากกว่าสองหมื่นแห่ งที่ยงั ไม่ได้รับอนุ ญาตให้
ด าเนิ น การได้โ ดยถู ก ต้อ งตามกฎหมาย เนื่ อ งจากไม่ เ ป็ นไปตามข้อ ก าหนดการใช้ ที่ ดิ น ตาม
กฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมืองรวมตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง และข้อกาหนดเกี่ ยวกับการ
ประกอบธุ รกิ จโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ซึ่ งมีจานวนหลายพันแห่ งตามจังหวัดต่าง ๆ
มากกว่าห้าสิ บจังหวัด และยังมีที่ไม่ได้ดาเนิ นการให้เป็ นไปตามกฎกระทรวงตามกฎหมายว่าด้วย
การควบคุ ม อาคารอี ก หลายพัน แห่ ง จึ ง ให้โ อกาสด าเนิ น การเสี ย ให้ ถู ก ต้อ งภายในระยะเวลา
และตามเงื่ อนไขที่ กาหนด โดยมุ่งหมายให้เป็ นการส่ งเสริ มการประกอบอาชี พสุ จริ ตของชุ มชน
เพื่อให้เศรษฐกิ จมีความคล่องตัว เกิ ดการกระจายรายได้ เกิ ดการสร้ างงาน ขณะเดี ยวกันก็ลดความ
ขัดแย้งในชุ มชนและจัดให้กิจการที่อยู่นอกระบบเข้ามาอยู่ในระบบให้ถูกต้องตามกฎหมาย มีการ
บริ หารจัดการที่ดีและมีการตรวจสอบควบคุมโดยรัฐ ยกระดับมาตรฐานการประกอบการและสร้าง
ความปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์สิน ผูร้ ั บบริ การเองก็ได้รับการบริ การที่มีคุณภาพและเป็ นธรรม
โดยมีสาระสาคัญดังนี้
1) ให้โรงแรมประเภท 1 (ให้บริ การเฉพาะห้องพัก) และโรงแรมประเภท 2 (ให้บริ การ
ห้อ งพัก และอาหารหรื อ สถานที่ ส าหรั บ บริ ก ารอาหารหรื อ สถานที่ ส าหรั บ ประกอบอาหาร )
ซึ่ งเป็ นอาคารที่มีอยู่ก่อนวันที่ 19 สิ งหาคม 2559 และมีลกั ษณะอาคารตามข้อ 3 แห่ งกฎกระทรวง
กาหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุ รกิ จโรงแรม พ.ศ. 2559 ได้รับยกเว้นการใช้บงั คับ
กฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมืองรวมตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง และข้อบัญญัติทอ้ งถิ่นกาหนด
บริ เวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง รื้ อถอน เคลื่อนย้าย และใช้หรื อเปลี่ยนการใช้อาคารซึ่ งออกโดยอาศัย
อานาจตามความในมาตรา 8 (10) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
2) ให้ผูป้ ระกอบธุ รกิ จโรงแรมซึ่ งมี อาคารที่ มี ล ักษณะตามข้อ 3 แห่ ง กฎกระทรวง
ก าหนดลัก ษณะอาคารประเภทอื่ นที่ ใ ช้ป ระกอบธุ รกิ จโรงแรม พ.ศ. 2559 ซึ่ ง ใช้อาคารในการ
ประกอบธุ รกิจโรงแรมอยูใ่ นวันก่อนวันที่คาสั่งนี้ มีผลใช้บงั คับและอาคารนั้นมีลกั ษณะเป็ นการฝ่ า

69
คาสัง่ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 6/2562 เรื่ อง มาตรการส่งเสริ มและพัฒนามาตรฐานการประกอบ
ธุรกิจโรงแรมบางประเภท. (2562, มิถุนายน 12). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 (ตอนพิเศษ 151 ง), หน้า. 17.
55

ฝื นข้อกาหนดตามกฎหมายกรณี ใดกรณี หนึ่ งดังต่อไปนี้ แจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นทราบถึงการฝ่ า


ฝื นและดาเนินการปรับปรุ งระบบความปลอดภัยด้านอัคคีภยั ภายใน 90 วันนับแต่วนั ที่คาสั่งนี้ มีผล
ใช้บงั คับพร้อมทั้งยืน่ เอกสารหรื อหลักฐานเพื่อประกอบการตรวจสอบ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยประกาศกาหนด
(1) ฝ่ าฝื นประกอบธุ รกิ จโรงแรมโดยไม่ได้รับอนุ ญาตตามมาตรา 15 วรรคหนึ่ ง
แห่งพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547
(2) ฝ่ าฝื นใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ผิ ด ไปจากที่ ไ ด้ ก าหนดไว้ใ นผัง เมื อ งรวมหรื อ
ปฏิบตั ิการใด ๆ ซึ่ งขัดกับข้อกาหนดของผังเมืองรวมตามมาตรา 27 แห่ งพระราชบัญญัติการผังเมือง
พ.ศ. 2518
(3) ฝ่ าฝื นดัดแปลงอาคารโดยไม่ ไ ด้รับ ใบอนุ ญ าตหรื อไม่ ไ ด้รับ ใบรั บ แจ้ง จาก
เจ้าพนักงานท้องถิ่ นตามมาตรา 21 แห่ งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
(4) ฝ่ าฝื นใช้อ าคารประเภทควบคุ ม การใช้โ ดยไม่ไ ด้ใ บรั บ รองการดัด แปลง
อาคารตามมาตรา 32 แห่ ง พระราชบัญ ญัติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่ งแก้ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543
(5) ฝ่ าฝื นเปลี่ ย นการใช้อ าคารโดยไม่ ไ ด้รั บ ใบอนุ ญ าตหรื อ ไม่ ไ ด้รั บ ใบรั บ
แจ้ง จากเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา 33 แห่ งพระราชบัญญัติควบคุ มอาคาร พ.ศ.2522 ซึ่ งแก้ไข
เพิ่ ม เติ ม โดยพระราชบัญ ญัต ิค วบคุม อาคาร (ฉบับ ที ่ 2) พ.ศ. 2535 ให้ผู ป้ ระกอบธุ ร กิจ โรง
แรมที่ได้แจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถิ่ นทราบถึ งการฝ่ าฝื นและอยู่ระหว่างดาเนิ นการปรับปรุ งอาคาร
ตามวรรคหนึ่ ง ได้รับยกเว้นโทษทางอาญาสาหรับความผิดตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม กฎหมาย
ว่าด้วยการผังเมื อง หรื อกฎหมายว่าด้วยการควบคุ มอาคาร แล้วแต่กรณี ที่เกิ ดขึ้ นก่ อนวันที่ คาสั่ ง
นี้มีผลใช้บงั คับจนถึงวันที่ได้รับหนังสื อแจ้งผลการตรวจสอบจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น
3) เมื่อได้รับแจ้งตามข้อ 2) และมีเอกสารหรื อหลักฐานอันเชื่ อได้ว่าเป็ นผูป้ ระกอบ
ธุ ร กิ จ โรงแรมอยู่ใ นวัน ก่ อ นวัน ที่ ค าสั่ ง นี้ มี ผ ลใช้บ ัง คับ ให้ เ จ้า พนัก งานท้องถิ่ น ตรวจสอบการ
ปรับปรุ งอาคารให้เป็ นตามที่กาหนดในข้อ 2) ให้แล้วเสร็ จภายใน 30 วันนับ แต่วนั ที่ไ ด้รับ แจ้ง
ในกรณี ที่เจ้าพนักงานท้องถิ่ นพบเหตุไม่ถูกต้อง ให้แจ้งผูป้ ระกอบธุ รกิ จโรงแรมดาเนิ นการแก้ไข
และแจ้ง ผลการดาเนิ น การภายใน 30 วัน นับ แต่ วนั ที่ ไ ด้รับ แจ้ง และให้ เ จ้า พนัก งานท้องถิ่ น
ดาเนิ นการตรวจสอบการแก้ไขดังกล่ า วให้แล้วเสร็ จภายใน 50 วันนับแต่ วนั ที่ ได้รับแจ้งจากผู ้
ประกอบกิจการโรงแรม
56

4) เมื่ อ เจ้า พนัก งานท้อ งถิ่ น ด าเนิ น การตรวจสอบตามข้อ 3) แล้ว ให้แ จ้ง ผลการ
ตรวจสอบต่อผูป้ ระกอบธุ รกิ จโรงแรม และนายทะเบี ย นตามกฎหมายว่า ด้วยโรงแรมทราบเป็ น
หนัง สื อ เพื่ อด าเนิ นการต่ อไป ทั้ง นี้ ให้ผูป้ ระกอบธุ รกิ จโรงแรมซึ่ งผ่านการตรวจสอบสามารถ
ประกอบกิจการโรงแรมต่อไปได้เช่นเดี ยวกับเจ้าของหรื อผูค้ รอบครองที่ดินซึ่ งได้ใช้ประโยชน์ที่ดินมา
ก่อนที่ผงั เมืองรวมจะใช้บงั คับในพื้นที่น้ นั ตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง และให้ได้รับยกเว้นโทษ
ทางอาญาสาหรับความผิดตามข้อ 2 ที่เกิ ดขึ้นก่อนวันที่ได้รับหนังสื อแจ้งผลการตรวจสอบจากเจ้า
พนักงานท้องถิ่น

3.2 กฎหมายเกีย่ วกับการขออนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรม (ของต่ างประเทศ)


3.2.1 สหราชอาณาจักร70
1) ความหมายของสถานที่พกั แรมตามกฎหมาย
(1.1) ความหมายของสถานที่พกั ที่เป็ นโรงแรม
The Hotel Proprietor Act 1956 เป็ นบทบัญญัติที่เกี่ยวกับสิ ทธิ หน้าที่และความรับ
ผิดของเจ้าสานักโรงแรมซึ่ งนาไปใช้เฉพาะกับโรงแรมหรื อเจ้าสานักโรงแรมที่อยู่ภายใต้คานิ ยาม
ของกฎหมายนี้ เท่านั้น และในขณะเดี ยวกันก็เป็ นบทบัญญัติที่ช่วยบรรเทาความรับผิดของเจ้าสานัก
โรงแรมโดยการจากัดความรับผิดของเจ้าสานักโรงแรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สินของแขกอาศัย กฎหมาย
อังกฤษได้ให้ความแตกต่างระหว่างคาว่า “Inn” หรื อโรงแรมกับสถานประกอบการอื่น ๆ ไว้ โดยคา
ว่า “Inn” นั้นถู ก ใช้เป็ นค าในทางเทคนิ ค เพื่ ออธิ บ ายถึ ง โรงแรม (Hotel) ซึ่ ง อยู่ใ นค าจากัดความ
หรื ออยูภ่ ายใต้ขอบเขตของ The Hotel Proprietor Act 1956 ดังนั้น “Inn” ตาม HPA 1956 เท่านั้นที่
จะสามารถมีสิทธิ และหน้าที่ ตามที่กฎหมายกาหนดไว้ ส่ วนสถานประกอบการที่ไม่ได้อยู่ภายใต้
ขอบเขตคาจากัดความดังกล่ าวก็ไม่มีภาระหน้าที่ และในขณะเดี ย วกันก็ไ ม่ส ามารถที่ จะใช้สิ ท ธิ
ซึ่งเป็ นสิ ทธิในฐานะเจ้าของสานักโรงแรมได้
HPA 1956 Section 1(1) ได้ให้คาจากัดความของคาว่า “Inn” โดยกล่าวว่า โรงแรม
(Hotel) ที่อยู่ภายใต้ความหมายของพระราชบัญญัติน้ ี เท่านั้นที่จะถื อว่าเป็ น “Inn” และมีผลทาให้
เจ้าสานักมีสิทธิ และหน้าที่อย่างเจ้าสานักโรงแรม (Innkeeper)

70
ณัฐนันท์ หิ รัญรั ศมี สกุล. (2556). ปั ญหากฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจสถานที่พักที่ไม่ เป็ นโรงแรม.
วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิติศาสตร์, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 95.
57

คาจากัดความของคาว่า “Hotel” ตาม HPA 1956 ได้ถูกกาหนดไว้ใน Section 1 (3)


ซึ่ ง มี ค วามหมายว่า “โรงแรม” หมายถึ ง สถานประกอบการที่ จดั ตั้ง ขึ้ น เพื่ อจัด หาให้ ซ่ ึ ง อาหาร
เครื่ อ งดื่ ม และสถานที่ พ กั หลับ นอนแก่ ค นเดิ น ทางซึ่ งได้แสดงตนว่า เป็ นผูท้ ี่ มี ค วามประพฤติ
เหมาะสม สมควรจะรั บ ไว้ไ ด้ อี ก ทั้ง สามารถและเต็ม ใจที ่ จ ะจ่า ยค่า ตอบแทนที ่ เ หมาะสม
สาหรับการบริ การและสิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จดั หามาให้ ทั้งนี้ โดยปราศจากสัญญาพิเศษ
ต่อกัน
จากคาจากัดความดังกล่าวสามารถแยกองค์ประกอบของ “Hotel” ตาม HPA 1956 ได้
ดังนี้
1. สถานประกอบการที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อจัดหาให้ซ่ ึ งอาหาร เครื่ องดื่ม และสถานที่พกั
หลับนอน
2. เพื่อให้แก่ คนเดิ นทางซึ่ งได้แสดงตนว่าเป็ นผูท้ ี่ มีความประพฤติ เหมาะสม
สมควรจะรับไว้ได้
3. ทั้ง ยัง สามารถและเต็ม ใจที่ จ ะจ่า ยค่า ตอบแทนที่ เ หมาะสมสาหรั บ การ
บริ การและสิ่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จดั หามาให้
4. โดยปราศจากสัญญาพิเศษต่อกัน
เป็ นเรื่ อ งยากที่ จ ะระบุ ล งไปให้แ น่ น อนหรื อ ให้คาจากัด ความโดยเด็ด ขาดว่า
“Hotel” ในความหมายของ HPA 1956 Section 1(3) นั้นจะมีความหมายเช่ นไร แต่อย่างไรก็ตาม
เป็ นที่เข้าใจได้ว่า “Hotel” ควรต้องมีก ารเตรี ย มความพร้อมที่จะเสนอบริ ก ารและเต็มใจที่จะรับ
คนเดิน ทาง โดยปราศจากสัญญาพิ เศษต่อกัน หรื อเจ้าสานักโรงแรมจะต้องไม่เลื อกรั บคนเดิ นทาง
ซึ่ งการไม่เลื อกรับคนเดิ นทางในที่น้ ี หมายถึ ง ในระหว่างคนเดิ นทางด้วยกัน หากคนเดิ นทางยินดี
ที่จะจ่ายค่าตอบแทนให้อ ย่า งเหมาะสมสาหรับ บริ ก ารที่โรงแรมได้จดั หาให้ เจ้าสานัก โรงแรม
จะเลื อกรับหรื อไม่รับคนเดินทางนั้นไม่ได้
โดยทัว่ ไป หากสถานประกอบการใดมีคาว่า “Inn” หรื อ “Hotel” ประกอบอยู่ใน
ชื่ อของสถานประกอบการนั้น ก็ มกั จะถู กสันนิ ษ ฐานว่า เป็ น “Inn” ตาม HPA 1956 Section 1(3)
แต่อย่างไรก็ตาม การที่สถานประกอบการใช้คาดังกล่าวนาหน้าชื่ อหรื อใส่ ไว้ในชื่ อก็เพื่อที่จะสร้าง
แรงดึ ง ดู ด หรื อความประทับใจให้แก่ ลู กค้าโดยให้ลูกค้ามี ความรู ้ สึ กว่า สถานที่ น้ นั หรู หรามากกว่า
นอกจากนี้ แล้วการที่สถานประกอบการจะมีหรื อไม่มีใบอนุ ญาตให้ขายสุ ราหรื อเครื่ องดื่ มมึนเมาก็
ไม่ใช่ สิ่งที่จะชี้ หรื อสรุ ปได้ว่าสถานประกอบการนั้นเป็ น “Inn” ภายใต้ HPA 1956 รวมทั้งสถาน
ประกอบการที่จดั ให้มีการจดบันทึกลงทะเบียนแขกอาศัยด้วย ก็ไม่ถือว่าเป็ นองค์ประกอบที่จะสรุ ป
ได้วา่ เป็ น “Inn” หรื อ “Hotel”
58

ดัง นั้น สถานประกอบการที่ ใ ห้ บ ริ ก ารที่ พ กั ค้า งแรมอาจจะไม่ ใ ช่ “Inn” หรื อ


“Hotel” ตาม HPA 1956 เสมอไป เว้นแต่ว่า สถานประกอบการนั้นจะมีองค์ป ระกอบครบตาม
HPA 1956 Section 1(3) ครบถ้วน ดังนั้น หากสถานประกอบการใดที่มีองค์ประกอบตามที่กล่าว
มาข้างต้น เพียงบางข้อหรื อบางส่ วน แต่ไม่ครบถ้วนตามที่กฎหมายกาหนดไว้ก็ไม่ถือว่าเป็ น “Inn”
หรื อ “Hotel” ตาม HPA 1956 แม้วา่ สาธารณชนอาจจะเรี ยกหรื อเข้าใจว่าเป็ น “Inn” หรื อ “Hotel” ก็ตาม
(1.2) ความหมายของสถานที่พกั ที่ไม่เป็ นโรงแรม
The Hotel Proprietor Act 1956 ได้แ ยกประเภทของสถานที่ พ กั ที่ ไ ม่ จ ัด ว่า เป็ น
โรงแรมตามกฎหมายของประเทศอังกฤษ อาจกล่าวได้วา่ เป็ นการประกอบธุ รกิจที่ไม่เข้าข่ายที่จะอยู่
ในบัง คับ ของ HPA 1956 จึ ง ท าให้ไ ม่ มี สิ ท ธิ หน้า ที่ แ ละความรั บ ผิ ดใด ๆ ตาม HPA 1956 โดย
สามารถแยกได้ดงั นี้
1. สถานประกอบการใด ๆ ที่ให้บริ การอาหารและเครื่ องดื่ม แต่ไม่มีการให้บริ การ
ที่พกั ค้างแรม
2. สถานประกอบการที่ให้บริ การทั้งอาหาร เครื่ องดื่ม และที่พกั ค้างแรม แต่มี
การทาสัญญาเช่าที่พกั โดยเฉพาะ เช่น บ้านเช่า
3. สถานประกอบการที่เจ้าของแสดงให้เป็ นที่รู้กนั ว่า สถานที่ประกอบการนั้น
มีสิทธิ ที่จะเลือกรับลูกค้าได้
4. ชมรมหรื อสถาบันต่าง ๆ ที่บริ การที่พกั เฉพาะบุคคลที่เป็ นสมาชิ กของชมรม
หรื อลูกค้าของเขาเท่านั้น
5. สถานประกอบการที่รับเฉพาะแขกอาศัยที่มาพักเป็ นเวลานาน ๆ เท่านั้น
ทั้ง 5 ประเภทของสถานที่พกั ไม่จดั ว่า เป็ นโรงแรมตาม HPA 1956 นั้น จึงทาให้
ไม่มีสิทธิ และหน้าที่และความรับผิดตาม HPA 1956
2) นิติสัมพันธ์ระหว่างคู่สัญญา71
ความสั ม พันธ์ ร ะหว่า งคู่ สั ญ ญาในสั ญ ญาเข้า พัก อาศัย ในโรงแรมตาม HPA 1956
ย่อมหมายถึ ง คู่สั ญญาที่ เกี่ ยวข้องอันประกอบไปด้วยเจ้าสานักโรงแรมและแขกอาศัย เนื่ องจาก
ความสัมพันธ์น้ ีจะทาให้เกิดสิ ทธิ หน้าที่และความรับผิดระหว่างคู่สัญญา
สาหรับในเรื่ องสิ ทธิ หน้าที่และความรับผิดของเจ้าสานักโรงแรมต่อแขกอาศัยนั้นจัด
ว่าเป็ นเรื่ องที่สาคัญของกฎหมายคอมมอนลอว์ แต่ท้ งั นี้ ตอ้ งอยู่ภายใต้บทบังคับแห่ งกฎหมายลาย

71
ณัฐนันท์ หิ รัญรัศมีสกุล. อ้างแล้วเชิงอรรถที่ 70. หน้า 99-108.
59

ลัก ษณ์ อ ัก ษรซึ่ งบัญ ญัติ โ ดยกฎหมาย 2 ฉบับ คื อ The Innkeepers Act 1878 และ The Hotel
Proprietor Act 1956
(2.1) คู่สัญญาที่เกี่ยวข้อง
ส าหรั บ คู่ สั ญญาที่ เ กี่ ย วข้อ งตาม HPA 1956 นั้น จะประกอบไปด้วยเจ้า ส านัก
โรงแรม (Proprietor Of A Hotel) และคนเดินทาง (Any Traveller) ซึ่ ง HPA 1956 นั้น มิได้ให้คา
จากัดความเอาไว้ว่าหมายถึ งอะไร ซึ่ งจะแตกต่างกับพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 ที่ ได้ให้
ความหมายเอาไว้ชดั เจน การทราบถึงบุคคลซึ่ งเป็ นคู่สัญญาและความหมายของบุคคลที่เป็ นคู่สัญญา
ย่อมมี ความส าคัญตามสัญญา เพื่อที่ จะได้รู้ถึ งสิ ทธิ หน้าที่และความรั บผิดที่ จะต้องปฏิ บตั ิ ต่อกัน
ดังต่อไปนี้
1. เจ้า สานัก โรงแรม (Proprietor of a Hotel) อาจจะไม่ใ ช่ตวั บุค คลเพีย งคน
เดียว จากคดี ที่เกิดขึ้นเจ้าสานักโรงแรมมักจะเป็ นบริ ษทั (Company) และจะจัดการหรื อดาเนิ นธุ รกิจ
โดยใช้ผจู้ ดั การ (Manager) ซึ่ งในกรณี น้ ี ถือว่าเจ้าสานักโรงแรม (Innkeeper) คือ ตัวบริ ษทั ไม่ใช่ ตวั
ผูจ้ ดั การที่เป็ นผูด้ าเนินธุ รกิจ (The Innkeeper is the Company, and not the Manager)
2. คนเดินทาง (Any Traveller) คนเดินทางในที่น้ ี ไม่จาเป็ นต้องเป็ นแขกอาศัย
(Guest) คาว่า “Guest” นั้นใช้อธิ บายถึงคนเดินทางที่ได้ทาข้อตกลงหรื อมีพนั ธกรณี กบั ทางโรงแรม
ในการใช้บริ การที่พกั ค้างแรมของโรงแรม (a traveler who has engaged sleeping accommodation
at the inn.) ฉะนั้น คนเดินทางจะกลายเป็ นแขกอาศัยได้ต่อเมื่อมีการใช้ที่พกั ค้างแรมตั้งแต่ 1 คืนขึ้น
ไป
(2.2) หน้าที่และความรับผิดของเจ้าสานักโรงแรม
หน้าที่และความรับผิดของเจ้าสานักโรงแรม (Proprietor of a Hotel) ต่อคนเดินทาง
(Traveller) ตามกฎหมายอังกฤษมีดงั ต่อไปนี้
1) หน้าที่จดั หาอาหารและเครื่ องดื่ม
การจัดหาอาหารและเครื่ องดื่ มให้กบั คนเดิ นทาง ไม่ใช่ หน้าที่ที่เจ้าสานักโรงแรม
จะต้องปฏิบตั ิตาม HPA 1956 แต่เป็ นหน้าที่ที่ถูกกาหนดขึ้นโดยกฎหมายคอมมอนลอว์ ซึ่ งกาหนดให้
เจ้าสานักโรงแรมต้องจัดหาอาหารและเครื่ องดื่ มตามสมควรให้แก่คนเดิ นทาง แต่อย่างไรก็ตาม
เจ้าสานักโรงแรมอาจจะปฏิ เสธการให้บริ การดังกล่าวได้หากได้มีเหตุผลอันสมควร ดังนั้น หน้าที่
ดังกล่าวจึงไม่ใช่หน้าที่โดยเด็ดขาด เจ้าสานักโรงแรมอาจปฏิเสธได้โดยชอบด้วยกฎหมาย แต่ท้ งั นี้
ทั้งนั้น หากเจ้าสานักโรงแรมปฏิเสธไปโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เจ้าสานักโรงแรมอาจจะถูกฟ้ องร้อง
ดาเนินคดีอาญาได้ และความผิดนี้ไม่ใช่ความผิดตามบทบัญญัติของ HPA 1956 แต่เป็ นความผิดตาม
กฎหมายคอมมอนลอว์ ซึ่ งวัตถุ ประสงค์ของกฎหมายนั้นก็เพื่อบังคับให้โรงแรมทุกโรงแรมต้องมี
60

มาตรฐานในการตระเตรี ยมหรื อมี วิธีการที่ดีพอในการให้บริ การด้านอาหาร เครื่ องดื่ ม และการ


สันทนาการแก่คนเดินทางและแขกอาศัย
3) หน้าที่ในการจัดหาที่พกั
หน้าที่ในการจัดหาที่พกั โดยทัว่ ไปแล้ว เจ้าสานักโรงแรมมีภาระผูกพันตามกฎหมาย
คอมมอนลอว์ที่จะต้องรับแขกอาศัยไว้ แต่ความรับผิดในหน้าที่ที่ตอ้ งรับแขกอาศัยนี้ ก็มีขอ้ จากัดอยู่
บ้างตาม The Public Health Act 1936 (Section 157(3),vol. 26) คือ ภายใต้บทกฎหมายที่เจ้าสานัก
โรงแรมจะถูกลงโทษหากนาห้องพักในโรงแรมนั้นให้บุคคลอีกคนหนึ่ งเข้ามาพักอาศัยแทนโดยทั้ง
ๆ ที่ รู้ว่า ห้องนั้นได้ถูกพัก อาศัยมาก่ อนโดยบุ คคลที่ ป่วยจากโรคร้ าย ซึ่ ง เป็ นโรคที่ จะต้องแจ้งให้
ทางการทราบ และจะต้อ งท าความสะอาดหรื อฆ่ า เชื้ อโรคห้องนั้นก่ อนเป็ นอันดับแรก รวมถึ ง
สัม ภาระทั้ง หลายที่ อาจติ ดเชื้ อได้ และจะต้องได้รับใบรั บ รองจากเจ้า หน้า ที่ ส าธารณสุ ขประจา
ท้องถิ่ นหรื อหนังสื อรับรองซึ่ งแสดงให้เห็นว่าได้มีการฆ่าเชื้ อโรคหรื อทาความสะอาดสถานที่น้ นั
โดยปลอดภัยแล้ว และเป็ นที่พอใจแก่เจ้าพนักงานสาธารณสุ ขแล้ว ดังนั้น หากเป็ นกรณี ดงั กล่ าว
ข้างต้นเจ้าสานักโรงแรมสามารถปฏิเสธไม่รับแขกได้
เจ้าสานักโรงแรมมีหน้าที่ตอ้ งจัดหาที่พกั ให้แก่คนเดินทางที่เดินทางมาถึงโรงแรมและ
ต้องการเข้าพักโดยไม่จาเป็ นจะต้องมีการทาสัญญากันมาก่อนล่วงหน้า และหน้าที่น้ ี ไม่ใช่หน้าที่โดย
เด็ดขาด เจ้าสานัก โรงแรมมีสิทธิ ปฏิเสธที่จะไม่รับคนเดิ นทางเพิ่มได้หากปรากฏว่า ห้องพัก ของ
โรงแรมเต็มแล้ว และถึ งแม้จะมีห้องพักแขกอาศัยว่างอยู่ก็ตาม คนเดิ นทางก็ไม่มีสิทธิ ที่จะขอเข้า
ไปพักค้างคืนได้ เจ้าสานักโรงแรมไม่จาเป็ นต้องรับบุคคลนั้นไว้ หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ งคือ เจ้าสานัก
โรงแรมมีหน้าที่ต่อคนเดินทางในการที่จะต้องจัดหาที่พกั ให้กบั คนเดินทางก็ต่อเมื่อห้องพักนั้นยังไม่
เต็ม แต่ถา้ หากห้องพักเต็มหมดแล้วหน้าที่ดงั กล่าวนั้นก็หมดไป
อาจกล่ า วโดยสรุ ป ได้ว่า เจ้า ส านัก โรงแรมสามารถยกข้อกล่ า วอ้า งขึ้ นเพื่ อปฏิ เสธ
หน้าที่ในการจัดหาห้องพักได้ตามกฎหมาย หากเป็ นกรณี ดงั ต่อไปนี้
1. เมื่อห้องพักภายในโรงแรมเต็ม
2. เมื่อคนเดิ นทางจัดเป็ นผูท้ ี่ไม่สมควรที่จะถูกรับให้เข้าพัก เช่ น อาจก่อความราคาญ
หรื อรบกวนแขกอาศัยคนอื่น
3. เมื่อคนเดินทางนั้นไม่สามารถจ่ายค่าที่พกั ได้
นอกจากนี้ เจ้าสานักโรงแรม รวมถึงผูด้ ูแลสถานประกอบการอื่นที่มีบริ การให้เช่าที่
พักจะต้องทาการบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษรของผูม้ าพักทุกคนที่อายุต้ งั แต่ 16 ปี ขึ้นไป และไม่วา่ จะ
มีสัญชาติใดหรื อจะพักค้างกี่ คืน จานวนกี่ คนก็ตามและบันทึกนั้นจะต้องแสดงวันที่เข้าพักของแขก
อาศัยทุกคน
61

4) หน้าที่ของเจ้าสานักโรงแรมต่อทรัพย์สินของแขกอาศัย
เจ้า ส านัก โรงแรมมี หน้า ที่ ที่ จะต้องดู แลทรั พ ย์สิ นของแขกอาศัย และหน้า ที่ น้ ี เป็ น
หน้าที่ตอ้ งปฏิบตั ิต่อที่แขกอาศัย (Guest) เท่านั้น ไม่ใช่หน้าที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ิกบั คนเดินทาง (Traveller)
ด้วยแขกอาศัยในที่น้ ีหมายถึง บุคคลที่ตกลงมีขอ้ ผูกพันกับทางโรงแรมว่าจะใช้ที่พกั อาศัยอย่างน้อย
หนึ่งคืน เจ้าสานักโรงแรมไม่จาต้องรับผิดในความสู ญหายหรื อบุบสลายต่อทรัพย์สินที่แขกอาศัยได้
นาเข้ามาในโรงแรม เว้นเสี ยแต่
1. ในเวลาที่ทรัพย์สินสู ญหายหรื อบุบสลายนั้น คนเดิ นทางได้ทาการตกลงผูกพัน
กับทางโรงแรมที่จะใช้บริ การที่พกั แรมแล้ว
2. ความสู ญหายหรื อบุ บสลายนั้นได้เกิ ดขึ้ นในระหว่างที่ คนเดิ นทางยังเป็ นแขก
อาศัยของทางโรงแรมอยู่ และยังมีสิทธิ ที่จะใช้ที่พกั แรมได้
ในการชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนต่อความเสี ยหายหรื อบุบสลายอันเกิดแก่ทรัพย์สินที่
นาเข้ามาในโรงแรม ความรั บผิดของเจ้าสานักโรงแรมต่อแขกอาศัยคนหนึ่ งคนใดก็ตามจะต้องไม่
เกิน 50 ปอนด์ต่อของหนึ่งชิ้นหรื อไม่เกิน 100 ปอนด์ต่อของทั้งหมด เว้นแต่
1. ทรัพย์สินนั้นได้ถูกขโมย สู ญหายหรื อเสี ยหายไปเพราะการไม่ปฏิบตั ิตามหน้าที่
ประมาทเลินเล่อหรื อกระทาโดยจงใจของเจ้าสานักหรื อของลูกจ้างของเขา หรื อ
2. ทรั พย์สินนั้นถู ก ฝากไว้ใ นตู เ้ ซฟหรื อฝากไว้อยู่ใ นความอารั ก ขาดู แลของเจ้า
สานักหรื อลูกจ้างที่มีอานาจหน้าที่รับผิดชอบในเรื่ องนี้ หรื อบุคคลที่ปรากฏเป็ นที่เข้าใจได้วา่ เป็ นผู้
มีอานาจหน้าที่น้ นั
3. ในเวลาหลัง จากที่ แขกอาศัย ได้มาถึ งโรงแรมแล้ว หากเขาต้องการที่ จะฝาก
ทรัพย์สินนั้น แต่ดว้ ยเพราะเจ้าสานักโรงแรมหรื อลูกจ้างปฏิ เสธที่จะรับฝากของนั้นไว้หรื อเพราะ
การไม่ปฏิบตั ิตามหน้าที่ของเจ้าสานักหรื อลูกจ้าง เป็ นเหตุให้ไม่อาจจะฝากของนั้นได้
ซึ่ งในกรณี ขา้ งต้น เจ้าสานักโรงแรมไม่สามารถจะอ้างใช้สิทธิ ในข้อความจากัดความ
รับผิดนั้นได้และจะต้องรับผิดชดใช้เต็มจานวน
กฎหมายยังกาหนดต่อไปอีกว่า เจ้าสานักโรงแรมไม่มีสิทธิ ที่จะได้รับความคุ ม้ ครอง
ตาม HPA 1956 Section 2(3) ดังกล่าวนี้ เว้นแต่ ในเวลาที่ทรัพย์สินดังกล่าวนั้นได้ถูกนาเข้ามาใน
โรงแรมได้มีการแสดงโดยเปิ ดเผยหรื อเป็ นที่สังเกตได้ง่าย ซึ่ งสาเนาประกาศตามที่ HPA 1956 ได้
กาหนดแบบไว้ ในสถานที่ที่แขกอาศัยสามารถมองเห็ นและอ่านได้อย่างชัดเจน เช่ น บริ เวณโต๊ะ
แผนกต้อนรับ หรื อประตูทางเข้าหลักของโรงแรม เป็ นต้น
5) หน้าที่ของเจ้าสานักโรงแรมต่อความปลอดภัยของแขกอาศัย
62

เจ้าสานักโรงแรมมีหน้าที่ ต้องให้การดูแลความปลอดภัยโดยสมควรแก่บุคคลที่เป็ น
แขกอาศัยไม่ให้ได้รับอันตรายหรื อบาดเจ็บอันเนื่ องมาจากความประมาทเลินเล่อของโรงแรมตลอด
ระยะเวลาที่บุคคลนั้นเป็ นแขกอาศัยอยู่ แต่ความรับผิดนี้ไม่ใช่ความรับผิดโดยเด็ดขาด แต่ถึงอย่างไร
ก็ตาม เจ้าสานักโรงแรมก็ยงั คงมีหน้าที่ที่จะต้องดูแล ตรวจตราบริ เวณโรงแรมให้มีความปลอดภัย
และใช้ความระมัดระวังอย่างวิญญูชนจะพึงปฏิบตั ิ
วัต ถุ ป ระสงค์ข องกฎหมายในกรณี น้ ี มุ่ ง ไปที่ ก ารให้ค วามคุ ้ม ครองกับ แขกอาศัย
กล่าวคือ แขกอาศัยเท่านั้นที่จะมี สิทธิ เรี ยกร้ องต่อเจ้าสานักโรงแรมในกรณี ดงั กล่ าวได้ ไม่รวมถึ ง
บุคคลอื่นที่เข้ามาในโรงแรมในฐานะที่เป็ นอาสาสมัคร ผูผ้ ่านมา แขกอาศัยส่ วนตัวของเจ้าสานัก
โรงแรมหรื อลูกจ้างด้วย
(2.3) สิ ทธิของสานักโรงแรม
ในกรณี ของเจ้าสานักโรงแรมได้ถูกกาหนดขึ้นโดย The Innkeepers Act 1878 ดังนี้
1) สิ ทธิ ของเจ้าของสานักโรงแรมในการยึดหน่วงทรัพย์ของแขกอาศัย
ตาม The Innkeepers Act 1878 เจ้าสานักโรงแรมมีสิทธิ ที่จะยึดหน่วงทรัพย์ของ
แขกอาศัยเพื่อเรี ยกเอาค่าตอบแทนในการจัดหาบริ การให้แก่ แขกอาศัย รวมถึ งการจาหน่ ายและ
จัดการขายทอดตลาดซึ่ งสัมภาระหรื อสิ นค้าใด ๆ ที่ได้ยดึ หน่วงไว้หรื ออันได้ฝากไว้หรื อปล่อยทิ้งไว้
ในโรงแรมหรื ออาณาบริ เวณของโรงแรม กฎหมายได้กาหนดไว้ว่าการจาหน่ายหรื อขายทอดตลาด
ดังกล่าวจะกระทาได้ก็ต่อเมื่อสัมภาระหรื อสิ นค้านั้นได้ถูกปล่อยทิ้งไว้เป็ นเวลาล่วงเลยไปแล้วเป็ น
ระยะเวลา 6 สัปดาห์ และโดยปราศจากการชาระหนี้
กฎหมายยัง ได้ก าหนดต่ อ ไปอี ก ว่า อย่า งน้อย 1 เดื อนก่ อ นที่ จ ะท าการขาย
ดังกล่าว เจ้าสานักโรงแรมจะต้องลงโฆษณาในหนังสื อพิมพ์ทอ้ งถิ่นและหนังสื อพิมพ์ในประเทศอีก
ฉบับหนึ่งในพื้นที่ที่ทรัพย์สินหรื อสิ นค้านั้นได้ฝากหรื อปล่อยทิ้งไว้ และในโฆษณานั้นจะต้องบอก
ถึงเจตนาในการที่จะขายและข้อความบรรยายสั้น ๆ เกี่ ยวกับสิ นค้าหรื อทรัพย์สินนั้น พร้ อมทั้งชื่ อ
เจ้าของหรื อชื่อบุคคลผูไ้ ด้ฝากหรื อทิ้งของนั้นไว้
2) สิ ทธิของเจ้าของสานักโรงแรมในการปฏิเสธการให้บริ การ
เมื่อพิจารณาหน้าที่ของเจ้าสานักโรงแรมในการที่จะต้องจัดหาอาหาร เครื่ องดื่ม
และที่พกั ให้กบั คนเดิ นทางและแขกอาศัยแล้ว ในขณะเดี ยวกันก็ได้ทาให้เกิ ดสิ ทธิ แก่คนเดิ นทาง
ในการที่จะได้รับบริ การหรื อที่จะเรี ยกร้ องบริ การนั้น แต่อย่างไรก็ตาม เจ้าสานักโรงแรมก็มีสิทธิ
ที่จะปฏิเสธการให้บริ การดังกล่าวได้ในบางกรณี ตามกฎหมายคอมมอนลอว์และ HPA 1956 Section
1(3) ซึ่ งได้ให้คาจากัดความของคาว่า “Inn” ไว้ และนัน่ คื อสิ่ งที่กาหนดขอบเขตหน้าที่ของเจ้าสานัก
โรงแรมที่มีต่อหรื อให้บริ การดังกล่าวแก่บุคคลอื่นที่ไม่ใช่คนเดินทาง
63

3) สิ ทธิ ของเจ้าสานักโรงแรมที่จะเรี ยกร้องให้จ่ายเงินล่วงหน้า


ไม่มีบทบัญญัติใดที่กาหนดให้เจ้าสานักโรงแรมจะต้องได้รับค่าตอบแทนภาย
หลังจากที่ แขกอาศัย ได้ใช้บริ ก ารของทางโรงแรมแล้ว ดัง นั้น เจ้าส านักโรงแรมจึ งอาจเรี ยกร้ อง
ให้มีการจ่ายค่าตอบแทนล่วงหน้าเป็ นจานวนเงินที่สมควรได้
3.2.2 สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives)72
1) รั ฐบัญญัติการท่ องเที่ ยวแห่ งสาธารณรั ฐมัลดี ฟส์ ค.ศ. 1999 (Maldives Tourism Act
1999)
รั ฐ บัญ ญัติ น้ ี ได้ ก าหนดเขตพื้ น ที่ แ ละเกาะที่ ใ ช้ ส าหรั บ การพัฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
ในสาธารณรัฐมัลดีฟส์ ซึ่ งได้แก่ อุตสาหกรรมโรงแรม รี สอร์ ท เกสต์เฮาส์ ศูนย์ดาน้ า เรื อท่องเที่ยว
และออกกฎระเบียบเพื่อรองรับการให้บริ การดังกล่าว
การจดทะเบียนและการรับใบอนุ ญาตให้ประกอบการ “รี สอร์ ท” รัฐบัญญัติขอ้ 16 (ก)
ได้ก าหนดว่า รี ส อร์ ท ทุ ก แห่ ง ในหมู่ เกาะมัล ดี ฟ ส์ จะต้อ งด าเนิ น การจดทะเบี ย นอย่า งเดี ย วกัน
ที่ ก ระทรวงการท่อ งเที ่ย วซึ่ ง สามารถด าเนิ น กิ จ การรี ส อร์ ท ได้ก ็ต ่อ เมื ่อ ได้ร ับ ใบอนุ ญ าต
ที่กระทรวงการท่องเที่ยวออกให้แล้วเท่านั้น
นอกจากนี้ ข ้อ 16 (ข) ก าหนดว่า ใบอนุ ญาตให้ดาเนิ นกิ จการรี ส อร์ ท จะถู ก ออกให้
ก็ต่อเมื่อได้พิจารณาแล้วเห็นว่า สถานประกอบการมีเงื่อนไขที่น่าพอใจว่า “สิ่ งปลูกสร้างของรี สอร์ ท
ได้ เ สร็ จ สมบู ร ณ์ ต ามแนวทางที่ ก ระทรวงการท่ อ งเที่ ย วก าหนดว่ า เป็ นสิ่ งจ าเป็ นส าหรั บ
สถานประกอบการ ก็จะต้องจัดหาไว้ในรี สอร์ ทด้วย”
ส่ วนกรณี ของเกสต์เฮาส์ ข้อ 18 แห่ งรั ฐบัญญัติการท่ องเที่ ยวแห่ งสาธารณรั ฐมัลดี ฟส์
ค.ศ. 1999 ได้กาหนดว่าใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิ จเกสต์เฮาส์ จะออกให้ต่อเมื่อสถานประกอบการ
มีเงื่อนไขที่น่าพอใจว่า “อาหาร หรื อสิ่ งอานวยความสะดวกเป็ นไปตามตามแนวทางที่กระทรวง
การท่องเที่ยวกาหนดว่าเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับสถานประกอบการ ก็จะต้องจัดหาไว้ในเกสต์เฮาส์ดว้ ย”
ทั้งนี้ ข้อ 44 แห่งรัฐบัญญัติ ให้กระทรวงการท่องเที่ยวมีดุลยพินิจในการแบ่งแยกลาดับ
ชั้นของสถานที่ พ กั ตากอากาศ และเกสต์เฮาส์ ไ ด้ โดยประเมิ นจากการให้บริ การและมาตรฐาน
ของบริ การเหล่านั้นบนพื้นฐานความเป็ นจริ งของสถานประกอบการเหล่านั้น
นอกจากนี้ ข อ้ 45 แห่ ง รัฐ บัญ ญัติ ยัง ก าหนดให้ก ระทรวงการท่อ งเที ่ย วมีอานาจ
ที่จะใช้ดุลยพินิจในการควบคุม (The Discretion to Monitor) ธุ รกิ จเกสต์เฮาส์ และตรวจสอบให้แน่ ใจ

72
พัทธ์ ธีร า ศรี ประทักษ์. (2558). มาตรการทางกฎหมายเพื่อ ความปลอดภัย สุ ขอนามั ย และสิ่ งแวดล้ อ ม.
วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิติศาสตร์, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. หน้า 110.
64

ว่า บริ การในสถานประกอบการนั้นเป็ นไปตามแนวทางที่วางไว้โดยกระทรวงการท่องเที่ยวรวมทั้ง


บทบัญญัติแห่งรัฐบัญญัติน้ ีและระเบียบต่าง ๆ หรื อไม่
2) ระเบียบว่าด้วยการป้ องกันและอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
(Regulation on the Protect and Conservation of Environment in Tourism Industry)
เนื่ อ งจากทิ ว ทัศ น์ แ ละทรั พ ยากรธรรมชาติ ท างทะเล ของสาธารณรั ฐ มัล ดี ฟ ส์
เป็ นจุ ดดึ งดู ดความสนใจให้นักท่องเที่ ยวอยากเดิ นทางมาสัม ผัส จึ ง ทาให้ส ถานที่ พกั ตากอากาศ
จ านวนมากตั้ง อยู่ท่ า มกลางพื้ น ที่ เ ปราะบางต่ อ การถู ก รุ ก ล้ า ท าลาย หรื อ รบกวนสิ่ ง แวดล้อ ม
และระบบนิ เวศวิทยาทางทะเล เช่ นนี้ สาธารณรัฐมัลดี ฟส์ จึงออกมาตรการเพื่อที่จะควบคุ ม กากับ
ดู แ ลธุ ร กิ จ โรงแรม รี ส อร์ ท ที่ พ ัก กลางน้ า บัง กะโล กระท่ อ ม ที่ จ อดเรื อ ส าราญอย่ า งใกล้ชิ ด
เพื่อมิให้การดาเนินธุรกิจดังกล่าวส่ งผลกระทบหรื อสร้างความเสี ยหายต่อสิ่ งแวดล้อม
ระเบี ย บว่า ด้ว ยการป้ องกัน และอนุ รั ก ษ์สิ่ ง แวดล้อ มในอุ ต สาหกรรมการ
ท่ อ งเที่ ย ว มี เจตนารมณ์ ที่ จะปกป้ องสิ่ งแวดล้อมในอุ ตสาหกรรมการท่ องเที่ ยว รวมถึ งส่ ง เสริ ม
และสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน ซึ่ งระเบียบดังกล่าวมีสาระสาคัญเกี่ยวกับการประกอบ
ธุ รกิจที่พกั แรมที่ไม่ใช่โรงแรม ดังต่อไปนี้
นิ ยามของคาว่า “อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว” หมายถึง การดาเนิ นกิ จการ รี สอร์ ท
เกสต์เฮ้าส์ เรื อสาราญ รวมถึงสถานที่ และสิ่ งอานวยความสะดวกอื่นใดที่อยูภ่ ายใต้การจดทะเบียน
ต่อกระทรวงการท่องเที่ยว
1) ด้านสิ่ งแวดล้อม
(1) ในการป้ องกันสิ่ งแวดล้อม ระเบี ยบได้กาหนดว่ากิ จกรรมต่ าง ๆ ดังนี้
จะดาเนิ นต่อไปได้เมื่ อได้รับอนุ ญาตจากกระทรวงการท่องเที่ ยวแล้ว (ข้อ 2.1) ซึ่ งได้แก่ การขุด
ทะเลสาบหรื อแผ้ว ถางที่ ดิ น สิ่ ง ปลู ก สร้ า งบนชายหาด หรื อทะเลสาบ ขยายพื้ น ที่ ช ายหาด
ด้ว ยการสู บ ทรายขึ้ น มาใช้ ก่อ สร้ า งก าแพงกัน คลื ่ น ทะเลหรื อ หิ น คุ ม้ กัน ฝั ่ ง การโค่น ต้น ไม้
กระทาการใดก็ตามที่อาจเป็ นการส่ งผลกระทบร้ายแรงต่อพืชพรรณหรื อแหล่งน้ าบนเกาะ
การยื่นคาขออนุ ญาตตามระเบี ยบ ข้อ 2.1 จะต้องมี การประเมิ น ถึ ง ความ
เหมาะสมของโครงการ โดยจะต้องยื่นรายละเอียดพร้ อมแผนของกิจกรรมประกอบด้วย ก่อนที่จะ
มีการเริ่ มดาเนินการก่อสร้างโครงการหรื อกิจกรรมที่กาหนดไว้ในระเบียบ ข้อ 2.1
(2) การกาจัดขยะ หรื อสิ่ งปฏิกลู และระบบบาบัดน้ าเสี ย
ถังขยะจะต้องถูกวางไว้ในพื้นที่ต่าง ๆ ของรี สอร์ ท เกสต์เฮาส์ หรื อที่พกั อื่น
ใด เพื่ อให้ สามารถทิ้ งได้โดยง่ าย ซึ่ งถังเหล่ านั้นจะต้องสะอาด ถู กสุ ขลักษณะและมี ฝาปิ ดที่ มิ ดชิ ด
(ระเบียบ ข้อ 5.1) ส่ วนอาหารและเครื่ องดื่ ม สิ่ งของเน่ า เปื่ อย พลาสติ ก กระดาษ แก้ว เศษเหล็ ก
65

กระป๋ อง ขยะที่ มี พิ ษ หรื อเป็ นอันตราย จะต้องถู ก แยกไว้ใ นถัง ขยะแต่ ล ะประเภท โดยมี ฝ าปิ ด
อย่างมิดชิ ด (ระเบียบ ข้อ 5.2) นอกจากนี้ ระเบียบยังกาหนดห้ามมิให้เผาขยะที่เกิ ดจากการดาเนิ น
ธุ รกิ จที่พกั ในพื้นที่เปิ ดกว้างของรี สอร์ ท ดังนั้น จึงต้องมีเตาเผาขยะสาหรับจัดการกับขยะเหล่านั้น
และห้ามเผาวัตถุ ที่ป ล่ อยก๊ า ซพิษ ออกมาสู่ ช้ นั บรรยากาศ เช่ น พลาสติ ก แต่ จะต้องเก็ บ รวบรวม
และส่ งให้เขตพื้นที่ที่รัฐกาหนดให้เป็ นที่จดั การขยะประเภทนี้ (ระเบียบ ข้อ 5.3 และ 5.4)
สาหรับหลักการกาจัดสิ่ งปฏิ กูลจะต้องใช้วิธีที่เป็ นอันตรายต่อสิ่ งแวดล้อม
ให้น้อยที่ สุด โดยจะต้องไม่ติดตั้งระบบกาจัดขยะไว้ใกล้กบั แหล่ งอาหาร ที่อยู่อาศัยของสิ่ งมีชีวิต
และจะต้องตรวจสอบให้แน่ ใจว่าไม่มีรอยแยกหรื อรอยร้ าว กลิ่ นที่ไม่พึงประสงค์ หรื อสิ่ งรบกวน
อื่ นใด นอกจากนี้ ยังห้า มระบายสิ่ งปฏิ กูลที่ เป็ นของเหลวจากห้องน้ า ลงสู่ ผิวดิ น หรื อสู บไปทิ้ ง
ในหนองน้ า บึง หรื อทะเลสาบ (ระเบียบ ข้อ 7)
2) ด้านอนามัย
ห้า มมิ ใ ห้รีส อร์ ท ทากิ จกรรมใด ๆ ที่ จะก่ อให้เกิ ด การปนเปื้ อนต่อแหล่ ง กัก
เก็บ น้ า และห้า มนาน้ าบาดาลที่อยู่ใต้รีสอร์ ทมาใช้เป็ นน้ าอุปโภคหรื อบริ โภคสาหรับแขกผูม้ าพัก
หรื อพนักงาน (ระเบียบ ข้อ 6.5) ส่ วนน้ าดื่มจะต้องกักเก็บไว้อย่างปลอดภัย ด้วยวิธีที่ไม่ก่อให้เกิด
การปนเปื้ อน ซึ่ งคุ ณภาพของน้ า ดื่ ม จะต้องไม่ ต่ า กว่า ค่ า มาตรฐานที่ ก ฎหมายก าหนด (ระเบี ย บ
ข้อ 6.6)
3) ด้านบทลงโทษ
หากผูป้ ระกอบการด้านธุ รกิจที่พกั รี สอร์ ทหรื อเกสต์เฮาส์ ฝ่ าฝื นบทบัญญัติ
ตามระเบีย บว่า ด้วยการป้ องกันและอนุ รัก ษ์สิ่ ง แวดล้อมในอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย ว ย่อ มมี
ความผิดตามกฎหมาย และจะต้องระวางโทษปรับ ตั้งแต่ 1000.00 MVR แต่ไม่เกิน 10,000.00 MVR
ซึ่ งพิจารณาตามความรุ นแรงของการไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบ และในกรณี ที่มีการไม่ปฏิบตั ิเกิดขึ้นซ้ า
อีก จะต้องระวางโทษตั้งแต่ 50,000.00 MVR แต่ไม่เกิน 100,000.00 MVR ซึ่ งกระทรงการท่องเที่ยว
จะสงวนสิ ทธิ์ เพิกถอนใบอนุญาตนั้นก็ได้ (ระเบียบ ข้อ 8.1)
3.2.3 สาธารณรัฐสิ งคโปร์ (Republic of Singapore)
ปัจจุบนั สาธารณรัฐสิ งคโปร์ถือเป็ นหนึ่งในประเทศที่มีความเจริ ญสู งสุ ดในแถวหน้าของโลก
ขึ้ น ชื่ อ ว่า เป็ นหนึ่ ง ในประเทศที่ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต สู ง มี ค วามหลากหลายของเชื้ อ ชาติ แ ละศาสนา
เป็ นเมืองท่องเที่ยวสาคัญ เมืองท่าและเมื องเศรษฐกิ จการค้าหลักในแถบเอเชี ย และที่ โดดเด่นอีก
อย่างหนึ่ ง คื อ สาธารณรัฐสิ งคโปร์ เป็ นเมื องที่ ข้ ึนชื่ อด้านการท่องเที่ยวที่ติดอันดับโลกประเทศหนึ่ ง
เนื่องจากสาธารณรัฐสิ งคโปร์ สามารถเที่ยวได้ตลอดปี มีอากาศใกล้เคียงกับประเทศไทย ในด้านโรงแรม
และที่ พกั ในสาธารณรัฐสิ งคโปร์ มีบริ การที่ พกั หลากหลายตั้งแต่ที่พกั ราคาประหยัดที่มกั กระจาย
66

อยู่ตามแหล่งท่องเที่ยวในเขตลิ ตเติ้ลอินเดีย (Little India) ไชน่ าทาวน์ บูกิส (Bugis) คลาร์ ก คีย ์
(Clarke Quay) อีสต์ โคสต์ (East Coast) ถัดมาเป็ นที่พกั ระดับกลาง บูทีคโฮเต็ล (Boutique Hotel)
ในแถบแม่น้ าสิ งคโปร์ และไชน่าทาวน์ ไปจนถึงโรงแรม รี สอร์ ท หรู หรา 5 ดาวที่กระจุกกันอยูบ่ ริ เวณ
ริ มอ่าวมาริ น่าและถนนออชาร์ ด (Orchard Road)
สาธารณรัฐสิ งคโปร์ มีรัฐบัญญัติโรงแรม ค.ศ. 1954 (Hotel Act 1954)73 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติม
เมื่อ ค.ศ. 1999 เป็ นบทบัญญัติที่กาหนดมาตรการเพื่อควบคุม กากับและดูแลการประกอบธุ รกิจที่พกั
แรมต่าง ๆ โดยกฎหมายฉบับนี้จะประกอบไปด้วยเรื่ อง
1) นิยามคาว่า “โรงแรม”
ความหมายของคาว่า “โรงแรม” ตามรัฐบัญญัติโรงแรม ค.ศ. 1954 หมายถึง บ้านพัก
อาศัยพร้อมอาหาร บ้านพัก เกสเฮาส์ และอาคารหรื อสถานที่อื่น ๆ ที่ไม่ใช่ ที่พกั สาธารณะ ซึ่ งประกอบ
ไปด้วย ห้อ งพัก ให้ค นเข้า พัก อาศัย ได้ไ ม่น อ้ ยกว่า 4 ห้อ ง หรื อ ห้อ งที ่ถ ูก กั้น ขึ้ น เป็ นที ่พ กั พิง
หรื อ อยู อ่ าศัย โดยมีว ตั ถุ ป ระสงค์เ พื ่อ การให้เ ช่ า หรื อ เสี ย ค่า ตอบแทน โดยเจ้า ของบ้า นเอง
ผูค้ รอบครอง ผูเ้ ช่ า(ผูใ้ ห้เช่าช่วง) หรื อผูจ้ ดั การที่พกั เป็ นผูใ้ ห้บริ การอานวยความสะดวกในที่พกั แรม
2) กาหนดให้คาว่า “ผูจ้ ดั การโรงแรม” หมายถึง บุคคลใด ๆ ซึ่ งเป็ นผูถ้ ือใบอนุญาตให้
บริ ห ารจัด การโรงแรมนั้น โดยต้อ งได้รั บ อนุ ญาตตามรั ฐ บัญ ญัติ น้ ี รวมทั้ง หลัก เกณฑ์ ก ารออก
ใบอนุญาตผูจ้ ดั การโรงแรม (Licensing of managers)
3) การแต่งตั้งคณะกรรมการออกใบอนุญาตโรงแรม (Hotel Licensing Board)
4) การออกใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การโรงแรม โดยที ่ก าหนดเงื ่ อ นไขเพื ่อ ใช้
ประกอบในการพิ จารณาออกใบอนุ ญาตประกอบกิ จการโรงแรมนั้น รั ฐบัญ ญัติห้า มมิ ใ ห้ออก
ใบอนุญาตประกอบกิ จการโรงแรม เว้นแต่จะเป็ นที่พึงพอใจแก่คณะกรรมการกากับดูแลทะเบียน
โรงแรม ในด้า นที ่เ ป็ นสถานที ่พ กั ที ่ไ ม่ไ ด้ถ ูก ใช้ใ ห้เ ป็ นบ้า นที ่ข ดั ต่อ ความสงบเรี ย บร้ อ ย
และสถานที่พ กั แรมที่ไ ด้รับ การจดทะเบี ยนมี ก ารเปลี่ ยนโครงสร้ างอาคารให้เป็ นโรงแรมแล้ว
รวมถึงมีการจัดเตรี ยมอาหารที่เหมาะสมและถูกสุ ขลักษณะ
5) การพักและการเพิกถอนใบอนุญาตและใบรับรองการจดทะเบียนโรงแรม
6) อานาจในการเข้าค้นและตรวจสอบ (Power of entry and inspection)
7) บทลงโทษ (Penalties)
แต่ ส าหรั บการประกอบธุ รกิ จสถานที่ พ กั ที่ ไม่ เป็ นโรงแรม ในสาธารณรั ฐสิ งคโปร์
รั ฐบัญญัติ โ รงแรม ค.ศ. 1954 (Hotel Act 1954) ไม่ ไ ด้ เ ข้า ไปควบคุ ม แต่ อ ย่ า งใด เนื่ อ งจาก

73
พัทธ์ธีรา ศรี ประทักษ์. อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 72. หน้า 121.
67

การประกอบธุ รกิ จสถานที่ พกั ที่ ไม่เป็ นโรงแรมที่ มีห้องพักไม่เกิ น 4 ห้อง มิ ได้อยู่ในบทนิ ยาม
ของการประกอบธุ รกิจโรงแรมแต่อย่างใด 74

74
ณัฐนันท์ หิ รัญรัศมีสกุล. อ้างแล้วเชิงอรรถที่ 70. หน้า 123.

You might also like