You are on page 1of 31

ตัวอักษรแบบรัตนโกสินทร์

และตัวอักษรแบบอาลักษณ์
ตัวอักษรไทย
พ.ศ. ๑๘๒๖ พ่ อ ขุ น รามค าแหงแห่ ง อาณาจั ก รสุ โ ขทั ย
น า ตั ว อั ก ษ ร “ ม อ ญ โ บ ร า ณ ” แ ล ะ “ อั ก ษ ร ข อ ม โ บ ร า ณ ”
(ซึ่งพัฒนามาจากอักษรปัลลวะทั้งคู่) มาจัดระบบอักขรวิธีใหม่โดยการ
วางสระไว้บนบรรทัดเดียวกับพยัญชนะและดัดแปลงรูปแบบเรียกว่า
“ลายสือไทย” ในปี พ.ศ. ๑๘๒๖ และสร้างศิลาจารึกหลักที่ ๑ ในปี
พ.ศ. ๑๘๓๕ เป็นต้นแบบของตัวอักษรไทยในปัจจุบัน
ลายสือไทย
ตัวอักษรสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ตั ว อั ก ษรไทยแบบรั ต นโกสิ น ทร์ หรื อ ตั ว อั ก ษร ที่ ใ ช้ ใ น
ปัจจุบันนี้แบ่งตามลักษณะเด่น ของเส้นอักษร ได้ ๒ ประเภท

ประเภทตัวเหลี่ยม ประเภทตัวมน
ประเภทตัวเหลี่ยม

ลั ก ษณะเด่ น คื อ เส้ น ตั ว อั ก ษรส่ ว นใหญ่


เป็นเส้นตรง ตัวอักษรแบบเหลี่ยม
ประเภทตัวเหลี่ยม
•ตัวอักษรแบบอาลักษณ์
•ตัวอักษรแบบพระยาผดุงวิทยาเสริม
•ตัวอักษรแบบโรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
•ตัวอักษรแบบโรงเรียนสายน้าทิพย์

•ตัวอักษรแบบภาควิชาประถมศึกษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตัวอักษรแบบอาลักษณ์
ตั ว อั ก ษรอาลั ก ษณ์ ข องแผนกอาลั ก ษณ์ กองประกาศิ ต
สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ใช้เป็นแบบตัวอักษรที่สวยงาม ใช้ใน
งานเขียนเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ การเขียนทางราชการ หรือใช้
เขี ย นเพื่ อ การเกี ย รติ ย ศ หรื อ ในเอกสารพิ เ ศษ ต่ า งๆ เช่ น
ประกาศนียบัตร ปริญญาบัตร เป็นต้น
ตัวอักษรแบบพระยาผดุงวิทยาเสริม
ตั ว อั ก ษ ร แ บ บ พ ร ะ ย า ผ ดุ ง วิ ท ย า เ ส ริ ม
เป็นตัวอักษรที่พระยาผดุงวิทยาเสริมเขียน
ในแบบหัดอ่านหนังสือภาษาไทยภาคต้น แบบฝึก
อ่าน ก ข ก กา และหนังสือหัดอ่านเบื้องต้น
ตัวอักษรแบบโรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
มีลักษณะตัวอักษรคล้ายแบบของพระยาผดุงวิทยาเสริม
ซึ่ ง อาจารย์ สู ริ น สุ พ รรณรั ต น์ อาจารย์ ใ หญ่ ท่ า นแรกของ
โรงเรียน ได้นาลายมือของบิดา ซึ่งเป็นเจ้าของและอาจารย์ใหญ่
โรงเรียนสุพมาศพิทยาคม มาเป็นต้นแบบให้อาจารย์พูนสุข
นีลวัฒนานนท์ (ปุณย์สวัสดิ์) จัดทาเป็นแบบคัดลายมือของ
โรงเรียน
ตัวอักษรแบบโรงเรียนสายน้าทิพย์
คณะครู โ รงเรี ย นส ายน้ าทิ พ ย์ ไ ด้ น าแบ บ
ตั ว อั ก ษรของ อาจารย์ ม งคล สุ พ รรณรั ต น์
มาดัดแปลงและทาเป็นแบบฝึกหัดคัดลายมือ
ของโรงเรียน
ตัวอักษรแบบภาควิชาประถมศึกษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มี ลั ก ษณะคล้ า ยแบบของพระยาผดุ ง วิ ท ยาเสริ ม
เป็ น ตั ว อั ก ษรที่ ใ ช้ เ ป็ น แบบฝึ ก คั ด ลายมื อ ของนิ สิ ต
ที่ เ รี ย นครู ทุ ก คนเพื่ อ น าไปเป็ น แบบอย่ า งสอน
นักเรียนต่อไป
ประเภทตัวมน

ลักษณะเด่น คือ ลักษณะ


ตัวอักษรมีเส้นโค้งประกอบอยู่
ประเภทตัวมน
•ตัวอักษรแบบขุนสัมฤทธิว์ รรณการ
•ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ
•ตัวอักษรแบบราชบัณฑิตยสถาน
ตัวอักษรแบบขุนสัมฤทธิว์ รรณการ
เป็นแบบตัวอักษรไทยของขุนสัมฤทธิ์วรรณการ
กระทรวงธรรมการ หรื อ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร
ในสมั ย ก่ อ น ได้ น าไปใช้ เ ป็ น แบบคั ด ลายมื อ ของ
นักเรียนประถมศึกษา

You might also like