You are on page 1of 1

อักษรไทยสมัย ญชนะ

44
ยั

32 สระ

รัตนโกสินทร์ตอนต้น 5 วรรณยุกต์

อักษรไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นทั้งมีอักษรวรรณยุกต์เอก วรรณยุกต์โท
อั ก ษ ร แ ล ะ อั ก ข ร วิ ธี อั ก ษ ร ไ ท ย
วรรณยุกต์ตรีกับวรรณยุกต์จัตวาเหมือนกับวรรณยุกต์สมัยอยุธยาตอนปลาย ใน
เวลาแรก การเขียนอักษรไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นส่วนใหญ่เป็นแบบลายมือ
กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 0 2 2 ,
แต่ต่อมา มิชชันนารีของตะวันตกพาวิธีการพิมพ์เข้ามาประเทศไทย หลังจากงั้น
การพิมพ์จึงเป็นวิธีส่วนใหญ่ที่เขียนอักษรไทยสมัยรัตนโกสินทร์

ประวัติและที่มา

สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ ขึ้น
ปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ในวันที่ 6
เมษายน พ.ศ.2325 เฉลิมพระนามว่า พระบาท
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ปฐม
กษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช ทรงสถาปนา
กรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่ง ตั้งอยู่ทางตะวันออกของ
แม่น้ำเจ้าพระยา เป็น ราชธานีใหม่แทนกรุงธนบุรี

พยัญชนะ สระ
สามส่วนหลักของรัตนโกสินทร์
รูปอักษรไทยและอักขรวิธี
ลายสือไทยของ ปรากฏการพิมพ์
อักษรไทยที่เป็นตัวพิมพ์
รัตนโกสินทร์ตอนต้น

เพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสารและ รูปอักษรไทยและอักขรวิธีอักษรไทย
มีตัวหนังสือมาตั้งแต่รัชสมัยพ่อขุน การเผยแพร่คริสต์ศาสนา ส่งผลให้เกิด สมัยรัตนโกสินทร์หลังมีระบบการพิมพ์
รามคำแหงมหาราช ดังที่มีปรากฎอยู่ใน กิจการการพิมพ์และการพิมพ์ต่อมา สามารถพิจารณาได้ 2 ลักษณะ คือรูป
หลัก ศิลาจารึก แต่ก็เป็นการจารึกหรือ กิจการการพิมพ์อักษรไทยได้เจริญ ขึ้น อักษรไทยและอักขรวิธีอักษรไทยที่ เป็น
สลักตัวหนังสือโบราณลงบนหิน เป็นลำดับ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้า ลายมือ และรูปอักษรไทยและอักขรวิธี
อักษรไทยที่เป็นตัวพิมพ์
อยู่หัวทรงเป็นคนไทยคนแรกที่ดำเนินงาน
ด้านการพิมพ์ ทรงตั้งโรงพิมพ์หลวงขึ้นในเขต

ความแตกต่าง รูปอักษรไทยที่เป็นตัว
พิมพ์ในช่วงเริ่มต้นกิจการการพิมพ์ยังคงมี
พระบรมมหาราชวัง เมื่อปี พ.ศ.2401
รูปอักษร คล้ายรูปอักษรไทยที่เป็นลายมือ
พระราชทานชื่อว่า โรงพิมพ์อักษรพิมพการ
อยู่มาก ทั้งนี้ ข้อสังเกตประการหนึ่ง คือตัว
ทําหน้าที่ผลิตข่าวสารของทางราชการเพื่อ
อักษร มีลักษณะกว้างออก ในขณะ
เผยแพร่ให้ราษฎรได้ทราบทั่วถึงกัน เดียวกันก็มีขนาดเล็กลง

ไวยากรณ์พิเศษ
ไวยากรณ์ภาษาของสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นส่วนใหญ่เหมือนกับภาษาไทยสมัย
อยุธยา(ตอนนี้) แต่จุดที่ไม่เหมือนกันและน่าสนใจกว่าคือการแสดงออกของวันที่ นิพจน์
ของวันที่ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นแบบนี้

Aแทนวันของสัปดาห์ เขียนตัวเลขจากตัวเลข๑-๗ แต่วันแรกของสัปดาห์เป็นวันอาทิตย์

BกับCแทนวันไหนของเดือน ถ้าเป็นวันที่๑-๑๕ของเดือน ก็เขียนตัวเลข๑-๑๕ในข้างบนของ"ฯ" แต่


ถ้าเป็นวันที่๑๖-๓๐ของเดือน ก็เขียนเริ่มจากตัวเลข๑-๑๕ในข้างล่างของ"ฯ"

Dแทนเดือนของทุกปี เขียนตัวเลขจากตัวเลข ๑-๑๒

You might also like