You are on page 1of 170

สารบัญ

ตัว ชี้ว ดั ที่ 1.1.1: สัดส่ ว นประชากรที่มีรายได้ต่ ากว่าเส้นความยากจนสากล จาแนกตาม เพศ อายุ สถานะการจ้างงาน และ ที่ต งั ้ ทาง
ภูมศิ าสตร์ (ชุมชนเมือง/ชนบท) .............................................................................................................................................................. 4

ตัวชีว้ ดั ที่ 1.2.1 สัดส่วนประชากรทีอ่ ยู่ต่ากว่าเส้นความยากจนของประเทศ จาแนกตามเพศ และอายุ ..................................................... 10

ตัวชีว้ ดั ที่ 1.2.2: สัดส่วนของผูช้ าย, ผูห้ ญิง และเด็กในทุกช่วงวัยทีย่ ากจน ในทุกมิติ ตามนิยามของแต่ละประเทศ ................................... 15

ตัวชี้วดั ที่ 1.3.1: สัดส่วนของประชากรทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครองตามระบบและมาตรการคุม้ ครองทางสังคม จาแนกตามเพศ และแบ่งเป็ น เด็ก
ผูว้ ่างงาน ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร หญิงตัง้ ครรภ์ เด็กเกิดใหม่ เหยื่อทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บจากการทางาน ผูย้ ากจนและอยู่ในสถานะเปราะบาง ........... 15

ตัวชี้วดั ที่ 1.3.1: สัดส่วนของประชากรทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครองตามระบบและมาตรการคุม้ ครองทางสังคม จาแนกตามเพศ และแบ่งเป็ น เด็ก
ผูว้ ่างงาน ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร หญิงตัง้ ครรภ์ เด็กเกิดใหม่ เหยื่อทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บจากการทางาน ผูย้ ากจนและอยู่ในสถานะเปราะบาง ........... 19

ตัวชีว้ ดั ที่ 1.4.1: สัดส่วนของประชากรอาศัยในครัวเรือนทีเ่ ข้าถึงบริการขัน้ พืน้ ฐาน ................................................................................. 23

ตัว ชี้ว ดั ที่ 2.1.2 ความชุกของความไม่มนั ่ คงทางอาหารของประชากรในระดับปานกลางหรือรุน แรง โดยใช้เกณฑ์การวัดของ FOOD


INSECURITY EXPERIENCE SCALE (FIES) .................................................................................................................................... 30

ตัวชี้วดั 2.2.1: ความชุกของภาวะเตี้ยแคระแกร็น (ประเมินส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ ตามมาตรฐานการเจริญเติบโตในเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี


ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่เบี่ยงเบนไปจากค่ามัธยฐาน โดยเป็ นเด็กที่มคี วามสูงเที ยบกับอายุต่ ากว่า
ค่ามัธยฐานของความสูงตามเกณฑ์อายุน้อยกว่า -2 เท่าของค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (-2 SD) ................................................................... 40

ตัวชี้วดั ที่ 2.2.2: ความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (ประเมินน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ตามมาตรฐานการเจริญเติบโตในเด็กอายุต่ากว่า 5


ปี ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานทีเ่ บี่ยงเบนไปจากค่ามัธยฐาน โดย 1) ภาวะน้ าหนักเกิน (OVERWEIGHT)
น้ าหนักตัวของเด็กสูงกว่าค่ามัธยฐานของน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กเกิน 2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (+2 SD) 2) ภาวะผอม
(WASTING) น้ าหนักตัวของเด็กต่ากว่าค่ามัธยฐานของน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กน้อยกว่า -2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (-2
SD) ..................................................................................................................................................................................................... 43

ตัวชี้วดั ที่ 2.2.2: ความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (ประเมินน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ตามมาตรฐานการเจริญเติบโตในเด็กอายุต่ากว่า 5


ปี ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานทีเ่ บี่ยงเบนไปจากค่ามัธยฐาน โดย 1) ภาวะน้ าหนักเกิน (OVERWEIGHT)
น้ าหนักตัวของเด็กสูงกว่าค่ามัธยฐานของน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กเกิน 2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (+2 SD) 2) ภาวะผอม
(WASTING) น้ าหนักตัวของเด็กต่ากว่าค่ามัธยฐานของน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กน้อยกว่า -2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (-2
SD) ..................................................................................................................................................................................................... 46

ตัวชีว้ ดั ที่ 3.1.1: อัตราการตายของมารดาต่อการเกิดมีชพี 100,000 คน ............................................................................................... 49

ตัวชีว้ ดั 3.1.2: สัดส่วนของการคลอดบุตรทีไ่ ด้รบั การดูแลโดยบุคลากรด้านสาธารณสุขทีม่ คี วามชานาญ ................................................. 57

ตัวชีว้ ดั 3.2.1: อัตราการตายของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ............................................................................................................................ 60

1
ตัวชีว้ ดั 3.2.2: อัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด ............................................................................................................................... 65

ตัวชีว้ ดั 3.3.1: จานวนผูต้ ดิ เชือ้ HIV รายใหม่ต่อประชากรทีไ่ ม่ตดิ เชือ้ 1,000 คน จาแนกตาม เพศ อายุ และประชากรหลัก ..................... 69

ตัวชีว้ ดั 3.3.3: อัตราการเกิดโรคมาลาเรียต่อประชากร 1,000 คน .......................................................................................................... 72

ตัวชี้วดั 3.7.1: สัดส่วนของหญิงวัยเจริญพันธุ์ (อายุ 15-49 ปี ) ซึ่งต้องการการวางแผนครอบครัวมีความรูส้ กึ พึงพอใจกับการใช้วธิ สี มัยใหม่


........................................................................................................................................................................................................... 77

ตัวชีว้ ดั 3.7.2: อัตราการคลอดบุตรในหญิงวัยรุ่นอายุ (10-14 ปี ,15-19 ปี ) ต่อผูห้ ญิงกลุ่มอายุดงั กล่าว 1,000 คน .................................... 81

ตัวชี้วดั 3.8.1: ความครอบคลุมของบริการด้านสุขภาพที่จาเป็ น (นิยามความครอบคลุมของบริการที่จาเป็ นเฉลี่ยโดยยึดการติดตามการ


รักษา ซึง่ ประกอบด้วย ภาวะเจริญพันธุ์ มารดา เด็กเกิดใหม่และสุขภาพเด็ก โรคติดต่อ โรคไม่ตดิ ต่อ และความสามารถในการเข้าถึงบริการ
ระหว่างคนทัวไปและผู
่ ด้ อ้ ยโอกาส) ....................................................................................................................................................... 86

ตัวชีว้ ดั 3.9.1: อัตราการตายทีเ่ กิดจากมลพิษทางอากาศในบ้านเรือนและในบรรยากาศ ......................................................................... 92

ตัวชีว้ ดั 3.B.1: สัดส่วนของประชากรเป้ าหมายทีไ่ ด้รบั การครอบคลุมด้วยวัคซีนทัง้ หมดทีร่ วมไว้ในโครงการของประเทศ ......................... 96

ตัวชี้วดั 4.1.1: สัดส่วนของเด็ก/เยาวชนใน: (ก) ระดับชัน้ ป.2 หรือ ป.3 (ข) ป.6 และ (ค) ม.3 ที่มคี วามสามารถตามเกณฑ์ขนั ้ ต่าเป็ นอย่าง
น้อย ใน (1) ด้านการอ่าน และ (2) ด้านคณิตศาสตร์ หรือการคิดคานวณ จาแนกตาม เพศ ..................................................................... 99

ตัวชี้วดั 4.2.1: สัดส่วนของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ที่มพี ฒ ั นาการทางด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และพัฒนาการทางบุคลิกภาพตามวัย จาแนก


ตามเพศ ............................................................................................................................................................................................ 102

ตัวชีว้ ดั 4.2.2: อัตราการเข้าเรียนปฐมวัย (1 ปี ก่อนถึงเกณฑ์อายุเข้าเรียนประถมศึกษา) จาแนกตามเพศ ............................................. 106

ตัวชี้วดั 4.A.1: สัดส่วนของโรงเรียนทีม่ กี ารเข้าถึง (A) ไฟฟ้ า (B) อินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการเรียนการสอน (C) เครื่องคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้ในการ
เรียนการสอน (D) โครงสร้างพื้นฐาน และวัสดุอุปกรณ์ท่ไี ด้รบั การปรับให้เหมาะสมกับนักเรียนที่มคี วามบกพร่องทางร่างกาย (E) น้ าดื่ม
พื้นฐาน (F) สิง่ อานวยความสะดวกพื้นฐานด้านสุขอนามัยที่แบ่งแยกตามเพศ และ (G) สิง่ อานวยความสะดวกพื้นฐานในการทาความ
สะอาดมือ (ตามนิยามตัวชีว้ ดั WASH) ................................................................................................................................................ 111

ตัวชี้วดั 5.2.1: สัดส่วนของผูห้ ญิงและเด็กหญิงอายุ 15 ปี ขน้ึ ไป ที่เคยอยู่ร่วมกับคู่ครองได้รบั ความรุนแรงทางร่างกาย ทางเพศ หรือทาง


จิตใจโดยคู่ครองคนปัจจุบนั หรือคู่ครองคนก่อนหน้า ในช่วง 12 เดือนทีผ่ ่านมา จาแนกตามรูปแบบความรุนแรงและอายุ ...................... 116

ตัวชีว้ ดั 5.2.2: สัดส่วนของผูห้ ญิง และเด็กหญิงอายุ 15 ปี ขน้ึ ไป ทีไ่ ด้รบั ความรุนแรงทางเพศจากบุคคลอื่น ทีไ่ ม่ใช่ค่คู รอง ในช่วงระยะเวลา
12 เดือนทีผ่ ่านมา จาแนกตามอายุ และสถานทีเ่ กิดเหตุ ...................................................................................................................... 121

ตัวชีว้ ดั 5.3.1: สัดส่วนของผูห้ ญิงอายุระหว่าง 20-24 ปี ทีแ่ ต่งงานหรืออยู่ดว้ ยกันก่อนอายุ 15 และก่อนอายุ 18 ปี ................................ 124

ตัวชีว้ ดั 5.3.2: สัดส่วนของเด็กหญิงและผูห้ ญิง (อายุระหว่าง 15-49 ปี ) ทีไ่ ด้รบั การขลิบ/ตัดอวัยวะเพศหญิง จาแนกตามอายุ ................ 127

ตัวชีว้ ดั 6.1.1: สัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้บริการน้าดื่มทีไ่ ด้รบั การจัดการอย่างปลอดภัย ....................................................................... 130

2
ตัวชีว้ ดั 6.2.1: สัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้บริการสุขอนามัยได้รบั การจัดการอย่างปลอดภัย รวมถึงการจัดให้มสี งิ่ อานวยความสะดวกในการ
ล้างมือด้วยสบู่ และน้า ........................................................................................................................................................................ 134

ตัวชีว้ ดั 7.1.2: สัดส่วนของประชากรทีพ่ ง่ึ พาพลังงานและเทคโนโลยีสะอาดเป็ นหลัก ............................................................................ 139

ตัวชีว้ ดั 8.7.1: สัดส่วนและจานวนเด็กอายุ 5-17 ปี ที่เป็ นแรงงานเด็ก จาแนกตามเพศและอายุ ............................................................ 144

ตัวชีว้ ดั 13.1.1: จานวนผูเ้ สียชีวติ สูญหาย และผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบโดยตรงอันเป็ นผลมาจากภัยพิบตั ติ ่อประชากร 100,000 คน ........... 147

ตัว ชี้ว ดั 13.1.2: จานวนประเทศที่ใช้และดาเนินการตามยุ ทธศาสตร์ข องประเทศ ด้านการลดความเสี่ยงอัน เนื่องมาจากภัยพิบัติ ซึ่ง


สอดคล้องกับกรอบแผนงานเซ็นไดด้านการลดความเสีย่ งอันเนื่องมาจากภัยพิบตั ิ พ.ศ. 2558-2573 ..................................................... 150

ตัวชีว้ ดั 16.1.1: จานวนเหยื่อของการฆาตกรรมโดยเจตนา ต่อจานวนประชากร 100,000 คน จาแนกตามเพศ และอายุ ....................... 153

ตัวชีว้ ดั 16.1.2: การเสียชีวติ ทีเ่ กีย่ วข้องกับความขัดแย้ง ต่อจานวนประชากร 100,000 คน จาแนกตาม อายุ เพศ และสาเหตุการตาย .. 157

ตัวชีว้ ดั 16.2.1: สัดส่วนของเด็กอายุ 1-17 ปี ที่เคยถูกทาร้ายทางร่างกาย และ/หรือข่มเหงทางจิตใจโดยผูด้ ูแลในเดือนทีผ่ ่านมา............ 157

ตัวชีว้ ดั 16.2.3: สัดส่วนของวัยรุ่นหญิงและชายอายุ 18-29 ปี ทเ่ี คยถูกกระทาความรุนแรงทางเพศก่อนอายุ 18 ปี ................................. 161

ตัวชีว้ ดั 16.9.1: สัดส่วนของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ทีม่ กี ารแจ้งเกิดกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ จาแนกตามอายุ ................................................... 165

3
เป้ าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่
เป้ าประสงค์ที่ 1.1 ภายในปี 2573 ขจัด ความยากจนขัน้ รุนแรงของประชาชนในทุ กพื้นที่ ให้ ห มดไป ซึ่ ง ใน
ปัจจุบนั ความยากจนวัดจากคนที่มีค่าใช้จ่ายดารงชีพรายวันตา่ กว่า $1.25 ต่อวัน

ตัวชี้วดั ที่ 1.1.1: สัดส่วนประชากรที่มีรายได้ตา่ กว่าเส้นความยากจนสากล จาแนกตาม เพศ อายุ สถานะการ


จ้างงาน และ ที่ตงั ้ ทางภูมิศาสตร์ (ชุมชนเมือง/ชนบท)

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: ธนาคารโลก (World Bank: WB)

แนวคิ ดและคานิ ยาม


นิ ยาม
ตัวชีว้ ดั สัดส่วนของประชากรภายใต้เส้นความยากจนสากลถูกนิยามว่าเป็ นร้อยละของจานวนประชากรทีใ่ ช้ชวี ติ ด้วยเงิน
น้อยกว่า 1.90 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน ทีร่ ะดับราคาสากลในปี พ.ศ. 2554 ซึง่ จานวนเงินดังกล่าวก็คอื “เส้นความยากจน
สากล” (International Poverty Line)

หลักการและเหตุผล
การติดตามความยากจนมีความสาคัญต่อวาระการพัฒนาระดับโลกและวาระการพัฒนาแห่งชาติของประเทศต่าง ๆ
ธนาคารโลกได้จดั ทาการประมาณการความยากจนระดับโลกสาหรับประเทศกาลังพัฒนาตีพมิ พ์ในรายงานการพัฒนา
ของโลก: ความยากจน (World Development Report 1990: Poverty) (World Bank 1990) โดยใช้ขอ้ มูลการสารวจ
รายครัวเรือนจาก 22 ประเทศ (Ravallion, Datt, และ van de Walle 1991) หลังจากปี 1990 ธนาคารโลกขยายชุด
ข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนด้านรายได้และรายจ่ายให้ครอบคลุมประเทศจานวนมากขึน้ ชุดข้อมูลดังกล่าวประกอบ
ขึน้ เป็ นฐานข้อมูลและถูกดูแลรักษาและอัพเดทโดยกลุ่มวิจยั ด้านการพัฒนา (Development Research Group) โดยการ
อัพเดทนัน้ จัดทาเป็ นรายปี โดยนาข้อมูลใหม่มาเพิ่มในฐานข้อมูลหรืออาจนาไปสู่การทบทวนข้อมูลเดิม ชุดข้อมูล
ดังกล่าวยังถูกใช้ในการประเมินผลความก้าวหน้าในการต่อสูก้ บั ความยากจนในทุก ๆ ปี อีกด้วย ชุดข้อมูลดังกล่าวจะ
ถู ก ประมวลผลด้ว ยเครื่อ งมือ การค านวณที่ป ฏิสัม พัน ธ์ไ ด้ (Interactive computational tool) ที่เ รีย กว่ า PovcalNet
เครื่องมือนี้อนุ ญาตให้ผใู้ ช้สามารถผลิตซ้าค่าประมาณการความยากจนในระดับโลก ภูมภิ าคและประเทศ ณ เส้นความ
ยากจนสากลที่ 1.90 และ 3.10 ดอลล่าสรอ.ต่อวัน และคานวณมาตรวัดความยากจนสาหรับกลุ่มประเทศตามแต่จะจัด
กลุ่มและเส้นความยากจนอื่น ๆ

ระบบข้อมูลความยากจนและความเป็ นธรรม (The Poverty and Equity Data) เป็ นช่องทางในการเข้าถึงฐานข้อมูล มี


แผงหน้าปั ดแสดงข้อมูล (dashboard) ที่ง่ายต่อการใช้งาน และมีกราฟและแผนทีท่ ่ปี ฏิสมั พันธ์กบั ผูใ้ ช้และแสดงภาพ
แนวโน้มของตัวชี้วดั หลักด้านความยากจนและความเหลื่อมล้าสาหรับภูมภิ าคและประเทศต่าง ๆ แผงหน้าปั ดแสดง
ข้อมูลของประเทศนาเสนอแนวโน้มของมาตรวัดความยากจนบนฐานของเส้นความยากจนระดับชาติเปรียบเที ยบกับ
ค่าประมาณการระดับสากลทีจ่ ดั ทาโดยและสอดคล้องกับผลการคานวณจาก PovcalNet

แนวคิ ด
ในการประเมินความยากจนในประเทศหนึ่งๆ และหาวิธกี ารทีด่ ที ส่ี ุดในการลดความยากจน เรามักจะพิจารณาเส้นความ
ยากจนทีเ่ หมาะสมกับประเทศนัน้ ๆ แต่เมื่อพูดถึง “ความยากจนระดับโลก” เราจะสามารถอธิบายความยากจนดังกล่าว

4
อย่างมีความหมายได้อย่างไร? เส้นความยากจนแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันในแง่ของอานาจซื้อและมักจะมีระดับ
ทีแ่ ตกต่างกันตามระดับการพัฒนาของเศรษฐกิจ เช่น ประเทศร่ารวยมักจะใช้เส้นความยากจนทีส่ ะท้อนคุณภาพชีวติ ที่
สูงกว่าประเทศยากจน หากจะวัดเส้นความยากจนในแง่ของการบริโภค เราจะสามารถวัดความยากจนของคนสองคนที่
มีอานาจซื้อต่อสินค้าบริการหนึ่ง ๆ เท่ากัน ไม่ว่าจะยากจนหรือไม่ยากจน แม้ว่าเขาจะอยู่คนละประเทศก็ตาม

นับตัง้ แต่รายงาน World Development Report ในปี พ.ศ. 2533 ธนาคารโลกตัง้ เป้ าหมายทีจ่ ะประยุกต์มาตรฐานร่วมใน
การวัดระดับความยากจนข้นแค้น (Extreme Poverty) โดยยึดโยงกับความหมายของความยากจนในกลุ่มประเทศที่
ยากจนทีส่ ุด

สวัสดิการของผูค้ นทีอ่ าศัยอยู่ในประเทศต่าง ๆ สามารถถูกวัดได้บนระบบการวัดเดียวกันโดยปรับให้เข้ากับอานาจซื้อที่


แตกต่างกันของอัตราแลกเปลี่ยนแต่ละประเทศ มาตรฐานทีใ่ ช้โดยทัวไปคื ่ อ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน โดยวัดในปี พ.ศ.
2528 อันเป็ นระดับราคาสากลและปรับให้เข้ากับสกุลเงินท้องถิน่ โดยใช้ ค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ (purchasing
power parity: PPP) มาตรฐานดังกล่าวถูกเลือกใช้สาหรับ รายงานการพัฒนาโลก (World Development Report) ปี
พ.ศ. 2533 ทัง้ นี้เนื่องจากมาตรฐานนัน้ เป็ นเส้นความยากจนที่ใช้ทวไปในประเทศรายได้
ั่ ต่ าในเวลานัน้ ต่อมาเมื่อค่า
ครองชีพทัวโลกได้
่ เปลี่ยนไปตามสภาพเศรษฐกิจสังคมของโลก เส้นความยากจนก็ตอ้ งถูกอัพเดทเป็ นช่วงโดยใช้ขอ้ มูล
ด้านราคาตามค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ (PPP) ใหม่เพื่อสะท้อนความเปลีย่ นแปลงเหล่านี้

การเปลีย่ นแปลงครัง้ ล่าสุดเกิดขึน้ ในเดือนตุลาคมปี พ.ศ. 2558 เมื่อธนาคารโลกเลือกใช้ค่า 1.90 ดอลลาร์สรอ. เป็ นเส้น
ความยากจนสากลโดยใช้ค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ (PPP) ของปี พ.ศ. 2554 โดยก่อนหน้านัน้ การปรับในปี
พ.ศ. 2551 กาหนดให้เส้นความยากจนสากลมีค่าเท่ากับ 1.25 ดอลลาร์สรอ. โดยใช้ ค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ
(PPP) ปี พ.ศ. 2548 มาตรวัดความยากจนทีอ่ ยู่บนฐานของเส้นความยากจนสากลพยายามทีจ่ ะทาให้ค่าทีแ่ ท้จริงของ
เส้นความยากจนคงทีใ่ นทุกประเทศแบบเดียวกับทีด่ าเนินการเวลาต้องการเปรียบเทียบเส้นความยากจนแบบข้ามเวลา
ตัวชี้วดั การพัฒนาโลกของธนาคารโลก (World Bank’s World Development Indicators, WDI) ใช้ค่าภาวะเสมอภาค
ของอานาจซื้อ (PPP) จากฐานข้อมูล Penn World Tables ในการแปลงค่าของสกุลเงินท้องถิน่ ให้เท่ากับอานาจซื้อทีว่ ดั
โดยใช้ดอลลาร์สรอ. สาหรับการประมาณค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ (PPP) การบริโภคชุดหลัง ๆ ทีใ่ ช้ในปี พ.ศ.
2536 พ.ศ. 2548 และพ.ศ. 2554 ถูกผลิตโดย โครงการการเปรียบเทียบระดับ สากล (International Comparison
Program (ICP)) ของธนาคารโลก

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด
5 ประเทศ ประกอบด้วย บังคลาเทศ กาบูเวร์ดี กัมพูชา จอร์แดน และลาว ใช้ปัจจัยการแปลงค่า บนฐานของค่าภาวะ
เสมอภาคของอานาจซื้อปี พ.ศ. 2548 (the 2005 PPP conversion factors) และเส้นความยากจนที่ 1.25 ดอลลาร์สรอ.
ต่อวัน และ 2 ดอลลาร์สรอ. ต่อวัน ทีส่ อดคล้องกับบริบทของประเทศนัน้ ประเทศเหล่านี้ใช้ค่าดังกล่าวในการคานวณ
เนื่องจากความผันแปรขนาดใหญ่ในอัตราการเปลี่ยนแปลงในปั จจัย PPP โดยเปรียบเทียบกับอัตราการเปลี่ยนแปลง
ของดัชนีราคาผูบ้ ริโภคภายในประเทศ โปรดดูกล่องข้อความ 1.1 ในรายงานการติดตามระดับโลก ปี ค.ศ. 2015/2016
(Global Monitoring Report 2 0 1 5 / 2 0 1 6 ) ( http://www.worldbank.org/en/publication/global‐monitoring‐report)
สาหรับคาอธิบายในรายละเอียด

ถึงแม้จะมีความก้าวหน้าในทศวรรษทีผ่ ่านมา ความท้าทายในการวัดความยากจนยังคงมีอยู่ ความทันเวลา ความถี่


คุณภาพ และความสามารถในการเปรียบเทียบกันได้ของการสารวจรายครัวเรือนควรจะต้องเพิม่ ขึน้ มากกว่านี้

5
โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศทีย่ ากจนทีส่ ุด การมีอยู่และคุณภาพของข้อมูลการติดตามความยากจนยังคงอยูใ่ นระดับต่าใน
รัฐขนาดเล็ก ประเทศทีอ่ ยู่ในสถานะเปราะบางและกลุ่มประเทศรายได้ต่า และแม้แต่ในประเทศรายได้ปานกลางบาง
ประเทศ ความถีท่ น่ี ้อยและการขาดลักษณะทีก่ ารเปรียบเทียบกันได้ของข้อมูลทีม่ อี ยู่ในบางประเทศทาให้เกิดความไม่
แน่นอนในขนาดของการลดความยากจน

นอกเหนือจากความถีแ่ ละความทันเวลาของข้อมูลการสารวจแล้ว ประเด็นด้านคุณภาพข้อมูลอื่น ๆ ได้เกิดขึน้ ในการวัด


มาตรฐานคุณภาพชีวิตของครัวเรือนด้วย การสารวจที่ถามคาถามโดยละเอียดเกี่ยวกับแหล่งที่มาของรายได้แ ละ
วิธกี ารใช้จ่าย จะต้องถูกจดบันทึกอย่างระมัดระวังโดยบุคลากรทีถ่ ูกฝึ กมาแล้ว รายได้มกั จะวัดให้เทีย่ งตรงได้ยากกว่า
การบริโภคมีความใกล้เคียงกับคาว่าคุณภาพชีวติ มากกว่า และรายได้สามารถแปรผันได้เมื่อเวลาเปลี่ยนไปแม้ว่า
คุณภาพชีวติ จะไม่เปลีย่ นแปลงก็ตาม อย่างไรก็ดขี อ้ มูลการบริโภคไม่ได้สามารถหาได้เสมอไป: ค่าประมาณการล่าสุดที่
ถูกรายงานในเอกสารนี้ใช้ขอ้ มูลการบริโภคสาหรับประเทศจานวน 2 ใน 3 ของประเทศทัง้ หมด

อย่างไรก็ดี แม้การสารวจทีค่ ล้ายคลึงกันก็อาจจะไม่ได้สามารถเปรียบเทียบกันอย่างเข้มงวดได้ เพราะความแตกต่างใน


ช่วงเวลาหรือคุณภาพและการฝึกอบรมของผูเ้ ก็บข้อมูลสามะโนประชากร การเปรียบเทียบระหว่างประเทศทีม่ รี ะดับการ
พัฒนาที่แตกต่างกันอาจก่อให้เกิดปั ญหาอันเนื่องมาจากความแตกต่างระหว่างความสาคัญโดยเปรียบเทียบของการ
บริโภคสินค้าที่ไม่ผ่านตลาด มูลค่าตลาดท้องถิ่นของการบริโภคทัง้ หมดที่ไม่เป็ นตัวเงิน (รวมถึงการผลิตสินค้าด้วย
ตัวเอง มีความสาคัญอย่างยิง่ ในกรณีเศรษฐกิจชนบททีด่ อ้ ยพัฒนา) ควรถูกรวมเข้าไปในรายจ่ายเพื่อการทัง้ หมดด้วย
แม้ว่าบางครัง้ จะไม่ถูกรวม ข้อมูลการสารวจส่วนใหญ่ในปั จจุบนั ได้รวมการประเมินค่าสาหรับการบริโภคหรือรายได้จาก
การผลิตสินค้าด้วยตัวเองแล้ว แต่วธิ กี ารประเมินค่ายังมีความหลากหลาย

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
เพื่อวัดความยากจนแบบข้ามประเทศอย่างสอดคล้องกัน มาตรวัดระดับสากลของธนาคารโลกได้ประยุกต์ใช้มาตรฐาน
ร่วมโดยยึดโยงกับความหมายของความยากจนในกลุ่มประเทศทีย่ ากจนทีส่ ุด เส้นความยากจนดัง้ เดิมที่ 1 ดอลลาร์สรอ.
ต่อวัน อยู่บนฐานของการคานวณรวมเส้นความยากจนระดับชาติของประเทศกาลังพัฒนาเพียง 22 ประเทศ ส่วนใหญ่
มาจากการศึกษาทางวิชาการในทศวรรษที่ 1980 (Ravallion, et al. 1991) แม้ว่านัน่ คือสิง่ ที่ดที ส่ี ุดที่สามารถทาได้ใน
ขณะนัน้ กลุ่มตัวอย่างก็ไม่ได้เป็ นตัวแทนของประเทศกาลังพัฒนาเท่าใดนักแม้จะเป็ นในช่วงทศวรรษที่ 1980 ก็ตาม
อย่างไรก็ดหี ลังทศวรรษดังกล่าว เส้นความยากจนระดับชาติได้ถูกพัฒนาขึน้ ในประเทศอื่น ๆ อีกหลายประเทศ ซึ่งทา
ให้ Ravallion, Chen, และ Sangraula (RCS) (2009) สามารถเสนอเส้นความยากจนสากลเส้นใหม่ท่ี 1.25 ดอลลาร์
สรอ. ต่อวันได้ โดยอาศัยชุดข้อมูลเส้นความยากจนระดับชาติสาหรับประเทศกาลังพัฒนา 75 ประเทศ นี่คอื ค่าเฉลีย่ ของ
เส้นความยากจนของประเทศทีย่ ากจนทีส่ ุด 15 ประเทศในชุดข้อมูลดังกล่าว

เส้นความยากจนข้นแค้น ในปั จจุบนั ถูกกาหนดไว้ท่ี 1.90 ดอลลาร์ สรอ. ต่อวัน ที่ค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ


(PPP) ของปี พ.ศ. 2554 ซึง่ เป็ นค่าเฉลีย่ ของเส้นความยากจนระดับชาติทพ่ี บในกลุ่มประเทศทีย่ ากจนทีส่ ุด 15 ประเทศ
เดิมทีจ่ ดั ลาดับโดยอัตราการบริโภคต่อหัวประชากร เส้นความยากจนใหม่ดงั กล่าวยังคงมาตรฐานเดิมของระดับความ
ยากจนขัน้ รุนแรง – เส้นความยากจนทีพ่ บได้ทวไปในประเทศกลุ
ั่ ่มทีจ่ นทีส่ ุดในโลก – แต่อพั เดทโดยใช้สารสนเทศล่าสุด
เกีย่ วกับค่าครองชีพในประเทศกาลังพัฒนา

6
เมื่อทาการวัดความยากจนสากลของประเทศหนึ่ง ๆ เส้นความยากจนสากลทีภ่ าวะเสมอภาคของอานาจซื้อ (PPP) จะ
ถูกแปลงให้เป็ นตามค่าสกุลเงินท้องถิน่ ทีร่ ะดับราคาของปี พ.ศ. 2554 แล้วจึงแปลงให้เป็ นระดับราคาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ใน
ช่วงเวลาทีท่ าการสารวจรายครัวเรือนโดยใช้ดชั นีราคาผูบ้ ริโภค (Consumer Price Index: CPI) ทีด่ ที ส่ี ุดทีห่ าได้ (ข้อมูล
การสารวจการบริโภคหรือรายได้ครัวเรือนสาหรับปี ทส่ี ารวจจะถูกสะท้อนอยู่ในระดับราคาของปี ฐานของ ICP (ผูแ้ ปล:
International Comparison Program) แล้วจากนัน้ จึงแปลงไปเป็ นค่าภาวะเสมอภาคของอานาจซื้อ (PPP) ในรูปของ
ดอลลาร์สรอ. ก็ทาได้เหมือนกัน) จากนัน้ อัตราความยากจนก็ถูกคานวณจากการสารวจนัน้ การเปรียบเทียบระหว่าง
ช่วงเวลาทัง้ หมดใช้ค่าแท้จริง (ค่าทีห่ กั ล้างผลจากเงินเฟ้ อแล้ว) ซึง่ ประเมินโดยใช้ดชั นีราคาผูบ้ ริโภคทีจ่ าเพาะเจาะจงกับ
ประเทศนัน้ กระบวนการการประมาณค่าในช่วง/การประมาณค่านอกช่วง ถูกใช้ในการจัดเตรียมค่าประมาณการทีอ่ ยู่
บนฐานของการสารวจโดยใช้ปีอา้ งอิงเหล่านี้

การจาแนกข้อมูล:
ค่าประมาณการความยากจนทีม่ กี ารจาแนกข้อมูลยังคงอยู่ระหว่างการดาเนินการโดยธนาคารโลก

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ไม่มกี ารประมาณค่าสูญหาย (imputation) ในแบบดังเดิ ่ มสาหรับข้อมูลระดับประเทศที่หายไป อย่างไรก็ดี เพื่อสร้าง
ผลรวมในระดับภูมภิ าคและระดับชาติสาหรับปี อ้างอิงต่าง ๆ ข้อมูลระดับประเทศจะถูก ประมาณค่าสูญหายสาหรับปี ท่ี
ไม่ได้มกี ารสารวจ ข้อมูลที่ถูกประมาณค่าสูญหายเหล่านี้จะถูกใช้ในการคานวณรวม แต่จะไม่ใช้สาหรับการแทนค่า
ข้อมูลการสารวจจริง หัวข้อถัดไปทีว่ ่าด้วยการปฏิบตั ติ ่อข้อมูลทีห่ ายไปในระดับภูมภิ าคและระดับโลกจะให้รายละเอียด
มากยิง่ ขึน้ เกีย่ วกับวิธกี ารประมาณค่าข้อมูลสูญหาย

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
เพื่อเปรียบเทียบอัตราความยากจนระหว่างประเทศและคานวณผลรวมระดับภูมภิ าค ค่าประมาณการระดับประเทศต้อง
มี “จัดเตรียม”ต่อปี อ้างอิงร่วม แล้วทาการประมาณค่าในช่วงสาหรับประเทศที่ไม่มขี อ้ มูลการสารวจในปี อ้างอิงแต่มี
ข้อมูลในปี ก่อนหน้าหรือหลังจากนัน้ หรือทัง้ สองปี ยิง่ มีขอ้ มูลการสารวจมากขึ้น การประมาณค่าในช่วงจะยิง่ มีความ
แม่นยามากขึน้

กระบวนการดังกล่าวจาเป็ นต้องมีการปรับค่าเฉลี่ยของรายได้หรือรายจ่ายทีถ่ ูกสังเกตการณ์ในปี ทม่ี กี ารสารวจโดยใช้


ปั จจัยการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพื่ออนุมานระดับทีไ่ ม่ได้มกี ารสังเกตการณ์ในปี อา้ งอิง ฉะนัน้ กระบวนการนี้จะต้อง
อาศัยข้อสมมติสองประการ: การเจริญเติบโตที่มี การกระจายรายได้ท่เี ป็ นกลาง (distribution-neutral growth) และ
อัตราการเจริญเติบโตทีแ่ ท้จริงระหว่างปี ทม่ี กี ารสารวจและปี อา้ งอิง

การเจริญ เติบ โตที่มีก ารกระจายรายได้ท่ีเ ป็ น กลางมีนั ย ยะว่ า ระดับ ของรายได้แ ละรายจ่ า ยถู ก ปรับ สาหรับ การ
เจริญเติบโตโดยสมมติว่าการกระจายรายได้และรายจ่ายโดยเปรียบเทียบที่อยู่เบื้องหลังการเจริญเติบโตนัน้ ที่ถู ก
สังเกตการณ์ในปี ทม่ี กี ารสารวจยังคงอยู่ในระดับเดิม ภายใต้ขอ้ สมมติน้ี มันตรงไปตรงมาทีจ่ ะทาการประมาณค่าในช่วง
เพื่อให้ไ ด้ค่าประมาณการความยากจนในปี อ้างอิงหนึ่ง ๆ โดยอ้างถึงอัตราการเจริญเติบโตหนึ่ง ๆ ของรายได้และ
รายจ่าย อัตราการเปลีย่ นแปลงของการบริโภคแท้จริงต่อหัวประชากรควรอยู่บนฐานของการเปลีย่ นแปลงในการบริโภค
แท้จริงทีว่ ดั โดยเปรียบเทียบข้อมูลการสารวจระดับประเทศในปี ทแ่ี ตกต่างกัน อย่างไรก็ดใี นทางปฏิบตั ขิ อ้ มูลการสารวจ
ในประเทศส่วนใหญ่มกั ไม่สามารถจัดหาได้เป็ นรายปี ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงในการบริโภคภาคเอกชนต่อหัวประชากรที่

7
วัดจากบัญชีรายได้ประชาชาติจะถูกนามาใช้แทน แม้จะไม่มกี ารรับประกันว่าการวัดรายได้หรือการบริโภคบนฐานของ
การสารวจจะเปลี่ยนแปลงในอัตราเดียวกันกับการบริโภคเอกชนในบัญชีรายได้ประชาชาติ วิธนี ้ีดูจะเป็ นทางเลือกที่ดี
ทีส่ ุดทีม่ ใี นขณะนี้

เมื่อปี ทต่ี ้องการอ้างอิง (reference year) ไม่มกี ารสารวจและอยู่ระหว่างปี 2 ปี ทม่ี กี ารสารวจ ค่าประมาณการค่าเฉลี่ย
การบริโภค ณ ปี ทต่ี ้องการอ้างอิงจะถูกสร้างขึน้ โดยการประมาณค่านอกช่วง (extrapolate) จากค่าเฉลี่ยที่ได้จากการ
สารวจในปี ก่อนหน้าหรือหลังจากปี อ้างอิง ขัน้ ตอนที่สองคือการคานวณอัตราส่วนความยากจน (headcount poverty
rate) ณ ปี อ้างอิงหลังจากทาการกระจายตัวของข้อมูลทีไ่ ด้จาก 2 ปี สารวจให้เป็ นมาตรฐานโดยใช้ค่าเฉลี่ยของปี อา้ งอิง
วิธกี ารนี้จะทาให้ได้มาซึ่งค่าประมาณการของอัตราส่วนความยากจน 2 ชุดในปี อ้างอิง อัตราส่วนความยากจนของปี
อ้ า งอิง ที่จ ะถู ก รายงานในตอนสุ ด ท้า ยคือ ค่ า จากการประมาณค่ า ในช่ ว งแบบเชิง เส้น ( linear interpolation) จาก
ค่าประมาณทัง้ 2 ชุดข้างต้น เมื่อข้อมูลทีห่ าได้มาจากเพียงการสารวจในปี เดียว ค่าเฉลี่ยของปี อา้ งอิงจะอยู่บนฐานของ
ค่าเฉลี่ยของการสารวจโดยประยุกต์ใช้อตั ราการเจริญเติบโตในการบริโภคเอกชนต่อหัวประชากรจากบัญชีรายได้
ประชาชาติ การประมาณการความยากจนในปี อา้ งอิงจึงอยู่บนฐานของค่าเฉลีย่ นี้และบนฐานของการกระจายตัวทีพ่ บใน
การสารวจหนึ่งปี นัน้ ยิง่ ข้อมูลมีความครอบคลุมดีขน้ึ เท่าใดโดยเฉพาะในแง่ของจานวนและความถี่ของการสารวจที่มี
ความแม่นยาของกระบวนการเตรียมกันก็มากยิง่ ขึน้ และการประมาณการระดับภูมภิ าคก็ยงิ่ จะน่าเชื่อถือมากขึน้ เท่านัน้

ผลรวมของอัตราส่วนความยากจนสาหรับภูมภิ าคหนึ่ง ๆ คือ ค่าเฉลีย่ ของดัชนีความยากจนต่าง ๆ ทีถ่ ่วงน้าหนักตาม


จานวนประชากรแล้ว ของประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคนัน้ จานวนของคนยากจนในแต่ละภูมภิ าคเป็ นผลผลิตของดัชนี
สัดส่วนความยากจนของภูมภิ าคนัน้ และจานวนประชากรทัง้ หมดของภูมภิ าค ในการนี้ได้ตงั ้ ข้อสมมติฐานไว้ว่าอัตรา
ความยากจนของประเทศทีไ่ ม่มกี ารสารวจรายครัวเรือนจะเท่ากับค่าเฉลีย่ ของภูมภิ าค

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
เพราะว่าการสารวจไม่ได้ดาเนินการทุกปี ในประเทศส่วนใหญ่ ค่าประมาณการความยากจนจึงต้องถูกคิดจากปี ทม่ี กี าร
จัดเตรียมโดยการประมาณค่าในช่วง (interpolation) หรือการประมาณค่านอกช่วง (extrapolation) โดยใช้ขอ้ มูลจาก
บัญชีรายได้ประชาชาติ ค่าประมาณการสาหรับปี ทม่ี กี ารเตรียมกันจึงถูกนามาคานวณรวมกับตัวเลขในระดับภูมภิ าค
และระดับโลก ผลรวมระดับภูมภิ าคและระดับโลกคือค่าเฉลีย่ ทีถ่ ่วงน้าหนักโดยจานวนประชากร

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ความยากจนระดับชาติเป็ นแนวคิดทีแ่ ตกต่างจากความยากจนระดับโลก อัตราความยากจนระดับชาติถูกนิยามทีเ่ ส้น
ความยากจนของประเทศนัน้ โดยคานวณจากสกุลเงินท้องถิน่ ซึง่ มีค่าทีแ่ ท้จริงแตกต่างกันในแต่ละประเทศและแตกต่าง
จากเส้นความยากจนสากลที่ 1.90 ดอลลาร์สรอ. ต่อวัน ดังนัน้ อัตราความยากจนระดับชาติไม่สามารถถูกเปรียบเทียบ
แบบข้ามประเทศหรือเปรียบเทียบกับอัตราความยากจนที่ 1.90 ดอลลาร์สรอ. ต่อวันได้

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย
ธนาคารโลกมักได้รบั ข้อมูลจากสานักงานสถิตแิ ห่งชาติของประเทศต่าง ๆ โดยตรง ในกรณีอ่นื ๆ ธนาคารโลกจะใช้
ข้อมูลของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติเหล่านัน้ ทีไ่ ด้รบั ทางอ้อม เช่น ข้อมูลจาก Eurostat และจาก LIS (Luxemburg Income
Study) ซึ่ง ให้ข้อ มูลจากสานั ก งานสถิติแ ห่งชาติป ระเทศต่า ง ๆ ที่ร วบรวมและปรับ มาตรฐานแล้ว แก่ ธ นาคารโลก
Universidad Nacional de La Plata ประเทศอาร์เจนตินาและธนาคารโลกได้ร่วมกันดูแลฐานข้อมูล SEDLAC (Socio-

8
Economic Database for Latin American and Caribbean) ที่รวมเอาข้อมูลสถิติเกี่ยวกับความยากจน การกระจาย
รายได้แ ละตัว แปรด้า นสัง คมต่ า ง ๆ ที่ถู ก ปรับ มาตรฐานแล้ ว จากประเทศในเขตละติน อเมริก าและแคริบ เบีย น
24 ประเทศ บนฐานของข้อมูลระดับจุลภาคจากการสารวจรายครัวเรือนทีจ่ ดั ทาโดยสานักงานสถิตแิ ห่งชาติของประเทศ
นัน้ ๆ

ข้อมูลทีไ่ ด้รบั จากโครงการเฉพาะประเทศ รวมถึงโครงการความช่วยเหลือทางเทคนิคและกิจกรรมการวิเคราะห์ร่วมกัน


และการสร้างศักยภาพ ธนาคารโลกมีความสัมพันธ์กบั สานักงานสถิติแห่งชาติประเทศต่าง ๆ ในด้านโปรแกรมการ
ทางานที่เกี่ยวข้องกับระบบทางสถิติและการวิเคราะห์ขอ้ มูล นักเศรษฐศาสตร์ด้านความยากจนจากธนาคารโลกมัก
ทางานร่วมกับสานักงานสถิตแิ ห่งชาติในด้านการวัดและวิเคราะห์ความยากจนในฐานะทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมให้
ความช่วยเหลือทางเทคนิค

ภายในธนาคารโลก คณะทางานความยากจนระดับโลก (Global Poverty Working Group: GPWG) รับผิดชอบการเก็บ


ข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องและประมาณการค่าความยากจน คณะทางาน GPWG จะเก็บรักษาชุดข้อมูลทีไ่ ด้รบั จาก
ส านั ก งานสถิติแ ห่ ง ชาติป ระเทศต่ า ง ๆ แล้ ว ปรับ ให้เ ป็ น มาตรฐานเดีย วกัน และประยุ ก ต์ ใ ช้ร ะเบีย บวิธีเ ดีย วกัน
วัตถุประสงค์ของ GPWG คือการทาให้แน่ใจว่าข้อมูลความยากจนและความเหลื่อมล้าที่ถูกผลิต เก็บรักษาและเผยแพร่
โดยธนาคารโลกนัน้ ทันสมัย มีมาตรฐานระดับสูง และถูกบันทึกเป็ นเอกสารอย่างดีและสอดคล้องกันตลอดช่องทางการ
เผยแพร่ สมาชิกของ GPWG สร้างค่าประมาณการสาหรับสัดส่วนประชากรภายใต้เส้นความยากจนสากลและอัพเดท
โดยใช้ขอ้ มูลดิบทีม่ กั ได้มาจากรัฐบาลของประเทศนัน้ ข้อมูลดิบดังกล่าวได้รบั มาโดยนักเศรษฐศาสตร์ ดา้ นความยากจน
ผ่านผูป้ ระสานงานของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติของประเทศต่าง ๆ และถูกตรวจสอบคุณภาพก่อนทีจ่ ะถูกส่งต่อเพื่อการ
วิเคราะห์ต่อไป ข้อมูลดิบสามารถเป็ นข้อมูลการสารวจทีบ่ นั ทึกเป็ นรายคน (unit-record surveys) หรือเป็ นข้อมูลทีถ่ ูก
จัดกลุ่มแล้ว (grouped data) ขึน้ อยู่กบั ข้อตกลงทีม่ กี บั รัฐบาลของประเทศนัน้ ในกรณีส่วนมาก ผลรวมด้านสวัสดิการอัน
เป็ นองค์ประกอบที่เป็ นสาระสาคัญของการประมาณการความยากจน จะถูกผลิตโดยรัฐบาลของประเทศนัน้ บางครัง้
ธนาคารโลกจะต้องสร้างผลรวมด้านสวัสดิการเองหรือปรับจากผลรวมทีป่ ระเทศคานวณมาให้

รายการ
จากสานักงานสถิตแิ ห่งชาติประเทศต่าง ๆ โดยตรงหรือโดยอ้อมจากแหล่งอื่น – โปรดดูหวั ข้อทีก่ ล่าวถึงแหล่งข้อมูล

กระบวนการเก็บข้อมูล:
ธนาคารโลกแบ่งปั นข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบวิธตี ่าง ๆ สาหรับการปรับปรุงข้อมูลดังเดิ
่ มอย่างโปร่งใสและทาให้สามารถ
เข้าถึงได้โดยสาธารณะ (ผ่านเว็บไซต์ PovcalNet และเอกสารเชิงวิเคราะห์หลายชิน้ ) การประมาณการความยากจนถูก
พัฒนาขึ้นโดยนักเศรษฐศาสตร์ท่ที างานอย่างใกล้ชดิ กับ นักเศรษฐศาสตร์ในหน่ วยงานที่ทางานด้านความยากจนใน
รัฐบาลประเทศนัน้ ๆ เพื่อทาให้ขอ้ มูลความยากจนแต่ละตัวมีความทันสมัย

----------------------------------------------------------------------------------------

9
เป้ าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่
เป้ าประสงค์ที่ 1.2: ภายในปี 2573 ลดสัดส่วน ชาย หญิ ง และเด็ก ในทุกช่วงวัย ที่อยู่ภายใต้ความยากจนในทุก
มิ ติ ตามนิ ยามของแต่ละประเทศ ให้ลดลงอย่างน้ อยครึ่งหนึ่ ง

ตัวชี้วดั ที่ 1.2.1 สัดส่วนประชากรที่อยู่ตา่ กว่าเส้นความยากจนของประเทศ จาแนกตามเพศ และอายุ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: ธนาคารโลก (World Bank: WB)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม
อัตราความยากจนระดับประเทศคือร้อยละของประชากรทัง้ หมดทีอ่ ยู่ต่ากว่าเส้นความยากจนของประเทศ อัตราความ
ยากจนในชนบทคือร้อยละของประชากรในชนบทที่อยู่ต่ ากว่าเส้นความยากจนของประเทศ (หรือ ต่ ากว่าเส้นความ
ยากจนในชนบท ในกรณีทม่ี กี ารแยกเส้นความยากจนในชนบทขออกจากเส้นความยากจนประเทศ) อัตราความยากจน
ในเมือง คือร้อยละของประชากรในเมืองทีอ่ ยู่ใต้เส้นความยากจนระดับชาติ (หรือต่ ากว่าเส้นความยากจนในเมือง ใน
กรณีทม่ี กี ารแยกเส้นความยากจนในเมืองออกจากเส้นความยากจนประเทศ)

หลักการและเหตุผล
การติดตามความยากจนระดับชาติมคี วามสาคัญสาหรับวาระการพัฒนาของประเทศหนึ่ง ๆ เส้นความยากจนของ
ประเทศถูกใช้เพื่อการประมาณการความยากจนทีแ่ ม่นยาและสอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม ของ
ประเทศนัน้ และมิได้เจตนาให้ใช้ในการเปรียบเทียบอัตราความยากจนระหว่างประเทศ

แนวคิ ด
การประเมินความยากจนในประเทศหนึ่ง ๆ และวิธกี ารทีด่ ที ส่ี ุดในการลดความยากจนโดยอ้างถึงนิยามของประเทศ เรา
มักให้ความสาคัญกับเส้นความยากจนทีเ่ หมาะสมกับประเทศนัน้ เส้นความยากจนของประเทศต่าง ๆ มีความแตกต่าง
กันในด้านของอานาจซื้อ มักจะมีระดับทีแ่ ตกต่างกันตามระดับการพัฒนาของเศรษฐกิจ เช่น ประเทศร่ารวยมักจะใช้เส้น
ความยากจนทีส่ ะท้อนคุณภาพชีวติ ทีส่ ูงกว่าประเทศยากจน สาหรับกรณีภายในประเทศ ค่าครองชีพในเขตเมืองมักสูง
กว่าในเขตชนบท บางประเทศอาจมีเส้นความยากจนในเมืองและในชนบทแยกจากกันอันแสดงถึงความแตกต่างของ
อานาจซื้อ

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ค่าประมาณการความยากจนของประเทศถูกคิดคานวณมาจากข้อมูลการสารวจรายครัวเรือน ข้อควรระวังและข้อจากัด
โดยธรรมชาติของข้อมูลการสารวจทีม่ ผี ลกับการสร้างตัวชีว้ ดั 1.1.1 นัน้ มีผลกับตัวชีว้ ดั นี้ดว้ ย

เพื่อให้เป็ นประโยชน์กบั ค่าประมาณการความยากจน การสารวจต้องเป็ นตัวแทนในระดับประเทศ การสารวจเหล่านัน้


ต้องครอบคลุมสารสนเทศทีม่ ากพอทีจ่ ะใช้ในการคานวณค่าประมาณการการบริโภครวมหรือรายได้รวมของครัวเรือนที่
ครอบคลุม (รวมถึงการบริโภคหรือรายได้จากการผลิตเองในครัวเรือน) และใช้ในการการสร้างข้อมูลการกระจายของ
การบริโภคต่อหัวหรือรายได้ต่อหัวทีม่ กี ารถ่วงน้าหนักอย่างถูกต้อง

10
การบริโภคคือตัวชีว้ ดั ด้านสวัสดิการสังคมทีค่ วรเลือกใช้เนื่องด้วยเหตุผลหลายประการ1 ประการแรก โดยทัวไปการวั
่ ด
รายได้ให้ถูกต้องแม่นยานัน้ ทาได้ยาก ยกตัวอย่างเช่น คนจนที่ทางานในภาคเศรษฐกิจนอกระบบอาจไม่ได้รบั หรือ
รายงานค่าจ้างทีเ่ ป็ นตัวเงิน; ผูป้ ระกอบอาชีพอิสระมักจะประสบกับกระแสรายได้ทไ่ี ม่สม่าเสมอ; และผูค้ นจานวนมากใน
เขตชนบทที่พง่ึ พารายได้จากภาคเกษตรที่มรี ูปแบบเฉพาะ ประการที่สอง การบริโภคไปด้วยกันได้ดีกว่ากับแนวคิด
เรื่องมาตรฐานการครองชีพมากกว่ารายได้ แม้ว่ารายได้มกั จะแปรผันตามช่วงเวลาแต่มาตรฐานการครองชีพทีแ่ ท้จริง
อาจจะไม่เปลี่ยนแปลงเลยก็ได้ ดังนัน้ ตัวชี้วดั ด้านสวัสดิการทีใ่ ช้การบริโภคเป็ นฐานจะถูกใช้ในการประมาณการมาตร
วัดความยากจนในรายงานนี้เท่าทีเ่ ป็ นไปได้ แต่ขอ้ มูลการบริโภคไม่ได้สามารถหาได้เสมอไป ยกตัวอย่างกลุ่มประเทศ
แถบละตินอเมริกาและแคริบเบียน ประเทศส่วนใหญ่เก็บข้อมูลรายได้เป็ นหลัก ในกรณีเหล่านัน้ ทางเลือกมีไม่มากนัก
และทาให้ตอ้ งใช้ขอ้ มูลรายได้

การบริโภคถูกวัดโดยใช้คาถามในการสารวจรายครัวเรือนเกี่ยวกับรายจ่ายด้านอาหารและทีไ่ ม่ใช่อาหาร เช่นเดียวกับ


การบริโภคอาหารทีค่ รัวเรือนผลิตเองซึ่งมีความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ ในกลุ่มประเทศทีย่ ากจนทีส่ ุด สารสนเทศเหล่านี้ถูก
เก็บโดยคาถามเพื่อให้ราลึกความหลังโดยอาศัยบัญชีของสินค้าบริโภค หรือไม่กโ็ ดยการเขียนบันทึกประจาวันทีผ่ ใู้ ห้
ข้อมูลจะต้องบันทึกรายจ่ายทัง้ หมดทุก ๆ วัน แต่วธิ กี ารเหล่านี้มไิ ด้ให้ขอ้ มูลทีเ่ ทียบเคียงกันได้เสมอไปและการบริโภค
อาจจะถูกประมาณค่าต่าเกินไปหรือสูงเกินไปขึน้ อยู่กบั แนวทางทีใ่ ช้ การสารวจทีแ่ ตกต่างกันจะใช้ช่วงเวลาในการราลึก
ความหลังหรือช่วงเวลาอ้างอิงทีแ่ ตกต่า งกัน ยิง่ ช่วงเวลาอ้างอิงยาวนานเท่าใด ผูใ้ ห้ขอ้ มูลย่อมมีโอกาสทีจ่ ะไม่สามารถ
ราลึกความหลังเกีย่ วกับค่าใช้จ่ายบางอย่างได้มากขึน้ โดยเฉพาะประเภทอาหารทีบ่ ริโภค ดังนัน้ จึงนาไปสู่การประมาณ
ค่าใช้จ่ายทีแ่ ท้จริงต่าเกินไป

การสารวจทีม่ แี นวปฏิบตั ทิ ด่ี ที ส่ี ุดมีการจัดทาบัญชีโดยละเอียดเกีย่ วกับสินค้าบริโภคจาเพาะ ข้อมูลเกีย่ วกับสินค้าเหล่านี้


ทีถ่ ูกเก็บโดยแบบสอบถามจะถูกนามาคานวณรวมในภายหลัง แต่การสารวจหลายการสารวจใช้แบบสอบถามทีข่ อให้ให้
ข้อมูลรายงานรายจ่ายสาหรับประเภทสินค้าบริการอย่างกว้าง หากพูดอีกอย่างหนึ่งก็คอื สินค้าบริโภคทีม่ คี วามจาเพาะ
เจาะจงนัน้ ถูกคานวณรวมไปแล้วโดยนัยด้วยการออกแบบแบบสอบถาม วิธกี ารนี้ทาให้เวลาการสัมภาษณ์สนั ้ ลงและลด
ต้นทุนของการทาสารวจ แบบสอบถามทีส่ นั ้ ลงยังเชื่อว่าจะทาให้ลดโอกาสทีจ่ ะเกิดความเหนื่อยล้าทัง้ ในผูใ้ ห้ขอ้ มูลและ
ผูส้ มั ภาษณ์อนั จะนาไปสู่ความผิดพลาดในการรายงานได้ อย่างไรก็ดี มีหลักฐานเช่นกันว่าการครอบคลุมรายละเอียดที่
น้อยลงเกีย่ วกับสินค้าจาเพาะบางรายการในแบบสอบถามอาจนาไปสู่การประมาณการการบริโภคครัวเรือนแท้จริง ทีต่ ่า
เกินจริง การใช้แบบสอบถามเดิมอีกครัง้ หนึ่งอาจทาให้สนิ ค้าบริโภคใหม่ ๆ ถูกละเว้นไปซึง่ นาไปสู่การรายงานทีต่ ่ ากว่า
ความเป็ นจริงได้

สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เสมอคือ ครัวเรือนทีถ่ ูกสุ่มตัวอย่างบางครัวเรือนไม่ร่วมในการสารวจเพราะพวกเขาปฏิเสธหรือไม่กเ็ พราะว่า


ไม่มใี ครอยู่ท่บี ้าน กรณีน้ีมกั จะถูกกล่าวถึงว่าเป็ น “หน่ วยที่ไม่มกี ารตอบสนอง” (unit nonresponse) ซึ่งแตกต่างจาก
“รายการทีไ่ ม่มกี ารตอบสนอง” (item nonresponse) ซึง่ เกิดขึน้ เมื่อผูใ้ ห้ขอ้ มูลทีถ่ ูกสุ่มบางคนมีส่วนร่วมกับการสารวจแต่
ปฏิเสธอทีจ่ ะตอบคาถามบางคาถาม เช่น คาถามทีเ่ กี่ยวกับการบริโภคหรือรายได้ ตราบเท่าที่ เกิดขึน้ ของหน่ วยทีไ่ ม่มี
การตอบสนองในการสารวจนัน้ เป็ นแบบสุ่ม ก็ไม่มคี วามกังวลเกี่ยวกับอคติทอ่ี าจเกิดขึน้ ในการอนุ มานทีอ่ ยู่บนฐานของ
การสารวจ กลุ่มตัวอย่างจะยังคงเป็ นตัวแทนของประชากรดังเดิม อย่างไรก็ดี ครัวเรือนที่มรี ายได้แตกต่างกันอาจมี
โอกาสที่ไม่เท่ากันในการตอบแบบสารวจ โดยเปรียบเทียบครัวเรือนที่ร่ารวยอาจมีโอกาสร่วมกับการสารวจน้อยกว่า
เนื่องด้วยต้นทุนค่าเสียโอกาสด้านเวลาทีส่ งู หรือเพราะความกังวลเกีย่ วกับการล่วงล้าเรื่องส่วนบุคคล ในทานองเดียวกัน

1
สาหรับการถกเถียงเกีย่ วกับเหตุผลทีก่ ารบริโภคจึงเป็ นทีพ่ งึ ประสงค์ โปรดดู :Deaton, Angus (2003). “Household Surveys,
Consumption, and the Measurement of Poverty”. Economic System Research, Vol. 15 No. 2, June 2003

11
มันเข้าใจได้ว่ากลุ่มคนทีจ่ นทีส่ ุดอาจจะมีตวั แทนน้อยกว่าทีค่ วรจะเป็ นเช่นกัน บางคนเป็ นคนไร้บ้านและเป็ นการยากที่
การออกแบบการสารวจรายครัวเรือนแบบมาตรฐานจะเข้าถึงได้ บางคนอาจมีการแยกตัวออกมาทัง้ ทางกายภาพและ
ทางสังคม ทาให้ยากแก่การสัมภาษณ์ หากจานวนของผูไ้ ม่ตอบการสารวจเพิม่ ขึน้ อย่างเป็ นระบบอันเนื่องมาจากรายได้
การสารวจมีแนวโน้มทีจ่ ะประมาณการความยากจนสูงเกินจริง แต่หากการให้ความร่วมมือมีแนวโน้มต่าทัง้ ในกลุ่มทีจ่ น
มากและรวยมาก ก็มโี อกาสทีจ่ ะเกิดผลหักล้างกันในข้อมูลความยากจนทีว่ ดั ได้

แม้ว่าข้อมูลการสารวจจะมีความแม่นยาและครอบคลุมทัง้ หมด มาตรวัดความยากจนทีไ่ ด้มาก็อาจจะยังล้มเหลวในการ


รวมเอาแง่มุมทีส่ าคัญของสวัสดิการของปั จเจกชนเข้ามา ยกตัวอย่างเช่น การใช้การวัดการบริโภคครัวเรือนนัน้ อาจ
มองข้ามความเหลื่อมล้าทีเ่ กิดขึน้ ได้ภายในครัวเรือน ดังนัน้ การวัดความยากจนทีอ่ ยู่บนฐานการบริโภคหรือรายได้นนั ้
ให้ขอ้ มูลได้ดแี ต่ไม่ควรถูกตีความว่าเป็ นข้อมูลทางสถิติท่เี พียงพอต่อการประเมินคุณภาพชีวติ ของผู้คน อัตราความ
ยากจนของประเทศ การวัดโดยการ “นับหัว” คนยากจน เป็ นหนึ่งในมาตรวัดความยากจนทีถ่ กู คานวณมากทีส่ ุด กระนัน้
ก็ยงั มีขอ้ เสียทีม่ นั ไม่สามารถตรวจจับความเหลื่อมล้าทางรายได้ระหว่างคนจนหรือระดับความลึกของความยากจนได้
ยกตัวอย่างเช่น ไม่สามารถบ่งชีค้ วามแตกต่างระหว่างคนบางคนทีใ่ ช้ชวี ติ ต่ากว่าเส้นความยากจนเพียงนิดเดียวกับคน
อื่นใช้ชวี ติ ในระดับทีต่ ่ากว่าเส้นความยากจนมาก ดังนัน้ ผูก้ าหนดนโยบายทีต่ อ้ งการสร้างผลกระทบทีม่ ากทีส่ ุดทีเ่ ป็ นไป
ได้ต่อการวัดอัตราความยากจนอาจจะสนใจทีจ่ ะเบนเข็มการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการลดความยากจนไปยังกลุ่มที่อยู่ต่า
กว่าเส้นความยากจนเพียงเล็กน้อย (ซึง่ เป็ นกลุ่มทีย่ ากจนน้อยทีส่ ุด)

ปั ญหาอีกหลายประการอาจเกิดขึน้ เมื่อทาการเปรียบเทียบมาตรวัดความยากจนภายในประเทศเมื่อเส้นความยากจนใน
เมืองกับในชนบทสะท้อนอานาจซื้อทีแ่ ตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น ค่าครองชีพในเขตเมืองมักจะสูงกว่าในเขตชนบท
เหตุผลหนึ่งคืออาหารหลักมีแนวโน้มจะแพงกว่าในเขตเมือง ดังนัน้ เส้นความยากจนทีเ่ ป็ นตัวเงินในเขตเมืองควรจะสูง
กว่าเส้นความยากจนในชนบท แต่ความแตกต่างระหว่างเส้นความยากจนของเมืองกับชนบททีพ่ บในทางปฏิบตั นิ นั ้ ไม่
จาเป็ นต้องสะท้อนความแตกต่างของค่าครองชีพ เสมอไป ในบางประเทศเส้นความยากจนในเมืองทีใ่ ช้ทวไปมี ั ่ มลู ค่าที่
แท้จริง (real value) สูงกว่าเส้นความยากจนในชนบท - หมายความว่า มูลค่าดังกล่าวสามารถใช้ ซ้ือสินค้าบริการ
จานวนมากกว่าเพื่อการบริโภค บางครัง้ ความแตกต่างนัน้ ใหญ่มากซึง่ เป็ นการสื่อโดยนัยว่าเหตุการณ์ความยากจนนัน้ มี
มากกว่าในเขตเมืองเมื่อเทียบกับเขตชนบท ถึงกระนัน้ เมื่อมีการปรับปรุงข้อมูลในส่วนของความแตกต่างของค่าครอง
ชีพจะพบว่าผลลัพธ์ทแ่ี ท้จริงจะกลับกัน เช่นเดียวกันกับการเปรียบเทียบระหว่างประเทศ เมื่อมูลค่าแท้จริงของเส้นความ
ยากจนนัน้ เปลี่ยนแปลงไปนัน้ ความหมายที่ได้จากการเปรียบเทียบกันระหว่างการวัดความยากจนในเขตเมืองและ
ชนบทจะมีความหมายเพียงใด

ประการสุดท้าย ตัวชี้วดั ที่อยู่บนฐานของรายได้และการบริโภคเหล่านี้ไม่ได้สะท้อนมิติอ่ืน ๆ ของความยากจน เช่น


ความเหลื่อมล้า ความเปราะบาง และการขาดเสียงและพลังของคนยากจน

ระเบียบวิ ธี
สูตรสาหรับการคานวณสัดส่วนของจานวนรวม ประชากรทัง้ ในเขตเมืองและชนบททีใ่ ช้ชวี ติ อยู่ใต้เส้นความยากจนของ
ประเทศ หรือดัชนีความยากจน (headcount index) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
𝑁
1 𝑁𝑝
𝑃0 = ∑ 𝐼(𝑦𝑖 < 𝑧) =
𝑁 𝑁
𝑡=1

12
โดย 𝐼(.) คือ ฟั งก์ชนั ตัวชีว้ ดั ทีจ่ ะมีค่าเท่ากับ 1 หากสูตรทีแ่ สดงไว้ในวงเล็บเป็ นความจริง และมีค่าเท่ากับ 0 หากไม่เป็ น
ความจริง ถ้าการบริโภคหรือรายได้ของปั จเจกชน 𝑦𝑖 ค่าน้อยกว่าเส้นความยากจนของประเทศ 𝑧 (ยกตัวอย่างเช่น ใน
เชิงสัมบูรณ์ เส้นความยากจนอาจมีค่าเท่ากับราคาของกลุ่มสินค้าบริโภค หรือในเชิงสัมพัทธ์ คือ ร้อยละของการกระจาย
รายได้) ค่า 𝐼(.) จะเท่ากับ 1 และปั จเจกชนผูน้ นั ้ จะถูกนับว่าเป็ นคนยากจน 𝑁𝑝 คือจานวนรวมของคนยากจนในเมืองหรือ
ในชนบท 𝑁 คือจานวนประชากรรวมในเขตเมืองหรือชนบท

ข้อมูลการบริโภคหรือรายได้จะถูกรวบรวมได้จากการสารวจตัวแทนระดับชาติรายครัวเรือนซึ่งมีรายละเอียดของการ
ตอบคาถามเกีย่ วกับพฤติกรรมการใช้จ่ายและแหล่งรายได้ การบริโภคซึ่งร่วมถึงการบริโภคสินค้าทีผ่ ลิตเองหรือรายได้
นัน้ ถูกคานวณรวมทัง้ ครัวเรือน ในบางกรณีขนาดครัวเรือนที่มี “ประสิทธิผล” ถูกคานวณจากขนาดครัวเรือนจริงที่
สะท้อนประสิทธิภาพการบริโภคที่ตงั ้ ข้อสมมติไว้ ; การปรับปรุงข้อมูลอาจกระทาเพื่อสะท้อนจานวนเด็กในครัวเรือน
จานวนของคนในครัวเรือนเหล่านัน้ จะถูกคานวณรวมเพื่อประมาณการจานวนของคนยากจน

อัตราความยากจนของประเทศใช้เส้นความยากจนทีจ่ าเพาะเจาะจงกับ ประเทศนัน้ สะท้อนสภาพเศรษฐกิจและสังคม


ของประเทศนัน้ ในบางกรณี เส้นความยากจนของประเทศจะถูกปรับให้เหมาะกับพืน้ ทีท่ แ่ี ตกต่างกัน (เช่น ในเมืองและ
ชนบท) ภายในประเทศนัน้ เพื่อเป็ นการนาความแตกต่างของราคาหรือความหามาได้ของสินค้าและบริการมาพิจารณา
โดยทัวไปเส้
่ นความยากจนในเมืองจะถูกตัง้ ให้สูงกว่าเส้นความยากจนในชนบท เพื่อสะท้อนค่าครองชีพที่สูงกว่าโดย
เปรียบเทียบในเขตเมือง

การจาแนกข้อมูล:
การจาแนกข้อมูลเพียงอย่างเดียวทีม่ คี อื การจาแนกตามเขตเมืองและชนบท

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ค่าทีห่ ายไปในการบริโภคของสินค้าบางประเภทจะถูกนับให้เป็ นศูนย์ นี่เป็ นแนวปฏิบตั มิ าตรฐานในกระบวนการสารวจ
ข้อมูล หากการบริโภคไม่ถูกรายงาน จะถือว่าการบริโภคนัน้ เป็ นศูนย์ ดังนัน้ การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคก็เท่ากับศูนย์
ด้วย
ระดับภูมิภาคและระดับโลก
เนื่องจากเส้นความยากจนระดับชาติมคี วามจาเพาะเจาะจงกับแต่ละประเทศ จึงไม่มกี ารคานวณรวมข้อมูลที่ระดับ
ภูมภิ าคและระดับโลก

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ไม่มี

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
การประมาณการของความยากจนระดับชาติ เป็ นแนวคิดทีแ่ ตกต่างจากการประมาณการความยากจนสากล อัตราความ
ยากจนระดับชาติถูกนิยามที่เส้นความยากจนที่จาเพาะเจาะจงกับประเทศนัน้ ในสกุลเงินท้องถิ่น ซึ่งแตกต่างกันใน
มูลค่าแท้จริงในแต่ละประเทศ และแตกต่างจากเส้นความยากจนสากลที่ 1.90 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน ดังนัน้ อัตราความ
ยากจนระดับชาติไม่สามารถถูกเปรียบเทียบข้ามประเทศได้หรือกับอัตราความยากจนทีเ่ ส้นความยากจนสากลที่ 1.90
ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวันได้

13
แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย
รัฐบาลแต่ละประเทศมักเป็ นผูผ้ ลิตและเป็ นเจ้าของค่าประมาณการความยากจนของประเทศนัน้ (เช่น สานักงานสถิติ
แห่งชาติ) และบางครัง้ ก็ได้รบั ความช่วยเหลือทางเทคนิคจากธนาคารโลกและโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Development Programme: UNDP) เมื่อ รัฐบาลเผยแพร่ ค่ า ประมาณการความยากจนระดับ ชาติ
คณะทางานความยากจนระดับโลก (Global Poverty Working Group: GPWG) ของธนาคารโลกจะประเมินระเบียบวิธี
ที่ใช้โดยรัฐบาล ตรวจสอบความถูกต้องของค่าประมาณการด้วยข้อมูลดิบเมื่อเป็ นไปได้ และปรึกษาหารือกับ นั ก
เศรษฐศาสตร์ของประเทศนัน้ ๆ เพื่อการตีพมิ พ์ ค่าประมาณการที่ได้รบั การยอมรับ พร้อมกับเอกสารกรอบการวัด
(metadata) จะถูกตีพมิ พ์ในฐานข้อมูลตัวชี้วดั การพัฒนาโลก (World Development Indicator: WDI) และในฐานข้อมูล
ความยากจนและความเท่าเทียม (Poverty and Equity Database) ของธนาคารโลก

แหล่งข้อมูลอื่นคือ การประเมินความยากจนของธนาคารโลก (Poverty Assessments) ธนาคารโลกมีการเตรียมการ


เป็ นช่วง ๆ เพื่อประเมินความยากจนของประเทศต่าง ๆ ทีธ่ นาคารโลกมีโครงการทีย่ งั ดาเนินการอยู่ โดยความร่วมมือ
อย่างใกล้ชดิ กับหน่วยงานของประเทศนัน้ หน่วยงานด้านการพัฒนาอื่น ๆ และกลุ่มภาคประชาสังคม รวมถึงองค์กรของ
คนยากจน การประเมินความยากจนรายงานประเด็นทีค่ รอบคลุมและสาเหตุของความยากจน และเสนอยุทธศาสตร์ใน
การลดความยากจน รายงานการประเมินความยากจนเป็ นแหล่งข้อมูลทีด่ ที ส่ี ุดทีส่ ามารถหาได้เกีย่ วกับค่าประมาณการ
ความยากจนทีใ่ ช้เส้นความยากจนของประเทศ รายงานการประเมินดังกล่าวมักจะรวมการประเมินทีแ่ ยกกันระหว่าง
ความยากจนในเมืองและในชนบทเอาไว้ดว้ ย

กระบวนการเก็บข้อมูล:
การเก็บรวบรวมแหล่งข้อมูลกาลัง อยู่ร ะหว่างดาเนิ นการโดยคณะท างานความยากจนระดับโลก (Global Poverty
Working Group: GPWG) ของธนาคารโลก ข้อมูลในตัวชี้วดั การพัฒนาโลก (World Development Indicators: WDI)
ถูกอัพเดทเป็ นรายไตรมาสซึง่ เป็ นไปตามรอบของการอัพเดทของฐานข้อมูล WDI2

----------------------------------------------------------------------------------------

2 http://data.worldbank.org/products/wdi

14
เป้ าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่
เป้ าประสงค์ท่ี 1.2: ภายในปี 2573 ลดสัดส่วน ชาย หญิง และเด็ก ในทุกช่วงวัย ทีอ่ ยู่ภายใต้ความยากจนในทุกมิติ ตาม
นิยามของแต่ละประเทศ ให้ลดลงอย่างน้อยครึง่ หนึ่ง

ตัวชีว้ ดั ที่ 1.2.2: สัดส่วนของผูช้ าย, ผูห้ ญิง และเด็กในทุกช่วงวัยทีย่ ากจน ในทุกมิติ ตามนิยามของแต่ละประเทศ

เอกสารกรอบการชี้วดั (Metadata) สาหรับตัวชี้วดั นี้ยงั ไม่มี แต่ได้ทาการร้องขอไปยังหน่ วยงานทีร่ บั ผิดชอบตัวชี้วดั นี้


แล้ว
กรุณาอีเมล์เราเพื่อรับทราบข้อมูลเพิม่ เติมที่ statistics@un.org ขอบคุณ
ฝ่ ายสถิติ องค์การสหประชาชาติ (United Nations Statistics Division)

----------------------------------------------------------------------------------------

เป้ าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่


เป้ าประสงค์ท่ี 1.3: ดาเนินการให้ทุกคนมีระบบและมาตรการการคุ้มครองทางสังคมในระดับประเทศให้เหมาะสม
รวมถึงมาตรการคุม้ ครองระดับพืน้ ฐานและบรรลุการครอบคลุมถึงกลุ่มทีย่ ากจนและเปราะบาง ภายปี 2573

ตัวชีว้ ดั ที่ 1.3.1: สัดส่วนของประชากรทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครองตามระบบและมาตรการคุม้ ครองทางสังคม จาแนกตามเพศ


และแบ่งเป็ น เด็ก ผูว้ ่างงาน ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร หญิงตัง้ ครรภ์ เด็กเกิดใหม่ ผูท้ ไ่ี ด้รบั บาดเจ็บจากการทางาน ผูย้ ากจนและ
อยู่ในสถานะเปราะบาง

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organisation: ILO)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ตัวชี้วดั นี้สะท้อนสัดส่วนของบุคคลทีไ่ ด้รบั การครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลโดยระบบการคุม้ ครองทางสังคมซึ่งรวมถึง
มาตรการทางสังคมพื้นฐาน (Social protection floors) ตัวชี้วดั นี้ยงั สะท้อนองค์ประกอบหลักของความคุ้มครองทาง
สังคมด้วย ได้แก่ เงินสงเคราะห์เด็กและมารดา (child and maternity benefits) การสนับสนุนบุคคลทีไ่ ม่มงี านทา บุคคล
ทีพ่ กิ าร เหยื่อทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บจากการทางาน และผูส้ งู อายุ

ความครอบคลุมที่มปี ระสิทธิภาพของความคุ้มครองทางสังคมถูกวัดได้โดยจานวนคนทั ง้ ที่เป็ นผู้จ่ายให้กบั โครงการ


ประการสังคมและ/หรือเป็ นผูร้ บั ผลประโยชน์จากโครงการนัน้ (ทัง้ กรณีทผ่ี รู้ บั ประโยชน์ร่วมจ่ายกับผูจ้ า้ งหรือกรณีทผ่ี รู้ บั
ประโยชน์ไม่จาเป็ นต้องร่วมจ่าย)

แนวคิ ด:
ระบบการคุม้ ครองทางสังคมรวมโครงการทีผ่ รู้ บั ประโยชน์ร่วมจ่ายและไม่ร่วมจ่าย ทีจ่ ดั ให้สาหรับเด็ก หญิงมีครรภ์กบั
ทารกแรกเกิด ผู้คนในวัย ทางาน ผู้สูงวัย เหยื่อที่ได้รบั บาดเจ็บจากการทางานและผู้คนกับภาวะความพิการ การ
ประกันสังคมขัน้ พืน้ ฐานจะให้กลไกในการรับมือกับอุปัทวเหตุหลัก ๆ ในระดับพืน้ ฐาน ตลอดวงจรชีวติ และถูกนิยามไว้
ใน the Social Protection Floors Recommendation 2012 (no.202) ทีอ่ า้ งถึงใน SDG 1.3

15
เมื่อประเมินความครอบคลุมและช่องว่างในการครอบคลุมแล้ว ต้องจาแนกความแตกต่างระหว่างความครอบคลุมโดย
(1) ประกันสังคมที่ผู้ได้รบั ประโยชน์ ต้องร่วมจ่าย (2) โครงการที่ให้การคุ้มครองถ้วนหน้ า (universal schemes) ที่
ครอบคลุมผู้ประชาชนในประเทศ (หรือประชาชนทัง้ หมดที่อยู่ในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง) และ (3) โครงการการทดสอบหา
ค่าเฉลี่ย (means-tested schemes) อันมีศกั ยภาพที่จะครอบคลุมทุกคนที่ผ่านการทดสอบเกี่ยวกับรายได้และ/หรือ
สินทรัพย์

หลักการและเหตุผล และการตีความ:
การเข้าถึงการคุม้ ครองทางสังคมในระดับพืน้ ฐานทีส่ ุดตลอดทัง้ วงจรชีวติ เป็ นสิทธิมนุ ษยชนข้อหนึ่ง หลักการของความ
เป็ น สากลของมาตรการคุ้ม ครองทางสัง คม (the principle of universality of social protection) เป็ น หลัก ฐานของ
ความสาคัญของระบบความคุม้ ครองทางสังคมทีร่ บั ประกันสภาพความเป็ นอยู่ทด่ี สี าหรับประชากรทุกคนตลอดชีวติ ของ
พวกเขา สัดส่วนของประชากรที่อยู่ภายใต้ระบบการคุม้ ครองทางสังคมหรือการคุม้ ครองทางสังคมระดับพืน้ ฐานทาให้มี
ข้อบ่งชี้ได้ว่าความเป็ นสากลดังกล่าวได้ถูกทาให้สาเร็จเพียงใดแล้วและสภาพความเป็ นอยู่ของประชากรมีความมั ่นคง
เพียงใด

การวัดความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลควรจะสะท้อนว่าความเป็ นจริงของการจัดให้มสี งิ่ ดังกล่าวตามกฎหมายถูก


ดาเนินการอย่างไร มันหมายถึงสัดส่วนของประชากรที่ได้รบั ประโยชน์จริงจากโครงการมาตรการทางสังคมทัง้ ที่ผู้รบั
ประโยชน์ตอ้ งร่วมจ่ายและทีไ่ ม่ตอ้ งร่วมจ่าย บวกกับจานวนบุคคลทีร่ ่วมจ่ายให้กบั โครงการประกันสังคม

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ข้อมูลถูกเก็บผ่านการสารวจของ ILO เองทีด่ าเนินอยู่เป็ นระยะเวลากว่าทศวรรษ เรียกว่า การศึกษาความมั ่นคงทาง
สังคมขององค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO Social Security Inquiry: SSI) เมื่อใดก็ตามทีป่ ระเทศส่งข้อมูล ตัวชีว้ ดั
จะถูกจาแนกตามเพศ ตัวชีว้ ดั จาแนกโดยประเทศและภูมภิ าคก็มใี ห้เช่นกัน

ระเบียบวิ ธี
การคานวณครอบคลุมตัวชี้วดั ที่ต่าง ๆ เพื่อทีจ่ ะแยกแยะให้เห็นความครอบคลุมทีม่ ปี ระสิทธิผลสาหรับเด็ก ผูว้ ่างงาน
ผู้สูงอายุ และผู้ท่มี คี วามพิการ มารดาและทารกแรกเกิด คนทางานที่ได้รบั ความคุ้มครองในกรณีท่บี าดเจ็บจากการ
ทางาน และคนจนและคนเปราะบาง สาหรับแต่ละกรณีนัน้ ความครอบคลุมแสดงออกมาในรูปแบบของสัดส่วนที่มตี ่อ
ประชากรทีพ่ จิ ารณา

การคานวณทาให้ได้ตวั ชีว้ ดั ดังต่อไปนี้


a) สัดส่วนของเด็กที่ถูกครอบคลุมโดยประโยชน์จากการคุ้มครองทางสังคมประเภทต่าง ๆ: อัตราส่วนของ
เด็ก/ครัวเรือนทีไ่ ด้รบั เงินสงเคราะห์เด็กหรือครอบครัว ต่อจานวนรวมของเด็กหรือครอบครัวทีม่ เี ด็ก
b) สัดส่วนของผู้หญิงที่ให้กาเนิด ที่ได้รบั เงินสงเคราะห์มารดา: อัตราส่วนของผุ้หญิงที่ได้รบั เงินสงเคราะห์
มารดาที่อยู่ในรูปเงินสด ต่อผู้หญิงทีใ่ ห้กาเนิดบุตรทัง้ หมดในปี เดียวกัน (ประมาณการบนฐานของอัตรา
การเจริญพันธุใ์ นช่วงอายุจาเพาะเผยแพร่ในเอกสาร the UN’s World Population Prospects หรือบนฐาน
ของจานวนการเกิดมีชพี (live birth) โดยปรับให้ถูกต้องสาหรับกรณีแฝดสอง หรือ แฝดสาม)
c) สัดส่วนของบุคคลที่มคี วามพิการที่ได้รบั เงินสงเคราะห์: อัตราส่วนของบุคคลที่ได้รบั เงินสงเคราะห์คน
พิการทีเ่ ป็ นเงินสด ต่อจานวนบุคคลทีม่ คี วามพิการอย่างรุนแรง ตัวเลขตัวหลังนี้ถูกคานวณให้เป็ นสัดส่วน

16
ความชุกของความพิการ (prevalence of disability ratios) (ตีพมิ พ์สาหรับแต่ละกลุ่มประเทศโดย World
Health Organization) และจานวนประชากรแต่ละประเทศ
d) สัดส่วนของผูว้ ่างงานทีไ่ ด้รบั เงินสงเคราะห์: อัตราส่วนของผูร้ บั เงินสงเคราะห์การว่างงานทีเ่ ป็ นเงินสดต่อ
จานวนผูว้ ่างงานทัง้ หมด
e) สัดส่วนของแรงงานทีถ่ ูกครอบคลุมในกรณีทไ่ี ด้รบั บาดเจ็บจาการจ้างงาน: อัตราส่วนของแรงงานทีไ่ ด้รบั
การคุม้ ครองโดยประกันอุบตั เิ หตุต่อจานวนรวมของการจ้างงานหรือกาลังแรงงาน
f) สัดส่วนของผูส้ งู อายุทไ่ี ด้รบั เงินบานาญ: อัตราส่วนของบุคคลทีม่ อี ายุสงู กว่าเกณฑ์การเกษียณอายุท่ีได้รบั
เงินบานาญผูส้ งู อายุ ต่อ บุคคลทีม่ อี ายุสงู กว่าเกณฑ์การเกษตรอายุทงั ้ หมด (รวมกรณีทผ่ี รู้ บั ประโยชน์ตอ้ ง
ร่วมจ่ายและไม่ได้ร่วมจ่าย)
g) สัดส่วนของบุคคลเปราะบางที่ได้รบั เงินสงเคราะห์: อัตราส่วนของผู้ได้รบั ความช่วยเหลือทางสังคมต่อ
จานวนรวมของบุคคลเปราะบาง ตัวเลขตัวหลังนัน้ ถูกคานวณโดยการลบจานวนต่อไปนี้ออกจากจานวน
ประชากรรวม คือ บุคคลทุกคนในวัยทางานที่ร่วมจ่ายในโครงการประกันสังคมหรือได้รบั ประโยชน์จาก
การร่วมจ่าย, และบุคคลทุกคนทีม่ อี ายุมากกว่าเกณฑ์การเกษียณอายุทไ่ี ด้รบั ประโยชน์จากการร่วมจ่าย

การคานวณรวมตัวชีว้ ดั ถูกคานวณเป็ น สัดส่วนของจานวนประชากรรวมทีไ่ ด้รบั เงินสงเคราะห์เป็ นเงินสดอย่างน้อยหนึ่ง


โครงการ (ทัง้ ได้ประโยชน์แบบร่วมจ่ายและไม่ต้องร่วมจ่าย) หรือที่ได้ร่วมจ่ายอย่างน้อยหนึ่งมาตรการคุ้มครองทาง
สังคม

การจาแนกข้อมูล:
เมื่อใดก็ตามทีม่ ขี อ้ มูล ตัวชีว้ ดั จะถูกจาแนกตามเพศและกลุ่มอายุ

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ตัวชีว้ ดั สาหรับประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลจะไม่ได้เป็ นส่วนหนึ่งของการรายงาน

สาเหตุของความแตกต่างระหว่างตัวเลขของระดับโลกและระดับประเทศ:
การประมาณการอยู่บนฐานของข้อมูลเพื่อการจัดการทีจ่ ดั เก็บโดยประเทศนัน้ เอง (ILO Social Security Inquiry: SSI)
(ผูแ้ ปล: ข้อมูลเพื่อการบริหาร (administrative data) คือ ข้อมูลทีเ่ ก็บโดยรัฐหรือองค์กรเองโดยไม่ได้มจี ดุ ประสงค์เฉพาะ
เพื่อการจัดเก็บสถิตเิ ป็ นค่าตัวชีว้ ดั แต่เป็ นการเก็บข้อมูลเกีย่ วกับการจัดการเพื่อให้เข้าใจการทางานขององค์กรและใช้ใน
การดาเนินงานขององค์กร)

การรวบรวมข้อมูลระดับโลกและภูมิภาค:
ตัวชีว้ ดั ระดับโลกและภูมภิ าคคือค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักของตัวชีว้ ดั ระดับชาติ โดยให้ถ่วงน้าหนักเท่ากับตัวหารทีถ่ ูกระบุใน
section 3.3, a-g. ค่าประมาณการระดับโลกและภูมภิ าคอยู่บนฐานของแบบจาลองทางเศรษฐมิตทิ อ่ี อกแบบให้ประมาณ
ค่าสูญหายสาหรับ ประเทศไม่มขี อ้ มูลการรายงานระดับชาติ ผลผลิตของแบบจาลองนี้คอื ชุด ข้อมูลค่าประมาณการปี
เดียวที่สมบูรณ์ (single-year estimates) สาหรับตัวชี้วดั ความคุ้มครองทางสังคม 7 ตัวสาหรับ 169 ประเทศ ต่อมา
ข้อมูลระดับประเทศ (ทัง้ ทีร่ ายงานและทีม่ กี ารประมาณค่าสูญหาย) จึงถูกคานวณรวมกันเพื่อผลิตค่าประมาณการระดับ
โลกและภูมภิ าคของตัวชีว้ ดั ด้านความคุม้ ครองทางสังคม

17
การเก็บข้อมูลที่เปรียบเทียบได้ในระดับนานาชาติ สาหรับการติ ดตามระดับโลก:
ข้อมูลถูกเก็บโดยใช้แบบสอบถาม SSI ซึ่งถูกตอบโดยความร่วมมือโดยตรงกับหน่ วยงานของรัฐหลายหน่ วยงาน -
กระทรวงแรงงาน กระทรวงการคลัง และสถาบันทีเ่ กีย่ วข้องกับการคุม้ ครองทางสังคม ข้อมูลทีเ่ ก็บได้จ ะถูกทบทวนโดย
แผนกคุ้มครองทางสังคม (Social Protection Department) เพื่อระบุความไม่สอดคล้องกันภายในระหว่างข้อมูลกับ
ตัวชี้วดั และตรวจจับความแตกต่างทีส่ าคัญทีเ่ กี่ยวข้องกับตัวชี้วดั ทีค่ านวณในปี ก่อนๆ เมื่อความไม่ สอดคล้องกันของ
ข้อมูลถูกตรวจพบ แบบสอบถามจะถูกส่งกลับไปทีป่ ระเทศนัน้ ๆ รวมถึงข้อคิดเห็นโดยละเอียดสาหรับการทบทวนและ
การปรับปรุง ในหลาย ๆ กรณี การสื่อสารโดยตรงกับหน่ วยงานประเภทเดียวกันในประเทศเป็ นสิง่ ที่ จาเป็ นเนื่องจาก
การประยุกต์ใช้ SSI ขึน้ อยู่กบั ความเข้มแข็งของการประสานงานระหว่างแผนกดังกล่าวใน ILO กับหน่ วยงานประเภท
เดียวกันในระดับรัฐบาล

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย
แหล่งข้อมูลหลักคือ ข้อมูลจากการศึกษาความมั ่นคงทางสังคม (Social Security Inquiry: SSI) ทีเ่ ป็ นการเก็บข้อมูลเพื่อ
การบริหาร (administrative data) ตามช่วงเวลาที่กาหนดของ ILO จากกระทรวงแรงงาน กระทรวงความมั ่นคงของ
สังคม กระทรวงการคลัง และอื่น ๆ

ตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2493 Social Security Inquiry ของ ILO ได้เป็ นแหล่งข้อมูลการจัดการหลักของโลกในด้านความคุม้ ครอง
ทางสังคม แหล่งข้อมูลทุตยิ ภูมหิ มายรวมถึงฐานข้อมูลระดับโลกทีม่ อี ยู่ทเ่ี กี่ยวกับสถิตคิ วามคุม้ ครองทางสังคม โดยรวม
แหล่งข้อมูลของธนาคารโลก องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) องค์การเพื่อการส่งเสริมความเสมอ
ภาคระหว่างเพศ และเพิม่ พลังของผูห้ ญิงแห่งสหประชาชาติ (UNWOMEN) องค์การช่วยเหลือผูส้ งู อายุระหว่างประเทศ
(HELPAGE) องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Cooperation and
Development: OECD และ สมาคมความมั ่นคงทางสังคมระหว่างประเทศ (International Social Security Association)

ทัง้ หมดนี้ ท าให้เ กิด ฐานข้อ มูลความคุ้ม ครองทางสัง คมของโลก (World Social Protection Database) ฐานข้อ มูล
ดัง กล่ า วเป็ น แหล่ ง สารสนเทศที่มีห นึ่ ง เดีย วและท าหน้ า ที่เ ป็ น ฐานของรายงานส าคัญ ของ ILO คือ World Social
Protection Report ซึ่งนาเสนอตามช่วงเวลาเกี่ยวกับแนวโน้มการพัฒนาของระบบความคุ้มครองทางสังคม รวมถึง
ความคุม้ ครองทางสังคมพืน้ ฐาน และมีขอ้ มูลครอบคลุมหลายประเทศ (183 ประเทศ)

----------------------------------------------------------------------------------------

18
เป้ าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่
เป้ าประสงค์ท่ี 1.3: ดาเนินการให้ทุกคนมีระบบและมาตรการการคุ้มครองทางสังคมในระดับประเทศให้ เหมาะสม
รวมถึงมาตรการคุม้ ครองระดับพืน้ ฐานและบรรลุการครอบคลุมถึงกลุ่มทีย่ ากจนและเปราะบาง ภายปี 2573

ตัวชีว้ ดั ที่ 1.3.1: สัดส่วนของประชากรทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครองตามระบบและมาตรการคุม้ ครองทางสังคม จาแนกตามเพศ


และแบ่งเป็ น เด็ก ผูว้ ่างงาน ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร หญิงตัง้ ครรภ์ เด็กเกิดใหม่ เหยื่อทีไ่ ด้รบั บาดเจ็บจากการทางาน ผูย้ ากจน
และอยู่ในสถานะเปราะบาง

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: ธนาคารโลก (World Bank: WB)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ความครอบคลุมของโครงการคุ้มครองทางสังคมและแรงงาน (Social Protection and Labour: SPL) คือ ร้อยละของ
ประชากรทีม่ สี ่วนร่วมกับประกันสังคม โครงข่ายความคุม้ ครองทางสังคม และเงินสงเคราะห์การว่างงาน และโครงการ
เกีย่ วกับตลาดแรงงานทีจ่ ริงจัง ค่าประมาณการครอบคลุมผูท้ ไ่ี ด้รบั ประโยชน์ทงั ้ ทางตรงและทางอ้อม

หลักการและเหตุผล
ตัวชี้วดั ความครอบคลุมแบบ ASPIRE (Atlas of Social Protection – Indicators of Resilience and Equity: สมุดแผน
ที่ของการคุ้มครองทางสังคม – ตัวชี้วดั ด้านการตัง้ รับปรับตัว (Resilience) และความเท่าเทียม (Equity)) หมายถึง
นิยามของความครอบคลุมทีม่ ี “ประสิทธิผล” วัดผู้ได้รบั ประโยชน์ทงั ้ ทางตรงและทางอ้อมที่รบั เงินสงเคราะห์จากการ
คุม้ ครองทางสังคมในเวลาทีม่ กี ารเก็บข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนทีเ่ ป็ นตัวแทนระดับชาติ (nationally representative
household survey data) ในกลุ่มทีเ่ ป็ นกลุ่มเป้ าหมาย (จานวนประชากรรวม, สาหรับประชากรในกลุ่มรายได้กลุ่มต่าง
ๆ (Quintiles), จานวนประชากรรวมในเขตเมืองและชนบท) ความครอบคลุมทีม่ ปี ระสิทธิผลเกี่ยวข้องกับโดยตรงกับ
SDG 1 ว่าด้วยการยุตคิ วามยากจนในทุกรูปแบบ

ในฉบับปั จจุบนั ตัวชี้วดั ASPIRE ไม่ได้ครอบคลุมกลุ่มคนที่ได้รบั การคุ้มครองโดยกฎหมาย หรือผู้ท่ี ได้รบั ประกัน


ผลประโยชน์ (benefits guaranteed) แต่ไม่จาเป็ นต้องได้รบั ประโยชน์เหล่านัน้ ในช่วงเวลาที่มกี ารดาเนินการสารวจ
ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มคนที่จ่ายเงินให้กบั กองทุนเงินบานาญสาหรับผู้สูงอายุและมีสทิ ธิได้รบั ประโยชน์เมื่ออายุถึงวัย
เกษียณ

แนวคิ ด:
ตัวชี้วดั นี้ประมาณการโดยประเภทของโครงการ สาหรับประชากรโดยรวมและประชากรแต่ละควินไทล์ (quintiles) ทัง้
หลังและก่อนการโอนจัดสรรสวัสดิการ โครงการจะถูก รวมเข้าไปใน ความช่วยเหลือทางสังคม การประกันสังคมและ
ตลาดแรงงานโดยอ้า งอิงจากการจัดประเภทของ ASPIRE (Atlas of Social Protection – Indicators of Resilience
and Equity: สมุดแผนทีข่ องการคุม้ ครองทางสังคม – ตัวชี้วดั ด้านการตัง้ รับปรับตัว (Resilience) และความเท่าเทียม
(Equity)) ตัวชี้วดั สาหรับความคุ้มครองทางสังคมและโครงการแรงงาน (Social Protection and Labour: SPL) ทุก
ประการให้ขอ้ มูลผลรวมของตัวเลขความช่วยเหลือทางสังคม การประกันสังคม และตลาดแรงงาน

19
ASPIRE คือ ชุดตัวชี้วดั ด้านความคุม้ ครองทางสังคมและแรงงาน (SPL) ทีส่ าคัญทีส่ ุดของธนาคารโลกที่รวบรวมจาก
การสารวจครัวเรือนระดับนานาชาติทไ่ี ด้รบั การยอมรับอย่างเป็ นทางการ เพื่อการวิเคราะห์ผลกระทบด้านการกระจาย
รายได้และความยากจนของโครงการคุ้มครองทางสังคมและแรงงาน ชุดตัวชี้วดั ASPIRE เป็ นโครงการทีก่ าลังดาเนิน
อยู่ มุ่งหมายทีจ่ ะพัฒนาคุณภาพของข้อมูล SPL ความเปรียบเทียบได้ และการหามาได้ เพื่อเป็ นข้อมูลให้กบั นโยบาย
และโครงการด้าน SPL

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
การสารวจรายครัวเรือนมีขอ้ จากัดหลายประการ ข้อสาคัญคือ โอกาสทีส่ ารสนเทศเกีย่ วกับการโอนและโครงการหนึ่ง ๆ
จะถูกเก็บได้ในการสารวจรายครัวเรือนอาจแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ บ่อยครัง้ การสารวจรายครัวเรือนไม่ได้เก็บ
ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการคุ้มครองทางสังคมและแรงงานทัง้ หมดทีม่ อี ยู่ในประเทศ ในกรณีของแนวปฏิบตั ทิ ่ดี สี ุดนัน้ ก็มี
เพียงแค่โครงการขนาดใหญ่เท่านัน้ การสารวจรายครัวเรือนหลายการสารวจมีสารสนเทศทีจ่ ากัดเกีย่ วกับโครงการ SPL
บางการสารวจเก็บสารสนเทศเพียงการมีส่วนร่วมโดยไม่ได้รวมปริมาณทีโ่ อน การสารวจอื่น ๆ รวมสารสนเทศเกีย่ วกับ
โครงการผสมกับการโอนส่วนบุคคล ทาให้ยากทีจ่ ะแยกแยะโครงการ SPL แต่ละโครงการออกจากกัน

ดังนัน้ สารสนเทศของโครงการ SPL ระดับประเทศที่ถูกรวมอยู่ใน ASPIRE จึงจากัดอยู่ท่วี ่าอะไรถูกเก็บบ้างในการ


สารวจรายครัวเรือนของประเทศนัน้ และไม่จาเป็ นต้องเป็ นต้องเป็ นตัวแทนของโครงการทัง้ หมดที่มอี ยู่ในประเทศ
นอกจากนี้ การได้มาซึ่งตัวชี้วดั ASPIRE ขึน้ อยู่กบั ประเภทของคาถามทีถ่ ูกรวมอยู่ในการสารวจด้วย ยกตัวอย่างเช่น
ถ้าปริมาณการโอนสามารถหามาได้ ความเพียงพอและผลกระทบทีม่ ตี ่อตัวชีว้ ดั ด้านความยากจนจะสามารถสร้างขึน้ ได้
(generated) ได้ หากมีเพียงคาถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของโครงการเท่านัน้ ทีถ่ ูกรวมเข้าไปในการสารวจ ตัวชีว้ ดั ที่
ไม่ เ ป็ น ตัว เงิน เท่ า นั น้ ที่จ ะสามารถถู ก สร้า งขึ้น มาได้ เช่ น ความครอบคลุ ม หรือ ผู้ไ ด้ร ับ ประโยชน์ ( coverage or
beneficiary incidence)

ดังนัน้ ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานของตัวชีว้ ดั ASPIRE อาจไม่สามารถเปรียบเทียบได้อย่างเต็มทีก่ บั ตัวชี้วดั อื่นทีม่ กี าร


ปรับมาตรฐานด้านโครงการ หมวดหมู่ และประเทศแล้ว

อย่ า งไรก็ดี การสารวจรายครัว เรือ นมีค วามได้เ ปรีย บเป็ น พิเ ศษที่ท าให้ก ารวิเ คราะห์ผ ลกระทบของโครงการต่อ
สวัสดิการของครัวเรือนเป็ นไปได้ เมื่อมีขอ้ ควรระวังดังทีก่ ล่าวไปแล้วอยู่ในใจ ตัวชี้วดั ASPIRE ที่อยู่บนฐานของการ
สารวจรายครัวเรือนจะทาให้มาตรวัดการประมาณค่าของผลการดาเนินงานด้านระบบการคุม้ ครองทางสังคมเป็ นไปได้

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ (Computation Method):
ข้อมูลจะถูกคานวณจากการสารวจรายครัวเรือนทีเ่ ป็ นตัวแทนระดับชาติ โดยใช้ ASPIRE: (Atlas of Social Protection
– Indicators of Resilience and Equity: สมุ ด แผนที่ของการคุ้มครองทางสังคม – ตัว ชี้ว ัด สาหรับการตัง้ รับปรับตัว
(Resilience) และความเท่าเทียม (Equity) ของธนาคารโลก (ดู datatopics.worldbank.org/aspire/).

ความครอบคลุม = จานวนของผูไ้ ด้รบั ประโยชน์ในประชากร (หรือกลุ่ม) ทัง้ หมด/ จานวนประชากรทัง้ หมด (หรือกลุ่ม)

โดยทัวไป
่ ตัวชีว้ ดั ASPIRE อยู่บนฐานของการวิเคราะห์ระดับทีห่ นึ่งของข้อมูลต้นฉบับทีไ่ ด้จากการสารวจรายครัวเรือน
(โดยไม่มกี ารประมาณค่าสูญหายใด ๆ) และบนฐานของระเบียบวิธที ่ีปรับเป็ นมาตรฐานเดียวกันแล้วซึ่ง ไม่จาเป็ นที่

20
จะต้องสะท้อนความรูท้ จ่ี าเพาะเจาะจงกับประเทศนัน้ ๆ และไม่ตอ้ งสะท้อนการวิเคราะห์เกี่ยวกับประเทศนัน้ ทีใ่ ช้ขอ้ มูล
จากหลายแหล่ง (ข้อมูลในระดับโครงการบริหาร – administrative program level data)

การจาแนกข้อมูล:
การจาแนกข้อมูลสามารถทาได้โดยจาแนกตามเพศ กลุ่มอายุ และกลุ่มรายได้แต่ละควินไทล์ (quintiles), และอื่น ๆ

การจัดการข้อมูลที่สูญหายในระดับประเทศ
ไม่มกี ารประมาณค่าสูญหาย

ในระดับภูมิภาคและระดับโลก
ข้อมูลรวมในระดับภูมภิ าคและระดับโลกถูกคานวณจากค่าล่าสุดที่สุดของข้อมูลประเทศตัง้ แต่ปี 2000 และไม่มกี าร
ประมาณค่าสูญหาย

การรวมข้อมูลในระดับภูมิภาค:
ค่าประมาณการระดับภูมภิ าคและระดับโลกถูกคานวณเป็ น ค่าเฉลี่ยของข้อมูลทีห่ าได้ของทุกประเทศ ถ่วงน้ าหนักโดย
จานวณประชากรของประเทศเหล่านัน้

สาเหตุของความแตกต่างของข้อมูล:
แม้มีความพยายามในการทาให้แน่ ใจว่า ตัวชี้วดั ASPIRE และรายงานระดับภูมิภาคและประเทศของธนาคารโลก/
ค่าประมาณการระดับชาติมคี วามสอดคล้องกัน มันอาจมีกรณีทผ่ี ลการดาเนินงานของตัวชี้วดั ASPIRE แตกต่างจาก
รายงานทางการระดับประเทศของธนาคารโลกและค่าประมาณการระดับชาติได้

แหล่งข้อมูล:
คาอธิ บาย:
ข้อ มูลอยู่บ นฐานของการสารวจรายครัว เรือ นที่เ ป็ น ตัวแทนระดับชาติ แหล่ ง ข้อ มูลคือ ASPIRE : (Atlas of Social
Protection – Indicators of Resilience and Equity: สมุดแผนทีข่ องการคุม้ ครองทางสังคม – ตัวชี้วดั สาหรับการตัง้ รับ
ปรับตัว (Resilience) และความเท่าเทียม (Equity) ของธนาคารโลก (ดู datatopics.worldbank.org/aspire/).

กระบวนการเก็บข้อมูล:
ข้อมูลเก็บรายหน่วย (Unit-record data) ของการสารวจรายครัวเรือนระดับชาติเก็บโดยรัฐบาลของประเทศนัน้ และมอบ
ให้ธนาคารโลกเพื่อจุดมุ่งหมายด้านการวิเคราะห์ ทีม ASPIRE ทาการข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนเหล่านี้ให้ เป็ น
มาตรฐานเดียวกัน (harmonize) เพื่อทาให้มนั พอทีจ่ ะเปรียบเทียบแบบข้ามประเทศและข้ามเวลาได้

ระเบีย บวิธีในการท าให้เ ป็ น มาตรฐานเดีย วกัน แบบ ASPIRE สาหรับ ข้อ มูลการสารวจรายครัวเรือ นนั น้ มีขนั ้ ตอน
3 ขัน้ ตอน

1. ระบุและจาแนกประเภทของประโยชน์และบริการความคุม้ ครองทางสังคมและแรงงาน (SPL)

21
การสารวจรายครัวเรือนถูกทบทวนอย่างระมัดระวังเพื่อระบุสารสนเทศทีเ่ กี่ยวกับโครงการ SPL เมื่อสารสนเทศได้ถูก
ระบุแล้ว การวิเคราะห์ 2 ระดับจะถูกดาเนินการ ระดับแรก ตัวแปรจะถูกสร้างขึน้ สาหรับแต่ละโครงการจาเพาะในแต่ละ
ประเทศทีพ่ บในการสารวจ ถ้าชื่อของโครงการต้นฉบับไม่ได้ถูกให้ไว้ในเครื่องมือการสารวจ ตัวแปรจะถูกรายงานและ
จัดประเภทไปอยู่ในโครงการประเภทย่อยตามทีแ่ บ่งไว้ตามแนวทางของ ASPIRE โดยพิจารณาจากว่าวิธกี ารตัง้ คาถาม
และบริบทของประเทศ

นอกจากนี้ตวั แปรของโครงการจะถูกรวมและปรับมาตรฐานให้เข้ากับประเภทโครงการ SPL 12 ประเภท และประเภท


การโอนภาคเอกชน 2 ประเภท โครงการจาเพาะในแต่ละประเทศทีถ่ ูกรวมเข้ามาในหมวดหมูห่ ลักของ SPL จะถูกจัดทา
เป็ นเอกสารในรายละเอียดด้านล่างนี้และถูกตรวจสอบโดยคณะทางานระดับประเทศของธนาคารโลก (WB Country
task teams) โดยความร่วมมือกับหน่วยงานลักษณะเดียวกันในประเทศ

เพื่อสร้างตัวชี้วดั ตัวแปรต่อไปนี้จะถูกทาให้เข้ากันได้: หมายเลขระบุตวั ตนของครัวเรือน, สถานที่ตงั ้ (เมือง/ชนบท),


ขนาดครัว เรือ น, ขนาดครัว เรือ นเทีย บเท่ า ผู้ใ หญ่ , การค านวณรวมสวัสดิก าร (Welfare Aggregate) น้ า หนั ก ของ
ครัวเรือนและเส้นความยากจน นิยามโดยการจัดสรรสวัสดิการให้กบั กลุ่มคนทีจ่ นทีส่ ุดร้อยละ 20

2. การคานวณรวมสวัสดิการ

ครัวเรือนถูกจัดลาดับโดยแบ่งเป็ น 5 กลุ่มตามการจัดสรรสวัสดิการ (รายรับรวมหรือการบริโภคของครัวเรือน) มีความ


พยายามเป็ นพิเศษในการรวมเอาการคานวณรวมสวัสดิการที่ล่าสุดทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ และ/
หรือ ทีถ่ ูกทาให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันโดยคณะทางานด้านความยากจนระดับภูมภิ าค (regional poverty teams) (หรือ
the Socio-Economic Database for Latin America and the Carribbean – SEDLAC) ในกรณีของประเทศแถบละติน
อเมริกา และฐานข้อมูล ECAPOV ในกรณีของยุโรปตะวัน ออกและประเทศเอเชียกลาง การคานวณสวัสดิการยัง
สอดคล้องกับวิธกี ารทีใ่ ช้โดยการประมาณการความยากจนโดย PovcalNet ของธนาคารโลก

3. การแปลงเป็ น PPP

ตัวแปรทางการเงินทุกตัว (ปริมาณการโอน) และการคานวณรวมสวัสดิการจะถูกลดมูลค่า/ลดเงินเฟ้ อ (are deflated)


ไปให้เท่ากับมูลค่าในปี 2005 จากนัน้ จึงแปลงเป็ น International US Dollars โดยวิธีการดังต่อไปนี้: [การโอนและ
สวัสดิการทัง้ หมด (t) / CPI (2005)] / [ICP (2005)] ซึ่ง ICP (2005) คือ การบริโภคเอกชนทีถ่ ูกแปลงเป็ น PPP โดยใช้
มูลค่าปี 2005 แล้ว

เมื่อข้อมูลเหล่านี้ถูกปรับมาตรฐานแล้ว ตัวชีว้ ดั ผลการดาเนินงานจะถูกสร้างขึน้ มาได้โดยใช้ software ชื่อ ADePT SP

----------------------------------------------------------------------------------------

22
เป้ าหมายที่ 1 ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่
เป้ าประสงค์ท่ี 1.4 ภายในปี 2573 สร้างหลักประกันว่าชายและหญิงทุกคน โดยเฉพาะทีย่ ากจนและเปราะบาง มีสทิ ธิ
เท่าเทียมกันในทรัพยากรทางเศรษฐกิจ รวมถึงการเข้าถึงบริการขัน้ พื้นฐาน การเป็ นเจ้าของและมีสทิ ธิในที่ดนิ และ
อสังหาในรูปแบบอื่น มรดกทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีใหม่ทเ่ี หมาะสม และบริการทางการเงิน ซึ่งรวมถึงระบบ
การเงินระดับฐานราก

ตัวชีว้ ดั ที่ 1.4.1: สัดส่วนของประชากรอาศัยในครัวเรือนทีเ่ ข้าถึงบริการขัน้ พืน้ ฐาน

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: โครงการตัง้ ถิน่ ฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ
(United Nations Human Settlements Programme: UN-HABITAT)

แนวคิ ดและนิ ยาม


หลักการและเหตุผล:
ความยากจนมีหลายมิติ มันมิใช่เพียงความขาดแคลนสุขภาวะทางวัตถุเท่านัน้ แต่รวมถึงการขาดโอกาสทีจ่ ะได้ใช้ชวี ติ ที่
ดีพอประมาณ เส้นความยากจนขัน้ รุนแรงสากลได้ถูกอัพเดทขึน้ ในปี พ.ศ. 2558 อยู่ท่ี 1.90 ดอลลาร์สรอ. ต่อวันโดยใช้
ค่าภาวะความเสมอภาคของอานาจซื้อ (Purchasing Power Parity) ของปี พ.ศ. 2554 (WB 2015) การใช้ชวี ติ ใต้เส้น
ความยากจนขัน้ รุนแรงครอบคลุมการไม่ได้รบั น้าดื่มทีป่ ลอดภัย สุขอนามัยทีเ่ หมาะสม การเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ การ
เคลื่อนย้ายทีย่ ั ่งยืนไปสู่ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศ การดูแลสุขภาพ การศึกษา และอื่ น ๆ ความ
ยากจนยังเป็ นการสาแดงของความหิวโหยและภาวะทุพโภชนาการ ความจากัดในการเข้าถึงการศึกษาและบริการอื่น ๆ
การเลือกปฏิบตั แิ ละกีดกันทางสังคม รวมไปถึงการขาดการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ หากพูดอีกอย่างหนึ่งก็คอื ความ
ยากจนมีหลายมิตแิ ละครอบคลุมแง่มุมของชีวติ ที่หลากหลายครอบคลุมตัง้ แต่การเข้าถึงโอกาส การดาเนินชีวติ และ
เครื่องมือทีใ่ ช้ในการดารงชีวติ

ท่ามกลางแง่มุมต่าง ๆ ของความยากจน ตัวชี้วดั นี้ให้ความสาคัญกับการ “เข้าถึงบริการพื้นฐาน” การเข้าถึงบริการ


พื้นฐาน เช่น น้ าดื่มที่สะอาด สิง่ อานวยความสะดวกด้านสุขอนามัย พลังงานและการเคลื่อนย้ายที่ย ั ่งยืน ที่อยู่อาศัย
การศึกษา และการดูแลสุขภาพ และอื่น ๆ ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวติ ของคนจน การขาดการจัด หาบริการพืน้ ฐานให้และ
การขาดการเสริมพลังและการมีส่วนร่วมกับรัฐบาลท้องถิน่ ในการจัดหาบริการพืน้ ฐานเป็ นตัวเหนี่ยวรัง้ การเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวติ ของชุมชน ระบบที่จดั หาบริการขัน้ พื้นฐานที่พอเพียงจะส่งเสริมการพัฒนาด้านสังคม
เศรษฐกิจและช่วยในการบรรลุการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความครอบคลุมทางสังคม การลดความยากจนและความ
เหลื่อมล้า ยิง่ ไปกว่านัน้ การพัฒนาบริการพืน้ ฐานยังช่วยเพิม่ คุณภาพชีวติ และผลิ ตภาพของชุมชน สร้างงาน ลดเวลา
และความพยายามในการขนส่งน้ า สนับสนุ นความมั ่นคงทางอาหาร การใช้พลังงานที่ดขี ้นึ การผลิตสินค้าบริการที่
สาคัญ พัฒนาสุขภาพ (โดยการทาให้การเข้าถึงบริการทางการแพทย์ น้ าสะอาดและการเก็บขยะนัน้ มีอยู่) หรือช่วยให้
ระดับการศึกษาสูงขึน้ ด้วย

ในแผนปฏิบตั กิ ารกีโตสาหรับวาระใหม่แห่งการพัฒนาเมืองทีไ่ ด้รบั การรับรองในการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการ


พัฒนาทีอ่ ยู่อาศัยและเมืองอย่างยั ่งยืน ครัง้ ที่ 3 (Habitat III) รัฐสมาชิกได้ให้คามั ่นกับ “การส่งเสริมการเข้าถึงทีเ่ ท่าเทียม
และจ่ายได้ของโครงสร้างพืน้ ฐานทางกายภาพและสังคมทีย่ ั ่งยืนสาหรับทุกคน โดยปราศจากการกีดกัน รวมถึงทีด่ นิ ที่
จ่ายได้ ทีอ่ ยู่อาศัย พลังงานสมัยใหม่และหมุนเวียน น้ าดื่มทีส่ ะอาดและสุขอนามัย อาหารทีป่ ลอดภัยมีโภชนาการและ

23
เพียงพอ การทิ้ง ของเสีย การเคลื่อนย้ายที่ย ั ่งยืน การดูแลสุขภาพและวางแผนครอบครัว การศึกษา วัฒนธรรม และ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” พวกเขายังได้ให้คามั ่นต่อ “การสร้างหลักประกันว่าบริการเหล่านี้จะตอบสนองต่อ
สิทธิและความต้องการของผู้หญิง เด็กและเยาวชน คนชรา และผู้มีความพิการ ผู้อพยพ กลุ่มชาติพนั ธุ์และชุมชน
ท้องถิน่ ตามทีเ่ หมาะสม และสาหรับคนอื่น ๆ ทีอ่ ยู่ในสภาวะเปราะบาง”

การจัดหาบริการพืน้ ฐานจะต้องขับเคลื่อนไปสู่แนวทางทีใ่ ช้อุปสงค์เป็ นตัวขับเคลื่อน (Demand-driven approach) ซึ่ง


เหมาะสมกับความต้องการของท้องถิน่ ฉะนัน้ จึงจะสามารถตอบสนองต่อแนวคิด “การเข้าถึงสาหรับทุกคน” – ดังทีร่ ะบุ
เอาไว้ในวาระการพัฒนาเมืองใหม่ (New Urban Agenda: NUA) บริการพืน้ ฐานเป็ นรากฐานในการพัฒนามาตรฐานการ
ครองชีพ รัฐบาลมีความรับผิดชอบในการจัดหาบริการเหล่านี้ ตัวชี้วดั นี้จะวัดระดับของการเข้าถึงสู่บริการพืน้ ฐานและ
ชีน้ าความพยายามของภาครัฐในการจัดหาบริการพืน้ ฐานทีเ่ ท่าเทียมกันสาหรับทุกคนเพื่อขจัดความยากจน

แนวคิ ดและนิ ยาม:


แนวคิดหลักต่อไปนี้ถูกนิยามเพื่อสนับสนุนตัวชีว้ ดั ในบริบทของการขจัดความยากจน
บริการพื้นฐาน หมายถึง ระบบการจัดหาบริการสาธารณะที่ตอบสนองความต้องการพื้นฐานของมนุ ษย์ เช่น น้ าดื่ม
สุขาภิบาลและสุขอนามัย พลังงาน การเคลื่อนย้าย การเก็บขยะ สุขภาพ และการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเข้าถึงบริการพืน้ ฐานสื่อโดยนัยว่ามีบริการทีม่ คี ุณภาพเพียงพอ ใช้ประโยชน์ได้และจ่ายได้

การเข้าถึงบริการพื้นฐานด้านน้าดื่ม หมายถึงน้ าดื่มจากแหล่งน้ าทีไ่ ด้รบั การพัฒนาแล้ว โดยทีร่ ะยะเวลาของการหา


น้ ามาใช้นัน้ ไม่เกิน 30 นาทีต่อรอบ รวมเวลาการต่อคิว แหล่งน้ าที่ได้รบั การพัฒนาแล้วรวมถึง น้ าประปา หลุมเจาะ
(boreholes หรือ tube wells), บ่อขุดทีได้รบั การปกป้ อง น้ าพุทไ่ี ด้รบั การปกป้ อง น้ าทีม่ กี ารบรรจุหรือจัดส่ง คานิยามนี้
อยู่บนฐานของเป้ าประสงค์ SDG ข้อ 6.1

การเข้าถึงบริ การพื้นฐานด้านสุขาภิ บาล หมายถึง การใช้หอ้ งน้ าและสิง่ อานวยความสะดวกทีเ่ กี่ยวข้องทีไ่ ด้รบั การ
พัฒนาแล้วโดยไม่ตอ้ งแบ่งปั นกับครัวเรือนอื่น สิง่ อานวยความสะดวกทีไ่ ด้รบั การพัฒนาแล้วรวมถึง ชักโครกหรือ ส้วม
ราดน้ า ไปจนถึงระบบท่อน้ าทิ้ง ถังเกรอะ หรือ ส้วมหลุม: ส้วมหลุมแบบ VIP (ส้วมหลุมแบบมีการระบายอากาศ -
ventilated improved pit latrines), ส้วมหมักหรือ ส้วมหลุมแบบมีฐานให้นัง่ คานิยามนี้อยู่นฐานของเป้ าประสงค์ SDG
6.2

การเข้าถึงบริการพื้นฐานด้านสุขอนามัย หมายถึง การมีอยู่ของสิง่ อานวยความสะดวกในการล้างมือในสถานทีห่ นึ่ง


ๆ ด้วยสบู่และน้ า สิง่ อานวยความสะดวกในการล้างมืออาจอยู่กบั ทีห่ รือเคลื่อนทีไ่ ด้ และรวมถึงอ่างล้างหน้ าทีม่ กี ๊อกน้า
ถังน้ าทีม่ กี ๊อกน้ า ทีล่ ้างมือแบบใช้เท้าเหยียบ (tippy-taps), เหยือกน้าหรืออ่างล้างหน้าทีถ่ ูกจัดเอาไว้เพื่อการล้างมือ สบู่
นัน้ หมายรวมถึงสบู่กอ้ น สบู่เหลว ผงซักฟอก หรือน้าสบู่ แต่ไม่รวมถึงขีเ้ ถ้า ดิน ทราย หรือสารสาหรับการล้างมืออื่น ๆ
คานิยามนี้อยู่บนฐานของเป้ าประสงค์ SDG 6.2

การเข้าถึงบริการพื้นฐานด้านการเคลื่อนที่ หมายถึง การสามารถเข้าถึงถนนทีใ่ ช้การได้ในทุกสภาพอากาศในบริบท


ของชนบท (SDG 9.1.1) หรือการเข้าถึงขนส่งสาธารณะในบริบทของเมือง (SDG 11.2.1) ดังนัน้ การคานวณ “การ
เข้าถึงการเคลื่อนทีพ่ น้ื ฐาน” จะเป็ นการรวมเอาองค์ประกอบข้างต้นเข้าด้วยกัน

24
บริบทของชนบท:
เพื่อเสริมพลังตัวชีว้ ดั SDG 9.1.1 “สัดส่วนของประชากรในชนบททีอ่ าศัยอยู่ภายในระยะ 2 กิโลเมตรจากถนนทีใ่ ช้การ
ได้ทุกฤดูกาล” แนะนาว่าควรใช้ดชั นีการเข้าถึงในชนบท (Rural Access Index: RAI)3 ทีว่ ดั ร้อยละของประชากรทีอ่ าศัย
อยู่ห่างน้อยกว่า 2 กิโลเมตรจากถนนทีใ่ ช้การได้ทุกฤดูกาล (เทียบเท่าการเดินประมาณ 20-25 นาที)4

เพื่อขจัดความยากจน ชุมชนจาเป็ นต้องถูกเชื่อมไปสู่โอกาสทางสังคมและเศรษฐกิจโดยถนนที่สามารถใช้ได้ในทุก


ฤดูก าล และดึง ดู ด ให้มีบ ริก ารขนส่ ง สาธารณะที่เ ชื่อ ถือ ได้แ ละจ่ า ยได้ ในหลาย ๆ พื้น ที่ ทางเดิน เท้า ที่ป ลอดภัย
สะพานลอยคนข้าม และเส้นทางน้ า อาจจาเป็ นต้องมีและเชื่อมโยงกับหรือเป็ นทางเลือกแทนถนน เพื่อทาให้เข้าใจได้
ง่าย คานิยามนี้จะเน้นทีถ่ นนเป็ นหลัก (บนฐานของดัชนีการเข้าถึงในชนบท (Rural Access Index - RAI))5 เนื่องจาก
การคมนาคมทางถนนสะท้อนความสามารถในการเข้าถึงของผู้คนส่วนใหญ่ในบริบทของชนบท ในสถานการณ์ ท่ี
รูปแบบการคมนาคมแบบอื่น เช่น การคมนาคมทางน้ าเป็ นรูปแบบคมนาคมหลัก คานิยามจะถูกปรับและทาให้เหมาะ
กับบริบทเพื่อสะท้อนและตรวจจับมิตเิ หล่านัน้ ได้

การเข้า ถึง ความสามารถในการเคลื่อ นที่ไ ด้แ สดงให้เ ห็น ถึง ผลกระทบที่ม ากที่สุ ด ต่ อ การลดความยากจนและมี
ความสัม พัน ธ์กับ ผลลัพ ธ์ท างด้า นการศึก ษา เศรษฐกิจ และสุ ข ภาพ (“การขนส่ ง ในฐานะที่เ ป็ น เงื่อ นไ ขส่ ง เสริม
(enabler)”)

ระเบียบวิธแี บบ RAI ทีม่ อี ยู่นนั ้ พึง่ พาข้อมูลจากการสารวจรายครัวเรือน อย่างไรก็ดี ปั จจุบนั มีการทบทวนและปรับมาใช้


ดัชนีท่ใี ช้ขอ้ มูล GIS (ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์) แทนซึ่งถือเป็ นการใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าในเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั โดยมุ่งหมายให้เป็ นเครื่องมือทีแ่ ม่นยาและประหยัดต้นทุน

ข้อสมมติพน้ื ฐานทีอ่ ยู่เบือ้ งหลังนิยามเหล่านี้คอื ผูห้ ญิงและผูช้ ายได้รบั ประโยชน์เท่ากันจากการเข้าถึงถนนทีใ่ ช้การได้


ทุกสภาพอากาศ

ในบริบทเมือง
การเข้าถึงการคมนาคมในบริบทเมืองถูกวัดโดยการใช้ระเบียบวิธขี องตัวชี้วดั SDG 11.2.1 – “สัดส่วนของประชากรที่
สามารถเข้าถึงการขนส่งสาธารณะได้สะดวก จาแนกตามเพศ อายุ และผูม้ คี วามพิการ”

ข้อมูล metadata และระเบียบวิธมี กี ารจัดทาแล้ว (โดย UN Habitat เป็ นหน่วยงานผูร้ บั ผิดชอบ) และใช้ประกอบกับการ
วิเคราะห์เชิงพืน้ ที่ (spatial analysis) และเชิงคุณภาพ (qualitative analysis) พืน้ ทีโ่ ดยรอบระยะ 500 เมตรรอบป้ ายรอ
ขนส่งสาธารณะถูกใช้และพิจารณาโดยนามาซ้อนทับ (overlaid) กับข้อมูลเชิงสังคมประชากร- เพื่อระบุกลุ่มประชากรที่
ได้รบั การบริการ เราทราบว่าการวัดการเข้าถึงเชิงพืน้ ทีไ่ ม่เพียงพอและไม่ได้พจิ ารณามิตดิ ้านช่วงเวลาทีเ่ กี่ยวข้องกับ
การมีอยู่ของขนส่งสาธารณะ เพื่อเสริมกับทีก่ ล่าวไปแล้วข้างต้น ค่าสัมประสิทธิอื์ ่น ๆ สาหรับการติดตามเป้ าหมายเรื่อง
การคมนาคมทีเ่ กี่ยวข้องกับ ปั จจัยต่อไปนี้กถ็ ูกติดตามทัง้ สิน้ ปั จจัยดังกล่าวได้แก่ ด้านความหนาแน่ นของถนน จานวน
แยก ความสามารถในการจ่ายได้ หรือคุณภาพในด้านความปลอดภัย เวลาเดินทาง การเข้าถึงโดยคนทุกกลุ่ม

3
http://www.worldbank.org/en/topic/transport/brief/connections‐note‐23
4
https://www.ssatp.org/sites/ssatp/files/publications/HTML/Gender‐RG/Source documents/Tool Kits &
Guides/Monitoring and Evaluation/TLM&E7 Access Index TRB 06.pdf
5
http://www.worldbank.org/en/topic/transport/brief/connections‐note‐23

25
การเข้าถึงบริ การพื้นฐานด้านการจัดเก็บของเสีย หมายถึง การเข้าถึงบริการการจัดเก็บของเสียที่เชื่อถือได้ของ
ประชากร บริการดังกล่าวรวมถึงบริการจากภาคเศรษฐกิจทางการ จัดโดยเทศบาล หรือภาคเศรษฐกิจนอกระบบ
“บริการการจัดเก็บของเสีย ” อาจเป็ นแบบ “เก็บตามบ้าน” หรือโดยการนาไปใส่ในที่จดั เก็บของชุมชน “การจัดเก็บ ”
รวมถึงการจัดเก็บขยะเพื่อการนาไปรีไซเคิลและการเก็บเพื่อนาไปบาบัดหรือทิง้ (ดังนัน้ จึงรวมถึงการจัดเก็บของเสียที่
รีไซเคิลได้โดยผูร้ บั ซื้อของเสียขาจรด้วย) คาว่า เชื่อถือได้ หมายถึง มีความสม่าเสมอ - ความถีข่ องการจัดเก็บขึน้ อยู่กบั
เงือ่ นไขภายในชุมชน และขึน้ อยู่กบั ระบบการแยกขยะก่อนทิง้ ยกตัวอย่างเช่น ทัง้ ของเสียทีผ่ สมกันและของเสียอินทรีย์
มักถูกเก็บเป็ นประจาทุกวันในภูมอิ ากาศเขตร้อนด้วยเหตุผลด้านสาธารณสุข และโดยทัวไปจะมี ่ การเก็บอย่างน้อย
สัปดาห์ละครัง้ ; ขยะทีร่ ไี ซเคิลได้ แห้งและถูกแยกตัง้ แต่ตน้ ทางอาจถูกเก็บน้อยครัง้ กว่า

การเข้าถึงการบริการพื้นฐานด้านสุขภาพ หมายถึง การเข้าถึงบริการทีค่ รอบคลุมทัง้ การบริการภายในและภายนอก


บริเวณฉุ กเฉิน ผูป้ ่ วยในของโรงพยาบาลและทีไ่ ด้รบั การดูแลจากนักกายภาพ การบริการทางการแพทย์สาหรับผูป้ ่ วย
นอก บริการห้องทดลองและรังสีวิทยา และบริการการป้ องกันด้านสุขภาพ บริการด้านสุขภาพพื้นฐานยังขยายไป
ครอบคลุมการเข้าถึงการบาบัดบางรูปแบบเกี่ยวกับการป่ วยทางจิตและการบาบัดการใช้สารเสพติดที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานขัน้ ต่าทีร่ ะบุโดยกระทรวงสาธารณสุขทัง้ ในระดับท้องถิน่ และระดับชาติ

การเข้าถึงบริ การพื้นฐานด้านการศึกษา หมายถึง การเข้า ถึง บริก ารการศึก ษาที่จดั ให้กับผู้เ รีย นทุก กลุ่มตาม
ศัก ยภาพที่จ าเป็ น ต้ อ งมีเ พื่อ ให้มีผ ลิต ภาพทางเศรษฐกิจ พัฒ นาวิถีชีวิต ที่ย ั ่งยืน และมีส่ ว นในการพัฒ นาสัง คม
ประชาธิปไตยทีส่ งบสุขและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของปั จเจกชน สาหรับตัวชีว้ ดั นี้เราตรวจสอบการเข้าถึงบริการการศึกษา
ในกลุ่มนักเรียนในช่วงอายุท่ไี ปโรงเรียน คือ ระหว่าง 5-21 ปี สิทธิในการเข้าถึงการศึกษาเป็ นสิทธิท่มี หี ลายแง่มุม
(multi-faceted) ทีต่ อ้ งมีอย่างน้อย 2 มิติ
(a) เชิงปริมาณ (สาหรับทุกคน)
(b) เชิงคุณภาพ (สิทธิในการเข้าถึงการศึกษาประเภทใด ในระยะเวลานานเท่าใด จัดให้โดยใครและเพื่อใคร และ
นาไปสู่การพัฒนาลักษณะนิสยั ความเป็ นมนุ ษย์อนั เป็ นรากฐานของการเติมเต็มสิทธิประเภทอื่น ๆ เสรีภาพ และการ
ดารงไว้ซ่งึ สันติภาพ เรื่องนี้เชื่อมโยงกับมาตรา 26 แห่งปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชน (ค.ศ. 1948) ซึ่งระบุไว้ว่า
ทุ ก คนมีสิท ธิใ นการศึก ษา การศึก ษาจะต้อ งไม่ เ สีย ค่ า ใช้จ่ า ย อย่ า งน้ อ ยในระดับ ประถมและระดับ ที่เ ป็ น รากฐาน
การศึก ษาระดับประถมจะต้องเป็ น ภาคบัง คับ การศึก ษาระดับเทคนิ ค และการอาชีพ จะต้องทาให้มีอยู่ท วั ่ ไป และ
การศึกษาขัน้ อุดมศึกษาจะต้องสามารถเข้าถึงได้โดยคนทุกกลุ่มตามความสามารถ”

การเข้าถึงบริ การพื้นฐานด้านข้อมูล หมายถึง การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตบรอดแบนด์ บรอดแบนด์ มีนิยามว่าเป็ น


เทคโนโลยีทจ่ี ดั ให้มคี วามเร็วในการดาวน์โหลดตามทีโ่ ฆษณาอย่างน้อย 256 กิโลบิตต่อวินาที (kbit/s) ประเภทหลักของ
บริการบรอดแบนด์มดี งั นี้: 1) โครงข่ายบรอดแบนด์แบบไม่เคลื่อนที่ (มีสาย) (Fixed (wired) broadband network) เช่น
สายสัญญาณโทรศัพท์ (Digital Subscriber Line: DSL), โมเด็มแบบมีสาย (Cable Modem), สายนาสัญญาณความเร็ว
สูงแบบเช่าใช้ (high speed leased lines), บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงทีใ่ ช้สายใยแก้วนาแสงลากเข้าสู่บ้าน/อาคาร
โดยตรง (fibre to- the- home/building), อุปกรณ์แปลงสัญญาณอินเตอร์เน็ตเข้าสู่สายไฟบ้านและสัญญาณบรอดแบนด์
แบบมีสายอื่น ๆ (powerline and other fixed (wired) broadband; 2) โครงข่ายบรอดแบนด์แบบไม่เคลื่อนที่ (ไร้สาย)
บนแผ่ น ดิน (Terrestrial fixed (wireless) broadband network), เช่ น เครือ ข่ า ยคอมพิว เตอร์ แ บบไร้ส ายระยะไกล
(WiMax), ระบบการร่วมใช้ช่องสัญญาณแบบเข้ารหัสแบบไม่เคลื่อนที่ (fixed CDMA: Code Division Multiple Access);
3) โครงข่ายบรอดแบนด์แบบใช้สญ ั ญาณดาวเทียม (Satellite broadband network (via a satellite connection)); 4)

26
โครงข่ายบรอดแบนด์แบบเคลื่อนที่ (Mobile broadband network) (อย่างน้อย 3G, เช่น ระบบคมนาคมเคลื่อนทีส่ ากล
(Universal Mobile Telecommunications System: UMTS) ผ่านโทรศัพท์มือถือ และ 5) โครงข่ายบรอดแบนด์แบบ
เคลื่อนที่ (Mobile broadband network) (อย่างน้ อย 3G, เช่น ระบบคมนาคมเคลื่อนที่สากล (UMTS) ผ่านซิมการ์ด
(เช่น ซิมการ์ดทีใ่ ช้กบั คอมพิวเตอร์) หรือ โมเด็มแบบ USB (USB modem)

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ด้วยความกังวลของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียและผูม้ อี านาจในข้อเท็จจริงทีว่ ่าคุณลักษณะของท้องถิน่ ทัวโลกขององค์
่ ประกอบ
ที่รวมเป็ นบริการพื้นฐานมีความแตกต่างกัน ทาให้คณะทางานพยายามพัฒนาเกณฑ์การวัดและแนวทางระดับโลก
สาหรับการจัดทาตัวชี้วดั นี้ ตัวชี้วดั นี้อาศัยคานิยามทีม่ อี ยู่ในตัวชีว้ ดั SDGs อื่น ๆ เช่น องค์ประกอบของบริการพืน้ ฐาน
ถูกวัดโดยตัวชีว้ ดั 3.7.1 (สุขภาพ), 4.1.1 (การศึกษา), 6.1.1 (น้า), 6.2.1 (สุขาภิบาล), 7.1.1 (พลังงาน), 11.2.1 (ขนส่ง
สาธารณะ) เป็ นต้น

ท้ายทีส่ ุด หลายประเทศยังคงมีขอ้ จากัดเชิงศักยภาพสาหรับการจัดการข้อมูล การเก็บและติดตามข้อมูล และยังคงมี


ข้อขัดข้องเกี่ยวกับข้อมูลทีม่ จี ากัดในพืน้ ทีภ่ ูมศิ าสตร์ขนาดใหญ่หรือมีประชากรหนาแน่ น นี่หมายถึงความเสริมกันของ
การรายงานข้อมูลจาเป็ นต่อการทาให้ตวั เลขทัง้ ในระดับชาติและระดับโลกนัน้ มีความสอดคล้องในข้อมูลบริการพืน้ ฐาน
ชุดสุดท้ายทีถ่ ูกรายงานสาหรับ โดยอาจมีขอ้ ยกเว้นเล็กน้อยนัน้

วิ ธีการคานวณ:
มีการคานวณสองขัน้ ตอนที่เราประยุกต์ใช้โดยขึ้นอยู่กบั ระดับของข้อมูลที่เก็บได้ ขัน้ ตอนแรกคือการหาสัดส่วนของ
ประชากรทีเ่ ข้าถึงบริการพืน้ ฐานข้างต้นทุกประเภทโดยอาศัยแหล่งข้อมูลปฐมภูมเิ ช่น การสารวจรายครัวเรือนและการ
ทาสามะโน

𝑁𝑜.𝑜𝑓 𝑝𝑒𝑜𝑝𝑙𝑒 𝑤𝑖𝑡ℎ 𝑎𝑐𝑐𝑒𝑠𝑠 𝑡𝑜 𝐴𝐿𝐿 𝑡ℎ𝑒 𝑏𝑎𝑠𝑖𝑐 𝑠𝑒𝑟𝑣𝑖𝑐𝑒𝑠


สัดส่วนของประชากรทีเ่ ข้าถึงบริการพืน้ ฐาน = 100 [ 𝑝𝑜𝑝𝑢𝑙𝑎𝑡𝑖𝑜𝑛
]
* (Number of people with access to ALL the basic services = จานวนคนทีเ่ ข้าถึงบริการพืน้ ฐานทุกประเภท)
* (Population = จานวนประชากร)

ตัวอย่าง:
ครัว เรื อ น ครัว เรื อ น ครัว เรื อ น ครัว เรื อ น ครัว เรื อ น
1 2 3 4 5
HH size (ขนาดครัวเรือน) 4 7 5 6 3
Drinking water service (บริการน้าดื่ม) มี มี มี มี มี
Sanitation service (บริการสุขาภิบาล) มี ไม่มี มี มี มี
Hygiene facilities ( โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ด้ า น
มี ไม่มี มี มี มี
สุขอนามัย)
Electricity (ไฟฟ้ า) มี ไม่มี มี ไม่มี มี
Clean fuels (เชือ้ เพลิงสะอาด) มี ไม่มี มี ไม่มี มี
Mobility (การเคลื่อนที)่ มี ไม่มี มี มี มี
Waste collection (การจัดเก็บของเสีย) ไม่มี ไม่มี มี ไม่มี มี
Health care (บริการด้านสุขภาพ) 4 3 5 ไม่มี 3

27
ครัว เรื อ น ครัว เรื อ น ครัว เรื อ น ครัว เรื อ น ครัว เรื อ น
1 2 3 4 5
Education (การศึกษา) 2 3 2 3 3
Broadband internet (อินเตอร์เน็ตบรอดแบนด์) มี ไม่มี มี มี ไม่มี
Total population with access to ALL BS
(จ านวนประชากรรวมที่เ ข้าถึงบริการพื้นฐานทุก 0 0 5 0 0
ประเภท)

สัดส่วนของประชากรทีเ่ ข้าถึงบริการพืน้ ฐานรวมทุกประเภท = 5/(4+7+5+6+3) x 100 = 20%

ขัน้ ตอนนี้มคี วามสาคัญเมื่อประเทศต่าง ๆ มีขอ้ มูลปฐมภูมริ ะดับครัวเรือนสาหรับบริการพืน้ ฐานทุกประเภท ขัน้ ตอน


ต่อไปคือการคานวณเกณฑ์ช้วี ดั สาหรับองค์ประกอบอื่น ๆ ทีไ่ ม่ได้ถูกวัดทีร่ ะดับครัวเรือน เช่น การเข้าถึงบริการด้าน
สุขภาพ, การศึกษา, การคมนาคม เป็ นต้น ยกตัวอย่างเช่น การเข้าถึงการเคลื่อนที่สาหรับครั วเรือนถูกวัดโดยอาศัย
ข้อมูลระบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) แทนที่จะใช้ขอ้ มูลการสารวจรายครัวเรือน องค์ประกอบส่วนบุคคลของการ
เข้าถึงบริการพืน้ ฐานจะถูกคานวณก่อน ตามมาด้วยการคานวณรวมขององค์ประกอบต่าง ๆ โดยยังไม่ถ่วงน้าหนัก จาก
ชุดข้อมูลนาร่องการมีขอ้ มูลทีถ่ ูกคานวณรวมแล้วทีแ่ สดงผลการเข้าถึงบริการพืน้ ฐานทุกประเภทนัน้ เป็ นมาตรการที่ดี
ที่สุดในการให้ขอ้ มูลกับภาคนโยบายในภูมภิ าคทีม่ คี วามขาดแคลนมากในบริการพื้นฐานประเภทต่าง ๆ และมีความ
ขาดแคลนในวงกว้าง แต่ขอ้ มูลดังกล่าวยังไม่สามารถนาไปสู่การปฏิบตั ไิ ด้ ข้อมูลทีจ่ ะนาไปสู่การปฏิบตั ิ กลับเป็ นข้อมูล
จากการวัดองค์ประกอบย่อยแต่ละตัวทีจ่ ะชีใ้ ห้เห็นถึงประเด็นทีจ่ ะต้องมีการพัฒนาและลงทุน

การนาเสนอข้อมูล:
ข้อมูลสาหรับตัวชี้วดั ที่อยู่บนฐานขององค์ประกอบย่อยนี้จะถูกสร้างเป็ นแบบจาลองและนาเสนอหรือ ทาเป็ นภาพของ
กราฟใยแมงมุมของระดับความสาเร็จในการเข้าถึงการบริการพืน้ ฐานแบบต่าง ๆ ในประเทศหนึ่ง ๆ โดยการระบุขอ้ มูล
ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของตัวชีว้ ดั ลงในกราฟซึง่ มีจานวนมากกว่าตัวชีว้ ดั SDG อื่น ๆ ด้วยวิธกี ารนี้ผกู้ าหนดนโยบาย
จะได้รบั ข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นที่จาเป็ นต้องมีการดาเนินการแก้ไขมากที่สุด ระเบียบวิธใี นการนาเสนอข้อมูลนั น้ ไม่
จาเป็ นต้องมีเพียงค่าผลการคานวณรวมหนึ่งเดียวของ “สัดส่วนของประชากรทีเ่ ข้าถึงบริการพืน้ ฐานได้” ตัวเลขข้างล่าง
นี้เป็ นตัวอย่างของผลลัพธ์ทค่ี านวณได้

28
การจาแนกข้อมูล:
ข้อมูลสาหรับตัวชีว้ ดั นี้สามารถจาแนกออกเป็ นระดับเมืองได้
• การจาแนกข้อมูลโดย เมือง/ชนบท
• การจาแนกข้อมูลโดย เพศสภาพ
• การจาแนกข้อมูลโดย อายุ
• การจาแนกข้อมูลโดย ถิน่ ฐานอย่างเป็ นทางการหรือไม่เป็ นทางการ

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ยังไม่มสี ารสนเทศในประเด็นนี้

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ยังไม่มสี ารสนเทศในประเด็นนี้

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ยังไม่มสี ารสนเทศในประเด็นนี้

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ยังไม่มสี ารสนเทศในประเด็นนี้

วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
ยังไม่มสี ารสนเทศในประเด็นนี้

การควบคุมคุณภาพ:
ยังไม่มสี ารสนเทศในประเด็นนี้

แหล่งข้อมูล:
แหล่งข้อมูลหลักของข้อมูลสาหรับตัวชีว้ ดั นี้ยงั คงเป็ นการสารวจรายครัวเรือนซึง่ รวมถึง DHS MICS LSMS ธนาคารโลก
UNICEF และ UNDP ข้อมูลสามะโนและข้อมูลเพื่อการบริหาร (administrative data) แหล่งข้อมูลเหล่านี้ถูกอธิบายใน
เอกสาร metadata ของตัวชี้วดั SDGs ทีเ่ กี่ยวข้อง ข้อมูลก่อนประมวลผลจานวนมากก็นามาจากตัวชีว้ ดั SDGs อื่น ๆ
ทีป่ ระกอบร่างเป็ นตัวชี้วดั ตัวนี้ แหล่งข้อมูล ตัวชีว้ ดั นี้เป็ นได้ทงั ้ ผลของตัวชีว้ ดั SDGs อื่น ๆ และข้อมูลเพิม่ เติมจากการ
สารวจรายครัวเรือน

กระบวนการรวบรวมข้อมูล:
ยังไม่มสี ารสนเทศในประเด็นนี้

----------------------------------------------------------------------------------------

29
เป้ าหมายที่ 2: ยุติความหิ วโหย บรรลุความมั ่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรม
ที่ยงยื
ั่ น
เป้ าประสงค์ที่ 2.1: ยุติความหิ วโหยและสร้างหลักประกันให้ ทุกคนโดยเฉพาะคนที่ ยากจนและอยู่ในภาวะ
เปราะบาง อันรวมถึงทารก ได้เข้าถึงอาหารที่ปลอดภัย มีโภชนาการ และเพียงพอตลอดทัง้ ปี ภายในปี 2573

ตัวชี้วดั ที่ 2.1.2 ความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารของประชากรในระดับปานกลางหรือรุนแรง โดยใช้


เกณฑ์การวัดของระบบการวัดประสบการณ์ความไม่ม ั ่นคงทางอาหาร (Food Insecurity Experience Scale:
FIES)

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ
(Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ตัวชี้วดั นี้วดั ร้อยละของบุคคลในกลุ่มประชากรผูซ้ ่งึ ประสบกับความไม่ม ั ่นคงทางอาหารในระดับปานกลางหรือรุนแรง
ระหว่างช่วงเวลาอ้างอิง ระดับความรุนแรงของความไม่ม ั ่นคงทางอาหาร ถูกนิยามว่าเป็ นคุณลักษณะทีแ่ อบซ่อนอยู่
(latent trait) ถูกวัดโดยใช้ระบบการวัดอ้างอิงระดับโลกทีเ่ รียกว่า ระบบการวัดประสบการณ์ความไม่ม ั ่นคงทางอาหาร
(Food Insecurity Experience Scale: FIES) ซึง่ เป็ นวิธกี ารวัดมาตรฐานทีจ่ ดั ทาขึน้ โดย FAO จากการประยุกต์ใช้ FIES
ในประเทศมากกว่า 140 ประเทศทัวโลก ่ เริม่ ในปี พ.ศ. 2557

หลักการและเหตุผล:
ความไม่ม ั ่นคงทางอาหารทีม่ คี วามรุนแรงทางอาหารระดับกลางมักจะสัมพันธ์กบั ความไม่สามารถทีจ่ ะมีการกินทีด่ ตี ่อ
สุขภาพอย่างสม่ าเสมอและมีอาหารที่สมดุล ดังนัน้ ความชุกที่สูงของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารในระดับปานกลาง
สามารถใช้เป็ นเครื่องทานายรูปแบบเงือ่ นไขด้านสุขภาพทีเ่ กีย่ วข้องกับอาหารการกินในกลุ่มประชากร สัมพันธ์กบั ภาวะ
ขาดแร่ธาตุวติ ามิน (Micronutrient deficiency) และอาหารทีไ่ ม่สมดุล สาหรับความไม่ม ั ่นคงทางอาหารระดับรุนแรงนัน้
จะสะท้อนความน่ าจะเป็ นที่สูงของการกินอาหารที่ลดลง จึงนามาซึ่งรูปแบบที่รุนแรงกว่าของ ภาวะโภชนาการต่ า
(undernutrition) รวมไปถึงความอดอยาก (hunger)

แบบสอบถามสัน้ ๆ อย่าง FIES นัน้ ง่ายมากในการดาเนินการเก็บและมีตน้ ทุนต่า ซึง่ ถือเป็ นหนึ่งในข้อได้เปรียบของการ


ใช้แบบสอบถามเหล่านี้ อย่างไรก็ดี ข้อจากัดคือความสามารถในการชี้บ่งชีอ้ ย่างแม่นยาเกี่ยวกับสถานะความไม่ม ั ่นคง
ทางอาหารของบุคคลหรือครัวเรือนหนึ่ง ๆ เนื่องจากจานวนข้อคาถามทีน่ ้อย นี่เป็ นเหตุผลทีว่ ่าเหตุใดการจัดกลุ่มผูต้ อบ
แบบสอบถามแต่ละคนให้อยู่ในกลุ่มความไม่ม ั ่นคงทางอาหารกลุ่มใดนัน้ จึงทาได้ดที ส่ี ุดในรูปแบบของความน่ าจะเป็ น
เพื่อทีจ่ ะทาให้ม ั ่นใจว่าการประมาณการอัตราความชุกในกลุ่มประชากรนัน้ มีความเชื่อถือมากพอแม้ว่ากลุ่มตัวอย่างจะมี
ขนาดเล็กก็ตาม

ด้วยการใช้การประเมินทางสถิติ ความเชื่อถือได้และความแม่นยานัน้ ขึน้ อยู่กบั คุณภาพของการออกแบบการสารวจและ


การน าไปปฏิบ ัติจ ริง อย่ า งยิ่ง ข้อ ได้เ ปรีย บข้อ หนึ่ ง ของการท าการวิเ คราะห์ข้อ มูล โดยใช้วิธีก ารที่อ ยู่บ นฐานของ

30
แบบจาลอง Rasch คือการอนุ ญาตให้มกี ารตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลทีถ่ ูกเก็บมาและประเมินขอบเขตที่เป็ นไปได้
ของความไม่แน่นอนรอบอัตราความชุกประมาณการ ซึง่ ขอบเขตดังกล่าวนัน้ ควรจะมีการรายงานเสมอ

แนวคิ ด:
งานวิจยั อย่างกว้างขวางตลอดช่วงเวลากว่า 25 ปี ได้แสดงให้เห็นว่าความไม่สามารถเข้าถึงอาหารได้ส่งผลให้เกิดชุด
ของประสบการณ์และเงื่อนไขทีพ่ บได้ค่อนข้างทัวไปแบบข้
่ ามวัฒนธรรมและบริบทเชิงเศรษฐกิจสังคม และครอบคลุม
ตัง้ แต่ความกังวลเกี่ยวกับความสามารถในการหาอาหารมาให้เพียงพอไปจนถึงความจาเป็ นต้องลดทอนคุณภาพหรือ
ความหลากหลายของอาหารทีจ่ ะบริโภค ไปจนถึงการถูกบังคับให้ลดการกินอาหารโดยลดขนาดของอาหารหรือเว้นมื้ อ
การกิน ไปจนถึงเงื่อนไขสุดขัว้ ของความรู้สกึ อดอยากและไม่มวี ธิ กี ารในการเข้าถึงอาหารตลอดทัง้ วัน เงื่อนไขทัวไป

เช่นนี้เป็ นทีม่ าของหลักการพืน้ ฐานของมาตรวัดความไม่ม ั ่นคงทางอาหารบนฐานของประสบการณ์ เมื่อถูกวิเคราะห์โดย
ใช้กระบวนการทางสถิตทิ เ่ี หมาะสมทีม่ รี ากฐานอยู่ในทฤษฎี Item Response ข้อมูลทีถ่ ูกเก็บโดยอาศัยระบบการวัดนี้จะ
เป็ นฐานสาหรับการคานวณการวัดความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารทีใ่ ช้เปรียบเทียบแบบข้ามประเทศได้และมี
ความสอดคล้องทางทฤษฎีด้วย ดังนัน้ ความรุนแรงของเงื่อนไขความไม่ม ั ่นคงทางอาหารตามที่วดั โดยตัวชี้วดั นี้จงึ
สะท้อนโดยตรงไปถึงระดับของความไม่สามารถเข้าถึงอาหารทีต่ อ้ งการได้ของครัวเรือนหรือปั จเจกชน

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ด้วยความทีร่ ะยะเวลาในการทาสารวจเพื่อเก็บข้อมูล FIES ใช้เวลาโดยเฉลี่ยน้อยกว่า 3 นาทีในการสารวจแบบตัวต่อ
ตัว ท าให้ก ารสารวจ FIES-SM ถู ก รวมเข้า ไปในการสารวจตัวแทนระดับ ชาติในทุ กประเทศในโลกโดยมีต้นทุนที่
เหมาะสม ทาง FAO ได้จดั ให้มรี ุ่นของ FIES-SM ทีถ่ ูกปรับและแปลในภาษาประจาชาติและภาษาถิน่ กว่า 200 ภาษา
และใช้ในการทาแบบสารวจ Gallup World Poll

เมื่อถูกใช้ใน Gallop World Poll ด้วยขนาดของกลุ่มตัวอย่างเพียงประมาณ 1,000 คน, ความกว้างของช่วงความมั ่นใจ


แทบจะไม่เกินร้อยละ 20 ของความชุกทีว่ ดั ได้ (นันคื
่ อ อัตราความชุกทีป่ ระมาณร้อยละ 50 จะถูกประมาณการขอบเขต
ของความผิดพลาด (margins of error) อยู่ทบ่ี วกลบร้อยละ 5) เห็นได้ชดั เจนว่า ช่วงความมั ่นใจน่าจะเล็กกว่านี้เมื่อเป็ น
อัตราความชุกระดับชาติทป่ี ระมาณการโดยใช้กลุ่มตัวอย่างทีใ่ หญ่กว่านี้

เปรียบเทียบกับตัวชี้วดั ไม่เป็ นทางการอื่น ๆ ทีถ่ ูกเสนอขึน้ เพื่อวัดความไม่ม ั ่นคงทางอาหารระดับครัวเรือน แนวทางที่


อยู่บนฐานของ FIES มีข้อได้เปรียบตรงที่อตั ราความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารนัน้ สามารถเปรียบเทียบได้
โดยตรงแบบข้ามกลุ่มประชากรและประเทศ ถึงแม้ว่าตัวชี้วดั อื่น ๆ จะใช้ คาเรียกสาหรับแต่ละระดับคล้าย ๆ กัน (เช่น
ความไม่ ม ั ่นคงทางอาหาร ระดับ “อ่ อ น” “ปานกลาง” หรือ “รุ น แรง”) แต่ แ นวทางอื่น ๆ ยัง ไม่ ไ ด้แ สดงให้เ ห็น ถึง
ความสามารถในการเปรียบเทียบอย่างเป็ นทางการของเส้นแบ่งระดับทีใ่ ช้ในการจัดประเภท เนื่องมาจากการขาดคา
นิยามของแบบจาลองทางสถิตทิ เ่ี หมาะสมทีเ่ ชื่อมโยงค่าของ “ดัชนี” หรือ “คะแนน” ทีใ่ ช้สาหรับการจัดประเภทกับความ
รุนแรงของความไม่ม ั ่นคงทางอาหาร ด้วยเหตุน้ี จึงควรมีการพิจารณาอย่างระมัดระวังเมื่อจะมีการเปรียบเทียบผลทีไ่ ด้
จาก FIES กับผลจากตัวชีว้ ดั อื่น ๆ แม้ว่าจะจะมีการใช้คาเรียกสาหรับแต่ละระดับทีค่ ล้ายคลึงกันก็ตาม

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ข้อมูลรายบุคคลหรือครัวเรือนถูกเก็บโดยการประยุกต์ใช้แบบสอบถามทีใ่ ช้ ระบบการวัดความมั ่นคงทางอาหารโดยใช้
ประสบการณ์ เป็ นฐานในการสารวจ การสารวจความมั ่นคงทางอาหารจะเก็บคาตอบสาหรับคาถามที่ขอให้ผู้ตอบ

31
รายงานประสบการณ์และเงือ่ นไขต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ โดยทัวไปที
่ เ่ กีย่ วข้องกับความมั ่นคงทางอาหาร ข้อมูลทีถ่ ูกวิเคราะห์
โดยการใช้แบบจาลอง Rasch (หรือที่รู้จกั ในฐานะ แบบจาลองแบบโลจิสติกแบบ 1 ค่าสัมประสิทธิ ์ (one-parameter
logistic model: 1-PL) ซึ่งสมมติให้ความน่ าจะเป็ นของการสังเกตการณ์คาตอบทีช่ ดั เจนโดยผูต้ อบแบบสอบถาม i ต่อ
คาถาม j เป็ นฟั งก์ชนั โลจิสติกของระยะทางบนระดับของความรุนแรง ระหว่างตาแหน่ งของผูต้ อบแบบสอบถาม 𝑎𝑖
และของตัวเลือก/หน่วย 𝑏𝑗 .

exp(𝑎𝑖 − 𝑏𝑗 )
𝑃𝑟𝑜𝑏{𝑋𝑖,𝑗 = 𝑌𝑒𝑠} =
1 + exp(𝑎𝑗 − 𝑏𝑗 )

ค่ า สัม ประสิท ธิ ์ 𝑎𝑖 และ 𝑏𝑗 สามารถถู ก ประมาณการโดยใช้ก ระบวนการหาความเป็ น ไปได้สูง ที่สุด (Maximum


Likelihood) สาหรับค่าสัมประสิทธิ ์ 𝑎𝑖 นัน้ จะถูกตีความให้เป็ นการวัดความรุนแรงของเงื่อนไขความมั ่นคงทางอาหาร
สาหรับผูต้ อบแบบสอบถามแต่ละคนและถูกใช้ในการจัดประเภทพวกเขาให้อยู่ในระดับต่าง ๆ ของความไม่ม ั ่นคงทาง
อาหาร

FIES พิจารณาความไม่ม ั ่นคงทางอาหาร 3 ระดับ คือ (a) มีความมั ่นคงทางอาหารหรือมีความไม่ม ั ่นคงทางอาหาร


เล็กน้อย; (b) มีความไม่ม ั ่นคงทางอาหารปานกลางหรือรุนแรง และ (c) ความไม่ม ั ่นคงทางอาหารรุนแรง และประมาณ
การความน่ าจะเป็ นของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารระดับปานกลางและรุนแรง ( 𝑝𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 ) และความน่ าจะเป็ นของ
ความไม่ม ั ่นคงทางอาหารขัน้ รุนแรง (𝑝𝑠𝑒𝑣 ) สาหรับผูต้ อบแบบสอบถามแต่ละราย ด้วย 0 < 𝑝𝑠𝑒𝑣 < 𝑝𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 <
1 ความน่ า จะเป็ น ของการมีค วามมัน่ คงทางอาหารหรือ มีค วามไม่ ม ัน่ คงทางอาหารเล็ก น้ อ ยหาจาก 𝑝𝑓𝑠 =
1 − 𝑝𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣

จากกลุ่ ม ตัว อย่ า งที่เ ป็ นตัว แทนประชากร ความชุ ก ของความไม่ ม ัน่ คงทางอาหารในระดับ กลางหรือ รุ น แรง
(𝐹𝐼𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 ) และทีร่ ะดับรุนแรง (𝐹𝐼𝑠𝑒𝑣 ) ในกลุ่มประชากรจะถูกคานวณเป็ นผลรวมที่ถูกถ่วงน้ าหนักแล้วของความ
น่ าจะเป็ นในการอยู่ในประเภทความไม่ม ั ่นคงทางอาหารของผูต้ อบแบบสอบถามรายบุคคลหรือครัวเรือนทัง้ แบบปาน
กลางหรือรุนแรง และแบบรุนแรง ตามลาดับ ดังตัวอย่างดังนี้

(1) 𝐹𝐼𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 = ∑𝑖 𝑝𝑖𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 × 𝑤𝑖

และ

(2) 𝐹𝐼𝑠𝑒𝑣 = ∑𝑖 𝑝𝑖𝑠𝑒𝑣 × 𝑤𝑖

โดย 𝑤𝑖 คือ ค่าน้ าหนักหลังการจัดกลุ่ม (post-stratification weights) ที่ช้ถี ึงสัดส่วนของปั จเจกชนหรือครัวเรือนใน


ประชากรของประเทศทีถ่ ูกนาเสนอโดยแต่ละองค์ประกอบตามตัวอย่างข้างต้น

หาก 𝑤𝑖 คือค่าถ่วงน้ าหนักของตัวอย่างระดับปั จเจกชน ค่าความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารจะหมายถึงจานวน


ประชากรรวมของปั จเจกชนทัง้ หมด ขณะที่หาก wi คือค่าถ่วงน้ าหนักของครัวเรือน ค่าความชุกจะหมายถึงจานวน
ประชากรของครัวเรือน สาหรับการคานวณของตัวชีว้ ดั 2.1.2 เป้ าหมายคือการผลิตค่าความชุกของปั จเจกชน นี่ส่อื ว่า:

32
หากการสารวจอยู่ทร่ี ะดับครัวเรือนและให้ค่าถ่วงน้ าหนักสาหรับตัวอย่างระดับครัวเรือน มันควรจะถูกแปลงให้เป็ นค่า
ถ่วงน้าหนักของตัวอย่างระดับปั จเจกชนโดยการคูณค่าถ่วงน้าหนักด้วยขนาดของครัวเรือน ระบบการถ่วงน้าหนักระดับ
ปั จเจกชนนี้สามารถใช้ในการคานวณอัตราความชุกระดับปั จเจกชนในสูตรที่ (1) และ (2) ได้

ถ้าการสารวจรวมเพียงผูใ้ หญ่ ค่าถ่วงน้ านักของผูใ้ หญ่ทถ่ี ูกปรับใช้กบั ค่าความน่ าจะเป็ นในสูตรที่ (1) และ (2) จะให้ค่า
อัตราความชุกของผูใ้ หญ่ (𝐹𝐼 𝐴𝑑𝑢𝑙𝑡𝑠 ) ในกรณีน้หี ากต้องการคานวณอัตราความชุกของประชากรรวม สัดส่วนของเด็กที่
อยู่ในครัวเรือนทีม่ ผี ใู้ หญ่อย่างน้อย 1 คนมีภาวะไม่ม ั ่นคงทางอาหารก็ต้องถูกคานวณด้วย การคานวณสามารถทาได้
โดยการหารค่าถ่วงน้ าหนักของผู้ใหญ่ ด้วยจานวนของผู้ใหญ่ในครัวเรือนแล้วคูณค่าประมาณการของค่าถ่วงน้ าหนัก
ระดับครัวเรือนเหล่านัน้ ด้วยจานวนของเด็กในครัวเรือน เมื่อค่าประมาณการค่าถ่วงน้ าหนักของเด็กถูกคานวณได้แล้ว
ความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารของเด็กทีอ่ าศัยอยู่ในครัวเรือนทีม่ ผี ใู้ หญ่อย่างน้อยหนึ่งคนมีความไม่ม ั ่นคงทาง
อาหาร (𝐹𝐼𝑐ℎ𝑖𝑙𝑑𝑟𝑒𝑛 ) สามารถคานวณได้โดยการปรับใช้ค่าถ่วงน้ าหนักเหล่านัน้ กับค่าความน่ าจะเป็ นของความไม่
มั ่นคงทางอาหารในสูตรที่ (1) และ (2) ความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารในประชากรรวมในท้ายทีส่ ุดจะถูกคานวณ
ดังนี้

𝐴𝑑𝑢𝑙𝑡𝑠 𝐶ℎ𝑖𝑙𝑑𝑟𝑒𝑛
𝐹𝐼𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 ∗𝑁 𝐴𝑑𝑢𝑙𝑡𝑠 +𝐹𝐼𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 ∗𝑁 𝐶ℎ𝑖𝑙𝑑𝑟𝑒𝑛
𝐹𝐼𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 = 𝑁 𝐴𝑑𝑢𝑙𝑡𝑠 +𝑁 𝐶ℎ𝑖𝑙𝑑𝑟𝑒𝑛

และ
𝐴𝑑𝑢𝑙𝑡𝑠
𝐹𝐼𝑠𝑒𝑣 ∗ 𝑁 𝐴𝑑𝑢𝑙𝑡𝑠 + 𝐹𝐼𝑠𝑒𝑣
𝐶ℎ𝑖𝑙𝑑𝑟𝑒𝑛
∗ 𝑁 𝐶ℎ𝑖𝑙𝑑𝑟𝑒𝑛
𝐹𝐼𝑠𝑒𝑣 =
𝑁 𝐴𝑑𝑢𝑙𝑡𝑠 + 𝑁 𝐶ℎ𝑖𝑙𝑑𝑟𝑒𝑛

เมื่อ 𝑁 𝐴𝑑𝑢𝑙𝑡𝑠 และ 𝑁 𝐶ℎ𝑖𝑙𝑑𝑟𝑒𝑛 คือจานวนประชากรผูใ้ หญ่และเด็กในประเทศ

เมื่อประยุกต์กบั จานวนประชากรรวมของประเทศ อัตราความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารในจานวนประชากรรวม


นัน้ จะให้ตวั เลขของปั จเจกชนผูใ้ ช้ชวี ติ อยู่ในบ้านทีม่ คี วามไม่ม ั ่นคงทางอาหาร (หรือในครัวเรือนทีม่ ผี ใู้ หญ่อย่างน้อยหนึ่ง
คนทีม่ คี วามไม่ม ั ่นคงทางอาหาร) ในประเทศ ทีร่ ะดับความรุนแรงทีแ่ ตกต่างกัน (𝑁𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 และ 𝑁𝑠𝑒𝑣 ) ในฐานข้อมูล
จานวนของผูท้ ม่ี คี วามไม่ม ั ่นคงทางอาหารจะถูกนาเสนอในจานวนหลักพัน

การจาแนกข้อมูล:
เนื่องจาก FIES หรือแบบสอบถามอื่น ๆ เกีย่ วกับความมั ่นคงทางอาหารทีอ่ ยู่บนฐานประสบการณ์ทส่ี อดคล้องถูกนาไป
ปรับใช้ผ่านการสารวจ ความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารสามารถถูกวัดได้ในกลุ่มประชากรกลุ่มใดก็ได้ทข่ี อ้ มูลทีถ่ กู
เก็บได้จากการสารวจมีความเป็ นตัวแทนกลุ่มประชากร

ถ้าประยุกต์ใช้กับระดับครัวเรือน การจาแนกข้อมูลนัน้ จะเป็ น ไปได้บนฐานของคุณลักษณะของครัวเรือนเช่น ที่ตงั ้


รายได้ครัวเรือน องค์ประกอบของครัวเรือน (รวมถึง ยกตัวอย่างเช่น การมีอยู่และจานวนของเด็กเล็ก สมาชิกทีม่ คี วาม
พิการ สมาชิกทีเ่ ป็ นคนชรา เป็ นต้น) เพศ อายุ และการศึกษาของหัวหน้าครอบครัว เป็ นต้น หากประยุกต์ใช้ทร่ี ะดับ
ปั จเจกชน การจาแนกข้อมูลทีเ่ หมาะสมของอัตราความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารโดยเพศนัน้ เป็ นไปได้เนื่องจาก

33
ความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารในหมู่สมาชิกประชากรทีเ่ ป็ นผูช้ ายและในหมู่สมาชิกประชากรทีเ่ ป็ นผูห้ ญิงอาจ
ถูกวัดอย่างเป็ นอิสระจากกันได้

เมื่อ ผลิต ข้อ มู ล สถิติท่ี มีก ารจ าแนกข้อ มูล ก็ค วรจะหัน ไปให้ค วามส าคัญ กับ การตรวจสอบความถู ก ต้อ งของการ
ประยุกต์ใช้โดยการประมาณการแบบจาลอง Rasch ด้วยข้อมูลจากกลุ่มประชากรย่อยแต่ละกลุ่ม และหากจาเป็ นก็
ดาเนินการปรับวิธกี ารวัดแต่ละวิธใี ห้เท่ากันอย่างเหมาะสมก่อนทีจ่ ะมีการเปรียบเทียบผลกัน

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ตัวชีว้ ดั จะไม่ถูกคานวณหากไม่มขี อ้ มูลระดับประเทศ

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ค่าทีห่ ายไปของประเทศแต่ละประเทศจะถูกประมาณค่าสูญหายโดยนัยโดยให้เท่ากับค่าเฉลี่ยทีถ่ ่วงน้ าหนักโดยจานวน
ประชากรของค่าประมาณการของประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเดียวกัน

การคานวณรวมระดับภูมิภาค:
ผลรวมในระดับภูมภิ าคและระดับโลกของ 𝐹𝐼𝑚𝑜𝑑+𝑠𝑒𝑣 และ 𝐹𝐼𝑠𝑒𝑣 ถูกคานวณโดย

∑𝑐 𝐹𝐼𝑎,𝑐 ×𝑁𝑐
𝐹𝐼𝑎 = ∑𝑐 𝑁𝑐

โดยที่ a = {mod+sev, sev} และ 𝐹𝐼𝑎,𝑐 คือค่าของ FIa ที่ถูกประมาณการสาหรับประเทศ c ในภูมิภาค และ Nc คือ
ขนาดประชากรของประเทศนัน้

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ในบางกรณีท่ตี ัวชี้วดั ของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารที่อยู่บนฐานของระบบการวัดความไม่ม ั ่นคงทางอาหารบนฐาน
ประสบการณ์ถูกรายงานโดยประเทศต่าง ๆ (สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก กัวเตมาลา และบราซิล) ตัวชี้วดั เหล่านี้
อยู่บนฐานของค่าแบ่งระดับความมั ่นคงทางอาหารทีต่ งั ้ ขึน้ โดยประเทศนัน้ ๆ เองทีไ่ ม่ได้สอดคล้องกับค่าแบ่งระดับสากล
ทีเ่ สนอโดย FIES โปรดดูภาคผนวก 1 และตาราง A3 ใน http://www.fao.org/3/i4830e.pdf สาหรับคาอธิบายเกีย่ วกับ
ความแตกต่างดังกล่าว ในอนาคต จะเป็ นการดีมากหากประเทศจะเริม่ รายงานค่าประมาณการความชุกโดยใช้ค่าแบ่ง
ระดับความมั ่นคงทางอาหารสากลสาหรับระดับปานกลางและรุนแรง และระดับรุนแรง มาเพิม่ เติมจากค่าแบ่งระดับที่
ประเทศตัง้ ไว้

FAO พร้อมทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือด้านวิธกี ารวิเคราะห์ทจ่ี าเป็ นต่อการประมาณการความชุกบนฐานของค่าแบ่งระดับ


อ้างอิงระดับโลกของ FIES

วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
ข้อ มูล ระบบการวัด ความมั ่นคงทางอาหารบนฐานประสบการณ์ ถูก เก็บผ่ านการสารวจประชากร (การสารวจราย
ครัวเรือนหรือการสารวจรายบุคคล) โดยใช้แบบสอบถาม/กิจกรรมหน่ วยย่อยทีถ่ ูกปรับให้เหมาะกับภาษาและเงื่อนไข
ของประเทศ

34
ตัวอย่างมีดงั ต่อไปนี้:

ประเทศสหรัฐอเมริกา: หน่ วยย่อยการสารวจความมั ่นคงทางอาหารครัวเรือน (Household Food Security Survey


Module) (https://www.ers.usda.gov/media/8271/hh2012.pdf )
ประเทศบราซิล: ระบบการวัดความไม่ม ั ่นคงทางอาหารของบราซิล (Escala Brasileira de Insegurança Alimentar)
(http://biblioteca.ibge.gov.br/visualizacao/livros/liv91984.pdf, ตาราง (Quadro) 5, หน้า (page) 30)
ประเทศเม็ ก ซิ โ ก ระบบการวั ด อาหารปลอดภั ย ของเม็ ก ซิ โ ก (Escala Mexicana de Seguridad Alimentaria)
(http://www.beta.inegi.org.mx/contenidos/proyectos/enchogares/regulares/enigh/tradicional/2012/doc/c_tra_eni
gh12_hogares.pdf หน้า 13-14)
ประเทศกัวเตมาลา ระบบการวัดความมั ่นคงทางอาหารของภูมภิ าคละตินอเมริกาและแคริบเบียน (Escala Latino
Americana y Caribena de Seguridad Alimentaria)
(http://www.ine.gob.gt/sistema/uploads/2015/12/11/DDrIEuLOPuEcXTcLXab1yOkiOV2HQreq.pdf, หน้า 3)
FAO – ร ะ บ บ ก า ร วั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ค ว า ม ไ ม่ มั น่ ค ง ท า ง อ า ห า ร ( Food Insecurity Experience Scale)
(http://www.fao.org/3/a-bl404e.pdf)

การรวมหน่ วยย่อยของการสารวจ FIES ในแบบสอบถามเป็ นเรื่องทีง่ า่ ยในการปรับคาถามให้เข้ากับภาษาท้องถิน่ โดย


ดาเนินการตามแนวทางทีใ่ ห้ไว้ในเอกสารต่อไปนี้
http://www.fao.org/3/a-be898e.pdf
http://www.fao.org/3/a-be898f.pdf
http://www.fao.org/3/a-be898s.pdf
http://www.fao.org/3/a-be898r.pdf
http://www.fao.org/3/a-be898a.pdf
http://www.fao.org/3/a-be898c.pdf

การควบคุมคุณภาพ:
ข้อมูล FIES ถูกตรวจสอบความถูกต้องผ่านการทดสอบว่าการคานวณได้ใช้ขอ้ สมมติของแบบจาลอง Rasch ทีว่ ่าด้วย
การกีดกันอย่างเท่าเทียมกันของหน่วยข้อมูลและการหายไปของค่าสหสัมพันธ์และการวัดความคลาดเคลื่อน (residual
correlation and measurement) ของดัชนีความน่าเชื่อถือของ Rasch หรือไม่ การทดสอบดังกล่าวจะเปิ ดว่าข้อมูลนัน้ มี
คุณภาพเพียงพอสาหรับการผลิตค่าประมาณการที่เชื่อถือได้ของระดับความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารตาม
มาตรฐานของ FIES ได้หรือไม่

หลังจากนัน้ ค่าสัมประสิทธิความรุ
์ นแรงของหน่ วยข้อมูลจะถูกเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานอ้างอิงระดับโลกของ FIES
เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของความเป็ นไปได้ในการปรับการวัดให้เข้ากับมาตรฐานดังกล่าวและผลิตค่าประมาณการ
ของความชุกของความไม่ม ั ่นคงทางอาหารทีพ่ จิ ารณาแล้วว่าเปรียบเทียบแบบข้ามประเทศได้

เอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งสามารถหาได้ ท่ี น่ี http://www.fao.org/3/a-i4830e.pdf, http://www.fao.org/3/b-i4830s.pdf,


http://www.fao.org/3/c-i4830f.pdf และทีน่ ่ี http://www.fao.org/3/a-i3946e.pdf

35
ข้อ มูลระดับ ชาติท่ถี ู กน ามารวมเป็ น ตัวชี้วดั นั น้ หาได้โดยตรงจากเว็บ ไซต์เ ผยแพร่ ข้อ มูล ระดับ จุลภาค (Microdata
dissemination websites) ของประเทศต่าง ๆ เมื่อมีให้หาได้ดว้ ยตนเอง (เช่น สหรัฐอเมริกา, เม็กซิโก) หรือโดยการยื่น
คาขอโดยตรงไปทีส่ านักงานสถิตแิ ห่งชาติทร่ี บั ผิดชอบการเก็บข้อมูลดังกล่าว (เช่น บราซิล แคนาดา และกัวเตมาลา)

สาหรับข้อมูลเก็บโดย FAO ผ่าน Gallup World Poll และผลของการวิเคราะห์ของรอบการเก็บข้อมูลปี พ.ศ. 2557,


2558 และ 2559 ถูกแบ่งปั นกับสานักงานสถิตแิ ห่งชาติของทุกประเทศทัวโลกในเดื
่ อนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 ผ่านการ
สื่อสารทางอีเมล์ทส่ี ่งไปโดยหัวหน้านักสถิตขิ อง FAO และร้องขอให้มกี ารตอบรับด้วย ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 FAO
ได้รบั ผลตอบรับด้านบวกจาก 57 ประเทศ

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บายแหล่งข้อมูลและกระบวนการเก็บข้อมูล
ข้อมูลสามารถถูกเก็บได้โดยใช้ หน่ วยย่อยการสารวจของระบบการวัดประสบการณ์ ของความไม่ม ั ่นคงทางอาหาร
(Food Insecurity Experience Scale survey module: FIES-SM) พัฒ นาโดย FAO หรือ แบบสอบถามระบบการวัด
ความมั ่นคงทางอาหารทีอ่ ยู่บฐานประสบการณ์อ่นื ๆ รวมถึง:
• หน่ ว ยย่ อ ยการส ารวจความมัน่ คงทางอาหารครัว เรือ น (the Household Food Security Survey Module
(HFSSM)
• ระบบการวัดความมั ่นคงทางอาหารของภูมิภาคละตินอเมริกาและแคริบ เบีย น (the Latin American and
Caribbean Food Security Scale หรือ Escala Latinoamericana y Caribeña de Seguridad Alimentaria –
ELCSA) ใช้ในประเทศกัวเตมาลาและถูกทดสอบในประเทศที่พูดภาษาสเปนหลายประเทศในภูมภิ าคละติน
อเมริกา
• ระบบการวัดความมั ่นคงทางอาหารของประเทศเม็กซิโก (the Mexican Food Security Scale – หรือ Escala
Mexicana de Seguridad Alimentaria, - EMSA) ซึ่งเป็ นการปรับประยุกต์มาจาก ELCSA เพื่อใช้ในประเทศ
เม็กซิโก
• ระบบการวัดความมั ่นคงทางอาหารของประเทศบราซิล (the Brazilian Food Insecurity Scale - หรือ Escala
Brasileira de medida de la Insegurança Alimentar – EBIA) ใช้ในประเทศบราซิล หรือ
• ระบบการวัดการเข้าถึงความไม่ม ั ่นคงทางอาหารของครัวเรือน (The Household Food Insecurity Access
Scale – HFIAS)
หรือการปรับประยุกต์ของมาตรวัดข้างต้นทีส่ ามารถถูกปรับให้เข้ากับ FIES ระดับโลกได้

FIES-SM ทัง้ 2 รุ่นเปิ ดให้ใช้ได้สาหรับการสารวจระดับ บุคคลหรือครัวเรือนตามลาดับ และความแตกต่างอยู่ทผ่ี ตู้ อบ


คาถามถูกขอให้รายงานประสบการณ์ของปั จเจกชนเท่านัน้ หรือรายงานประสบการณ์ของสมาชิกคนอื่นในครัวเรือนด้วย
หน่วยย่อยของ FIES-SM ในปั จจุบนั รวมคาถาม 8 คาถามตามตารางด้านล่าง

มาตรวัดความไม่ม ั ่นคงทางอาหารระดับโลก
เอาหละ ผม/ดิฉนั จะขอถามคาถามคุณบางคาถามเกีย่ วกับอาหาร
คาถามที่ 1: ในช่วง 12 เดือนทีผ่ ่านมา เคยมีสกั ครัง้ หรือไม่ทค่ี ุณ (หรือผูใ้ หญ่คนอื่น ๆ ในครัวเรือน) 0 ไม่
กังวลว่าคุณจะมีอาหารไม่เพียงพอสาหรับรับประทานอันเนื่องมาจากขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 1 ใช่
98 ไม่ทราบ
99 ปฏิเสธ

36
มาตรวัดความไม่ม ั ่นคงทางอาหารระดับโลก
เอาหละ ผม/ดิฉนั จะขอถามคาถามคุณบางคาถามเกีย่ วกับอาหาร
คาถามที่ 2: ในช่วง 12 เดือนทีผ่ ่านมา เคยมีสกั ครัง้ หรือไม่ทค่ี ุณ (หรือผูใ้ หญ่คนอื่น ๆ ในครัวเรือน) 0 ไม่
ไม่สามารถรับประทานอาหารทีด่ ตี ่อสุขภาพและมีโภชนาการเนื่องจากขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 1 ใช่
98 ไม่ทราบ
99 ปฏิเสธ
คาถามที่ 3: เคยมีสกั ครัง้ หรือไม่ท่คี ุณ (หรือผู้ใหญ่คนอื่น ๆ ในครัวเรือน) รับประทานอาหารเพียง 0 ไม่
ไม่กอ่ี ย่างเนื่องจากขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 1 ใช่
98 ไม่ทราบ
99 ปฏิเสธ
คาถามที่ 4: เคยมีสกั ครัง้ หรือไม่ทค่ี ุณ (หรือผูใ้ หญ่คนอื่น ๆ ในครัวเรือน) ต้องเว้นจากการรับประทาน 0 ไม่
อาหารเป็ นบางมือ้ เนื่องจากมีเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ ไม่เพียงพอสาหรับการซื้อหาอาหาร 1 ใช่
98 ไม่ทราบ
99 ปฏิเสธ
คาถามที่ 5: ในช่วง 12 เดือนทีผ่ ่านมา เคยมีสกั ครัง้ หรือไม่ทค่ี ุณ (หรือผูใ้ หญ่คนอื่น ๆ ในครัวเรือน) 0 ไม่
รับประทานอาหารน้อยกว่าทีค่ ุณคิดว่าคุณควรรับประทานเนื่องจากขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 1 ใช่
98 ไม่ทราบ
99 ปฏิเสธ
คาถามที่ 6: เคยมีสกั ครัง้ หรือไม่ท่คี รัวเรือนของคุณไม่มอี าหารรับประทานเนื่องจากขาดเงินและ 0 ไม่
ทรัพยากรอื่น ๆ 1 ใช่
98 ไม่ทราบ
99 ปฏิเสธ
คาถามที่ 7: เคยมีสกั ครัง้ หรือไม่ท่คี ุณ (หรือผู้ใหญ่คนอื่น ๆ ในครัวเรือน) หิวแต่ไม่ได้รบั ประทาน 0 ไม่
อะไรเนื่องจากมีเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ ไม่เพียงพอสาหรับการจัดหาอาหาร 1 ใช่
98 ไม่ทราบ
99 ปฏิเสธ
ค าถามที่ 8: ค าถามสุ ดท้า ย เคยมีสักครัง้ หรือ ไม่ท่คี ุ ณ (หรือ ผู้ใ หญ่ค นอื่น ๆ ในครัว เรือน) ไม่ ได้ 0 ไม่
รับประทานอาหารเป็ นเวลาหนึ่งวันเต็มเนื่องจากขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ 1 ใช่
98 ไม่ทราบ
99 ปฏิเสธ

คาถามเหล่านี้ควรถูกปรับและดาเนินการสารวจโดยใช้ภาษาของผูต้ อบคาถามและผูท้ าสามะโนจะถูกฝึกให้ทาให้แน่ใจ


ว่าผูต้ อบคาถามรับทราบถึงช่วงเวลาอ้างอิงและเข้าใจคาอธิบายรายละเอียดของคาถามทีจ่ ะเน้นว่าประสบการณ์ทค่ี วร
ถูกรายงานควรเป็ นประสบการณ์ท่เี กิด จากการ “ขาดเงินหรือทรัพยากรอื่น ๆ” เท่านัน้ และไม่ใช่เพราะเหตุผลด้าน
สุขภาพหรือพฤติกรรมทางวัฒนธรรมอื่น ๆ (เช่น การอดอาหารตามข้อบัญญัตทิ างศาสนา)

FIES-SM สามารถถูกรวมเข้าไปในการสารวจประชากรทีใ่ ช้การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์หรือการสัมภาษณ์ส่วนบุคคลก็


ได้ อย่างไรก็ดหี ากเป็ นไปได้กแ็ นะนาให้ใช้การสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวมากกว่า

37
ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2557 FIES-SM ที่อ้า งอิง ถึง ระดับ บุ ค คลถู ก ประยุ ก ต์ใช้ในกลุ่ มตัวอย่า งที่เ ป็ น ตัว แทนระดับ ชาติของ
ประชากรอายุตงั ้ แต่ 15 ปี ขน้ึ ไปในทุกประเทศทีค่ รอบคลุมอยู่ในการสารวจ Gallup World Poll (มากกว่า 140 ประเทศ
ในทุก ๆ ปี ครอบคลุม 90% ของประชากรโลก) ในประเทศส่วนใหญ่ กลุ่มตัวอย่างนัน้ มีประมาณ 1000 คน (โดยปรับให้
กลุ่มตัวอย่างมีขนาดใหญ่ขน้ึ เป็ น 3000 คน สาหรับประเทศอินเดียและ 5000 คนสาหรับประเทศจีนแผ่นดินใหญ่)

การสารวจระดับชาติอ่ืน ๆ ที่เก็บข้อมูลที่สอดคล้องกับ FIES ก็มอี ยู่ ในสหรัฐอเมริกา HFSSM นัน้ ถูกรวมเข้าไปใน


เอกสารเพิม่ เติมว่าด้วยการสารวจประชากรในปั จจุบนั เกี่ยวกับความมั ่นคงทางอาหาร (Current Population Survey
Food Security Supplement: CPS-FSS) โดยสานักงานสามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2538 (CPS-
FSS เข้าถึงประชากรอายุตงั ้ แต่ 15 ปี ขน้ึ ไปเป็ นจานวนประมาณ 83,000 คนใน 42,000 ครัวเรือนในปี พ.ศ. 2557)

ในประเทศบราซิล ข้อมูลถูกเก็บทุก ๆ 5 ปี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2547 ในการสารวจรายครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างระดับชาติ (the


Pesquisa Nacional de Amostra de Domicílios: PNAD) จัดสารวจโดยสถาบันด้านภูมิศาสตร์และสถิติแห่งบราซิล
(the Escala Brasileira de medida de Insegurança alimentar: EBIA) (ในปี พ.ศ. 2556 กลุ่ ม ตั ว อย่ า งครอบคลุ ม
ประชากรอายุ 15 ปี ขน้ึ ไปกว่า 280,000 คนในครัวเรือนกว่า 116,000 ครัวเรือน)

ในประเทศเม็กซิโก ระบบการวัดอาหารปลอดภัยของเม็ก ซิโก (the Escala Mexicana de Seguridad Alimentaria:


EMSA) ถู ก ผนวกเข้า ไปในการสารวจรายได้แ ละรายจ่า ยครัวเรือ นระดับชาติ (Encuesta Nacional de Ingresos y
gastos de los Hogares: ENIGH) โดยสถาบัน สถิ ติ แ ละภู มิศ าสตร์ แ ห่ ง ชาติ (Instituto Nacional de Estadística y
Geografía: INEGI) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 (ในปี พ.ศ. 2555 กลุ่มตัวอย่างครอบคลุมประชากรอายุ 15 ปี ขน้ึ ไปกว่า 24,000
คน ในครัวเรือนกว่า 9,000 ครัวเรือน)

ท้ายทีส่ ุด ในประเทศกัวเตมาลา ระบบการวัดความั ่นคงทางอาหารของภูมภิ าคละตินอเมริกาและแคริบเบียน (Escala


Latinoamericana y Caribena de Seguridad Alimentaria: ELCSA) ถู ก รวมเข้า ไปในการสารวจสภาวะการใช้ชีวิต
(Encuesta de Condiciones de Vida: ENCOVI) ในปี พ.ศ. 2554 ครอบคลุมกลุ่มตัวอย่างเกือบ 13,000 ครัวเรือนและ
จานวนรวมประชากรอายุ 15 ปี ขน้ึ ไปประมาณ 40,000 คน

การเก็บข้อมูลทีเ่ ปรียบเทียบได้ในระดับนานาชาติสาหรับการติดตามระดับโลก:
เพื่อ ให้แ น่ ใจถึงความเปรียบเทียบกัน ได้ของตัวชี้วดั FImod+sev และ FIsev ที่ถู ก ค านวณสาหรับ กลุ่ มประชากรที่
แตกต่างกัน ค่าแบ่งระดับสากลถูกนิยามบนฐานของมาตรวัดอ้างอิงระดับโลกของ FIES และถูกแปลงเป็ นค่าทีเ่ กีย่ วข้อง
ในมาตรวัดระดับ “ท้องถิ่น ” ที่ได้มาในฐานะที่เป็ นผลของการประยุกต์ใช้แบบจาลอง Rasch กับประชากรที่จาเพาะ
เจาะจงกลุ่มหนึ่ง ๆ ผ่านกระบวนการ “ทาให้เท่ากัน” (equating)

การทาให้เท่ากัน คือ รูปแบบหนึ่งของการทาให้เป็ นมาตรฐาน (standardization) ของเกณฑ์ช้วี ดั ทีอ่ ยู่บนฐานของกลุ่ม


ย่อยของหน่ วยข้อมูลที่พบได้ทวไปในั่ FIES ระดับโลกและระบบการวัดจาเพาะเจาะจงที่ใช้วดั ในบริบทแต่ละบริบท
ระดับความรุนแรงทีเ่ กีย่ วข้องกับหน่วยข้อมูลทีพ่ บได้ทวไปนั
ั ่ น้ ถูกใช้ในฐานะทีเ่ ป็ นจุดยึดโยง (anchoring points) สาหรับ
การปรับค่าแบ่งระดับของ FIES ระดับโลกให้เข้ากับมาตรวัดระดับท้องถิน่ กระบวนการทาให้เป็ นมาตรฐานทาให้ม ั ่นใจ
ว่าค่าเฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของชุดหน่วยข้อมูลทีพ่ บได้ทวไปนั
ั ่ น้ เป็ นตัวเลขเดียวกันเมื่อวัดโดยมาตรวัด FIES
ระดับโลกหรือระดับชาติ ความเปรียบเทียบกันได้ของ FIES ระดับโลกกับความเป็ นไปได้ทจ่ี ะรวมตัวชี้วดั นี้ต้องอาศัย
หน่วยข้อมูล FIES อย่างน้อย 4 หน่วยจาก 8 หน่วยเพื่อจะระบุว่าพบได้ทวไป ั่

38
ฝ่ ายสถิติ ที่ FAO ได้พฒ
ั นาชุดถ่วงน้ าหนัก RM ภายใต้ R ซึ่งได้ให้แนวปฏิบตั สิ าหรับการประมาณการค่าสัมประสิทธิ ์
ของแบบจาลอง Rasch โดยใช้การหาความเป็ นไปได้สูงสุดแบบมีเงื่อนไข (conditional maximum likelihood) ซึ่งชุด
ถ่วงน้าหนักนี้สามารถใช้กบั การออกแบบการสารวจทีซ่ บั ซ้อนได้

----------------------------------------------------------------------------------------

39
เป้ าหมายที่ 2: ยุติความหิ วโหย บรรลุความมั ่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรม
ที่ยงยื
ั่ น
เป้ าประสงค์ที่ 2.2: ยุติภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบและแก้ไขปัญหาความต้องการสารอาหารของหญิ งวัยรุ่น
หญิ ง ตัง้ ครรภ์แ ละให้ นมบุต ร และผู้สู ง อายุ ภายในปี 2573 รวมถึ ง บรรลุ เ ป้ าหมายที่ ตกลงร่ วมกันระหว่าง
ประเทศว่าด้วยภาวะแคระแกร็นและผอมแห้งในเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี ภายในปี 2568

ตัว ชี้ ว ัด 2.2.1: ความชุ ก ของภาวะเตี้ ย แคระแกร็น (ประเมิ น ส่ ว นสู ง ตามเกณฑ์ อ ายุ ตามมาตรฐานการ
เจริ ญเติ บโตในเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่เบี่ยงเบนไป
จากค่ามัธยฐาน โดยเป็ นเด็กที่มีความสูงเทียบกับอายุตา่ กว่าค่ามัธยฐานของความสูงตามเกณฑ์อายุน้อยกว่า
-2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (-2 SD)

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)
องค์การอนามัยโลก (World Health Organisation: WHO)
ธนาคารโลก (World Bank: WB)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ความชุกของภาวะเตีย้ แคระแกร็น (ประเมินส่วนสูงตามเกณฑ์ อายุ ตามมาตรฐานการเจริญเติบโตในเด็กอายุต่ากว่า 5
ปี ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานทีเ่ บี่ยงเบนไปจากค่ามัธยฐาน โดยภาวะแคระแกร็นคือ
เด็กทีม่ คี วามสูงเทียบกับอายุต่ากว่าค่ามัธยฐานของความสูงตามเกณฑ์อายุน้อยกว่า -2 เท่าของค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน
(-2 SD)
(ภาษาฝรั ่งเศส: pourcentage de sous-alimentation ; ภาษาสเปน: porcentaje de sub-alimentación)

หลักการเหตุผล:
ทัวโลกต่
่ างยอมรับว่าการเจริญเติบโตของเด็กเป็ นผลลัพธ์ทส่ี ะท้อนให้เห็นถึงภาวะโภชนาการ ภาวะเตีย้ แคระแกร็นใน
เด็กหมายถึง เด็กซึ่งมีส่วนสูงน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับอายุของพวกเขา โดยเป็ นผลมาจากภาวะทุพโภชนาการเรื้อรัง
หรือทีเ่ กิดขึน้ ซ้าแล้วซ้าอีก ภาวะเตีย้ แคระแกร็นนี้ถอื เป็ นปั จจัยเสีย่ งในการเสียชีวติ ของเด็ก และยังเป็ นลักษณะหนึ่งของ
ความไม่เท่าเทียมกันในการพัฒนามนุษย์ เด็กทีม่ ภี าวะเตีย้ แคระแกร็นจะไม่สามารถบรรลุศกั ยภาพทางกายและการรูค้ ดิ
ได้อย่างเต็มที่ ภาวะเตี้ยแคระแกร็นในเด็กยังเป็ นหนึ่งในตัวชี้วดั ด้านโภชนาการของการประชุมสมัชชาอนามัยโลก
(World Health Assembly) อีกด้วย

แนวคิ ด:
ไม่ปรากฏ

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ค่าประมาณการจากการสารวจมีระดับความไม่เสถียรอันเนื่องจากความผิดพลาดในการสุ่มตัวอย่าง และ กรณีอ่นื ๆ
อาทิ ความผิดพลาดในทางเทคนิคการวัดค่า ความผิดพลาดในการบันทึก เป็ นต้น ความผิดพลาดทัง้ 2 นี้ไม่ได้ถูกนามา
พิจารณาอย่างเต็มทีใ่ นการจัดทาค่าประมาณการทัง้ ในระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค และ ระดับโลก

40
ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ค่ า ประมาณการจากการส ารวจจะถู ก ค านวณตามแนวทางของระเบีย บวิธีท่ีไ ด้ม าตรฐาน โดยใช้ม าตรฐานการ
เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลกดังทีอ่ ธิบายไว้ในบริบทอื่น ๆ (อ้างอิง: คู่มอื Anthro Software) ค่าประมาณ
การในระดับ ภู มิภ าคและระดับ โลกจะถู ก ค านวณตามแนวทางของโครงร่ า งระเบีย บวิธี ใน “กองทุ น เพื่อ เด็ก แห่ ง
สหประชาชาติ-องค์การอนามัยโลก-ธนาคารโลก: ค่าประมาณการร่วมว่าด้วยภาวะทุพโภชนาการในเด็ก – ระดับและ
แนวโน้ม” (UNICEF/WHO/WB 2555)

การจาแนกข้อมูล:
ค่ า ประมาณการระดับ ภู มิภ าคและระดับ โลกอ้ า งถึง กลุ่ ม เด็ ก ที่มีอ ายุ ต่ า กว่ า 5 ปี ไม่ แ ยกเพศ ข้อ มู ล จ าแนกใน
ระดับประเทศส่วนมากเก็บข้อมูลจากการสารวจรายครัวเรือน ทัง้ นี้ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ -องค์การ
อนามัยโลก-ธนาคารโลกกาลังขยายชุดข้อมูลร่วม ซึ่งรวมค่าประมาณการในระดับท้องถิน่ และค่าประมาณการทีจ่ าแนก
ตามเกณฑ์อ่นื ๆ (เช่น เพศ กลุ่มอายุ ความมั ่งคั ่ง การศึกษาของมารดา และทีอ่ ยู่อาศัย) ในปี พ.ศ. 2560 ด้วย

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ไม่มรี ะเบียบวิธกี ารประมาณค่าสูญหายใด ๆ ทีน่ ามาปรับใช้ในการหาค่าประมาณการ สาหรับประเทศ หรือ ปี ทีไ่ ม่มี
ข้อมูล

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ข้อ มูลของประเทศและปี ท่สี ูญ หายจะถู ก สุ่ มดาเนิ น การตามวิธีก ารแบบจ าลองพหุ ร ะดับ ( International Journal of
Epidemiology 2004;33:1260-70)

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภ าคนั น้ มีอยู่แ ละสามารถใช้ได้สาหรับการจัดหมวดหมู่ดงั ต่ อไปนี้: สหประชาชาติ
เป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก ธนาคารโลกตาม
ภูมภิ าคและกลุ่มรายได้

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
วิธกี ารวิเคราะห์มาตรฐานทีน่ ามาใช้สร้างชุดข้อมูลร่วมมีวตั ถุประสงค์สาหรับการเปรียบเทียบขัน้ สูงสุดของค่าประมาณ
การระดับประเทศ จากการรวบรวมค่าประมาณการการสารวจของชุดข้อมูล JME ซึ่งเป็ นการดาเนินงานระหว่างกลุ่ม
องค์กรที่จะมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพการสารวจ ในกรณีท่มี ี ข้อมูลไม่เพียงพอ การสารวจจะไม่ถูกนามารวมไว้
จนกว่าจะสามารถหาข้อมูลได้ เมื่อข้อมูลดิบปรากฏแต่ยงั คงมีคาถามเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลนัน้ ข้อมูลดิบ
ดังกล่าวจะถูกนามาวิเคราะห์ซ้าอีกครัง้ ตามระเบียบวิธมี าตรฐาน ความคลาดเคลื่อนระหว่างผลทีไ่ ด้จากวิธมี าตรฐานและ
การรายงานผลเหล่านัน้ อาจจะเกิดขึน้ ด้วยหลายสาเหตุ อาทิ การใช้มาตรฐานทีแ่ ตกต่างกันสาหรับการวิเคราะห์คะแนน
มาตฐาน (z-score) การประมาณการค่าสูญหาญของข้อมูลวันเกิดเมื่อข้อมูลสูญหาย การปั ดอายุให้เป็ นตัวเลขกลมๆ ใน
หน่ วยเดือน การใช้ระบบบ่งชี้ท่แี ตกต่างกันในการคัดข้อมูลออก สาหรับการสารวจบนฐานการอ้างอิง NCHS/WHO

41
ก่อนหน้านี้ และสาหรับข้อมูลดิบทีไ่ ม่ปรากฏ วิธกี ารแปลงคะแนนมาตรฐานจะถูกนามาปรับใช้บนฐานของมาตรฐานการ
เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลก (Yang และ de Onis 2008) นอกจากนี้ เมื่อการสารวจไม่ครอบคลุมเด็กทีม่ ี
ช่วงอายุระหว่าง 0 ถึงต่ากว่า 5 ปี หรือมีเฉพาะตัวแทนในเขตชนบท จะต้องมีการเรียบเรียงข้อมูลจากการสารวจอื่น ๆ
ที่จดั ทาขึ้นในประเทศเดียวกัน การจัดเรียบเรียงหรือการดัดแปลงใด ๆ จะต้องได้รบั การชี้แจงอย่างชัดเจนไว้ในส่วน
คาอธิบายของชุดข้อมูลร่วม

แหล่งข้อมูล

คาอธิ บาย:
การส ารวจรายครัว เรือ นที่เ ป็ น ตัว แทนระดับ ประเทศถื อ เป็ นแหล่ ง ข้อ มู ล ที่พ บในประเทศส่ ว นใหญ่ โดยข้อ มู ล
ระดับประเทศที่มจี ากัดจากระบบเฝ้ าระวังจะถูกนามาใช้เมื่อกรณีท่ขี อ้ มูลดังกล่าวครอบคลุมประชากรอย่างเพียงพอ
(ประมาณร้อยละ 80) ซึ่งข้อมูลจากทัง้ สองแหล่งจะต้องมีการเก็บข้อมูลการวัดค่าความสูงและน้ าหนักของเด็กตาม
เทคนิคการวัดมาตรฐานทีแ่ นะนา (องค์การอนามัยโลก 2551)

กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก และ กลุ่มธนาคารโลก จะร่วมกัน ทบทวนแหล่งข้อมูลใหม่
เพื่ออัพเดทระดับค่าประมาณการในระดับประเทศ ซึง่ แต่ละหน่วยงานจะใช้กลไกของตนสาหรับการเก็บรับข้อมูล
สาหรับองค์การอนามัยโลก ให้ดูฐานข้อมูลระเบียบวิธที ่เี ผยแพร่ (de Onis และคณะ 2004) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่ง
สหประชาชาติ มีกลุ่มผูเ้ ชีย่ วชาญด้านข้อมูล และการติดตามโดยเฉพาะทีท่ างานทัง้ ในระดับประเทศ ระดับภูมภิ าคและ
ระดับโลก ใน 190 ประเทศ ซึ่งมีหน้าทีใ่ ห้การสนับสนุ นทางเทคนิคในการเก็บและวิเคราะห์ขอ้ มูล กว่า 20 ปี ทอ่ี งค์การ
ทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้จดั กระบวนการปรับปรุงฐานข้อมูลระดับโลกในแต่ละปี ให้ทนั สมัย ซึ่ งเรียกว่า การ
รายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมาย (Country Reporting on Indicators for Goals: CRING) การ
ดาเนินงานในส่วนนี้อาศัยความร่วมมืออย่างใกล้ชดิ กับสานักงานขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในแต่ละ
ประเทศด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างหลักประกันว่า ฐานข้อมูลระดับโลกขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติมี
ความทันสมัยและมีขอ้ มูลทีส่ ามารถเปรียบเทียบได้ในระดับสากล สานักงานขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
ในแต่ละประเทศจะนาส่งข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ โดยข้อมูลดังกล่าวเป็ นข้อมูลตัวแทนในระดับประเทศตามตัวชีว้ ดั กว่า
100 ตัวทีเ่ กีย่ วข้องกับความเป็ นอยู่ของสตรีและเด็ก รวมถึงภาวะเตีย้ แคระแกร็น เจ้าหน้าทีข่ ององค์การในแต่ละประเทศ
จะทางานร่วมกับ เจ้าหน้าที่ดา้ นนัน้ ในประเทศเพื่อสร้างหลักประกันว่าข้อมูลทีม่ คี วามเกี่ยวข้องมากทีส่ ุดจะได้รบั การ
แบ่งปั น ข้อมูลอัพเดทจะถูกส่งโดยเจ้าหน้าทีข่ ององค์การในแต่ละประเทศ จากนัน้ ผูเ้ ชีย่ วชาญจากสานักงานใหญ่ของ
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะได้ตรวจสอบข้อมูลทีน่ าส่งมาอีกครัง้ เพื่อความถูกต้องตรงกันและคุณภาพของ
ข้อมูลทัง้ หมดตามค่าประมาณการทีส่ ่งมา ตลอดจนการวิเคราะห์ขอ้ มูลอีกครัง้ หากเป็ นไปได้ การตรวจสอบนี้จะเป็ นไป
ตามเกณฑ์กาหนดของวัตถุประสงค์เพื่อสร้างหลักประกันว่าข้อมูลดังกล่าวทีจ่ ะนาไปไว้ในฐานข้อมูลนัน้ มีความทันสมัย
และเชื่อถือได้ ทัง้ นี้จะมีการตอบกลับว่าข้อมูลทีน่ าส่งนัน้ เป็ นทีย่ อมรับหรือไม่ พร้อมทัง้ ให้เหตุผลในกรณีทข่ี อ้ มูลไม่เป็ น
ที่ยอมรับ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะนาข้อมูลทีไ่ ด้จากรายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชี้วดั ตาม
เป้ าหมาย (CRING) ไปบรรจุไว้ในชุดข้อมูลร่วม ขณะที่การประมาณการของธนาคารโลกจะอยู่ในการสารวจการวัด
มาตรฐานการครองชีพของธนาคารโลก (LSMS) โดยข้อมูลดังกล่าวมักจะถูกวิเคราะห์ชุดข้อมูลซ้า ซึ่งรายงาน LSMS
มักไม่มกี ารทาข้อมูลด้านภาวะเตีย้ แคระแกร็นเป็ นตารางไว้

----------------------------------------------------------------------------------------

42
เป้ าหมายที่ 2: ยุติความหิ วโหย บรรลุความมั ่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรม
ที่ยงยื
ั่ น
เป้ าประสงค์ที่ 2.2: ยุติภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบและแก้ไขปัญหาความต้องการสารอาหารของหญิ งวัยรุ่น
หญิ ง ตัง้ ครรภ์แ ละให้ นมบุต ร และผู้สู ง อายุ ภายในปี 2573 รวมถึ ง บรรลุ เ ป้ าหมายที่ ตกลงร่ วมกันระหว่าง
ประเทศว่าด้วยภาวะแคระแกร็นและผอมแห้งในเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี ภายในปี 2568

ตัวชี้ วดั ที่ 2.2.2: ความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (ประเมิ นน้ าหนั กตามเกณฑ์ส่วนสูง ตามมาตรฐานการ
เจริ ญเติ บโตในเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่เบี่ยงเบนไป
จากค่ามัธยฐาน โดย 1) ภาวะน้ าหนักเกิ น (Overweight) น้ าหนักตัวของเด็กสูงกว่าค่ามัธยฐานของน้ าหนัก
ตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กเกิ น 2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (+2 SD) 2) ภาวะผอม (Wasting) น้าหนักตัว
ของเด็กตา่ กว่าค่ามัธยฐานของน้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กน้ อยกว่า -2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(-2 SD)

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)
องค์การอนามัยโลก (World Health Organisation: WHO)
ธนาคารโลก (World Bank: WB)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (ประเมินน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง >+2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจากมาตรฐานการ
เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลก (WHO)) ในกลุ่มเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี

หลักการและเหตุผล:
ทัวโลกต่
่ างยอมรับว่าการเจริญเติบโตของเด็กเป็ นผลลัพธ์ท่สี ะท้อนให้เห็นถึงภาวะโภชนาการ ภาวะน้ าหนักเกิน
หมายถึง เด็กทีม่ นี ้ าหนักมากเกินไปเมื่อเทียบกับส่วนสูง ภาวะทุพโภชนาการลักษณะนี้เป็ นผลจากบริโภคอาหารที่มี
ปริมาณแคลอรีม่ ากเกินไป และ เป็ นการเพิม่ ความเสีย่ งต่อการเกิดโรคไม่ตดิ ต่อในภายหลัง ภาวะน้ าหนักเกินในเด็ก
เป็ นเป้ าหมายหนึ่งในตัวชีว้ ดั ภาวะทางโภชนาการของสมัชชาอนามัยโลก

แนวคิ ด:
ตัวชี้วดั ทางการของเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษคือภาวะน้ าหนักเกินโดยประเมินจากน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
อย่างไรก็ตาม ภาวะน้ าหนักเกินยังสามารถประเมินได้โดยตัวชี้วดั อื่น ๆ อาทิ มวลร่างกายตามอายุ โดยทัวไปการ

ประเมินมวลร่างกายตามอายุจะมิได้ถูกนามารวมอยู่ในชุดข้อมูลร่วม แต่กถ็ ูกนามาพิจารณาในกรณีทไ่ี ม่มกี ารประมาณ
การอื่น ๆ ทีส่ ามารถค้นหาได้

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ค่าประมาณการจากผลสารวจมีระดับความไม่เสถียรอันเนื่องจากความผิดพลาดในการสุ่มตัวอย่าง และ กรณีอ่นื ๆ
(อาทิ ความผิดพลาดในเทคนิคการวัดค่า ความผิดพลาดในการบันทึก เป็ นต้น) ความผิดพลาดทัง้ 2 นี้ไม่ได้ถูกนามา
พิจารณาอย่างเต็มทีใ่ นการจัดทาค่าประมาณการทัง้ ในระดับภูมภิ าคและระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อกังวลเกีย่ วกับ

43
ภาวะน้ าหนักเกินคือความจริงทีว่ ่าแม้ขอ้ มูล ในกลุ่มประเทศทีม่ รี ายได้สูงจะหาได้ยากแต่โดยทัวไปก็
่ พบว่าอัตราภาวะ
น้ าหนักเกินนี้ ก็ยงั สูงในกลุ่มประเทศที่มรี ายได้สูง ดังนัน้ การขาดข้อมูลที่เป็ นตัว แทนจากกลุ่มประเทศที่มรี ายได้สูง
อาจจะส่งผลกระทบต่ออัตราภาวะน้าหนักเกินในระดับโลกและระดับภูมภิ าค

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ค่ า ประมาณการจากการส ารวจจะถู ก ค านวณตามแนวทางของระเบีย บวิธีท่ีไ ด้ม าตรฐาน โดยใช้ม าตรฐานการ
เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลกดังทีอ่ ธิบายไว้ในบริบทอื่น ๆ (อ้างอิง: คู่มอื Anthro Software) ค่าประมาณ
การในระดับภูมภิ าคและระดับโลกจะถูกคานวณตามแนวทางของโครงร่างระเบียบวิธี ใน “องค์การทุนเพื่อเด็กแห่ง
สหประชาชาติ-องค์การอนามัยโลก-ธนาคารโลก: ค่าประมาณการร่วมว่าด้วยภาวะทุพโภชนาการในเด็ก – ระดับและ
แนวโน้ม” (UNICEF/WHO/WB 2555)

การจาแนกข้อมูล:
ค่ า ประมาณการระดับ ภู มิภ าคและระดับ โลกอ้ า งถึง กลุ่ ม เด็ ก ที่มีอ ายุ ต่ า กว่ า 5 ปี ไม่ แ ยกเพศ ข้อ มู ล จ าแนกใน
ระดับประเทศส่วนมากเก็บข้อมูลจากการสารวจรายครัวเรือน ทัง้ นี้ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ -องค์การ
อนามัยโลก-ธนาคารโลกกาลังขยายชุดข้อมูลร่วม ซึ่งรวมค่าประมาณการในระดับท้องถิน่ และค่าประมาณการทีจ่ าแนก
ตามเกณฑ์อ่นื ๆ (เช่น เพศ กลุ่มอายุ ความมั ่งคั ่ง การศึกษาของมารดา และทีอ่ ยู่อาศัย) ในปี พ.ศ. 2560 ด้วย

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ไม่มรี ะเบียบวิธกี ารประมาณค่าสูญหายใด ๆ ทีน่ ามาปรับใช้ในการหาค่าประมาณการ สาหรับประเทศ หรือ ปี ทีไ่ ม่มี
ข้อมูล

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ข้อ มูลของประเทศและปี ท่สี ูญ หายจะถู ก สุ่ มดาเนิ น การตามวิธีก ารแบบจ าลองพหุ ร ะดับ ( International Journal of
Epidemiology 2004;33:1260-70)

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภ าคนั น้ มีอยู่แ ละสามารถใช้ได้สาหรับการจัดหมวดหมู่ดงั ต่ อไปนี้: สหประชาชาติ
เป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก ธนาคารโลกตาม
ภูมภิ าคและกลุ่มรายได้

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
วิธกี ารวิเคราะห์มาตรฐานทีน่ ามาใช้สร้างชุดข้อมูลร่วมมีวตั ถุประสงค์สาหรับการเปรียบเทียบขัน้ สูงสุดของค่าประมาณ
การระดับประเทศ จากการรวบรวมค่าประมาณการการสารวจของชุดข้อมูล JME ซึ่งเป็ นการดาเนินงานระหว่างกลุ่ม
องค์กรที่จะมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพการสารวจ ในกรณีท่มี ีข้อมูลไม่เพี ยงพอ การสารวจจะไม่ถูกนามารวมไว้
จนกว่าจะสามารถหาข้อมูลได้ เมื่อข้อมูลดิบปรากฏแต่ยงั คงมีคาถามเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลนัน้ ข้อมูลดิบ
ดังกล่าวจะถูกนามาวิเคราะห์ซ้าอีกครัง้ ตามระเบียบวิธมี าตรฐาน ความคลาดเคลื่อนระหว่างผลทีไ่ ด้จากวิธมี าตรฐานและ
การรายงานผลเหล่านัน้ อาจจะเกิดขึน้ ด้วยหลายสาเหตุ อาทิ การใช้มาตรฐานทีแ่ ตกต่างกันสาหรับการวิเคราะห์คะแนน

44
มาตฐาน (z-score) การประมาณการค่าสูญหายของข้อมูลวันเกิดเมื่อข้อมูลสูญหาย การปั ดอายุให้เป็ นตัวเลขกลมๆ ใน
หน่ วยเดือน การใช้ระบบบ่งชี้ท่แี ตกต่างกันในการคัดข้อมูลออก สาหรับการสารวจบนฐานการอ้างอิง NCHS/WHO
ก่อนหน้านี้ และสาหรับข้อมูลดิบทีไ่ ม่ปรากฏ วิธกี ารแปลงคะแนนมาตรฐานจะถูกนามาปรับใช้บนฐานของมาตรฐานการ
เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลก (Yang และ de Onis 2008) นอกจากนี้ เมื่อการสารวจไม่ครอบคลุมเด็กทีม่ ี
ช่วงอายุระหว่าง 0 ถึงต่ากว่า 5 ปี หรือมีเฉพาะตัวแทนในเขตชนบท จะต้องมีการเรียบเรียงข้อมูลจากการสารวจอื่น ๆ
ที่จดั ทาขึ้นในประเทศเดียวกัน การจัดเรียบเรียงหรือการดัดแปลงใด ๆ จะต้องได้รบั การชี้แจงอย่างชัดเจนไว้ในส่วน
คาอธิบายของชุดข้อมูลร่วม

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การส ารวจรายครัว เรือ นที่เ ป็ น ตัว แทนระดับ ประเทศถื อ เป็ นแหล่ ง ข้อ มู ล ที่พ บในประเทศส่ ว นใหญ่ โดยข้อ มู ล
ระดับประเทศที่มจี ากัดจากระบบเฝ้ าระวังจะถูกนามาใช้เมื่อกรณีท่ขี อ้ มูลดังกล่าวครอบคลุมประชากรอย่างเพียงพอ
(ประมาณร้อยละ 80) ซึ่งข้อมูลจากทัง้ สองแหล่งจะต้องมีการเก็บข้อมูลการวัดค่าความสูงและน้ าหนักของเด็กตาม
เทคนิคการวัดมาตรฐานทีแ่ นะนา (องค์การอนามัยโลก 2551)

กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก และ กลุ่มธนาคารโลก จะร่วมกัน ทบทวนแหล่งข้อมูลใหม่
เพื่ออัพเดทระดับค่าประมาณการในระดับประเทศ ซึง่ แต่ละหน่วยงานจะใช้กลไกของตนสาหรับการเก็บรับข้อมูล
สาหรับองค์การอนามัยโลก ให้ดูฐานข้อมูลระเบียบวิธที ่เี ผยแพร่ (de Onis และคณะ 2004) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่ง
สหประชาชาติ มีกลุ่มผูเ้ ชีย่ วชาญด้านข้อมูลและการติดตามโดยเฉพาะทีท่ างานทัง้ ในระดับประเทศ ระดับภูมภิ าคและ
ระดับโลก ใน 190 ประเทศ ซึ่งมีหน้าทีใ่ ห้การสนับสนุ นทางเทคนิคในการเก็บและวิเคราะห์ขอ้ มูล กว่า 20 ปี ทอ่ี งค์การ
ทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้จดั กระบวนการปรับปรุงฐานข้อมูลระดับโลกในแต่ละปี ให้ทนั สมัย ซึ่งเรียกว่า การ
รายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมาย (Country Reporting on Indicators for Goals: CRING) การ
ดาเนินงานในส่วนนี้อาศัยความร่วมมืออย่างใกล้ชดิ กับสานักงานขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในแต่ละ
ประเทศด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างหลักประกันว่า ฐานข้อมูลระดับโลกขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติมี
ความทันสมัยและมีขอ้ มูลทีส่ ามารถเปรียบเทียบได้ในระดับสากล สานักงานขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
ในแต่ละประเทศจะนาส่งข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ โดยข้อมูลดังกล่าวเป็ นข้อมูลตัวแทนในระดับประเทศตามตัวชีว้ ดั กว่า
100 ตัวทีเ่ กีย่ วข้องกับความเป็ นอยู่ของสตรีและเด็ก รวมถึงภาวะเตีย้ แคระแกร็น เจ้าหน้าทีข่ ององค์การในแต่ละประเทศ
จะทางานร่วมกับ เจ้าหน้าที่ดา้ นนัน้ ในประเทศเพื่อสร้างหลักประกันว่าข้อมูลทีม่ คี วามเกี่ยวข้องมากทีส่ ุดจะได้รบั การ
แบ่งปั น ข้อมูลอัพเดทจะถูกส่งโดยเจ้าหน้าทีข่ ององค์การในแต่ละประเทศ จากนัน้ ผูเ้ ชีย่ วชาญจากสานักงานใหญ่ของ
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะได้ตรวจสอบข้อมูลทีน่ าส่งมาอีกครัง้ เพื่อความถูกต้องตรงกันและคุณภาพของ
ข้อมูลทัง้ หมดตามค่าประมาณการทีส่ ่งมา ตลอดจนการวิเคราะห์ขอ้ มูลอีกครัง้ หากเป็ นไปได้ การตรวจสอบนี้จะเป็ นไป
ตามเกณฑ์กาหนดของวัตถุประสงค์เพื่อสร้างหลักประกันว่าข้อมูลดังกล่าวทีจ่ ะนาไปไว้ในฐานข้ อมูลนัน้ มีความทันสมัย
และเชื่อถือได้ ทัง้ นี้จะมีการตอบกลับว่าข้อมูลทีน่ าส่งนัน้ เป็ นทีย่ อมรับหรือไม่ พร้อมทัง้ ให้เหตุผลในกรณีทข่ี อ้ มูลไม่เป็ น
ที่ยอมรับ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะนาข้อมูลทีไ่ ด้จากรายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชี้วดั ตาม
เป้ าหมาย (CRING) ไปบรรจุไว้ในชุดข้อมูลร่วม ขณะที่การประมาณการของธนาคารโลกจะอยู่ในการสารวจการวัด
มาตรฐานการครองชีพของธนาคารโลก (LSMS) โดยข้อมูลดังกล่าวมักจะถูกวิเคราะห์ชุดข้อมูลซ้า ซึ่งรายงาน LSMS
มักไม่มกี ารทาข้อมูลด้านภาวะเตีย้ แคระแกร็นเป็ นตารางไว้
----------------------------------------------------------------------------------------

45
เป้ าหมายที่ 2: ยุติความหิ วโหย บรรลุความมั ่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรม
ที่ยงยื
ั่ น
เป้ าประสงค์ที่ 2.2: ยุติภาวะทุพโภชนาการทุกรูปแบบและแก้ไขปัญหาความต้องการสารอาหารของหญิ งวัยรุ่น
หญิ ง ตัง้ ครรภ์แ ละให้ นมบุต ร และผู้สู ง อายุ ภายในปี 2573 รวมถึ ง บรรลุ เ ป้ าหมายที่ ตกลงร่ วมกันระหว่าง
ประเทศว่าด้วยภาวะแคระแกร็นและผอมแห้งในเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี ภายในปี 2568

ตัวชี้ วดั ที่ 2.2.2: ความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (ประเมิ นน้ าหนั กตามเกณฑ์ส่วนสูง ตามมาตรฐานการ
เจริ ญเติ บโตในเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งใช้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่เบี่ยงเบนไป
จากค่ามัธยฐาน โดย 1) ภาวะน้ าหนักเกิ น (Overweight) น้ าหนักตัวของเด็กสูงกว่าค่ามัธยฐานของน้ าหนัก
ตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กเกิ น 2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (+2 SD) 2) ภาวะผอม (Wasting) น้าหนักตัว
ของเด็กตา่ กว่าค่ามัธยฐานของน้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงของเด็กน้ อยกว่า -2 เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(-2 SD)

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)
องค์การอนามัยโลก (World Health Organisation: WHO)
ธนาคารโลก (World Bank: WB)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ความชุกของภาวะทุพโภชนาการ (ประเมินน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง <-2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจากมาตรฐานการ
เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลก (WHO)) ในกลุ่มเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี

หลักการและเหตุผล:
ทัว่ โลกต่า งยอมรับว่า การเจริญเติบ โตของเด็กเป็ น ผลลัพ ธ์ท่สี ะท้อ นให้เ ห็น ถึงภาวะโภชนาการ ภาวะ ผอมในเด็ก
หมายถึง เด็กที่ผอมเกินไปเมื่อเทียบกับส่วนสูง และส่งผลให้เกิดการสูญเสียน้ าหนักอย่างรวดเร็วหรือไม่สามารถเพิม่
น้ าหนักได้ เด็กที่มภี าวะผอมแห้งแบบปานกลางหรือรุนแรงมีความเสี่ยงเพิม่ ขึน้ ต่อการตาย แต่ถึงกระนัน้ การรักษาก็
เป็ นไปได้ ภาวะผอมในเด็กเป็ นเป้ าหมายหนึ่งในตัวชีว้ ดั ภาวะทางโภชนาการของสมัชชาอนามัยโลก

แนวคิ ด:
ตัวชี้วดั ทางการของเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษคือภาวะผอมโดยประเมินจากน้ าหนักต่อส่วนสูง ภาวะผอมยัง
สามารถถูกประเมินโดยใช้เส้นรอบวงของแขนท่อนบนตอนกลาง (mid upper arm circumference: MUAC) ได้อกี ด้วย
ค่าประมาณการภาวะผอมโดยใช้ MUAC จะไม่ถูกรวมเข้ามาในชุดข้อมูลร่วม นอกจากนี้ ในขณะทีภ่ าวะผอมเป็ นส่วน
หนึ่งของรูปแบบหลัก ๆ ของภาวะทุพโภชนาการรุนแรง ระดับปานกลาง (Moderate acute malnutrition: MAM) ก็ยงั มี
เด็กทีม่ ภี าวะทุพโภชนาการรุนแรงทีอ่ าจจะไม่ถูกตรวจพบด้วยสัดส่วนน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงหรือ MUAC นัน่ คือผูท้ ่ี
มีภาวะบวมน้ าแบบสองขัว้ (มีอาการบวมทีเ่ ท้า หน้า และแขนขา) สาหรับการสารวจทีร่ ายงานกรณีภาวะบวมน้ านัน้ จะ
ถูกรวมเข้าไปในชุดข้อมูลร่วมทีว่ ่าด้วยความชุกของผูท้ ม่ี สี ดั ส่วนน้าหนักต่อส่วนสูงต่า

46
ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ค่าประมาณการจากผลสารวจมีระดับความไม่เสถียรอันเนื่องจากความผิดพลาดในการสุ่มตัวอย่าง และ กรณีอ่นื ๆ
(อาทิ ความผิดพลาดในเทคนิคการวัดค่า ความผิดพลาดในการบันทึก เป็ นต้น) ความผิดพลาดทัง้ 2 นี้ไม่ได้ถูกนามา
พิจารณาอย่างเต็มที่ในการจัดทาค่าประมาณการทัง้ ในระดับภูมภิ าคและระดับโลก การสารวจจะถูกดาเนินการใน
ช่วงเวลาทีจ่ าเพาะในปี หนึ่ง ๆ โดยมักจะใช้เวลาประมาณ 1-2 เดือน อย่างไรก็ดี ตัวชี้วดั นี้อาจได้รบั ผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงฤดูกาล ปั จจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการมีอยู่ของอาหาร (เช่น ช่วงก่อนเก็บเกี่ยว) โรค (เช่น ฤดูฝนกับการระบาด
ของโรคท้องร่วง มาลาเรีย และอื่น ๆ) และภัยพิบตั ติ ามธรรมชาติและความขัดแย้ง ดังนัน้ ค่าประมาณการของประเทศ
ในปี หนึ่ง (country-year estimates) อาจไม่จาเป็ นต้องสามารถเปรียบเทียบแบบข้ามเวลาได้ ดังนัน้ ค่าประมาณการ
ล่าสุดเท่านัน้ ทีจ่ ะถูกคานวณและเผยแพร่

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ค่ า ประมาณการจากการส ารวจจะถู ก ค านวณตามแนวทางของระเบีย บวิธีท่ีไ ด้ม าตรฐาน โดยใช้ม าตรฐานการ
เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลกดังทีอ่ ธิบายไว้ในบริบทอื่น ๆ (อ้างอิง: คู่มอื Anthro Software) ค่าประมาณ
การในระดับภูมภิ าคและระดับโลกจะถูกคานวณตามแนวทางของโครงร่างระเบียบวิธี ใน “องค์การทุนเพื่อเด็กแห่ง
สหประชาชาติ-องค์การอนามัยโลก-ธนาคารโลก: ค่าประมาณการร่วมว่าด้วยภาวะทุพโภชนาการในเด็ก – ระดับและ
แนวโน้ม” (UNICEF/WHO/WB 2555)

การจาแนกข้อมูล:
ค่ า ประมาณการระดับ ภู มิภ าคและระดับ โลกอ้ า งถึง กลุ่ ม เด็ ก ที่มีอ ายุ ต่ า กว่ า 5 ปี ไม่ แ ยกเพศ ข้อ มู ล จ าแนกใน
ระดับประเทศส่วนมากเก็บข้อ มูลจากการสารวจรายครัวเรือน ทัง้ นี้ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ -องค์การ
อนามัยโลก-ธนาคารโลกกาลังขยายชุดข้อมูลร่วม ซึ่งรวมค่าประมาณการในระดับท้องถิน่ และค่าประมาณการทีจ่ าแนก
ตามเกณฑ์อ่นื ๆ (เช่น เพศ กลุ่มอายุ ความมั ่งคั ่ง การศึกษาของมารดา และทีอ่ ยู่อาศัย) ในปี พ.ศ. 2560 ด้วย

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ไม่มรี ะเบียบวิธกี ารประมาณค่าสูญหายใด ๆ ทีน่ ามาปรับใช้ในการหาค่าประมาณการ สาหรับประเทศ หรือ ปี ทีไ่ ม่มี
ข้อมูล

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ข้อ มูลของประเทศและปี ท่สี ูญ หายจะถู ก สุ่ มดาเนิ น การตามวิธีก ารแบบจ าลองพหุ ร ะดับ ( International Journal of
Epidemiology 2004;33:1260-70)

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภ าคนั น้ มีอยู่แ ละสามารถใช้ได้สาหรับการจัดหมวดหมู่ดงั ต่ อไปนี้: สหประชาชาติ
เป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก ธนาคารโลกตาม
ภูมภิ าคและกลุ่มรายได้

47
สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
วิธกี ารวิเคราะห์มาตรฐานทีน่ ามาใช้สร้างชุดข้อมูลร่วมมีวตั ถุประสงค์สาหรับการเปรียบเทียบขัน้ สูงสุดของค่าประมาณ
การระดับประเทศ จากการรวบรวมค่าประมาณการการสารวจของชุดข้อมูล JME ซึ่งเป็ นการดาเนินงานระหว่างกลุ่ม
องค์กรที่จะมีเกณฑ์การประเมินคุณภาพการสารวจ ในกรณีท่มี ีข้อมูลไม่เพียงพอ การสารวจจะไม่ถูกนามารวมไว้
จนกว่าจะสามารถหาข้อมูลได้ เมื่อข้อมูลดิบปรากฏแต่ยงั คงมีคาถามเกี่ ยวกับวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลนัน้ ข้อมูลดิบ
ดังกล่าวจะถูกนามาวิเคราะห์ซ้าอีกครัง้ ตามระเบียบวิธมี าตรฐาน ความคลาดเคลื่อนระหว่างผลทีไ่ ด้จากวิธมี าตรฐานและ
การรายงานผลเหล่านัน้ อาจจะเกิดขึน้ ด้วยหลายสาเหตุ อาทิ การใช้มาตรฐานทีแ่ ตกต่างกันสาหรับการวิเคราะห์คะแนน
มาตฐาน (z-score) การประมาณการค่าสูญหาญของข้อมูลวันเกิดเมื่อข้อมูลสูญหาย การปั ดอายุให้เป็ นตัวเลขกลมๆ ใน
หน่ วยเดือน การใช้ระบบบ่งชี้ท่แี ตกต่างกันในการคัดข้อมูลออก สาหรับการสารวจบนฐานการอ้างอิง NCHS/WHO
ก่อนหน้านี้ และสาหรับข้อมูลดิบทีไ่ ม่ปรากฏ วิธกี ารแปลงคะแนนมาตรฐานจะถูกนามาปรับใช้บนฐานของมาตรฐานการ
เจริญเติบโตในเด็กขององค์การอนามัยโลก (Yang และ de Onis 2008) นอกจากนี้ เมื่อการสารวจไม่ครอบคลุมเด็กทีม่ ี
ช่วงอายุระหว่าง 0 ถึงต่ากว่า 5 ปี หรือมีเฉพาะตัวแทนในเขตชนบท จะต้องมีการเรียบเรียงข้อมูลจากการสารวจอื่น ๆ
ที่จดั ทาขึ้นในประเทศเดียวกัน การจัดเรียบเรียงหรือการดัดแปลงใด ๆ จะต้องได้รบั การชี้แจงอย่างชัดเจนไว้ในส่วน
คาอธิบายของชุดข้อมูลร่วม

----------------------------------------------------------------------------------------

48
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ที่ 3.1: ลดอัตราการตายของมารดาทั ่วโลกให้ตา่ กว่า 70 ต่อการเกิ ดมีชีพ 1 แสนคน ภายในปี 2573

ตัวชี้วดั ที่ 3.1.1: อัตราการตายของมารดาต่อการเกิ ดมีชีพ 100,000 คน

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การอนามัยโลก (World Health Organisation: WHO)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
อัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดาหมายถึงจานวนการเสียชีวติ ของมารดาขณะทีค่ ลอดบุตรต่อการเกิดมีชี พ 100,000
รายในช่วงเวลาเดียวกัน ตัวชี้วดั นี้ทาให้เห็นสถานการณ์ ความเสี่ยงในการเสียชีวติ ของมารดาที่มคี วามสัมพันธ์กบั
จานวนทารกทีถ่ อื กาเนิดในเวลาเดียวกันและทาให้เห็นความเสีย่ งต่อการเสียชีวติ ในการตัง้ ครรภ์หรือในการคลอดบุตร
การเสียชีวติ ของมารดา: จานวนสตรีทเ่ี สียชีวติ ในแต่ละปี มาจากสาเหตุต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง หรือ อันตรายอันเกิดจากการ
ตัง้ ครรภ์หรือการจัดการการตัง้ ครรภ์ (ไม่รวมถึงสาเหตุทม่ี าจากอุบตั เิ หตุหรือความไม่ตงั ้ ใจ) ระหว่างการตัง้ ครรภ์และ
การคลอดบุตรหรือภายหลังการยุตกิ ารตัง้ ครรภ์ภายใน 42 วัน ทีแ่ สดงต่อจานวนการคลอดทารกทีป่ ลอดภัย 100,000
รายในช่วงเวลาเดียวกัน โดยไม่คานึงถึงระยะเวลาและสถานทีข่ องการตัง้ ครรภ์

หลักการและเหตุผล:
ตัวชีว้ ดั การเสียชีวติ ของมารดาทัง้ หมดมาจากการประมาณการในปี พ.ศ. 2558 ครอบคลุมการประมาณการแบบจุดและ
มีชว่ งความไม่แน่นอนทีร่ อ้ ยละ 80 สาหรับตัวชีว้ ดั ทีร่ ายงานเฉพาะการประมาณการแบบจุดในรูปแบบตารางหรือ
คาอธิบาย ช่วงความไม่แน่นอนสามารถหาเพิม่ เติมจากเอกสารออนไลน์ทม่ี อี ยู่
(http://www.who.int/reproductivehealth/publications/monitoring/material-mortality-2015/en/) ทัง้ ค่าประมาณการ
แบบจุดและช่วงความไม่แน่นอนทีร่ อ้ ยละ 80 ควรได้รบั การพิจารณาเมื่อดาเนินการหาค่าประมาณการด้วย

ตัวอย่าง
ค่าประมาณการอัตราการเสียชีวติ ของมารดาในระดับโลกอยู่ท่ี 216 ในปี พ.ศ. 2558 (ช่วงความไม่แน่ นอนที่ 207 ถึง
249)

หมายความว่า
• ค่าประมาณการแบบจุดอยู่ท่ี 216 และช่วงความไม่แน่นอนทีร่ อ้ ยละ 80% อยู่ในช่วงตัง้ แต่ 207 ถึง 249
• มีโอกาสทีร่ อ้ ยละ 50 ทีอ่ ตั ราการเสียชีวติ ของมารดาระดับโลกทีแ่ ท้จริงในปี พ.ศ. 2558 จะสูงกว่า 216 และร้อยละ 50
ทีก่ ารประมาณการจริงของอัตราการเสียชีวติ ของมารดาในปี พ.ศ. 2558 ต่ากว่า 216
• มีโอกาสทีร่ อ้ ยละ 80 ทีอ่ ตั ราการเสียชีวติ ของมารดาระดับโลกทีแ่ ท้จริงในปี พ.ศ. 2558 จะอยู่ระหว่าง 207 ถึง 249
• ยังคงมีโอกาสที่รอ้ ยละ 10 ที่อตั ราการเสียชีวติ ของมารดาระดับโลกทีแ่ ท้จริงในปี พ.ศ. 2558 จะสูงกว่า 249 และมี
โอกาสทีร่ อ้ ยละ 10 ทีอ่ ตั ราการเสียชีวติ ของมารดาระดับโลกทีแ่ ท้จริงในปี พ.ศ. 2558 จะต่ากว่า 207

การแปลผลทีแ่ ม่นยาอื่น ๆ รวมถึง

49
• เรามีความเชื่อมั ่นทีร่ อ้ ยละ 90 ว่าอัตราการเสียชีวติ ของมารดาระดับโลกทีแ่ ท้จริงในปี พ.ศ. 2558 อยู่ท่ี 207 เป็ นอย่าง
น้อย
• เรามีความเชื่อมั ่นทีร่ อ้ ยละ 90 ว่าอัตราการเสียชีวติ ของมารดาระดับโลกทีแ่ ท้จริงในปี พ.ศ. 2558 อยู่ท่ี 249 หรือต่า
กว่า

จานวนของข้อมูลทีน่ ามาใช้ในการประมาณการตัวชี้วดั และคุณภาพของข้อมูลนัน้ กาหนดความกว้างของช่วงความไม่


แน่นอนของตัวชีว้ ดั แต่ละตัว เมื่อมีการปรับปรุงความมีอยู่และคุณภาพของข้อมูล ความแน่นอนของการทีค่ ่าแท้จริงของ
ตัวชีว้ ดั แต่ละตัวจะอยู่ใกล้กบั ค่าประมาณการแบบจุดก็จะเพิม่ ขึน้

แนวคิ ด:
นิยามการเสียชีวติ ของมารดาเกี่ยวข้องกับบัญชีจาแนกทางสถิตริ ะหว่างประเทศของโรคและปั ญหาสุขภาพทีเ่ กี่ยวข้อง
ฉบับ ตรวจสอบครัง้ ที่ 10 (International Classification of Diseases and Related Health Problem 10thRevision:
ICD-10)

การเสียชีวติ ของมารดา: การเสียชีวติ ของสตรีขณะตัง้ ครรภ์หรือภายใน 42 วันของการยุตกิ ารตัง้ ครรภ์ โดยไม่คานึงถึง


ระยะเวลาและสถานทีข่ องการตัง้ ครรภ์ จากสาเหตุต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง หรือ อันตรายอันเกิดจากการตัง้ ครรภ์หรือการ
จัดการการตัง้ ครรภ์ (ทัง้ การตายทางตรง และ ทางอ้อมจากการคลอดบุตร) ทัง้ นี้ไม่รวมถึงอุบตั เิ หตุ และ ความไม่ตงั ้ ใจ

การเสียชีวติ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการตัง้ ครรภ์ : การเสียชีวติ ของสตรีทต่ี งั ้ ครรภ์ หรือ ภายใน 42 วันของการยุตกิ ารตัง้ ครรภ์
ไม่ว่าสาเหตุใดก็ตาม

การเสียชีวติ ของมารดาในตอนปลาย: การเสียชีวติ ของสตรีดว้ ยสาเหตุทางสูตกิ รรมทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ภายหลัง


จาก 42 วันแต่น้อยกว่า หนึ่งปี หลังสิน้ สุดการตัง้ ครรภ์

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ขอบเขตการเสียชีวติ ของมารดาในประชากรมักจะรวมเอาปั จจัย 2 ประการมาไว้ดว้ ย ดังนี้
I. ความเสีย่ งทีจ่ ะเสียชีวติ จากการตัง้ ครรภ์หรือให้กาเนิดมีชพี ในแต่ละครัง้
II. ระดับภาวะเจริญพันธุ์ (เช่น จานวนการตัง้ ครรภ์และการให้กาเนิดบุตรทีป่ ระสบโดยผูห้ ญิงวัยเจริญพันธุ)์

อัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดาหมายถึงจานวนการเสียชีวติ ของมารดาระหว่างช่วงเวลาทีก่ าหนดต่อจานวนการเกิด มี


ชีพจานวน 100,000 รายในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งถือเป็ นการทาให้เห็นภาพความเสี่ ยงในการเสียชีวติ ของมารดาโดย
เปรียบเทียบกับจานวนทารกทีถ่ อื กาเนิดมีชพี และโดยสาระสาคัญแล้วเป็ นการเก็บข้อมูลตามข้อ (i) ข้างต้น

ในทางกลับกัน อัตราการเสียชีวติ ของมารดา (the maternal mortality rate- MMRate) จะถูกคานวณจากจานวนการ


เสียชีวติ ของมารดาหารด้วยจานวนคน-ปี ทม่ี ชี วี ติ ของสตรีในวัยเจริญพันธ์ อัตราการเสียชีวติ ของมารดาจะทาให้เห็นทัง้
ความเสีย่ งในการเสียชีวติ ของมารดาในการตัง้ ครรภ์แต่ละครัง้ หรือต่อการให้กาเนิดบุตรทัง้ หมด (ทัง้ ที่ กาเนิดมีชพี และ
เสียชีวติ ในครรภ์) และระดับภาวะเจริญพันธุ์ของประชากร นอกจากปั จจัยอัตราการเสียชีวติ ของมารดาทัง้ สองลักษณะ
แล้ว (MMR, MMRate) ยังมีความเป็ นไปได้ท่จี ะคานวณความเสี่ยงในช่วงชีวิตของผู้ใหญ่ท่จี ะเกิดการเสียชีวติ ของ
มารดาขึน้ ในกลุ่มประชากร (ดูกล่องข้อความที่ A2.2) การวัดอัตราการเสียชีวติ อีกแบบหนึ่งจะเป็ นสัดส่วนการเสียชีวติ

50
ในกลุ่มสตรีวยั เจริญพันธุ์ ซึง่ มีสาเหตุทเ่ี กีย่ วข้องกับความเป็ นมารดา โดยคานวณจากจานวนการเสียชีวติ ของมารดาได้
หารด้วยการเสียชีวติ ทัง้ หมดของสตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 15-49 ปี

มาตรการวัดค่าทางสถิ ติที่เกี่ยวข้องกับการเสียชีวิตของมารดา
อัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดา (MMR): จานวนการเสียชีวติ ของมารดาระหว่างช่วงเวลาที่กาหนดต่อจานวนการ
กาเนิดมีชพี จานวน 100,000 รายในช่วงเวลาเดียวกัน

อัตราการเสียชีวติ ของมารดา (MMRate): จานวนการเสียชีวติ ของมารดาหารด้วยบุคคล-ปี ทม่ี ชี วี ติ ของสตรีวยั เจริญพันธุ์

ความเสี่ยงของการเสี่ยงชีวิตของมารดาในช่วงวัยผู้ใหญ่: ความน่ าจะเป็ นที่หญิงวัย 15 ปี จะเสียชีวิตจากสาเหตุท่ี


เกีย่ วข้องกับความเป็ นมารดา

สัดส่วนการเสียชีวิตในกลุ่ม สตรีวยั เจริญพันธุ์เนื่ องจากสาเหตุท่เี กี่ยวข้องกับความเป็ นมารดา (PM) : จานวนการ


เสียชีวติ ของมารดาในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ หารด้วยการเสียชีวติ ทัง้ หมดของสตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 15-49 ปี

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีคานวณ:
อัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดาสามารถคานวณได้ จากการนาการเสียชีวติ ของมารดาทีบ่ นั ทึกไว้ (หรือประมาณการ)
มาหารด้วยจานวนการกาเนิดมีชพี ทัง้ หมดที่บนั ทึกไว้ (หรือประมาณการ) ในช่วงเวลาเดียวกัน และคูณด้วยจานวน
100,000 การวัดแบบนี้ตอ้ งการข้อมูลเกีย่ วกับสถานะการตัง้ ครรภ์ เวลาทีเ่ สียชีวติ (ระหว่างตัง้ ครรภ์ ให้กาเนิดบุตร หรือ
ภายใน 42 วันหลังยุตกิ ารตัง้ ครรภ์) และสาเหตุการเสียชีวติ

อัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดายังสามารถคานวณได้โดยตรงจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ในระบบทะเบียนชีพ การ


สารวจรายครัวเรือนหรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ แต่ขอ้ มูลส่วนนี้มกั พบปั ญหาเรื่องคุณภาพของข้อมูล โดยเฉพาะทีเ่ กี่ยวกับ
การไม่รายงานผลและการจัดประเภทการเสียชีวติ ของมารดาทีไ่ ม่ถูกต้อง ดังนัน้ ข้อมูลในส่วนนี้จงึ มักจะถูกจัดเรียบเรียง
หรือแก้ไขใหม่บ่อยครัง้ ในบางประเทศการปรับข้อมูลหรือการแก้ไขข้อมูลดังกล่าว เป็ นส่วนหนึ่งของการสอบถามข้อมูล
ทีเ่ ฉพาะเจาะจงหรือเป็ นความลับ หรือ เป็ นความพยายามของฝ่ ายบริหารจัดการทีจ่ ะนาประเด็นนี้เข้าไปอยู่ในโครงการ
ติดตามการเสียชีวติ ของมารดา

การจาแนกข้อมูล:
ข้อมูลอัตราการเสียชีวติ ของมารดา (MMR) ถูกรายงานทัง้ ในระดับประเทศ ระดับภูมภิ าคและระดับโลก ค่าประมาณการ
ในระดับภูมภิ าคสามารถแบ่งประเภทตามชัน้ รายได้ตามการจัดหมวดหมู่ของธนาคารโลก

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
กลุ่มความร่วมมือระหว่างองค์กรเพื่อประมาณการการเสียชีวติ ของมารดา (The Maternal Mortality Estimation Inter-
Agency Group: MMEIG) ใช้แบบจาลอง “BMaT” ในการประมาณการข้อมูลเกีย่ วกับอัตราการเสียชีวติ ของมารดาทีส่ ญ ู
หายไป (ดูหน้า 12 ของรายงานhttp://apps.who.int/iris/bitstream/10665/194254/1/9789241565141_eng.pdf?ua=1)

51
สมการ
log(PMina) = ai − β1 log(GDPi) + β2 log(GFRi) − β3 SABi

กับจุดตัดแกนประเทศแบบสุ่ม (random country intercepts) ทาหน้าที่จาลองลาดับชัน้ ของประเทศใด ๆ ในภูมภิ าค


หนึ่ง

ai~N(aregion, s2country), ar~N(aworld, s2region)


หมายความว่าจุดตัดแกนประเทศต่าง ๆ (ai) ถูกกระจายปกติตามความแปรปรวนเฉพาะประเทศ (s2country) ทาให้
รอบ ๆ จุดตัดแกนภูมภิ าคแบบสุ่ม (random region intercepts) (aregion) และจุดตัดแกนภูมภิ าคแบบสุ่มดังกล่าวจะ
ถูกกระจายปกติตามความแปรปรวนเฉพาะภูมภิ าค (s2region) รอบ ๆ จุดตัดแกนของโลก (aworld) และ

GDPi = ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (ในปี พ.ศ. 2554 ภาวะเสมอภาคของอานวจซื้อเป็ นดอลลาร์สหรัฐฯ)


GFRi = อัตราการเจริญพันธุโ์ ดยทัวไป ่ (การเกิดมีชพี ต่อจานวนหญิงทีม่ อี ายุระหว่าง 15-49 ปี )
SABi = ผูเ้ ชีย่ วชาญทีใ่ ห้ความช่วยเหลือในการคลอดบุตร (ในฐานะสัดส่วนของการเกิดมีชพี )

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
เพื่อให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับการคาดการณ์แนวโน้มในช่วงเวลาต่าง ๆ ทีม่ ขี อ้ มูลอยู่อย่างกระจัดกระจาย หรือสาหรับประเทศที่
มีข้อมูลเพียงเล็กน้ อยหรือไม่มีขอ้ มูลใด ๆ ทัง้ สิ้น แบบจาลองทางสถิติ BMaT จะถูกนามาใช้เพื่อประมาณการการ
เสียชีวติ ของมารดา แบบจาลองนี้รวมเอาปั จจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับอัตราการเสียชีวติ ของมารดาเข้ามาเป็ นความแปรปรวน
ร่วมสาหรับการทานาย (predictor covariates) (GDP GFR และ SAB)

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
อัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดาสามารถคานวณได้จากการเสียชีวติ ของมารดาทีบ่ นั ทึก (หรือประมาณการ) ไว้หาร
ด้วยจานวนการเกิดมีชพี ทัง้ หมดทีบ่ นั ทึก (หรือประมาณการ) ไว้ในช่วงเวลาเดียวกัน และคูณด้วยจานวน 100,000 การ
วัดแบบนี้ตอ้ งการข้อมูลเกีย่ วกับสถานะการตัง้ ครรภ์ จังหวะเวลาทีเ่ สียชีวติ (ระหว่างตัง้ ครรภ์ ให้กาเนิดบุตร หรือภายใน
42 วันหลังยุตกิ ารตัง้ ครรภ์) และสาเหตุการเสียชีวติ

อัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดายังสามารถคานวณได้โดยตรงจากข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ในระบบทะเบียนชีพ การ


สารวจรายครัวเรือนหรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ แต่ขอ้ มูลส่ วนนี้มกั พบปั ญหาเรื่องคุณภาพของข้อมูล โดยเฉพาะทีเ่ กี่ยวกับ
การไม่รายงานผลและการจัดประเภทการเสียชีวติ ของมารดาทีไ่ ม่ถูกต้อง ดังนัน้ ข้อมูลในส่วนนี้จงึ มักจะถูกจัดเรียบเรียง
ใหม่เพื่อให้ขอ้ มูลมีคุณภาพมากขึน้

เนื่องจากการเสียชีวติ ของมารดาพบได้ไม่บ่อยนัก ตัวอย่างขนาดใหญ่จงึ มีความจาเป็ นในกรณีทก่ี ารสารวจรายครัวเรือน


ถูกใช้เพื่อระบุการเสียชีวติ ของมารดาที่เกิดขึน้ ไม่นานในครัวเรือน (เช่น ปี ท่ผี ่านมา) ซึ่งผลการประมาณการจะมีช่วง
ความเชื่อมั ่นขนาดใหญ่ เป็ นข้อจากัดทีจ่ ะใช้ประโยชน์ขอ้ มูลเพื่อการเปรียบเทียบระหว่างประเทศหรือระหว่ างช่วงเวลา

เพื่อลดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามข้อกาหนด การสารวจจากพีน่ ้องในครอบครัวทีเ่ ป็ นหญิง (the sisterhood method)


ถูกนามาใช้ในการสารวจด้านสุขภาพและประชากร (Demographic and Health Survey: DHS) และการสารวจพหุดชั นี
แบบจัดกลุ่มครัง้ ที่ 4 (MICS4) ทีว่ ดั ค่าการเสียชีวติ ของมารดาจากการสอบถามพีห่ รือน้องสตรีในครอบครัวทีย่ งั มีชวี ติ
อยู่ ซึ่งควรต้องบันทึกไว้ด้วยว่า วิธกี ารสารวจจากพี่น้องในครอบครัวที่เป็ นหญิงนี้แสดงผลการเสียชีวติ ของมารดาที่

52
เกี่ยวข้องกับการตัง้ ครรภ์: โดยไม่คานึงถึงสาเหตุการเสียชีวติ แต่ให้พจิ ารณาถึงการเสี ยชีวติ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างการ
ตัง้ ครรภ์ทงั ้ หมด การคลอดบุตรหรือการเสียชีวติ ในช่วงหกสัปดาห์หลังหลังการยุตกิ ารตัง้ ครรภ์จะถูกรวบรวมไว้เป็ นตัว
เศษของอัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดา

การสารวจสามโนประชากรยังมีคาถามทีเ่ กีย่ วข้องกับการเสียชีวติ ของมารดาไว้พร้อมกับความสาเร็จของตัวแปร

การศึ ก ษาเรื่ อ งการเสี ย ชีวิ ต ของมารดาในวัย เจริ ญ พัน ธุ์ ( Reproductive Age Mortality Studies: RAMOS) เป็ น
การศึกษาเฉพาะทางทีใ่ ช้แหล่งข้อมูลอันหลากหลาย ขึน้ กับบริบท เพื่อระบุการเสียชีวติ ของมารดา ไม่มแี หล่งข้อมูลใด
จะระบุ ถึง การเสีย ชีวิต ของมารดาได้ท ั ง้ หมด การสัม ภาษณ์ สมาชิก ในครัว เรือ นและผู้ให้บริก ารด้า นสุ ข ภาพ การ
ตรวจสอบถึงบันทึกของสถานบริการด้านสุขภาพจะถูกนามาใช้เพื่อระบุว่าการเสียชีวติ ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับความเป็ น
มารดาหรือไม่ หากดาเนินการอย่างเหมาะสม วิธกี ารนี้จะช่วยให้เกิดการประมาณการการเสียชีวติ ของมารดาทีค่ ่อนข้าง
ครบถ้วน (ในกรณีทไ่ี ม่มรี ะบบการลงทะเบียนทีเ่ ป็ นกิจวัตรและเชื่อถือได้) และยังสามารถให้ขอ้ มูลอัตราการเสียชีวติ ของ
มารดา (MMR) ในระดับท้องถิน่ ได้ดว้ ย อย่างไรก็ตาม การระบุการเสียชีวติ ทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ กับหญิงวัยเจริญพันธุท์ ไ่ี ม่
เพียงพอจะส่งผลให้เกิดการประมาณระดับการเสียชีวติ ของมารดาที่ต่ าเกินไป วิธกี ารนี้ซบั ซ้อน ใช้เวลามาก และมี
ค่าใช้จ่ายสูง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการดาเนินการทีม่ ขี นาดใหญ่ จานวนการเกิดมีชพี ทีใ่ ช้วธิ กี ารเชิงคานวณอาจจะไม่
แม่นยาเสมอไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในพืน้ ทีท่ ส่ี ตรีส่วนใหญ่คลอดบุตรทีบ่ า้ น

องค์การอนามัยโลก องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ กองทุนสหประชาชาติเพื่อประชากร ฝ่ ายประชากรของ


สหประชาชาติ และธนาคารโลก ได้ร่วมกันพัฒนาวิธกี ารทีใ่ ช้ในการจัดเรียบเรียงข้อมูลทีม่ อี ยู่เพื่อนาประเด็นคุณภาพ
ของข้อมูลเข้ามาพิจารณาและทาให้ม ั ่นใจว่าข้อมูลทีม่ าจากแหล่งที่ต่างกันสามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ วิธกี ารนี้
เกีย่ วข้องกับการประเมินข้อมูลในด้านความครบถ้วน และในกรณีทจ่ี าเป็ นจะมีการจัดเรียบเรียงใหม่สาหรับข้อมูลทีม่ อี ยู่
น้อยเกินไปในรายงานและการจัดประเภทการเสียชีวติ ของมารดาที่ยงั ไม่ถูกต้อง รวมทัง้ การพัฒนาการประมาณการ
ผ่านแบบจาลองทางสถิตสิ าหรับประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลในระดับประเทศทีเ่ ชื่อถือได้

ข้อมูลว่าด้วยการเสียชีวติ ของมารดาและตัวแปรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้มาจากฐานข้อมูลทีด่ ูแลโดยองค์การอนามัยโลก


ฝ่ ายประชากร องค์การสหประชาชาติ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และธนาคารโลก ข้อมูลของแต่ละประเทศ
จะมีความแตกต่างกันไปตามแหล่งข้อมูลและระเบียบวิธที ่ใี ช้ ความแปรปรวนของแหล่งข้อมูลดังกล่าว ทาให้ต้องใช้
วิธกี ารทีแ่ ตกต่างกันสาหรับแหล่งข้อมูลแต่ละแหล่ง เพื่อให้ได้มาซึ่งการประมาณการในระดับประเทศทีส่ ามารถนาไป
เปรียบเทียบกับข้อมูลของประเทศอื่น ๆ เพื่อการคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคและระดับโลก

ในปั จจุบนั ประเทศ/อาณาเขตที่มขี อ้ มูลที่น่าเชื่อถือและไม่ต้องการการประมาณการเพิม่ เติมมีเพียง 1 ใน 3 ของทุก


ประเทศทัวโลกเท่
่ านัน้ สาหรับประเทศประมาณครึง่ หนึ่งของประเทศเหล่านี้ทถ่ี ูกรวมเข้าไปในกระบวนการประมาณการ
นัน้ ค่าการประมาณการระดับประเทศเกี่ยวกับการเสียชีวติ ของมารดาทีถ่ ูกจัดเรียบเรียงเพื่อความเปรียบเทียบกันได้
ของระเบียบวิธีการศึกษา สาหรับประเทศ/อาณาเขตที่ยงั เหลืออยู่ -ประเทศที่ยงั ไม่มขี อ้ มูลการเสียชีวติ ของมารดาที่
เหมาะสม-แบบจาลองทางสถิติจะถูกนามาเพื่อพยากรณ์ ระดับการเสียชีวิตของมารดา อย่างไรก็ตาม การคานวณ
ค่าประมาณการแบบจุดร่วมกับระเบียบวิธดี งั กล่าวอาจจะไม่สามารถเป็ นตัวแทนระดับการเสียชีวติ ของมารดาทีแ่ ท้จริง
ได้ จึงแนะนาให้พจิ ารณาการประมาณการร่วมกับส่วนต่างความไม่แน่ นอนซึ่งเป็ นทีร่ กู้ นั ว่าค่าแท้จริงอยู่ในส่วนต่าง ๆ
เหล่านัน้

53
รายละเอียดการจัดเรียบเรียงและสูตรทีใ่ ช้สามารถหาได้จากทีน่ ่ี

(1) http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/194254/1/9789241565141_eng.pdf?ua=1
(2) Alkema L, Chou D, Hogan D, Zhang S, Moller A, Gemmill A et al. Global, regional, and national levels
and trends in maternal mortality between 1990 and 2015, with scenario-based projections to 2030: a systematic
analysis by the UN Maternal Mortality Estimation Inter‐Agency Group. Lancet. Published online 12 November
2015. doi:10.1016/S0140‐ 6736(15)00838‐7.
(3) Alkema L, Zhang S, Chou D, Gemmill A, Moller A, Ma Fat D et al. A Bayesian approach to the global
estimation of maternal mortality. The Annals of Applied Statistics; 2016.

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
อัตราส่วนการเสียชีวติ ของมารดาหมายถึงจานวนการเสียชีวติ ของมารดาหารด้วยจานวนการเกิดมีชพี อย่างไรก็ตาม
เพื่อพิจารณาถึงความเป็ นไปได้ของความไม่ครบถ้วนของข้อมูลการเสียชีวติ ทีบ่ นั ทึกไว้จากหลายแหล่งข้อมูล ในขัน้ แรก
MMEIG จะใช้วธิ กี ารคานวณเพื่อหาจานวนเศษส่วนของการเสียชีวติ อันเนื่องมาจากความเป็ นมารดาจากแหล่งข้อมูล
เดิม (เรียกว่า “สัดส่วนการเป็ นมารดา” - PM) จากนัน้ จึงประยุกต์ค่าเศษส่วนนัน้ กับการประมาณการการเสียชีวติ ของ
หญิงวัยเจริญพันธุท์ งั ้ หมดขององค์การอนามัยโลกเพื่อให้ได้มาซึง่ ค่าประมาณการจานวนการเสียชีวติ ของมารดา

ในอีกทางหนึ่ง เลขเศษส่วนต่อไปนี้ถูกคานวณจากแหล่งข้อมูลระดับประเทศก่อน

PM = จานวนการเสียชีวติ ของสตรีอายุระหว่าง 15-49 ปี ทีม่ สี าเหตุจากความเป็ นมารดา / จานวนสตรีทงั ้ หมดทีม่ อี ายุ


ระหว่าง 15-49 ปี

จากนัน้ ใช้ค่า PM ทีไ่ ด้เพื่อหาอัตราการเสียชีวติ ของมารดา (MMR) ตามสมการนี้

MMR = PM x (จานวนสตรีทงั ้ หมดทีม่ อี ายุระหว่าง 15-49 ปี / จานวนการเกิดมีชพี )

ค่าประมาณการการเสียชีวติ ทัง้ หมดของสตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 15-49 ปี ในสมการทีส่ องมาจากตารางชีวติ ขององค์การ


อนามัยโลก ขณะทีจ่ านวนการเกิดทัง้ หมดมาจากเอกสารการคาดการณ์ประชากรโลกปี พ.ศ. 2558

ด้วยภูมหิ ลังเช่นนี้ จึงอาจทาให้การประมาณการของ MMEIG แตกต่างไปจากสถิตแิ ห่งชาติอยู่ 4 ประการ ดังนี้


(1) ทะเบียนราษฎรและระบบสถิตปิ ระชากรอาจไม่ครบถ้วนเสมอไป (เช่น ไม่สามารถให้ภาพการเสียชีวติ ทัง้ หมด
ได้ครบถ้วนร้อยละ 100) ซึ่งความครบถ้วนก็มกั จะเปลี่ยนแปลงในเวลาทีต่ ่างกัน วิธกี ารประมาณการของ MMEIG ได้
พยายามทีจ่ ะแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องเพื่อให้มคี วามครบถ้วนมากขึน้ รวมทัง้ วิธกี ารคานวณสัดส่วนการเสียชีวติ ซึง่ มีสาเหตุ
ทีเ่ กีย่ วข้องกับความเป็ นมารดา (PM) เป็ นอันดับแรก
(2) บ่อยครัง้ ที่ MMEIG มักจะประยุกต์ใช้ปัจจัยสาหรับการปรับปรุง (adjustment factors) กับอัตราส่วนความเป็ น
มารดา (PM) ซึ่งคานวณมาจากข้อมูลต้นฉบับเพื่อ พิจารณาประเด็นทางการวัดค่า (เช่น วิธกี ารที่ประเทศนิยามการ
เสียชีวติ “ของมารดา” การจัดประเภททีผ่ ดิ พลาด หรือการนับจานวนทีน่ ้อยกว่าความเป็ นจริง)
(3) MMEIG ใช้ชุดการกาเนิดทีไ่ ด้มาตรฐานของ UNPD ดังทีต่ พี มิ พ์ในเอกสารการคาดการณ์ประชากรโลกปี พ.ศ.
2558 ที่เป็ นจานวนส่วนสาหรับสมการหาอัตราการเสียชีวติ ของมารดา ทัง้ นี้แต่ละประเทศควรได้มกี ารหารือความ

54
คลาดเคลื่อนของข้อมูลโดยตรงกับ UNPD เพื่อให้ได้ขอ้ มูลทีด่ ขี น้ึ สาหรับรายงานต่อเอกสารการคาดการณ์ประชากรโลก
โดยสามารถติดต่อไปยังอีเมล population@un.org ซึง่ ข้อความทีส่ ่งไปนี้จะได้รบั การตรวจสอบและส่งไปยังนักวิเคราะห์
ในแต่ละประเทศหรือประเด็นตามความเหมาะสมต่อไป
(4) กล่าวในทางสถิติแล้ว พบว่า การเสียชีวติ ของมารดาเป็ นสิง่ ทีพ่ บได้ไม่บ่อยนัก แต่กส็ ามารถสร้างแนวโน้มที่
ยิง่ ใหญ่ในข้อมูลได้ในช่วงเวลาต่าง ๆ เป้ าหมายการประมาณการของ MMEIG ก็คอื การติดตามกระบวนการในการลด
การเสียชีวติ ของมารดาในระยะยาว กระบวนการประมาณการนี้เกี่ยวข้องกับการขจัดอุปสรรคบางประการเพื่อแสดง
ภาพทีด่ ขี น้ึ ของการเปลีย่ นแปลงต่อความเสีย่ งพืน้ ฐานต่าง ๆ

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
โปรดดูทห่ี น้า 5 ของรายงาน
http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/194254/1/9789241565141_eng.pdf?ua=1

กระบวนการรวบรวมข้อมูล:
MMEIG เก็บรักษาฐานข้อมูลที่ประกอบด้วยข้อมูลการเสียชีวติ ของมารดาจากทะเบียนราษฎร การสารวจประชากร
ระบบเฝ้ าระวัง และการสารวจหรือการศึกษาเฉพาะด้าน ฐานข้อมูลนี้ใ ช้เพื่อระบุจานวนการเสียชีวติ ของมารดาและ
จานวนการเสียชีวติ ทีเ่ ป็ นไปได้ในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ทงั ้ หมด (WRA) เพื่อใช้ในการคานวณ “PM” ซึ่งก็คอื สัดส่วน
การเสียชีวติ ซึง่ มีสาเหตุทเ่ี กีย่ วข้องกับความเป็ นมารดาในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ อัตราการเสียชีวติ ของมารดาคานวณ
ได้จากสมการ MMR = PM(D/B) โดย D แทนจานวนการเสียชีวติ ของหญิงที่มอี ายุระหว่าง 15-49 ปี (WRA) และ B
แทนจ านวนการเกิด โดยจ านวนก าเนิ ด มีชีพ ดัง กล่ า วซึ่งอ้า งอิง จากเอกสารการคาดการณ์ ป ระชากรโลก (World
Population Prospects) ปี พ.ศ. 2558

แบบจาลองเชิงสถิตถิ ูกนามาใช้เพื่อ ผลิตค่าประมาณการทีเ่ ปรียบเทียบได้ระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค และระดับโลก


แบบจาลองดังกล่าวจะถูกประเมินความเหมาะสมโดยวิธกี ารตรวจสอบแบบไขว้ (cross-validation) ค่าประมาณการจะ
ได้รบั การตรวจสอบร่วมกับประเทศสมาชิกผ่านกระบวนการปรึกษาหารือร่วมกับองค์การอนามัยโลกในระดับประเทศ
ในปี พ.ศ. 2544 คณะกรรมการบริหารขององค์การอนามัยโลกรับรองมติ (EB.107.R8) เพื่อ “จัดสร้างกระบวนการให้
คาปรึกษาทางเทคนิคที่รวบรวมทัง้ บุคลากรและมุมมองจากประเทศสมาชิกองค์การอนามัยโลกในภูมภิ าคต่าง ๆ ”
วัตถุประสงค์หลักของกระบวนการให้คาปรึกษานี้คอื “เพื่อสร้างความมั ่นใจว่าประเทศสมาชิกมีขอ้ มูลซึ่งผ่านการหารือ
แล้วและสามารถนาไปใช้ได้อย่างดีทส่ี ุด ” เนื่องจากกระบวนการดังกล่าวเป็ นขัน้ ตอนสาคัญในกลยุทธ์การประมาณการ
ทัง้ หมด จึงจะขอกล่าวถึงโดยสังเขปดังนี้

กระบวนการให้คาปรึกษาในระดับประเทศเป็ นการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างองค์การอนามัยโลกและผู้เชีย่ วชาญด้าน


เทคนิคในแต่ละประเทศ โดยจะดาเนินการก่อนการเผยแพร่ค่าประมาณการ ในระหว่างการให้คาปรึกษาองค์การอนามัย
โลกจะเชิญผู้เชี่ยวชาญเพื่อมาช่วยตรวจสอบแหล่งข้อมูลนาเข้า วิธี การประมาณการและค่าประมาณการเบื้องต้น
ผูเ้ ชีย่ วชาญสามารถให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมทีอ่ าจจะไม่ได้ปรากฏในค่าประมาณการเบือ้ งต้น

การจัดเรียบเรียงข้อมูลจัดทาขึน้ ตามประเภทของแหล่งข้อมูล
(1) ทะเบียนราษฎรและระบบสถิติประชากร สาหรับการจัดประเภทที่ผิดพลาด หรือการรายงานจานวนการ
เสียชีวติ ของมารดาทีน่ ้อยกว่าความเป็ นจริง

55
(2) รายงานทีใ่ ห้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ การเสียชีวติ ที่ “เกี่ยวข้องกับการตัง้ ครรภ์” ซึ่งจานวนการเสียชีวติ ทีถ่ ูกรายงานต่า
กว่าความเป็ นจริง และการรายงานการเสียชีวติ ทีส่ งู เกินไปเนื่องจากรวมเอาการเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุหรือความไม่ตงั ้ ใจ
ระหว่างตัง้ ครรภ์ไว้ดว้ ย (ซึง่ เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่อยู่ในนิยามการเสียชีวติ ของมารดา)

การวิเคราะห์ยงั พิจารณาความคลาดเคลื่อนแบบสุ่ม (stochastic errors) ที่มาจากการเสียชีวติ ของมารดาทีพ่ บได้ไม่


บ่อยนัก ความผิดพลาดจากการสุ่มตัวอย่างในแหล่งข้อมูล ข้อผิดพลาดระหว่างการเก็บข้อมูลและกระบวนการเก็บ
ข้อมูล และความผิดพลาดอื่น ๆ

----------------------------------------------------------------------------------------

56
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.1: ลดอัตราการตายของมารดาทั ่วโลกให้ต่ากว่า 70 ต่ อการเกิ ดมีชีพ 1 แสนคน ภายในปี พ.ศ.
2573

ตัวชี้วดั 3.1.2: สัดส่วนของการคลอดบุตรที่ได้รบั การดูแลโดยบุคลากรด้านสาธารณสุขที่มีความชานาญ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
จานวนร้อยละของการเกิดโดยบุคลากรด้านสาธารณสุขทีม่ คี วามชานาญ (โดยทัวไปคื ่ อ แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าที่
ผดุงครรภ์) เป็ นร้อยละของการคลอดบุตรที่ดูแลโดยบุคลากรด้านสุขภาพทีไ่ ด้รบั การอบรมด้านสูตนิ รีเวช ตลอดจนการ
ให้คาแนะนาและการดูแลทีจ่ าเป็ นต่อมารดาทัง้ ในระหว่างตั ง้ ครรภ์ ระหว่างคลอด และหลังคลอด การคลอดบุตรด้วย
ตนเอง และการดูแลทารกแรกเกิด ทัง้ นี้มไิ ด้หมายรวมถึงผู้ทาคลอดพื้นบ้านแม้ว่าจะเป็ นผูท้ ่ไี ด้รบั การอบรมระยะสัน้
มาแล้วก็ตาม

หลักการและเหตุผล:
การมีผู้ให้ความช่วยเหลือเรื่องการคลอดบุตรทีม่ คี วามเชี่ยวชาญเป็ นสิง่ สาคัญในการช่วยชีวติ ของทัง้ มารดาและบุตร
การไม่สามารถเข้าถึงความช่วยเหลือหลักดังกล่าวถือเป็ นอันตรายต่อสุขภาพของสตรีและการเสริมพลังด้านเพศสภาพ
เนื่องจากอาจก่อให้เกิดการเสียชีวติ ของมารดาหรือการทุพพลภาพไปตลอดชีวติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในบริบทของกลุ่ม
ชายขอบ

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนของหญิงทีม่ อี ายุระหว่าง 15-49 ปี ทไ่ี ด้รบั การช่วยเหลือจากบุคลากรด้านสาธารณสุขทีม่ คี วามชานาญ (แพทย์
พยาบาล หรือเจ้าหน้าทีผ่ ดุงครรภ์) ในระหว่างคลอดบุตรถูกนาเสนอโดยจานวนร้อยละกลุ่มหญิงทีม่ อี ายุระหว่าง 15-49
ปี ทใ่ี ห้การกาเนิดมีชพี ในช่วงเวลาเดียวกัน

การจาแนกข้อมูล:
สาหรับตัวชีว้ ดั นี้ รายงานข้อมูลจากการสารวจในครัวเรือนทีไ่ ด้รบั จะมีการจาแนกข้อมูลในส่วนทีพ่ กั อาศัย (ในเมือง/ใน
ชนบท) ความมั ่งคั ่งของครัวเรือนจัดกลุ่มแบบควินไทล์ (Quintiles) อายุของมารดา รวมทัง้ ภูมภิ าคทางภูมศิ าสตร์ หาก
ข้อมูลทีไ่ ด้มาจากฝ่ ายปกครอง การจาแนกจะมีความจากัดกว่าโดยมักจาแนกข้อมูลด้วยทีพ่ กั อาศัยเท่านัน้

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ยังไม่มกี ารจัดการข้อมูลทีส่ ญ
ู หายในระดับประเทศ หากมีขอ้ มูลทีส่ ญ
ู หายไปในปี ทก่ี าหนด รายงานจะขาดข้อมูลในส่วน
นัน้ ไป

57
ระดับภูมิภาคและระดับระดับโลก
ข้อมูลที่สูญหายในระดับภูมิภาคและระดับโลกจะไม่มีการประมาณการค่ าสูญหาย ดังนัน้ ปี ล่าสุดที่มีข้อมูลภายใน
ระยะเวลาทีก่ าหนดจะถูกนามาใช้ในการคานวณค่าเฉลีย่ ในระดับภูมภิ าคและระดับโลก

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ค่าประมาณการระดับภูมภิ าคและระดับโลกจะถูกนามาคานวณโดยการใช้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก จานวนการเกิดจากการ
คาดการณ์ประชากรโลกของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Population Division: UNPD) จะถูก
นามาใช้เพื่อวัดตัวชีว้ ดั น้ าหนัก ข้อมูลระดับภูมภิ าคจะได้รบั การคานวณสาหรับปี ทอ่ี ้างอิง รวมทัง้ ช่วง 4-5 ปี สาหรับปี ท่ี
อ้างอิงแต่ละปี เช่น ข้อมูลล่าสุดทีถ่ ูกนามาใช้ในการประเมินสาหรับปี อ้างอิง พ.ศ. 2559 จะมาจากช่วงปี พ.ศ. 2556 –
2559 เป็ นต้น

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ความคลาดเคลื่อนมีโอกาสเกิดขึน้ ได้ถ้ามีขอ้ มูลระดับประเทศทีร่ วบรวมไว้ ณ ระดับสถานบริการสุขภาพ ข้อมูลเหล่านี้
อาจจะมีความแตกต่างจากข้อมูลระดับโลก ซึ่งมักจะมาจากข้อมูลการสารวจทีร่ วบรวม ณ ระดับครัวเรือน ในส่วนของ
ข้อมูลการสารวจ รายงานการสารวจบางตัวอาจแสดงจานวนร้อยละรวมทัง้ หมดของการกาเนิดที่ได้รบั การดูแลจาก
บุคลากรด้านสาธารณสุขทีม่ คี วามชานาญซึง่ อาจจะไม่สอดคล้องกับนิยามของเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (เช่น
การรวมเอาบุคลากรที่ไม่ถือเป็ นผู้มคี วามเชี่ยวชาญ เช่น เจ้าหน้าที่สุขภาพชุมชน) ในกรณีดงั กล่าว ร้อยละของการ
คลอดบุตรทีม่ าจากการทางานของแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าทีผ่ ดุงครรภ์จะถูกรวบรวมและนาไปใส่ไว้เป็ นส่วนหนึ่ง
ของฐานข้อมูลระดับโลกในฐานะค่าประมาณการของเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ
ในบางประเทศทีไ่ ม่มบี ุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการช่วยเหลือเรื่องการคลอดบุตร จะใช้ขอ้ มูลการคลอดบุตรทีส่ ถาน
บริก ารสุ ข ภาพแทน ซึ่ ง ลัก ษณะเช่ น นี้ จ ะพบบ่ อ ยในประเทศแถบละติ น อเมริก า ซึ่ ง สัด ส่ ว นการคลอดบุ ต รใน
สถานพยาบาลสูงมาก แต่กต็ ้องพึงตระหนักว่าการเกิ ดในสถานพยาบาลอาจจะทาให้การประมาณการร้อยละของการ
เกิดโดยบุคลากรด้านสาธารณสุขทีม่ คี วามชานาญต่ากว่าความเป็ นจริง

วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และ องค์การอนามัยโลกร่วมกันเก็บรักษาฐานข้อมูลของการคลอดบุต รจาก
บุคลากรด้านสาธารณสุขทีม่ คี วามชานาญ (แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าทีผ่ ดุงครรภ์) และประสานความร่วมมือในการ
สร้างความมั ่นใจถึงความถูกต้องตรงกันของข้อมูล ข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนในระดับประเทศเป็ นแหล่งข้อมูลหลักที่
ใช้ในการรวบรวมข้อมูลสาหรับตัวชี้วดั ด้านการฝากครรภ์ การสารวจเหล่านี้รวมไปถึงการสารวจด้านประชากรและ
สุ ข ภาพ (Demographic and Health Survey: DHS) การส ารวจพหุ ด ัช นี แ บบจัด กลุ่ ม (Multiple Indicator Cluster
Surveys: MICs) การสารวจสุขภาพทางเพศ (Reproductive Health Surveys: RHS) และการสารวจระดับประเทศอื่น
ๆ ทีใ่ ช้ระเบียบวิธที ค่ี ล้ายคลึงกัน การสารวจเหล่านี้มกั ดาเนินการทุก ๆ 3-5 ปี โดยในประเทศอุตสาหกรรม (ซึ่ง ความ
ครอบคลุมมีสงู ) แหล่งข้อมูลจะรวมถึงสถิตกิ ารให้บริการประจาวันด้วย

ก่อนการนาข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลร่วมระดับโลก องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และ องค์การอนามัยโลก จะมี


กระบวนการตรวจสอบความถูกต้อง ซึง่ รวมถึงการหารือกับเจ้าหน้าทีใ่ นพืน้ ทีเ่ พื่อสร้างความชัดเจนในข้อคาถามต่าง ๆ
ทีเ่ กี่ยวข้องกับค่าประมาณการ ในระหว่างกระบวนการ จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของประเภทของบุคลากรด้าน
สาธารณสุขในระดับประเทศ ดังนัน้ ค่าประมาณการสาหรับบางประเทศอาจจะรวมถึงบุคลากรทีไ่ ด้รบั การอบรมประเภท
อื่น ๆ ทีน่ อกเหนือไปจากแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าทีผ่ ดุงครรภ์

58
การควบคุมคุณภาพ:
ข้อ มูลจะถู กรายงานมายังองค์ก ารทุ นเพื่อ เด็กแห่งสหประชาชาติเ ป็ น รายปี ค่ า ประมาณการจะถูก ตรวจสอบและ
ประเมินผลเพื่อสร้างความมั ่นใจว่าตัวชี้วดั ที่รายงานมามีความสอดคล้องกับมาตรฐานนิยามและระเบียบวิธี ข้อมูล
เพิม่ เติมซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นของประเทศทีม่ รี ายได้สงู จะถูกรวบรวมจากแหล่งปฐมภูมแิ ละนาส่งโดยองค์การอนามัยโลก
สานักงานระดับประเทศ ขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ จะรายงานข้อมูลไปยังสานักงานใหญ่ขององค์การ
ทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติเพื่อจัดการรวบรวมข้อมูลในระดับโลก เจ้าหน้าทีข่ ององค์การในประเทศต่าง ๆ จะติดต่อ
ประสานงานกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั ในระดับประเทศเพื่อรวมรวมและจัดส่งข้อมูลตามทีไ่ ด้รบั การร้องขอ โดยข้อมูลทีถ่ ูกรายงาน
ไปยังฐานข้อมูลระดับโลกจะได้รบั การตรวจสอบความถูกต้องโดยเจ้าหน้าทีร่ ฐั ทีม่ หี น้าทีเ่ กีย่ วข้องก่อน

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
ข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนในระดับประเทศเป็ นแหล่งข้อมูลหลักทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมูลสาหรับตัวชี้วดั ด้านการ
ฝากครรภ์ การสารวจเหล่านี้รวมไปถึงการสารวจด้านประชากรและสุขภาพ การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม การสารวจ
สุขภาพทางเพศ และการสารวจระดับประเทศอื่น ๆ ทีใ่ ช้ระเบียบวิธที ค่ี ล้ายคลึงกัน การสารวจเหล่านี้มกั กระทากันทุก ๆ
3-5 ปี โดยในประเทศพัฒนาแล้ว (ซึ่งระบบสุขภาพมีความครอบคลุม สูง) แหล่งข้อมูลจะรวมถึงสถิติการให้บริการ
ประจาวันด้วย

กระบวนการรวบรวมข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และ องค์การอนามัยโลกบารุงรักษาฐานข้อมูลร่วมของการคลอดบุตรทีด่ แู ลโดย
บุคลากรด้านสาธารณสุขทีม่ คี วามชานาญ (แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าทีผ่ ดุงครรภ์) และประสานความร่วมมือในการ
สร้างความมั ่นใจถึงความถูกต้องตรงกันของข้อมูล ข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนในระดับประเทศเป็ นแหล่งข้อมูลหลักที่
ใช้ในการรวบรวมข้อมูลสาหรับตัวชี้วดั ด้านการฝากครรภ์ การสารวจเหล่านี้รวมไปถึงการสารวจด้านประชากรและ
สุขภาพ การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม การสารวจสุขภาพทางเพศ และการสารวจระดับประเทศอื่น ๆ ทีใ่ ช้ระเบียบวิธี
ทีค่ ล้ายคลึงกัน การสารวจเหล่านี้มกั กระทากันทุก ๆ 3-5 ปี โดยในประเทศอุตสาหกรรม (ซึง่ ระบบสุขภาพมีคุณภาพสูง)
แหล่งข้อมูลจะรวมถึงสถิตกิ ารให้บริการประจาวันด้วย

ก่อนการนาข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลร่วม องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และ องค์การอนามัยโลก จะเป็ นขัน้ ตอน


การตรวจสอบความถูกต้อง ซึ่งรวมถึงการหารือกับเจ้าหน้ าที่ในพื้นที่เพื่อ สร้างความชัดเจนในข้อคาถามต่าง ๆ ที่
เกีย่ วข้องกับการประมาณการ ในระหว่างกระบวนการ จะมีการตรวจสอบความถูกต้องของบุคลากรด้านสาธารณสุขทีม่ ี
ความชานาญประเภทต่าง ๆ ในระดับประเทศ ทัง้ นี้การประมาณการสาหรับบางประเทศอาจจะรวมถึงบุคลากรทีไ่ ด้รบั
การอบรมประเภทอื่น ๆ ทีน่ อกเหนือไปจากแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าทีผ่ ดุงครรภ์

----------------------------------------------------------------------------------------

59
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.2: ยุติการตายที่ ป้องกันได้ของทารกแรกเกิ ดและเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี โดยทุกประเทศมุ่งลด
อัตราการตายในทารกลงให้ตา่ ถึง 12 คนต่อ การเกิ ดมีชีพ 1,000 คน และลดอัตราการตายในเด็กอายุตา่ กว่า 5
ปี ลงให้ตา่ ถึง 25 คนต่อการเกิ ดมีชีพ 1,000 คน ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 3.2.1: อัตราการตายของเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
การเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี คือ ความน่าจะเป็ นทีเ่ ด็กทีเ่ กิดในปี หนึ่ง ๆ หรือช่วงหนึ่ง ๆ จะเสียชีวติ ก่อนอายุ
ครบ 5 ปี อัตราส่วนการเสียชีวติ ทีจ่ าเพาะกับช่วงอายุดงั กล่าวและช่วงเวลาหนึ่ง ๆ จะถูกนาเสนอในรูปของอัตราส่วนต่อ
การกาเนิดมีชพี 1,000 ราย

หลักการและเหตุผล:
อัตราการเสียชีวติ ในกลุ่มเด็กทีอ่ ายุน้อยเป็ นตัวชี้วดั ผลสัมฤทธิที์ ส่ าคัญสาหรับสุขภาพและความเป็ นอยู่ของเด็ก ทัง้ ยัง
หมายความกว้างไปถึงการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ อัตราการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี ได้รบั การจับตา
มองอย่างใกล้ชดิ ในฐานะตัวชีว้ ดั ด้านสาธารณสุขทีส่ าคัญ เนื่องจากส่งผลไปยังการเข้าถึงบริการสุขภาพขัน้ พืน้ ฐานของ
เด็กและชุมชน อาทิ การได้รบั วัคซีน การรักษาทางการแพทย์สาหรับโรคติดต่อ และการมีโภชนาการทีเ่ พียงพอ

แนวคิ ด:
อันทีจ่ ริงแล้วอัตราการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี ในทีน่ ้มี ไิ ด้หมายถึง อัตรา (เช่น จานวนการเสียชีวติ หารด้วย
จานวนประชากรกลุ่มเสีย่ ง ณ ช่วงเวลาทีศ่ กึ ษา) แต่เป็ นความน่ าจะเป็ นของการเสียชีวติ ตามข้อมูลจากตารางชีพ ต่อ
อัตราการกาเนิดมีชพี 1,000 ราย

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ค่าประมาณการทีไ่ ด้จากกลุ่มความร่วมมือระหว่างองค์กรขององค์การสหประชาชาติสาหรับการประมาณการเสียชีวติ ใน
เด็ก (The UN Inter-agency Group for Child Mortality Estimation: UN IGME) นัน้ ได้มาจากข้อมูลในระดับประเทศที่
ได้รบั จากการสารวจสามะโนประชากร หรือระบบทะเบียนชีพ กลุ่ม UN IGME จะไม่ใช้ตวั แปรร่วมใด ๆ มาใช้คานวณ
ค่าประมาณการ แต่จะนาอาวิธกี าร curve fitting method มาประยุกต์ใช้ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ทม่ี คี ุณภาพ ทีท่ าให้เห็นถึง
แนวโน้มของค่าประมาณการหลังจากการประเมินคุณภาพของข้อมูลแล้ว ในหลาย ๆ กรณี การประเมินของ UN IGME
ใกล้เคียงกับข้อมูลพื้นฐาน กลุ่ม UN IGME มุ่งหวังในการลดความผิดพลาดจากการประเมินในแต่ละส่วน เพื่อทาให้
แนวโน้มประมาณการในช่วงเวลาต่าง ๆ มีความสอดคล้องกัน นาไปสู่การผลิตค่าประมาณการทีท่ นั สมัยและผ่านการ
ประเมินมาแล้วอย่างเหมาะสม กลุ่ม UN IGME ยังนาแบบจาลองการลดความลาเอียงของ Bayesian B-splines ในการ
ประเมินข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อทาให้เห็นแนวโน้ม ค่าประมาณการของการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี ในแต่ละ
ประเทศ (ดูขอ้ มูลเพิม่ เติมจากรายการอ้างอิง)

60
วิธกี ารทีใ่ ช้โดยส่วนมากสาหรับข้อมูลพืน้ ฐานทีก่ ล่าวไปข้างต้นนัน้ ได้แก่

ทะเบียนราษฎร: อัตราการเสียชีวติ ของเด็กที่มอี ายุต่ ากว่า 5 ปี ได้มาจากตารางชีพแบบย่อของช่วงอายุต่าง ๆ ตาม


มาตรฐานที่นาการเสียชีวติ ในระดับอายุต่าง ๆ และจานวนประชากรกลางปี ทน่ี ับจากข้อมูลในทะเบียนราษฎร มาใช้ใน
การคานวณอัตราการเสียชีวติ จากนัน้ จึงค่อยแปลงกลับไปสู่ความน่าจะเป็ นของการเสียชีวติ ในระดับอายุต่าง ๆ อีกครัง้

การสารวจสามะโนประชากร: วิธีการทางอ้อมถูกนามาใช้บนฐานของประวัตกิ ารเกิดแบบย่อ ชุดคาถามจะถูก นามาใช้


สอบถามกับสตรีท่อี ยู่ในวัยเจริญพันธุ์ในเรื่องจานวนบุตรที่ถือกาเนิดและจานวนบุตรที่ยงั มีชวี ิตอยู่ จากนัน้ วิธแี บบ
Brass (the Brass method) และแบบจาลองตารางชีพ (model life tables) จะถูกนามาใช้เพื่อทาให้ได้มาซึง่ ค่าประมาณ
ของอัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิดและเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี การทาสามะโนประชากรมักจะมีคาถามเกี่ยวกับ
การเสียชีวติ ของสมาชิกในครัวเรือนในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมารวมอยู่ด้วย ซึ่งก็สามารถนามาใช้เป็ นส่วนหนึ่งในการ
คานวณประมาณการการเสียชีวติ ได้

การสารวจ: วิธกี ารทางตรงถูกนามาใช้เพื่อทราบประวัตกิ ารเกิดแบบเต็ม ซึง่ จะประกอบไปด้วยชุดคาถามอย่างละเอียด


เกีย่ วกับบุตรแต่ละคนทีถ่ อื กาเนิดมาในช่วงชีวติ ของมารดา ซึง่ การประมาณการการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี
ทารกแรกเกิด ทารกหลังคลอด ทารก และเด็ก จะมาจากหน่วยการสารวจข้อมูลประวัตกิ ารเกิดแบบเต็ม

การจาแนกข้อมูล:
การจาแนกข้อมูลโดยทัวไปส ่ าหรับตัวชี้วดั เรื่องการเสียชีวติ จะจาแนกตามเพศ อายุ (ทารกแรกเกิด ทารก และเด็ก)
ความมั ่งคั ่งของครัวเรือนแบ่งกลุ่มแบบควินไทล์ ทีอ่ ยู่อาศัย และการศึกษาของมารดา ข้อมูลที่มกี ารจาแนกไว้อาจไม่มี
เสมอไป สาหรับการทาสามะโนประชากรและการสารวจสามะโนประชากร พบว่าการจาแนกโดยใช้หลักพื้นที่ทาง
ภูมิศาสตร์มกั จะจัดทาในระดับภูมิภาค หรืออย่างต่ าที่สุดก็ในระดับจังหวัด ทะเบียนชีพที่จดั ระบบไว้เป็ นอย่างดีก็
สามารถให้ขอ้ มูลสาหรับการจาแนกแจกแจงในทางภูมศิ าสตร์ได้เช่นกัน

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ประมาณการของ UN IGME อยู่บนฐานของข้อมูลพื้นฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งข้อมูลเชิงประจักษ์เหล่านี้จะมาจากช่วงปี
อ้างอิงก่อนหน้าการสิน้ สุดของปี ทม่ี กี ารประมาณการ UN IGME จัดทาการประมาณการเมื่อสิน้ ปี สามัญ UN IGME ไม่
ใช้ตวั แปรร่วมใด ๆ มาเป็ นส่วนหนึ่งของการประมาณการ

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ค่าเฉลีย่ ระดับภูมภิ าคของอัตราการเสียชีวติ ถูกนามาใช้ เพื่อสรุปผลการประมาณการการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า
5 ปี ก่อนปี พ.ศ. 2533 ซึง่ พบว่ามีขอ้ มูลทีส่ ญ
ู หายและข้อมูลทีใ่ ห้น้าหนักโดยกลุ่มประชากรทีเ่ กี่ยวข้องในแต่ละปี

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ค่าประมาณการอัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิดในระดับภูมภิ าคและระดับโลกมาจากการรวบรวมข้อมูลจานวนการ
เสีย ชีวิต ในแต่ ล ะประเทศที่ ป ระมาณการโดยกลุ่ ม UN IGME และอัต ราการเกิด จากฝ่ ายประชากรขององค์ก าร

61
สหประชาชาติ (United Nations Population Division) บนฐานของวิธกี ารรวมกลุ่มสัปดาห์ทป่ี ระชากรเกิด (birth-week
cohort approach)

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ค่ า ประมาณการของ UN IGME บนฐานของข้อ มูล ระดับ ประเทศ ประเทศที่ใ ช้แ หล่ ง ข้อ มูล เพีย งแหล่ ง เดีย วเป็ น
ค่าประมาณการทางการหรือใช้ระเบียบวิธกี ารในการประมาณการทีแ่ ตกต่างไปจากของ UN IGME ความแตกต่างใน
ค่าประมาณการของ UN IGME และหน่วยงานรัฐในประเทศจะมีไม่มากนักถ้าข้อมูลเชิงประจักษ์มคี ุณภาพดี

ในหลายประเทศทีข่ าดแหล่งข้อมูลทีม่ คี ุณภาพสูงทีค่ รอบคลุมข้อมูลหลายทศวรรษ ข้อมูลจากแหล่งอื่ น ๆ ซึ่งมีวธิ กี าร


คานวณที่แตกต่างกัน จะถูกนามาใช้คานวณ และอาจสร้างความยุ่งยากจากการมีข้อผิดพลาดที่แตกต่างกัน เช่น
ข้อผิดพลาดแบบสุ่มที่พบในตัวอย่างการสารวจหรือข้อผิดพลาดเชิงระบบอันเนื่องมาจากการรายงานผลทีไ่ ม่ถูกต้อง
ดังนัน้ การสารวจทีแ่ ตกต่างกันจึงให้ค่าประมาณการการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี ในแต่ละช่วงทีแ่ ตกต่างกัน
และมักพบว่าข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมจากแหล่งต่าง ๆ นัน้ ไม่สอดคล้องกัน จึงเป็ น เรื่องสาคัญทีจ่ ะต้องวิเคราะห์ ปรับ และ
ประเมินผลแหล่งข้อมูลไปพร้อมกันในแต่ละประเทศด้วย การสารวจใหม่แต่ละตัวหรือจุดที่ เกิดข้อมูลจะต้องได้รบั
การศึก ษาในบริบ ทของแหล่ ง ข้อ มู ล ทัง้ หมด รวมทัง้ ข้อ มู ล ก่ อ นหน้ า นั น้ ด้ว ย ข้อ มู ล ที่ถู ก ท าให้ค ลาดเคลื่อ นโดย
ข้อผิดพลาดจากการสุ่มตัวอย่างหรือข้อผิดพลาดอื่น ๆ (เช่น การรายงานผลทีผ่ ดิ พลาดในเรื่องอายุและการรอดชีวติ
ทีม่ าจากความลาเอียงในการเลือก การไม่รายงานการเสียชีวติ ของเด็กก็เป็ นเรื่องทีพ่ บได้เป็ นประจาเช่นกัน) UN IGME
ประเมินคุณภาพของแหล่งข้อมูลพืน้ ฐานและจัดเรียงข้อมูลใหม่หากจาเป็ น นอกจากนัน้ ข้อมูลล่าสุดทีม่ าจากประเทศ
ต่าง ๆ มักจะไม่ใช่ ค่าประมาณการในปั จจุบนั แต่เป็ นข้อมูลที่อ้างอิงถึงช่วงก่อนหน้ า นัน้ ดังนัน้ UN IGME จะต้อง
ประเมินตามช่วงปี อา้ งอิงทีใ่ ช้ร่วมกัน UN IGME ได้พฒ ั นาวิธกี ารประมาณการทีเ่ ข้ากันได้กบั กราฟแนวโน้มเส้นโค้งเพื่อ
ใช้กบั ชุดข้อมูลทีเ่ ก็บได้และใช้ในการประมาณค่านอกช่วงแนวโน้ม ณ จุดเวลาทีก่ าหนด เพื่อปรับข้อมูลทีแ่ ตกต่างกันให้
เข้า กัน ได้แ ละค านึ ง ถึง ความลาเอีย งเชิง ระบบร่ ว มกับ การน าเข้า ข้อ มูลประเภทต่ า ง ๆ UN IGME มุ่ ง หวัง ที่จ ะลด
ข้อผิดพลาดของการประมาณการในแต่ละส่วน ประสานแนวโน้มในแต่ละช่วงเวลาและนาไปสู่การประมาณการการ
เสียชีวติ ของเด็กที่ทนั สมัยและผ่านการประเมินมาแล้วอย่างเหมาะสม หากชุดข้อมูลที่ยงั มีความผิดพลาดอยู่ มันจะมี
ความไม่แน่นอนอยู่รอบ ๆ ข้อมูลและค่าประมาณการเสมอ เพื่อให้ยงั สามารถพอเปรียบเทียบกันได้ UN IGME ได้ผลิต
ค่ า ประมาณการโดยกาหนดขอบเขตความไม่แน่ น อนเอาไว้ด้ว ย การใช้ร ะเบียบวิธีท่ีสอดคล้อ งกันยังช่ว ยให้การ
เปรียบเทียบข้อมูลระหว่างประเทศเป็ นไปได้ แม้ว่าข้อมูลนัน้ จะมีความแตกต่างกันในเรื่องประเภทและจานวนก็ตาม UN
IGME นาระเบียบวิธพี น้ื ฐานมาใช้ในประเทศต่าง ๆ โดยการใช้ขอ้ มูลเชิงประจักษ์จากแต่ละประเทศ และไม่รายงานการ
ค้นพบเฉพาะประเทศใดประเทศหนึ่งทีใ่ ช้ระเบียบวิธที แ่ี ตกต่างออกไป เพราะทาให้ไม่สามารถเปรียบเทียบการประมาณ
การระหว่างประเทศได้

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
ข้อมูลตัวแทนประมาณการการเสียชีวติ ของเด็กในระดับประเทศสามารถมาได้จากหลายแหล่ง ตลอดจนทะเบียนราษฎร
และการสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง ทัง้ นี้จะไม่รวมเอาข้อมูลจากโรงพยาบาลและพืน้ ทีเ่ ฝ้ าระวังด้านประชากรไว้เนื่องจากไม่
สามารถเป็ นตัวแทนของข้อมูลได้มากนัก แหล่งข้อมูลทีค่ ่อนข้างเป็ นทีต่ ้องการคือข้อมูลในระบบทะเบียนราษฎรทีม่ กี าร
บันทึกการเกิดและการเสียชีวติ ไว้อย่างต่อเนื่อง หากการลงทะเบียนมีความสมบูรณ์และระบบปฏิบตั งิ านทาหน้าทีไ่ ด้
อย่างมีประสิทธิภาพ ผลประมาณการทีไ่ ด้จะมีความน่ าเชื่อถือและทันสมัย อย่างไรก็ตาม พบว่าระบบทะเบียนชีพใน
หลายประเทศยังไม่มปี ระสิทธิภาพมากพอ ในกรณีดงั กล่าว การสารวจในระดับครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดชั นีแบบ

62
จัดกลุ่มทีส่ นับสนุ นโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติและการสารวจด้านสุขภาพและประชากรทีส่ นับสนุนโดย
องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐฯ และการสารวจสามะโนประชากรในช่วงต่าง ๆ กลายเป็ นแหล่งข้อมูล
ปฐมภูมดิ า้ นการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี การสารวจเหล่านี้จะถามสตรีเกี่ยวกับการรอดชีวติ ของลูก ๆ ของ
พวกเธอ และรายงานเหล่านี้ยงั ได้ให้ขอ้ มูลพืน้ ฐานเกี่ยวกับประมาณการการเสียชีวติ ของเด็ก โดยเฉพาะในประเทศทีม่ ี
รายได้น้อยและรายได้ปานกลางเป็ นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม มีการพบข้อผิดพลาดจากการสุ่มและข้อผิดพลาดอื่น ๆ ใน
ข้อมูลเหล่านี้บ่อยครัง้ ซึง่ โดยรวมแล้วก็อาจจะมีไม่น้อย

ทะเบียนราษฎร
ข้อมูลจากทะเบียนราษฎรถือเป็ นข้อมูลทีต่ อ้ งการสาหรับการประมาณการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด ทารกและเด็กทีม่ ี
อายุต่ากว่า 5 ปี การคานวณอัตราการเสียชีวติ ของทารกและเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี จากข้อมูลทะเบียนราษฎรทีไ่ ด้มา
จากตารางชีพแบบย่อของช่วงอายุต่าง ๆ ตามมาตรฐาน สาหรับข้อมูลทะเบียนราษฎร (ข้อมูลทีห่ าได้เกี่ยวกับจานวน
การเสีย ชีวิต และจ านวนประชากรกลางปี ) มีก ารวางโครงสร้า งของการสัง เกตการณ์ ร ายปี เ บื้อ งต้ น ส าหรับ การ
สังเกตการณ์ของปี อ่นื ๆ ในประเทศ

ข้อมูลสามะโนประชากรและการสารวจในระดับครัวเรือน
ข้อมูลการสารวจส่วนมากมาจากหนึ่งในสองแบบฟอร์ม แบบฟอร์มแรกคือการกรอกประวัตกิ ารเกิดแบบเต็ม (FBH) ที่
จะถามสตรีเกี่ยวกับวันเกิดของลูกแต่ละคนของเธอ สอบถามว่าเด็กแต่ละคนยังมีชีวติ อยู่หรือไม่ และให้ระบุอายุท่ี
เสียชีวติ ในกรณีทเ่ี สียชีวติ แล้ว อีกแบบฟอร์มหนึ่งคือการกอกประวัตกิ ารเกิดแบบย่อ (SBH) ทีจ่ ะถามสตรีเฉพาะจานวน
ลูกทีเ่ ธอให้กาเนิด และจานวนเด็กทีเ่ สียชีวติ (หรือจานวนเด็กทีย่ งั มีชวี ติ อยู่)

กระบวนการเก็บข้อมูล:
สาหรับการเสียชีวติ ของเด็กที่มอี ายุต่ ากว่า 5 ปี องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และ UN IGME จะรวบรวม
ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทีห่ าได้ รวมทัง้ การสารวจในรายครัวเรือน สามะโนประชากร ข้อมูลทะเบียนชีพ เป็ นต้น
โดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และ UN IGME จะรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทีส่ ามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ
และดาเนินการประเมินคุณภาพของข้อมูล UN IGME รวบรวมข้อมูลทะเบียนชีพที่รายงานโดยกระทรวงสาธารณสุข
หรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องอื่น ๆ เพื่อรายงานต่อไปยังองค์การอนามัยโลก

การจัดเรียบเรียงข้อมูลเชิงประจักษ์ทท่ี าขึน้ ในกลุ่มทีม่ คี วามชุกของผูป้ ่ วยติดเชือ้ HIV > 5% (high-HIV prevalence) จะ


ถูกนามาเรียบเรียงสาหรับการรายงานการเสียชีวติ ของเด็กที่มอี ายุต่ ากว่า 5 ปี อนั เนื่องมาจากการสูญเสียมารดาใน
ข้อ มูลการสารวจ ทาง UN IGME จะน าวิธีก าร curve fitting มาใช้กับ ข้อ มูลเชิง ประจัก ษ์ ด ัง กล่ า วเพื่อ ให้ไ ด้ม าซึ่ง
ค่าประมาณการแนวโน้มอัตราการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี ของ UN IGME ทัง้ นี้ UN IGME ได้จดั เรียบเรียง
การประมาณการการเสียชีวติ ในภาวะวิกฤตไว้ดว้ ย เนื่องจากเป็ นการยากทีก่ ารเสียชีวติ เนื่องจากภาวะวิกฤตจับข้อมูล
ในการสารวจรายครัวเรือนหรือข้อมูลสามะโนประชากร

จากนัน้ UN IGME จะจัดทาการปรึกษาหารือระดับประเทศประจาปี ขน้ึ เพื่อนาส่งค่าประมาณการของ UN IGME ข้อมูล


เชิงประจักษ์ทใ่ี ช้ในการคานวณค่าประมาณการของ UN IGME และรายละเอียดเกีย่ วกับระเบียบวิธไี ปยังสานักงานสถิติ
แห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุขหรือหน่ วยงานอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อรับทราบข้อเสนอแนะถึง ค่าประมาณการและข้อมูล
เชิง ประจัก ษ์ ท่ีผ ลิต โดย UN IGME จากนั น้ สานั ก งานสถิติแ ห่ ง ชาติ กระทรวงสาธารณสุ ข หรือ หน่ ว ยงานอื่น ๆ ที่

63
เกี่ยวข้องจะตรวจสอบค่าประมาณการและข้อมูลเชิงประจักษ์ ท่ผี ลิตโดย UN IGME แล้วจึง ส่งข้อเสนอและหรือข้อ
วิจารณ์ และบางครัง้ รวมถึงการให้ขอ้ มูลเชิงประจักษ์เพิม่ เติมแก่ UN IGME

UN IGME ได้พฒ
ั นาเว็บไซต์การเสียชีวติ ของเด็กขึน้ ที่ CME Info (www.childmortality.org) เพื่อเพิม่ ความโปร่งใสของ
กระบวนการประมาณการ ในเว็บไซต์จะให้ขอ้ มูลทีห่ าได้ทงั ้ หมดและแสดงข้อมูลการประมาณการในแต่ละประเทศ เมื่อ
ค่าประมาณการใหม่ถูกผลิตจนเสร็จสิน้ เว็บไซต์ CME Info จะอัพเดทเพื่อสะท้อนข้อมูลทีม่ ที งั ้ หมดและค่าประมาณการ
ใหม่

----------------------------------------------------------------------------------------

64
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.2: ยุติการตายที่ ป้องกันได้ของทารกแรกเกิ ดและเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี โดยทุกประเทศมุ่งลด
อัตราการเสียชีวิตในทารกลงให้ตา่ ถึง 12 รายต่อการเกิ ดมีชีพ 1,000 ราย และลดอัตราการเสียชีวิตในเด็กอายุ
ตา่ กว่า 5 ปี ลงให้ตา่ ถึง 25 รายต่อการเกิ ดมีชีพ 1,000 ราย ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 3.2.2: อัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิ ด

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nation Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
อัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิดแสดงถึงความน่าจะเป็ นทีเ่ ด็กเกิดในปี หนึ่ง ๆ หรือช่วงหนึ่ง ๆ จะเสียชีวติ ก่อนอายุ
ครบ 28 วันบริบูรณ์ โดยกาหนดให้การแสดงอัตราการตายแบบจาเพาะเจาะจงอายุของช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ในรูปอัตราส่วน
ต่อการกาเนิดมีชพี จานวน 1,000 ราย

การเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด (ทีเ่ สียชีวติ ในช่วง 28 วันแรกของชีวติ ) อาจจะถูกจาแนกย่อยไปเป็ นกลุ่มทารกแรกเกิดที่


เสียชีวติ ในช่วงเริม่ แรก ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างช่วง 7 วันแรกของชีวติ และกลุ่มทารกแรกเกิดที่เสียชีวติ ในระยะหลัง ซึ่ง
เกิดขึน้ หลัง 7 วันแรกแต่เสียชีวติ ก่อนครบ 28 วันบริบูรณ์

หลักการและเหตุผล:
อัตราการเสียชีวติ ในกลุ่มเด็กทีอ่ ายุน้อยเป็ นตัวชี้วดั ผลสัมฤทธิที์ ส่ าคัญสาหรับสุขภาพและความเป็ นอยู่ของเด็ก ทัง้ ยัง
หมายความกว้างไปถึงการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ อัตราการเสียชีวติ ของเด็ก ทารกได้รบั การจับตามองอย่าง
ใกล้ชดิ ในฐานะตัวชี้วดั ด้านสาธารณสุขทีส่ าคัญ เนื่องจากส่งผลไปยังการเข้าถึงบริการสุขภาพขัน้ พืน้ ฐานของเด็กและ
ชุมชน อาทิ การได้รบั วัคซีน การรักษาทางการแพทย์สาหรับโรคติดต่อ และการมีโภชนาการทีเ่ พียงพอ

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ค่าประมาณการทีไ่ ด้จากกลุ่มความร่วมมือระหว่างองค์กรขององค์การสหประชาชาติสาหรับการประมาณการเสียชีวติ ใน
เด็ก (The UN Inter-agency Group for Child Mortality Estimation: UN IGME) นัน้ ได้มาจากข้อมูลในระดับประเทศที่
ได้รบั จากการสารวจสามะโนประชากร หรือระบบทะเบียนชีพ กลุ่ม UN IGME จะไม่ใช้ตวั แปรร่วมใด ๆ มาใช้คานวณ
ค่าประมาณการ แต่จะนาอาวิธกี าร curve fitting method มาประยุกต์ใช้ขอ้ มูลเชิงประจักษ์ทม่ี คี ุณภาพ ทีท่ าให้เห็นถึง
แนวโน้มของค่าประมาณการหลังจากการประเมินคุณภาพของข้อมูลแล้ว ในหลาย ๆ กรณี การประเมินของ UN IGME
ใกล้เคียงกับข้อมูลพื้นฐาน กลุ่ม UN IGME มุ่งหวังในการลดความผิดพลาดจากการประเมินในแต่ละส่วน เพื่อทาให้
แนวโน้มประมาณการในช่วงเวลาต่าง ๆ มีความสอดคล้องกัน นาไปสู่การผลิตค่าประมาณการทีท่ นั สมัยและผ่านการ
ประเมิน มาแล้ว อย่ า งเหมาะสม UN IGME ผลิต ค่ า ประมาณการอัต ราการเสีย ชีวิต ของทารกแรกเกิด ด้ว ยการใช้
แบบจาลอง Bayesian spline regression ซึ่งสร้างแบบจาลองของอัตราของสัดส่วนการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด /
(อัตราการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ ากว่า 5 ปี – อัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด) ค่าประมาณการของอัตราการ

65
เสียชีวติ ของทารกแรกเกิดคานวณได้จากการนาค่าประมาณการทีเ่ ป็ นสัดส่วนกับอัตราการเสียชีวติ ของเด็กอายุต่ากว่า
5 ปี ทป่ี ระมาณการโดย UN IGME มาคานวณรวมใหม่ ดูขอ้ มูลเพิม่ เติมจากรายการอ้างอิง

วิธกี ารทีใ่ ช้โดยส่วนมากสาหรับข้อมูลพืน้ ฐานทีก่ ล่าวไปข้างต้นนัน้ ได้แก่


ทะเบียนราษฎร: จานวนเด็กที่เสียชีวติ ในช่วง 28 วันแรกของชีวติ และจานวนทารกที่ถอื กาเนิดจะถูกนามาใช้ในการ
คานวณหาอัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด

การสารวจสามะโนประชากร: สามะโนประชากรมักจะมีคาถามเกี่ยวกับการเสียชีวติ ของสมาชิกในครัวเรือนในรอบ 12


เดือนทีผ่ ่านมารวมอยู่ดว้ ย ซึง่ ก็สามารถนามาใช้เป็ นส่วนหนึ่งในการคานวณประมาณการการเสียชีวติ ได้

การสารวจ: ระเบียบวิธที างตรงถูกนามาใช้เพื่อทราบประวัตกิ ารเกิดแบบเต็ม ซึ่งจะประกอบไปด้วยชุ ดคาถามอย่าง


ละเอียดเกี่ยวกับบุตรแต่ละคนทีถ่ อื กาเนิดมาในช่วงชีวติ ของมารดา ซึ่งการประมาณการการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด
ทารกหลังคลอด ทารก และเด็ก จะมาจากรูปแบบการสารวจข้อมูลประวัตกิ ารเกิดแบบเต็ม

การจาแนกข้อมูล:
การจาแนกข้อมูลโดยทัวไปส ่ าหรับตัวชี้วดั เรื่องการเสียชีวติ จะจาแนกตามเพศ อายุ (ทารกแรกเกิด ทารก และเด็ก)
ความมั ่งคั ่งของครัวเรือนแบบควินไตล์ ทีอ่ ยู่อาศัย และการศึกษาของมารดา ซึ่งในบางครัง้ ก็ไม่สามารถค้นพบข้อมูลที่
จาแนกไว้ดงั กล่าวได้ สาหรับการทาสามะโนประชากรและการสารวจสามะโนประชากร พบว่าการจาแนกโดยใช้หลัก
พืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์มกั จะจัดทาในระดับภูมภิ าค หรืออย่างต่าทีส่ ุดก็ในระดับจังหวัด ทะเบียนชีพทีจ่ ดั ระบบไว้เป็ นอย่าง
ดีกส็ ามารถให้ขอ้ มูลสาหรับการจาแนกแจกแจงในทางภูมศิ าสตร์ได้เช่นกัน

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ค่าประมาณการของ UN IGME อยู่บนฐานของข้อมูลพืน้ ฐานเชิงประจักษ์ หากข้อมูลเชิงประจักษ์เหล่านี้จะมาจากช่วงปี
อ้า งอิง ก่ อ นหน้ า การสิ้น สุ ด ของปี ท่ีค่ า ประมาณการมีก ารรายงาน UN IGME จะท าการประมาณค่ า นอกช่ วงให้ได้
ค่าประมาณการเมื่อสิน้ ปี สามัญ UN IGME ไม่ใช้ตวั แปรร่วมใด ๆ มาเป็ นส่วนหนึ่งของการประมาณการ

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
เพื่อคานวณค่าประมาณการรวมของการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิดก่อนปี พ.ศ. 2533 ค่าเฉลี่ยระดับภูมภิ าคของอัตรา
การเสียชีวิตถูกนามาใช้สาหรับประเทศ-ปี ซ่ึง มีข้อมูลที่สูญหายและข้อมูลที่มีการถ่วงน้ าหนักโดยกลุ่มประชากรที่
เกีย่ วข้องในประเทศ-ปี

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ค่าประมาณการอัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิดในระดับภูมภิ าคและระดับโลกมาจากการรวบรวมข้อมูลจานวนการ
เสียชีวติ ในแต่ละประเทศที่ประเมินโดย UN IGME และอัตราการเกิดแต่ละประเทศจาก United Nations Population
Division (UNPD) บนฐานของวิธกี ารรวมกลุ่มสัปดาห์ทป่ี ระชากรเกิด (birth-week cohort approach)

66
สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ค่าประมาณการของ UN IGME อยู่บนฐานของข้อมูลระดับประเทศ ประเทศที่ใช้แหล่งข้อมูลเพียงแหล่งเดียวในการ
ประมาณการหรือ ใช้ร ะเบีย บวิธีก ารในการประมาณการที่แตกต่า งไปจากของ UN IGME ความแตกต่ า งระหว่าง
ค่าประมาณการของ UN IGME และหน่วยงานรัฐในประเทศจะมีไม่มากนักถ้าข้อมูลเชิงประจักษ์มคี ุณภาพดี

ในหลายประเทศทีข่ าดแหล่งข้อมูลทีม่ คี ุณภาพสูงทีค่ รอบคลุมข้อมูลหลายทศวรรษ ข้อมูลจากแหล่งอื่ น ๆ ซึ่งมีวธิ กี าร


คานวณที่แตกต่างกัน จะถูกนามาใช้คานวณ และอาจสร้างความยุ่งยากจากการมีข้อผิดพลาดที่แตกต่างกัน เช่น
ข้อผิดพลาดแบบสุ่มที่พบในตัวอย่างการสารวจหรือข้อผิดพลาดเชิงระบบอันเนื่องมาจากการรายงานผลทีไ่ ม่ถูกต้อง
ดังนัน้ การสารวจทีแ่ ตกต่างกันจึงให้ค่าประมาณการการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี ในแต่ละช่วงทีแ่ ตกต่างกัน
และมักพบว่าข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมจากแหล่งต่าง ๆ นัน้ ไม่สอดคล้องกัน จึงเป็ น เรื่องสาคัญทีจ่ ะต้องวิเคราะห์ ปรับ และ
ประเมินผลแหล่งข้อมูลไปพร้อมกันในแต่ละประเทศด้วย การสารวจใหม่แต่ละตัวหรือจุ ดที่เกิดข้อมูลจะต้องได้รบั
การศึก ษาในบริบ ทของแหล่ ง ข้อ มู ล ทัง้ หมด รวมทัง้ ข้อ มู ล ก่ อ นหน้ า นั น้ ด้ว ย ข้อ มู ล ที่ถู ก ท าให้ค ลาดเคลื่อ นโดย
ข้อผิดพลาดจากการสุ่มตัวอย่างหรือข้อผิดพลาดอื่น ๆ (เช่น การรายงานผลทีผ่ ดิ พลาดในเรื่องอายุและการรอดชีวติ
ทีม่ าจากความลาเอียงในการเลือก การไม่รายงานการเสียชีวติ ของเด็กก็เป็ นเรื่องทีพ่ บได้เป็ นประจาเช่นกัน) UN IGME
ประเมินคุณภาพของแหล่งข้อมูลพืน้ ฐานและจัดเรียงข้อมูลใหม่หากจาเป็ น นอกจากนัน้ ข้อมูลล่าสุดทีม่ าจากประเทศ
ต่าง ๆ มักจะไม่ใช่ ค่าประมาณการในปั จจุบนั แต่เป็ นข้อมูลที่อ้างอิงถึงช่วงก่อนหน้ านัน้ ดังนัน้ UN IGME จะต้อง
ประเมินตามช่วงปี อา้ งอิงทีใ่ ช้ร่วมกัน UN IGME ได้พฒ ั นาวิธกี ารประมาณการทีเ่ ข้ากันได้กบั กราฟแนวโน้มเส้นโค้งเพื่อ
ใช้กบั ชุดข้อมูลทีเ่ ก็บได้และใช้ในการประมาณค่านอกช่วงแนวโน้ม ณ จุดเวลาทีก่ าหนด เพื่อปรับข้อมูลทีแ่ ตกต่างกันให้
เข้า กัน ได้แ ละค านึ ง ถึง ความลาเอีย งเชิง ระบบร่ ว มกับ การน าเข้า ข้อ มูลประเภทต่ า ง ๆ UN IGME มุ่ ง หวัง ที่จ ะลด
ข้อผิดพลาดของการประมาณการในแต่ละส่วน ประสานแนวโน้มในแต่ละช่วงเวลาและนาไปสู่การประมาณการการ
เสียชีวติ ของเด็กที่ทนั สมัยและผ่านการประเมินมาแล้วอย่างเหมาะสม หากชุดข้อมูลที่ยงั มีความผิดพลาดอยู่ มันจะมี
ความไม่แน่นอนอยู่รอบ ๆ ข้อมูลและค่าประมาณการเสมอ เพื่อให้ยงั สามารถพอเปรียบเทียบกันได้ UN IGME ได้ผลิต
ค่ า ประมาณการโดยกาหนดขอบเขตความไม่แน่ น อนเอาไว้ด้ว ย การใช้ร ะเบียบวิธีท่ีสอดคล้อ งกันยังช่ว ยให้การ
เปรียบเทียบข้อมูลระหว่างประเทศเป็ นไปได้ แม้ว่าข้อมูลนัน้ จะมีความแตกต่างกันในเรื่องประเภทและจานวนก็ตาม UN
IGME นาระเบียบวิธพี น้ื ฐานมาใช้ในประเทศต่าง ๆ โดยการใช้ขอ้ มูลเชิงประจักษ์จากแต่ละประเทศ และไม่รายงานการ
ค้นพบเฉพาะประเทศใดประเทศหนึ่งทีใ่ ช้ระเบียบวิธที แ่ี ตกต่างออกไป เพราะทาให้ไม่สามารถเปรียบเทียบการประมาณ
การระหว่างประเทศได้

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
ข้อมูลตัวแทนประมาณการการเสียชีวติ ของเด็กในระดับประเทศสามารถมาได้จากหลายแหล่ง ตลอดจนทะเบียนราษฎร
และการสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง ทัง้ นี้จะไม่รวมเอาข้อมูลจากโรงพยาบาลและพืน้ ทีเ่ ฝ้ าระวังด้านประชากรไว้เนื่องจากไม่
สามารถเป็ นตัวแทนของข้อมูลได้มากนัก แหล่งข้อมูลทีค่ ่อนข้างเป็ นทีต่ ้องการคือข้อมูลในระบบทะเบียนราษฎรทีม่ กี าร
บันทึกการเกิดและการเสียชีวติ ไว้อย่างต่อเนื่อง หากการลงทะเบียนมีความสมบูรณ์และระบบปฏิบตั งิ านทาหน้าทีไ่ ด้
อย่างมีประสิทธิภาพ ผลประมาณการทีไ่ ด้จะมีความน่ าเชื่อถือและทันสมัย อย่างไรก็ตาม พบว่าระบบทะเบียนชีพ ใน
หลายประเทศยังไม่มปี ระสิทธิภาพมากพอ ในกรณีดงั กล่าว การสารวจในระดับครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดชั นีแบบ
จัดกลุ่มทีส่ นับสนุ นโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติและการสารวจด้านสุขภาพและประชากรทีส่ นับสนุนโดย
องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐฯ และการสารวจสามะโนประชากรในช่วงต่าง ๆ กลายเป็ นแหล่งข้อมูล
ปฐมภูมดิ า้ นการเสียชีวติ ของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี และอัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด การสารวจเหล่านี้จะถาม

67
สตรีเกี่ยวกับการรอดชีวติ ของลูก ๆ ของพวกเธอ และรายงานเหล่านี้ยงั ได้ให้ขอ้ มูลพืน้ ฐานเกี่ยวกับประมาณการการ
เสียชีวิตของเด็ก โดยเฉพาะในประเทศที่มรี ายได้น้อยและรายได้ปานกลางเป็ นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม มีการพบ
ข้อผิดพลาดจากการสุ่มและข้อผิดพลาดอื่น ๆ ในข้อมูลเหล่านี้บ่อยครัง้ ซึง่ โดยรวมแล้วก็อาจจะมีไม่น้อย

ทะเบียนราษฎร
ข้อมูลจากทะเบียนราษฎรถือเป็ นข้อมูลทีต่ อ้ งการสาหรับการประมาณการการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิด ทารกและเด็ก
ทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี การคานวณอัตราการเสียชีวติ ของทารกแรกเกิดอยู่บนฐานของจานวนการเสียชีวติ ของทารกแรก
เกิดและจานวนการถือกาเนิดในช่วงต่าง ๆ สาหรับข้อมูลทะเบียนราษฎร (ข้อมูลที่หาได้เกี่ยวกับจานวนการเสียชีวติ
และจานวนประชากรกลางปี ) มีการวางโครงสร้างของการสังเกตการณ์รายปี เบือ้ งต้นสาหรับการสังเกตการณ์ของปี อ่นื
ๆ ในประเทศ

ข้อมูลสามะโนประชากรและการสารวจระดับครัวเรือน
ข้อมูลการสารวจส่วนมากมาจากประวัตกิ ารเกิดแบบเต็ม (Full Birth History FBH) ทีจ่ ะถามสตรีเกีย่ วกับวันเกิดของลูก
แต่ละคนของเธอ สอบถามว่าเด็กแต่ละคนยังมีชวี ติ อยู่หรือไม่ และให้ระบุอายุทเ่ี สียชีวติ ในกรณีทเ่ี สียชีวติ แล้ว

กระบวนการเก็บข้อมูล:
สาหรับการเสียชีวติ ของเด็กที่มอี ายุต่ ากว่า 5 ปี องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และ UN IGME จะรวบรวม
ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทีห่ าได้ รวมทัง้ การสารวจในรายครัวเรือน สามะโนประชากร ข้อมูลทะเบียนชีพ เป็ นต้น
โดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และ UN IGME จะรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทีส่ ามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ
และดาเนินการประเมินคุณภาพของข้อมูล UN IGME รวบรวมข้อมูลทะเบียนชีพที่รายงานโดยกระทรวงสาธารณสุข
หรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องอื่น ๆ เพื่อรายงานต่อไปยังองค์การอนามัยโลก

การจัดเรียบเรียงข้อมูลเชิงประจักษ์ทท่ี าขึน้ ในกลุ่มทีม่ คี วามชุกของผูป้ ่ วยติดเชือ้ HIV สูง จะถูกนามาเรียบเรียงสาหรับ


การรายงานการเสียชีวติ ของเด็กอันเนื่องมาจากการสูญเสียมารดาในข้อมูลการสารวจ ทาง UN IGME จะนาวิธกี าร
curve fitting มาใช้กบั ข้อมูลเชิงประจักษ์ดงั กล่าวเพื่อ ให้ได้มาซึ่งค่าประมาณการแนวโน้มอัตราการเสียชีวติ ของเด็ก
ทารกแรกเกิด ทัง้ นี้ UN IGME ได้จดั เรียบเรียงการประมาณการการเสียชีวติ ในภาวะวิกฤตไว้ดว้ ย เนื่องจากเป็ นการ
ยากทีก่ ารเสียชีวติ เนื่องจากภาวะวิกฤตจับข้อมูลในการสารวจรายครัวเรือนหรือข้อมูลสามะโนประชากร

จากนัน้ UN IGME จะจัดทาการปรึกษาหารือระดับประเทศประจาปี ขน้ึ เพื่อนาส่งค่าประมาณการของ UN IGME ข้อมูล


เชิงประจักษ์ทใ่ี ช้ในการคานวณค่าประมาณการของ UN IGME และรายละเอียดเกีย่ วกับระเบียบวิธไี ปยังสานักงานสถิติ
แห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุขหรือหน่ วยงานอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อรับทราบข้อเสนอแนะถึง ค่าประมาณการและข้อมูล
เชิง ประจัก ษ์ ท่ีผ ลิต โดย UN IGME จากนั น้ สานั ก งานสถิติแ ห่ ง ชาติ กระทรวงสาธารณสุ ข หรือ หน่ ว ยงานอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้องจะตรวจสอบค่าประมาณการและข้อมูลเชิงประจักษ์ ท่ผี ลิตโดย UN IGME แล้วจึง ส่งข้อเสนอและหรือข้อ
วิจารณ์ และบางครัง้ รวมถึงการให้ขอ้ มูลเชิงประจักษ์เพิม่ เติมแก่ UN IGME
UN IGME ได้พฒ ั นาเว็บไซต์การเสียชีวติ ของเด็กขึน้ ที่ CME Info (www.childmortality.org) เพื่อเพิม่ ความโปร่งใสของ
กระบวนการประมาณการ ในเว็บไซต์จะให้ขอ้ มูลทีห่ าได้ทงั ้ หมดและแสดงข้อมูลการประมาณการในแต่ละประเทศ เมื่อ
ค่าประมาณการใหม่ถูกผลิตจนเสร็จสิน้ เว็บไซต์ CME Info จะอัพเดทเพื่อสะท้อนข้อมูลทีม่ ที งั ้ หมดและค่าประมาณการ
ใหม่
---------------------------------------------------------------------------------------

68
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.3: ยุติการแพร่กระจายของเอดส์ วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตร้อนที่ถกู ละเลย และต่อสู้กบั โรค
ตับอักเสบ โรคติ ดต่อทางน้า และโรคติ ดต่ออื่นๆ ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 3.3.1: จานวนผู้ติดเชื้อ HIV รายใหม่ต่อประชากรที่ ไม่ติดเชื้อ 1,000 คน จาแนกตาม เพศ อายุ และ
ประชากรหลัก

ข้อมูลเชิ งสถาบัน:
องค์กร: โครงการเอดส์แห่งสหประชาชาติ (UNAIDS)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
จานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ต่อจานวนประชากรทีไ่ ม่ตดิ เชื้อ 1,000 ราย จาแนกตามเพศ อายุและกลุ่มประชากร
หลักหมายถึงจานวนผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวีรายใหม่ต่อจานวนประชากรทีไ่ ม่ตดิ เชือ้ จานวน 1,000 รายในเวลา 1 ปี

หลักการและเหตุผล:
อัตราการเกิดของโรคใช้เป็ นมาตรวัดความก้าวหน้าในการป้ องกันการแพร่ระบาดของเชือ้ เอชไอวีในอนาคตได้

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ข้อมูลระยะยาวของบุคคลนับเป็ นแหล่งข้อมูลทีด่ ที ่สี ุด แต่กน็ ับว่าเป็ นข้อมูลทีห่ าได้ไม่ง่ายนักในกลุ่มประชากรจานวน
มาก การทดสอบข้อวินิจฉัยด้วยวิธพี เิ ศษอื่น ๆ ในการสารวจหรือจากสถานให้บริการด้านสุขภาพสามารถนามาใช้
เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราการเกิดของเชื้อเอชไอวีได้ ดังนัน้ อัตราการเกิดขึ้นของเอชไอวีสามารถถูกสร้างเป็ น
แบบจาลองได้โดยการใช้ซอฟท์แวร์ช่อื Spectrum

การจาแนกข้อมูล:
ประชากรทัวไป
่ กลุ่มอายุ (0-14 ปี , 15-24 ปี , 15-49 ปี และ 50 ปี ขน้ึ ไป) เพศ (ชาย หญิง อื่น ๆ)

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
จะไม่มกี ารจัดเก็บค่าประมาณการจากกลุ่มประเทศทีม่ ปี ระชากรน้อยกว่า 250,000 ราย นอกจากนี้ยงั ไม่มีค่าประมาณ
การใน 10 ประเทศทีม่ กี ารแพร่ระบาดของเชือ้ เอชไอวีในระดับต่าอีกด้วย เนื่องจากไม่มกี ารผลิตค่าประมาณการออกมา
สาหรับบางประเทศ ค่าประมาณการยังไม่ได้ขอ้ สรุปสุดท้ายในช่วงเวลาทีม่ กี ารตีพมิ พ์เผยแพร่ ทาให้ประเทศเหล่านัน้ ไม่
มีค่าประมาณการนาเสนออยู่ในการเผยแพร่

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ประเทศที่มีประชากรน้ อยกว่า 250,000 คน และ 10 ประเทศที่ไม่มีการจัดทาค่าประมาณการจะไม่รวมอยู่ในการ
ประมาณการระดับภูมภิ าคและระดับโลก สาหรับประเทศทีย่ งั ไม่มกี ารสรุปผลค่าประมาณการ ณ เวลาทีต่ พี มิ พ์เผยแพร่

69
ค่าประมาณการอย่างไม่เป็ นทางการที่ดที ่สี ุดจะถูกนามารวมเข้ามาเป็ นส่วนหนึ่งของข้อมูลในระดับภูมภิ าคและระดับ
โลกแทน

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ผลรวมค่าประมาณการต่อไปนี้มอี ยู่และใช้ได้ ได้แก่ ผลรวมค่าประมาณการระดับ โลก ผลรวมค่าประมาณการจาแนก
ตามการจัดกลุ่มการพัฒนาอย่างยั ่งยืนในระดับภูมภิ าค ผลรวมค่าประมาณการจาแนกตามกลุ่มประเทศพัฒนาน้อยทีส่ ุด
(Least Developed Countries: LDCs) กลุ่ ม ประเทศก าลัง พัฒ นาที่ไ ม่ มีท างออกติด ทะเล (Landlocked Developing
Countries: LLDCs) และ กลุ่มประเทศกาลังพัฒนาทีเ่ ป็ นหมู่เกาะขนาดเล็ก (Small Island Developing States: SIDS)

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ความคลาดเคลื่อนจะแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ

วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
คาอธิบายของระเบียบวิธหี าได้จาก
http://www.unaids.org/sites/default/files/media_asset/Estimates_methods_2018.pdf

ประเทศต่าง ๆ จะมีก ารจัด การอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพในการใช้ระเบียบวิธีต่าง ๆ ทุ ก ๆ 2 ปี นอกจากนี้ยงั มี


ผูเ้ ชีย่ วชาญทีค่ อยให้การสนับสนุนในอีก 45 ประเทศ ซึง่ ประเทศทีไ่ ม่มผี เู้ ชีย่ วชาญในพืน้ ทีก่ ส็ ามารถเข้าถึงการสนับสนุน
ทางไกล ได้ตามคาแนะนาทีห่ าได้จาก http://www.unaids.org/en/dataanalysis/datatools/spectrum-epp
และ www.avenirhealth.org

การควบคุมคุณภาพ:
http://www.unaids.org/sites/default/files/media_asset/Estimates_methods_2018.pdf

ประเทศต่าง ๆ จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาค่าประมาณการอย่างเต็มที่ ค่าสุดท้ายจะถูกทบทวนโดยโครงการเอดส์แห่ง


สหประชาชาติ และอนุมตั โิ ดยเจ้าหน้าทีอ่ าวุโสของกระทรวงสาธารณสุขในแต่ละประเทศ

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การสร้างแบบจาลอง Spectrum การสารวจกลุ่มประชากรหลักหรือการสารวจรายครัวเรือนด้านการทดสอบอัตราการ
เกิดของเชือ้ เอชไอวี

แหล่งข้อมูลอื่น ๆ ทีอ่ าจเป็ นไปได้: ระบบการเฝ้ าระวังประจาในกลุ่มประชากรหลัก

กระบวนการรวบรวมข้อมูล:
คณะทางานประเทศต่าง ๆ ใช้ซอฟต์แวร์ท่ไี ด้รบั การสนับสนุ นโดยโครงการเอดส์แห่งสหประชาชาติเพื่อจัดทาการ
ประมาณการประจาปี ซึ่งโดยทัวไปแล้
่ ว คณะทางานนี้ประกอบด้วยนักระบาดวิทยา นักประชากรศาสตร์ ผูเ้ ชีย่ วชาญ
ด้านการติดตามและประเมินผล ตลอดจนภาคีดา้ นเทคนิค

70
ซอฟต์ แ วร์ ท่ี ใ ช้ ใ นการจั ด ท าการประมาณการนี้ มี ช่ื อ ว่ า Spectrum ที่ ไ ด้ ร ั บ การพั ฒ นาโดย Avenir Health
(www.avenirhealth.org) และรายการการประมาณการและการฉายภาพที่ได้รบั การพัฒนาโดย East-West Center
(www.eastwestcenter.org) ซึ่งกลุ่มอ้างอิงด้านการประมาณการ การวางแบบจาลอง และการฉายภาพ ของโครงการ
เอดส์แห่งสหประชาชาติ ได้ให้คาแนะนาทางเทคนิคเกีย่ วกับการพัฒนาองค์ประกอบด้านเอชไอวีของซอฟต์แวร์ไว้ดว้ ย
(www.epidem.org)

----------------------------------------------------------------------------------------

71
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.3: ยุติการแพร่กระจายของเอดส์ วัณโรค มาลาเรีย และโรคเขตร้อนที่ถกู ละเลย และต่อสู้กบั โรค
ตับอักเสบ โรคติ ดต่อทางน้า และโรคติ ดต่ออื่น ๆ ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 3.3.3: อัตราการเกิ ดโรคมาลาเรียต่อประชากร 1,000 คน

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร โครงการมาลาเรีย โลกแห่ ง องค์ ก ารอนามัย โลก (Global Malaria Programme at World Health
Organization: WHO)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
อุบตั กิ ารณ์ของการเกิดโรคมาลาเรียหมายถึงจานวนของผูต้ ดิ เชือ้ รายใหม่ต่อประชากรกลุ่มเสีย่ ง 1,000 รายในแต่ละปี

หลักการและเหตุผล:
เพื่อวัดแนวโน้มของโรคมาลาเรียและเพื่อระบุพน้ื ทีท่ เ่ี สีย่ งต่อการเกิดโรคมากทีส่ ุด ข้อมูลดังกล่าวจะทาให้ทางโครงการฯ
สามารถตอบสนองต่อแนวโน้ มที่ผิดปกติ ได้ เช่น การแพร่ระบาด และจัดสรรทรัพยากรให้กลุ่มประชากรที่มคี วาม
ต้องการมากที่สุด ข้อมูลเหล่านี้ยงั ถูกนามาใช้ในการจัดสรรทรัพยากรสาหรับโรคมาลาเรียในระดับโลก เช่น เมื่อต้อง
กาหนดนิยามคุณสมบัตสิ าหรับการมีสทิ ธิรบั เงินจากกองทุนโลก (Global Fund) เป็ นต้น

แนวคิ ด:
กรณีการติดเชื้อโรคมาลาเรีย หมายถึง การพบการติดเชื้อมาลาเรียในบุคคลทีต่ รวจพบว่ามีปรสิตมาลาเรียอยู่ในเลือด
และทีไ่ ด้รบั การยืนยันโดยการวินิจฉัยทางการแพทย์ ประชากรกลุ่มนี้ถูกจัดเป็ นประชากรกลุ่มเสีย่ งของโรค

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
อัตราการเกิดของโรคโดยประมาณการอาจมีความแตกต่างไปจากอัตราการเกิดทีร่ ายงานโดยกระทรวงสาธารณสุข ซึ่ง
อาจเกิดจากปั จจัย ดังนี้
• ความครบถ้วนของการรายงาน: จานวนผูต้ ดิ เชือ้ ทีร่ ายงานสามารถต่ากว่าจานวนผูต้ ดิ เชือ้ ประมาณการถ้าหาก
จานวนร้อยละของสถานบริการด้านสุขภาพทีร่ ายงานในเดือนนัน้ ต่ากว่าร้อยละ 100
• ขอบเขตของการตรวจวินิจฉัยโรคมาลาเรีย (จานวนฟิ ล์มเลือดที่ตรวจสอบหรือชุ ดตรวจหาเชื้อมาลาเรีย
สาเร็จรูป)
• การเข้ารับบริการจากสถานบริการด้านสุขภาพของเอกชนทีม่ กั จะไม่ได้รวมอยู่ในระบบการรายงาน
• ตัวชีว้ ดั ทีถ่ ูกประมาณการเฉพาะในบริเวณทีพ่ บการแพร่ระบาดของเชือ้ มาลาเรีย

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
อุบตั ิการณ์ ของการเกิดโรคมาลาเรีย (1) แสดงถึงจานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ต่อประชากร 100,000 รายต่อปี โดยใช้
ประชากรของแต่ละประเทศที่คาดการณ์ โดย ฝ่ ายประชากรขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Population
Division: UNPD) และจานวนอัตราส่วนของประชากรกลุ่มเสีย่ งทัง้ หมดทีป่ ระมาณการโดยโครงการควบคุมมาลาเรียง

72
ชาติในแต่ละประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทีป่ ระเทศต่าง ๆ ประมาณการอัตราส่วนของประชากรทีม่ คี วามเสีย่ งสูง (H)
และความเสีย่ งต่า (L) และจานวนประชากรทัง้ หมดทีม่ คี วามเสีย่ งตามสูตร จานวนประชากรขององค์การสหประชาชาติ
x (H + L)

จานวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ทงั ้ หมด (T) จะถูกประมาณการจากจานวนของผู้ติดเชื้อมาลาเรียที่รายงานโดยกระทรวง


สาธารณสุขซึ่งจะนามาจัดเรียบเรียงโดยพิจารณาถึง (i) ความไม่สมบูรณ์ ของระบบการรายงาน (ii) ผู้ป่วยที่เข้ารับ
บริการจากสถานบริการด้านสุขภาพของเอกชน การรักษาด้วยตนเองหรือการไม่เข้ารับการรักษา (iii) การวินิจฉัยเกิน
และขาดการยืนยันผู้ตดิ เชื้อโดยห้องปฏิบตั กิ าร กระบวนการทีไ่ ด้อธิบายไว้ในรายงานมาลาเรียโลก ปี พ.ศ. 2552 (2)
รวมข้อมูลที่รายงานโดยโครงการควบคุมมาลาเรียแห่งชาติ (ผู้ติดเชื้อที่ได้รบั การรายงาน ความคร บถ้วนของการ
รายงาน และความเป็ นไปได้ของการมีเชื้อโรคอยู่ในร่างกาย) และข้อมูลที่ได้รบั จากการสารวจรายครัวเรือนที่เป็ น
ตัวแทนระดับประเทศเกีย่ วกับการใช้บริการด้านสุขภาพ ตามสูตรโดยสังเขป ดังนี้

1−𝑔−ℎ
𝑐×𝑒 ℎ 2
𝑇 = (𝑎 + ) × (1 + + )
𝑑 𝑔 𝑔

โดยให้
a หมายถึง จานวนผูต้ ดิ เชือ้ มาลาเรียทีไ่ ด้รบั การยืนยันจากภาครัฐ
b หมายถึง จานวนผูป้ ่ วยทีร่ บั การทดสอบการติดเชือ้ ในกรณีทน่ี ่าสงสัย
c หมายถึง จานวนผูป้ ่ วยทีส่ นั นิษฐานว่าได้รบั เชือ้ (ไม่มกี ารทดสอบแต่ให้การรักษาเสมือนผูต้ ดิ เชือ้ มาลาเรีย)
d หมายถึง ความสมบูรณ์ของรายงาน
e หมายถึง การทดสอบทีพ่ บเชือ้ มาลาเรียในเลือด (สัดส่วนของเชือ้ มาลาเรียทีพ่ บ) = a/b
f หมายถึง จานวนผูต้ ดิ เชือ้ ทีพ่ บในภาครัฐ คานวณโดยสูตร (a + (c x e)) / d
g หมายถึง สัดส่วนการเข้ารับการรักษาทีพ่ บในภาครัฐ
h หมายถึง สัดส่วนการเข้ารับการรักษาทีพ่ บในภาคเอกชน
i หมายถึง สัดส่วนของการไม่เข้ารับการรักษา คานวณโดยสูตร (1-g-h) / 2
j หมายถึง จานวนผูต้ ดิ เชือ้ ทีอ่ ยู่ในภาคเอกชน คานวณโดยสูตร f x h / g
k หมายถึง จานวนผูต้ ดิ เชือ้ ทีไ่ ม่อยู่ทงั ้ ในภาครัฐและภาคเอกชน คานวณโดยสูตร f x i / g
T หมายถึง จานวนผูต้ ดิ เชือ้ ทัง้ หมด คานวณโดยสูตร f + j + k

เพื่อประมาณการความไม่แน่ นอนรอบ ๆ จานวนของกรณีผู้ติดเชื้อ อัตราการทดสอบและพบเชื้อมาลาเรียถูกตัง้ ข้อ


สมมติว่าจะมีการกระจายที่แบบปกติ โดยมีจุดกึ่งกลางอยู่ท่คี ่า Test Positive Rate และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่
คานวณได้ตามสูตร คือ0.244 × 𝑇𝑒𝑠𝑡 𝑝𝑜𝑠𝑖𝑡𝑖𝑣𝑒 𝑟𝑎𝑡𝑒 0.5547 และผลทีต่ ดั ทอนแล้วให้อยู่ในช่วง 0, 1 ความสมบูรณ์
ของรายงานมีสมมติฐานว่ามีหนึ่งในสามแบบของการกระจายตัวของข้อมูลขึน้ กับช่วงและค่าทีถ่ ูกรายงานโดย โครงการ
ควบคุมมาลาเรียแห่งชาติของแต่ละประเทศ หากช่วงนัน้ มากกว่าร้อยละ 80 จะมีขอ้ สมมติว่าการกระจายตัวจะเป็ น
สามเหลี่ยมโดยมีช่วง limits คือ 0.8 และ 1 และมีจุดสูงสุดที่ 0.8 หากช่วงนัน้ มากกว่าร้อยละ 50 จะมีขอ้ สมมติว่าการ
กระจายตัวจะมีลกั ษณะเป็ นสีเ่ หลี่ยมผืนผ้าโดยมีช่วง limits เท่ากับ 0.5 และ 0.8 และท้ายทีส่ ุด หากช่วงนัน้ ต่ากว่าร้อย
ละ 50 จะมีขอ้ สมมติว่าการกระจายตัวจะมีลกั ษณะเป็ นสามเหลี่ยมโดยมีช่วง limits เท่ากับ 0 และ 0.5 และมีจุดสูงสุดที่
0.5 (3). หากความสมบูรณ์ของรายงานถูกรายงานเป็ นมูลค่าและมากกว่าร้อยละ 80 การกระจายตัวแบบ beta จะถูกตัง้

73
ข้อสมมติดว้ ยค่าเฉลี่ยของค่าทีถ่ ูกรายงาน (มีค่าสูงสุดเท่ากับร้อยละ 95) และมีช่วงความเชื่อมั ่นเท่ากับร้อยละ 5 รอบ
ค่าเฉลีย่ สัดส่วนของเด็กทีไ่ ด้รบั การดูแลโดยภาคเอกชนและภาครัฐถูกตัง้ ข้อสมมติว่าจะมีการกระจายตัวแบบ beta โดย
มีค่าเฉลี่ยเป็ นค่าถูกประมาณการในการสารวจและในส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคานวนจากช่วงของความเชื่อมั ่นทีถ่ ูก
ประมาณการคิดเป็ นร้อยละ 95 หารด้วย 4 สัดส่วนของเด็กทีไ่ ม่ได้รบั การรักษาถูกตัง้ สมมติฐานให้มกี ารกระจายแบบ
สีเ่ หลีย่ มผืนผ้า โดย limit ขัน้ ต่าคือ 0 และ limit ขึน้ สูงคือ 1 ลบสัดส่วนทีห่ าการรักษาจากภาครัฐและเอกชน

ค่าของสัดส่วนการเข้ารับการรักษาจะถูก ประมาณค่าแบบช่วงเส้นตรงระหว่างปี ทท่ี าการสารวจ และถูกนามาคาดคะเน


สาหรับปี ก่อนหน้าปี แรกและหลังจากปี สุดท้ายของการสารวจ ค่าที่ใช้ในการหาการกระจายตัวข้อมูลที่หายไปจะถูก
ประมาณค่าสูญหายโดยใช้การผสมผสานผลการกระจายในแต่ละประเทศ กับ ความน่ าจะเป็ นที่เท่ากันในแต่ละปี ท่ี
นาเสนอค่า หรือในกรณีทบ่ี างประเทศไม่มกี ารนาเสนอค่าใด ๆ ในปี ใดปี หนึ่ง ข้อมูลการกระจายระดับภูมภิ าคในปี นนั ้ จะ
ถูกใช้แทน ข้อมูลทีไ่ ด้รบั จะถูกวิเคราะห์โดย ซอฟท์แวร์ทางสถิติ R (4) ช่วงความเชื่อมั ่นทีม่ าจากการกระจายทีม่ คี วาม
ซับซ้อน (Convoluted distribution) กว่า 10,000 รายการ (อัฟกานิสถาน บังคลาเทศ (รัฐพหุชนแห่งชาติ) โบลิเวีย บอ
สวาน่า บราซิล กัมพูชา โคลัมเบีย สาธารณรัฐโดมินิกนั เอริเทรีย เอธิโอเปี ย เฟรนซ์เกียน่า แกมเบีย กัวเตมาลา กายอา
น่ า ไฮติ ฮอนดูรสั อินเดีย อินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาดากัสกา มอริเตเนีย มายอด เมียน
มาร์ นามิเบีย เนปาล นิคารากัว ปากีส ถาน ปานามา ปาปั วนิวกีนี เปรู ฟิ ลปิ ปิ นส์ รวันดา เซเนกัล หมู่เกาะโซโลมอน
ติมอร์ตะวันออก วานูอาตู เวเนซูเอล่า (สาธารณรัฐโบลิวาร์) เวียดนาม เยเมน และ แซมเบีย) สาหรับอินเดีย ค่าทีไ่ ด้
รับมาจากระดับท้องถิน่ ซึง่ ใช้ระเบียบวิธเี ดียวกัน แต่มกี ารจัดหน่วยงานของเอกชนไว้สาหรับปั จจัยเพิม่ เติมทีม่ าจากการ
ตรวจพบผูต้ ดิ เชือ้ ซึง่ ประมาณการให้อตั ราส่วนของการตรวจพบเชือ้ โรคในเลือดในผูต้ ดิ เชือ้ รายใหม่มมี ากกว่าเชือ้ ที่พบ
ในผูต้ ดิ เชือ้ รายเดิม ปั จจัยนี้อนุมานให้มกี ารกระจายตัวแบบปกติ ด้วยค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานทีค่ านวณจาก
ค่ า ที่ร ายงานในปี พ .ศ. 2553 รายงานจากประเทศบัง คลาเทศ โบลิเ วีย บอสวาน่ า บราซิล การ์บู เ วดี โคลัม เบีย
สาธารณรัฐโดมินิกนั เฟรนซ์เกียน่า กัวเตมาลา กายอาน่า ไฮติ ฮอนดูรสั เมียนมาร์ (ตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2556) รวันดา ซูรนิ าม
และ เวเนซูเอล่า (สาธารณรับโบลิวาร์) ให้ขอ้ มูลผูต้ ดิ เชื้อจากสถานบริการด้านสุขภาพทัง้ ของรัฐและเอกชน ดังนัน้ การ
จัดเรียบเรียงข้อมูลสาหรับการรักษาในสถานบริการด้านสุขภาพของเอกชนจึงไม่จาเป็ น

สาหรับประเทศในทวีปแอฟริกาทีม่ อี ตั ราการแพร่ระบาดของเชือ้ โรคสูง คุณภาพของการรายงานข้อมูลผูต้ ดิ เชือ้ ถือว่ายัง


ไม่เพียงพอสาหรับสูตรคานวณที่ระบุไว้ขา้ งต้น ในกรณีน้ีการประมาณการจานวนผู้ติดเชื้อมาลาเรียจะมาจากข้อมูล
ความชุกของเชือ้ โรคจากการสารวจรายครัวเรือน ขัน้ แรก ข้อมูลความชุกของเชือ้ โรคจากการสารวจรายครัวเรือนเกือบ
60,000 ชุดทีไ่ ด้รบั การบันทึกไว้จะถูกรวบรวมไว้ภายในแบบจาลองธรณีสถิติ Bayesian ตามความสัมพันธ์เชิงเวลาและ
พื้นที่ ร่วมกับตัวแปรร่วมด้านสิง่ แวดล้อมและด้านประชากรสังคม การกระจายตัวของข้อมูลด้านการช่วยเหลืออื่นใด
เช่ น มุ้ ง ชุ บ สารเคมี ยาต้ า นมาลาเรีย และการพ่ น ยาในบ้ า น แบบจ าลองภู มิส ารสนเทศเชิง พื้น ที่ช่ ว ยส่ ง เสริม
ความสามารถในการพยากรณ์ความชุกของเชือ้ พลาสโมเดียม ฟั ลซิพารัม ในเด็กทีม่ อี ายุระหว่าง 2-10 ปี บนพืน้ ทีข่ นาด
5x5 ตารางกิโลเมตร ทัวประเทศในทวี
่ ปแอฟริกาทีม่ กี ารแพร่ระบาดของโรคมาลาเรียตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2543 ถึง 2559 (ดู
http://www.map.ox.ac.uk/making-maps/ สาหรับ การจัด ทาแผนที่สาหรับโครงการสมุด แผนที่มาลาเรีย ) ขัน้ ที่สอง
แบบจาลองทัง้ หมดถูกพัฒนาขึน้ เพื่อพยากรณ์อตั ราการเกิดของโรคมาลาเรียซึ่งมาจากความชุกของเชื้อโรคมาลาเรีย
จากนัน้ แบบจาลองจะถูกประยุกต์ใช้กบั ผลประมาณการความชุกของเชือ้ โรคเพื่อจะประมาณการอัตราการเกิดของโรค
บนพื้นที่ขนาด 5x5 ตารางกิโ ลเมตร ตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2543 ถึง 2559 ข้อมูลที่ได้จากแต่ละพื้นที่ท่มี ขี นาด 5x5 ตาราง
กิโลเมตร นี้จะถูกรวบรวมไว้ในระดับประเทศและระดับภูมภิ าคเพื่อนาไปประมาณการผูต้ ดิ เชือ้ มาลาเรียในระดับประเทศ
และระดับ ภู มิภ าคต่ อ ไป (5) (เบนิ น แคเมอรู น สาธารณรัฐ แอฟริก ากลาง ชาด คองโก โกตดิว ัว ร์ สาธารณรัฐ

74
ประชาธิปไตยคองโก อิเควทอเรียลกินี กาบอง กินี เคนย่า มาลาวี มาลี โมซัมบิก ไนเจอร์ ไนจีเรีย โซมาเลีย ซูดานใต้
ซูดาน โตโก และแซมเบีย)

ข้อมูลจานวนผู้ติดเชื้อในพื้นที่ ในประเทศที่มีการกาจัดโรคมาลาเรีย ซึ่งลงทะเบียนโดยโครงการควบคุมมาลาเรีย


แห่งชาติจะถูกรายงานโดยไม่มกี ารจัดเรียบเรียงใด ๆ (อัลจีเรีย อาร์เจนตินา เบลิสต์ ภูฏาน การ์บูเวดี จีน คอโมโรส
คอสตาริกา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี จีบูติ เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ อิหร่าน (สาธารณรัฐอิสลาม)
อิรกั มาเลเซีย เม็กซิโก ปารากวัย สาธารณรัฐเกาหลี เซาตูเมและปรินซีปี ซาอุดอิ าระเบีย แอฟริกาใต้ ซูรนิ าเม ซวาซิ
แลนด์ และ ราชอาณาจักรไทย)

การจาแนกข้อมูล:
ตัวชีว้ ดั ได้รบั การประมาณการในระดับประเทศ

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
สาหรับค่าสัมประสิทธิ ์ (การตรวจหาเชือ้ โรคในเลือดและการรายงานความสมบูรณ์) ทีไ่ ม่มขี อ้ มูล จะนาค่าการกระจายตัว
ของข้อมูล (distribution) ทีค่ านวณมาจากการผสมผสานค่าการกระจายของข้อมูลระดับประเทศหรือภูมภิ าคทีม่ อี ยูม่ าใช้
แทน ค่าสัมประสิทธิของพฤติ
์ กรรมการรับการรักษาจะถูก ประมาณค่าสูญหายนาโดยการประมาณค่าแบบช่วงเส้นตรง
โดใช้ขอ้ มูลเมื่อมีการสารวจหรือโดยการประมาณค่านอกช่วงจากข้อมูลการสารวจทีท่ าขึน้ เป็ นครัง้ แรกหรือครัง้ สุดท้าย
ในกรณีทไ่ี ม่มขี อ้ มูลใด ๆ ทีไ่ ด้รบั การรายงานไว้เลย ให้นาข้อมูลการเติบโตของประชากรมาพิจารณา

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ไม่มรี ายละเอียด

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
จานวนผูต้ ดิ เชื้อจะถูกรวบรวมตามภูมภิ าค รวมทัง้ ความไม่แน่ นอนทีไ่ ด้รบั จากการรวบรวมข้อมูลการกระจายในแต่ละ
ประเทศด้วย ข้อมูลประชากรกลุ่มเสีย่ งจะถูกรวบรวมไว้โดยไม่มกี ารปรับแก้ไขใด ๆ เพิม่ เติม การประมาณการในระดับ
โลกมาจากค่าทีร่ วบรวมได้จากแต่ละภูมภิ าค

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
อัตราการเกิดของโรคโดยประมาณการอาจมีความแตกต่างไปจากอัตราการเกิดทีร่ ายงานโดยกระทรวงสาธารณสุข มา
จากปั จจัยทีส่ ่งผลกระทบ ดังนี้
• ความครบถ้วนของการรายงาน: จานวนผูต้ ดิ เชือ้ ทีร่ ายงานสามารถต่ากว่าจานวนผูต้ ดิ เชือ้ ประมาณการถ้าหาก
จานวนร้อยละของสถานบริการด้านสุขภาพทีร่ ายงานในเดือนนัน้ ต่ากว่าร้อยละ 100
• ขอบเขตของการตรวจวินิจฉัยโรคมาลาเรีย (จานวนฟิ ล์มเลือดที่ตรวจสอบหรือชุดตรวจหาเชื้อมาลาเรีย
สาเร็จรูป)
• การเข้ารับบริการจากสถานบริการด้านสุขภาพของเอกชนทีม่ กั จะไม่ได้รวมอยู่ในระบบการรายงาน
• ตัวชีว้ ดั ทีถ่ ูกประมาณการเฉพาะในบริเวณทีพ่ บการแพร่ระบาดของเชือ้ มาลาเรีย

75
วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
โครงการควบคุมมาลาเรียแห่งชาติของแต่ละประเทศให้ขอ้ มูลโดยใช้การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพชุมชนทีจ่ ดั ทาขึน้ เป็ น
การเฉพาะ

การควบคุมคุณภาพ:
• เรามีแบบฟอร์มทีเ่ ฉพาะและได้มาตรฐานทีข่ น้ึ อยู่กบั สถานการณ์ควบคุมโรคมาลาเรีย การกาจัดโรคและการ
ป้ องกันโรค เราดาเนินการตรวจสอบภายในสาหรับค่าผิดปกติและความสมบูรณ์และส่งคาถามถึงประเทศต่าง
ๆ เพื่อขอคาชี้แจง โดยผ่านสานักงานระดับภูมภิ าค ในกรณีทจ่ี าเป็ น เราจะใช้การประเมินคุณภาพของข้อมูล
จากแหล่งภายนอก เช่น ภาคีทท่ี างานในการติดตามและประเมินผลโรคมาลาเรีย
• รายงานมาลาเรียโลกจะถูกส่งไปยังประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางสานักงานระดับภูมภิ าคเพื่อหารือและอนุมตั ิ

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
จานวนผู้ติดเชื้อซึ่งรายงานโดยโครงการควบคุมมาลาเรียแห่งชาติได้มาจากระบบเฝ้ าระวังในแต่ละประเทศ รวมทัง้
ข้อมูลอื่น ๆ อาทิ จานวนผูป้ ่ วยทีอ่ าจจะติดเชือ้ จานวนผูป้ ่ วยทีร่ บั การตรวจหาเชือ้ จานวนผูป้ ่ วยทีพ่ บว่าติดเชือ้ จากการ
ตรวจพบและจากประเภทของเชื้อทีพ่ บ ตลอดจนจานวนสถานบริการด้านสุขภาพทีร่ ายงานการข้อมูลผูต้ ดิ เชื้อ ข้อมูล
เหล่านี้จะถูกย่อไว้ในแบบพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพชุมชนทีจ่ ดั ทาขึน้ เป็ นการเฉพาะ ข้อมูลทีเ่ ป็ นตัวแทนของการสารวจ
รายครัวเรือนซึ่งเผยแพร่สู่สาธารณะ และทีร่ วบรวมไว้ในการสารวจประชากรระดับครัวเรือนแห่งชาติ หรือการสารวจ
ตัวชีว้ ดั มาลาเรีย

กระบวนการเก็บข้อมูล:
เจ้าหน้าทีซ่ ง่ึ ปฏิบตั งิ านในโครงการควบคุมมาลาเรียแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข ของแต่ละประเทศ

----------------------------------------------------------------------------------------

76
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.7: สร้างหลักประกันถ้วนหน้ า ในการเข้าถึงบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธ์ รวมถึง
การวางแผนครอบครัว และข้อมูลข่าวสารและความรู้และการบูรณาการอนามัยเจริ ญพันธุ์ไว้ในยุทธศาสตร์
และแผนงานระดับชาติ ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 3.7.1: สัดส่วนของหญิ งวัยเจริญพันธุ์ (อายุ 15-49 ปี ) ซึ่งต้องการการวางแผนครอบครัวมีความรู้สึกพึ ง


พอใจกับการใช้วิธีสมัยใหม่

ข้อมูลเชิ งสถาบัน

องค์กร: ฝ่ ายประชากร แผนกเศรษฐกิจ และสัง คม (Population Division, Department of Economic and


Social Affairs: DESA)
กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (United Nations Population Fund: UNFPA)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ร้อยละของสตรีทอ่ี ยู่ในวัยเจริญพันธุ์ (ทีม่ อี ายุระหว่าง 15-49 ปี ) ทีไ่ ม่ตอ้ งการมีบุตร (เพิม่ ) หรือต้องการเลื่อนการมีบุตร
คนต่อไป โดยกาลังใช้วธิ กี ารคุมกาเนิดสมัยใหม่

หลักการและเหตุผล:
สัดส่วนของความต้องการในการวางแผนครอบครัวด้วยวิธกี ารสมัยใหม่มปี ระโยชน์ในการประเมินระดับความครอบคลุม
สาหรับโครงการและบริการวางแผนครอบครัว การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากวิธกี ารคุมกาเนิดทีม่ ปี ระสิทธิภาพช่วยให้
ทัง้ สตรีและคู่ของเธอได้มสี ทิ ธิในการตัดสินใจอย่างอิสระและมีความรับผิดชอบต่อจานวนและระยะห่างของการมีบุตร
พร้อมทัง้ ข้อมูล การศึกษาและแนวทางที่นาไปปฏิบตั ิได้ การตอบสนองความต้องการในการวางแผนครอบครัวด้วย
วิธีการสมัยใหม่ยงั สนับสนุ นสุขภาพของมารดาและบุตรในด้านการป้ องกันการตัง้ ครรภ์ไม่พงึ ประสงค์ การมีบุตรถี่
เกินไป ซึ่งเพิม่ ความเสี่ยงในการคลอดบุตรที่ไม่ปลอดภัย ระดับความพึงพอใจกับการวางแผนครอบครัวด้วยวิธกี าร
สมัยใหม่ทร่ี อ้ ยละ 75 หรือมากกว่านัน้ ถือว่าอยู่ในระดับสูง ขณะทีค่ ่าร้อยละ 50 หรือต่ากว่าถือว่าอยู่ในระดับต่า

แนวคิ ด:
ร้อยละของหญิงในวัยเจริญพันธุ์ (ทีม่ อี ายุระหว่าง 15-49 ปี ) ทีพ่ งึ พอใจกับการวางแผนครอบครัวตามวิธกี ารสมัยใหม่ยงั
สามารถอ้างอิงถึงสัดส่วนความต้องการในวิธกี ารสมัยใหม่ องค์ประกอบของตัวชีว้ ดั นี้คอื ความชุกของการคุมกาเนิด (ทัง้
วิธกี ารสมัยใหม่และวิธกี ารแบบดัง้ เดิม) และการวางแผนครอบครัวทีไ่ ม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้

ความชุกของการคุมกาเนิดหมายถึงร้อยละของสตรีหรือคู่ของเธอทีก่ าลังใช้วธิ กี ารคุมกาเนิดวิธใี ดวิธหี นึ่ง อย่างน้อย 1


วิธี

สาหรับวัตถุประสงค์ดา้ นการวิเคราะห์ กล่าวคือ วิธกี ารคุมกาเนิดมักจะได้รบั การจาแนกออกเป็ นวิธสี มัยใหม่หรือแบบ


ดัง้ เดิม วิธกี ารคุมกาเนิดสมัยใหม่ อาทิ การทาหมันในฝ่ ายชายและฝ่ ายหญิง ห่วงคุมกาเนิด ยาฝั งคุมกาเนิด ยาฉีด
คุมกาเนิด ยาเม็ดคุมกาเนิด ถุงยางอนามัยของบุรุษและสตรี การใส่ห่วงในช่องคลอด (รวมทัง้ หมวกยางกัน้ ช่องคลอด

77
หมวกครอบปากมดลูก และยาฆ่าอสุจใิ นรูปแบบโฟม วุ้น ครีม และฟองน้ า) การใช้วธิ ธี รรมชาติ ยาคุ มฉุ กเฉิน และ
วิธกี ารคุมกาเนิดสมัยใหม่อ่นื ๆ ที่ไม่ได้มรี ายงานแยกออกไป (เช่น แผ่นแปะคุมกาเนิด หรือวงแหวนสอดช่องคลอด
คุมกาเนิด) วิธกี ารคุมกาเนิดแบบดัง้ เดิม ได้แก่ การนับระยะปลอดภัย (เช่น การนับระยะปลอดภัย การงดมีเพศสัมพันธ์
ในบางช่วงเวลา) การหลังภายนอก
่ และวิธกี ารคุมกาเนิดแบบดัง้ เดิมอื่น ๆ ทีไ่ ม่ได้มรี ายงานแยกออกไป

การวางแผนครอบครัวทีไ่ ม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้ หมายถึง ร้อยละของสตรีในวัยเจริญพันธุ์ ทัง้ ทีส่ มรส


แล้วหรือมีค่ชู วี ติ แล้ว ซึง่ ต้องการยุตหิ รือเลื่อนการให้กาเนิดบุตรออกไปแต่ไม่ได้ใช้วธิ กี ารคุมกาเนิ ดใด ๆ มาตรฐานของ
การวางแผนครอบครัวทีไ่ ม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้ รวมถึงสตรีทม่ี ลี ูกดกและยังมีกจิ กรรมทางเพศอยู่เป็ น
จานวนทีเ่ ป็ นเศษ สตรีทร่ี ายงานว่าไม่ต้องการมีบุตร (เพิม่ ) อีก หรือสตรีทต่ี ้องการเลื่อนการมีบุตรคนต่อไปออกไปอีก
อย่างน้อย 2 ปี หรือยังไม่มกี ารตัดสินใจเกี่ยวกับช่วงเวลาทีจ่ ะมีบุตรคนต่อไป แต่สตรีเหล่านี้ไม่ได้ใช้วธิ กี ารคุมกาเนิดใด
ๆ ทัง้ สิน้ จานวนทีเ่ ป็ นเศษยังรวมถึงหญิงตัง้ ครรภ์ไม่พงึ ประสงค์หรือเกิดจากความผิดพลาดในการคะเนระยะเวลาของ
การคุมกาเนิด รวมทัง้ หญิงที่มภี าวะขาดระดูหลังคลอดซึ่งไม่มกี ารวางแผนครอบครัวและบุตรคนสุดท้องมาจากการ
ตัง้ ครรภ์ไม่พงึ ประสงค์หรือความผิดพลาดในการคะเนระยะเวลา ข้อมูลเพิม่ เติมเกี่ยวกับนิ ยามเชิงปฏิบตั กิ ารของการ
วางแผนครอบครัวทีไ่ ม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ
ชุ ด ค าถามการส ารวจและโครงการเชิ ง สถิ ติ ซ่ึ ง เป็ นสิ่ ง จ าเป็ นในการก าหนดตั ว ชี้ ว ั ด มี อ ยู่ บ นเว็ บ ไซต์ :
http://measuredhs.com/Topics/Unmet-Need.cfm

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ความแตกต่างในการออกแบบและการดาเนินการสารวจ ตลอดจนความแตกต่างในการวางเกณฑ์และบริหารจัดการชุด
คาถามของแบบสารวจส่งผลกระทบต่อการนาข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน ความแตกต่างทีพ่ บโดยทัวไปมั ่ กจะเกีย่ วกับช่วง
ของการคุมกาเนิด รวมถึงคุณลักษณะเฉพาะ (อายุ เพศ สถานภาพสมรสหรืออยู่กบั คู่ชวี ติ ) ของบุคคลผู้ ซ่งึ ได้รบั การ
ประมาณการความชุกของการคุมกาเนิดไว้แล้ว (ประชากรพืน้ ฐาน) กรอบเวลาทีใ่ ช้ประเมินความชุกของการคุมกาเนิดมี
ความแตกต่างกันได้ การสารวจส่วนมากมักจะไม่ให้นิยามของวิธกี ารคุมกาเนิดที่ “กาลังใช้อยู่ ณ ขณะนัน้ ”
ในการสารวจบางตัวจะไม่ค่อยมีคาถามที่ละเอียดมากนัก แต่จะเป็ นเพียงการสอบถามเพื่อสร้างความมั ่นใจว่าผูต้ อบ
แบบสอบถามเข้าใจในความแตกต่างของวิธกี ารคุมกาเนิดแต่ละวิธี ซึง่ ทาให้เกิดการประเมินความชุกของการคุมกาเนิด
ที่ต่ าเกินไป โดยเฉพาะสาหรับวิธกี ารคุมกาเนิดแบบดัง้ เดิม ความแปรปรวนของการสุ่มตัวอย่างก็ถือเป็ นอีกป ระเด็น
หนึ่ง โดยเฉพาะเมื่อความชุกของการคุมกาเนิดที่ได้รบั การวัดค่าเฉพาะสาหรับกลุ่มย่อยพิเศษ (ตามวิธกี าร กลุ่มอายุ
ระดับการศึกษา ทีอ่ ยู่อาศัย เป็ นต้น) หรือเมื่อใช้การคานวณแนวโน้มข้ามช่วงเวลา

เมื่อไม่สามารถหาข้อมูลของสตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 15-49 ปี ได้ ข้อมูลของสตรีทส่ี มรสหรือมีค่ชู วี ติ แล้วจะถูกนามารายงาน


แทน ภาพของประชากรพืน้ ฐานทีไ่ ด้รบั การนาเสนอในบางครัง้ อาทิ สตรีอายุระหว่าง 15-44 ปี ทส่ี มรสหรือมีค่ชู วี ติ หญิง
ทีม่ เี พศสัมพันธ์ (ไม่ว่าสถานภาพสมรสจะเป็ นอย่างไร) หรือหญิงทีเ่ คยสมรสมาก่อน กลุ่มข้อมูลทีร่ ะบุถงึ ความแตกต่าง
ระหว่างข้อมูลที่ได้รบั การนาเสนอและนิยามมาตรฐานความชุกของการคุมกาเนิดหรือการวางแผนครอบครัวที่ไม่
สามารถตอบสนองต่อความต้องการได้หรือทีซ่ ง่ึ ข้อมูลประชากรไม่ได้เป็ นตัวแทนของสตรีในวัยเจริญพันธุ์

78
ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนเศษเป็ นร้อยละของสตรีทอ่ี ยู่ในวัยเจริญพันธุ์ (ทีม่ อี ายุระหว่าง 15-49 ปี ) ซึ่งตนเองหรือคู่ของตนกาลังใช้วธิ กี าร
คุมกาเนิดสมัยใหม่วธิ ใี ดวิธหี นึ่ง อย่างน้อย 1 วิธี ขณะทีจ่ านวนส่วนเป็ นความพึงพอใจต่อการวางแผนครอบครัวทัง้ หมด
(จานวนรวมของความชุกของการคุมกาเนิด (ไม่จากัดวิธ)ี และการวางแผนครอบครัวทีไ่ ม่สามารถตอบสนองต่อความ
ต้องการได้) การประมาณการเป็ นไปตามกลุ่มสตรีซง่ึ สมรสหรือมีค่ชู วี ติ แล้ว

จานวนของสตรีทก่ี าลังใช้วธิ คี ุมกาเนิดสมัยใหม่


ความต้องการคุมกาเนิดสมัยใหม่ = จานวนของสตรีทก่ี าลังใช้วธิ กี ารคุมกาเนิดหรือวางแผนครอบครับที่
ไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้

การจาแนกข้อมูล:
อายุ สถานที่ท างภู มิศาสตร์ สถานภาพสมรส สถานะทางเศรษฐกิจสัง คม และการจ าแนกในมิติอ่ืน ๆ ขึ้น อยู่กับ
แหล่งข้อมูลและจานวนการสังเกตการณ์

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ไม่มคี วามพยายามทีจ่ ะทาค่าประมาณการในประเทศหรือพืน้ ทีซ่ ง่ึ ไม่สามารถหาข้อมูลได้

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
เพื่อดาเนินค่าประมาณการในระดับภูมภิ าคและระดับโลกในปี อา้ งอิงใด ๆ ฝ่ ายประชากร แผนกเศรษฐกิจและสังคม ใช้
แบบจ าลองเชิง ล าดับ ของ Bayesian ซึ่ง ค าอธิบ ายรายละเอีย ดสามารถหาได้จ าก Alkema L., V. Kantorova, C.
Menozzi and A. Biddlecom (2013) อัตราและแนวโน้มระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค และระดับโลกเกี่ยวกับความชุก
ของการคุมกาเนิดและการวางแผนครอบครัวที่ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการระหว่างปี 1990 ถึง 2015: การ
วิเคราะห์อย่างเป็ นระบบและครอบคลุม บทความ The Lancet Vol. 381, Issue 9878, pp. 1642-1652 และ Wheldon,
M., V. Kantorova, P. Ueffing and A.N.Z. Dasgupta (2018) วิธกี ารประมาณการและการฉายภาพตัวชีว้ ดั การวางแผน
ครอบครัวที่สาคัญ สาหรับกลุ่มสตรีท่อี ยู่ในวัยเจริญพันธุ์ สหประชาชาติ ฝ่ ายประชากร แผนกเศรษฐกิจและสังคม
เอกสารทางเทคนิค ฉบับที่ 2 นิวยอร์ก: สหประชาชาติ

การประมาณการตามแบบจาลองในระดับประเทศให้เฉพาะการคานวณค่าเฉลี่ยระดับภูมภิ าคและระดับโลก และไม่


นามาใช้สาหรับแนวโน้มระดับประเทศของรายงานเป้ าหมายการพัฒนาทีย่ ั ่งยืนระดับโลก ยิง่ จานวนการสังเกตการณ์
ของประเทศทีส่ นใจน้อยลงเท่าไร การประมาณการก็ยงิ่ ถูกขับเคลื่อนโดยประสบการณ์ของประเทศอื่น ๆ มากขึน้ แม้ว่า
สาหรับประเทศทีม่ กี ารสังเกตการณ์จานวนมากจะทาให้ผลลัพธ์มขี อบเขตเพิม่ ขึน้

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
แบบจาลองเชิงลาดับของ Bayesian ถูกนามาใช้หาค่าประมาณการและคาดการณ์ตวั ชี้วดั ระดับภูมภิ าคและระดับโลก
การรวบรวมการประมาณการและการฉายภาพเป็ น ค่ า เฉลี่ย ถ่ ว งน้ า หนั ก ของการประมาณการตามแบบจ าลอง
ระดับประเทศ โดยการใช้จานวนของสตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 15-49 ปี ในปี อา้ งอิงของแต่ละประเทศ คาอธิบายรายละเอียด
ของระเบีย บวิธีส ามารถหาได้จ าก Wheldon, M., V. Kantorova, P. Ueffing and A.N.Z. Dasgupta (2018) วิธีก าร

79
ประมาณการและการคาดการณ์ ตัว ชี้ว ัด การวางแผนครอบครัว ที่ส าคัญ ส าหรับ กลุ่ ม สตรีท่ีอ ยู่ ใ นวัย เจริญ พัน ธุ์
สหประชาชาติ ฝ่ ายประชากร แผนกเศรษฐกิจและสังคม เอกสารทางเทคนิค ฉบับที่ 2 นิวยอร์ก: สหประชาชาติ

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
โดยทัวไปแล้
่ ว ไม่พบความคลาดเคลื่อนระหว่างข้อมูลทีน่ าเสนอและข้อมูลทีต่ พี มิ พ์ในรายงานการสารวจ อย่างไรก็ตาม
ฝ่ ายประชากรได้จดั เรียบเรียงข้อมูลระดับประเทศทีต่ พี มิ พ์บางตัวเพื่อเพิม่ ความสามารถในการเปรียบเทียบ เอกสาร
บัน ทึก ที่ใ ช้ในกลุ่ มข้อ มูลระบุถึงโอกาสที่การจัด เรียบเรียงจะเกิด ขึ้น และความแตกต่า งของชุด ข้อ มูลนั น้ กับนิยาม
มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั ระดับโลกเป็ นตัวแทนของสตรีในวัยเจริญพันธุท์ ุกคน การสารวจบางตัวประมาณการตัวแทนของกลุ่ม
สตรีซง่ึ สมรสหรือมีค่ชู วี ติ แล้ว และได้ระบุไว้ในบันทึกด้วย

วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
ไม่ปรากฏ

การควบคุมคุณภาพ:
ไม่ปรากฏ

กระบวนการหารือ/ตรวจสอบความถูกต้ องร่วมกับประเทศต่ าง ๆ เพื่อจัดการเรียบเรียงและประมาณการ


ข้อมูล:
ข้อมูลทีน่ ามาจากรายงานการสารวจทีต่ พี มิ พ์หรือในบางกรณีทย่ี กเว้น จะใช้การรายงานเชิงวิเคราะห์ทต่ี พี มิ พ์ หรือการ
จัดระเบียบข้อมูลทีไ่ ด้จากการสารวจชุดข้อมูลขนาดเล็ก หากมีความจาเป็ นต้องชี้แจ้ง ให้ติดต่อไปยังผูส้ นับสนุ นการ
สารวจหรือหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ซึง่ อาจจะสามารถแก้ไขหรือจัดเรียบเรียงการประมาณการได้

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
ตัวชี้วดั นี้ได้รบั การคานวณจากข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนที่เป็ นตัวแทนในระดับประเทศ โครงการสารวจร่วม ใน
หลายประเทศซึ่ง หมายรวมถึง ข้อ มู ล ที่เ กี่ย วข้อ งส าหรับ ตัว ชี้ว ัด นี้ อาทิ การส ารวจความชุ ก ของการคุ ม ก าเนิ ด
(Contraceptive Prevalence Surveys: CPS), การสารวจสุขภาพและประชากร (Demographic and Health Surveys:
DHS) การสารวจครอบครัวและภาวะเจริญพันธุ์ (Fertility and Family Surveys: FFS) การสารวจอนามัยเจริญพันธุ์
(Reproductive Health Surveys: RGHS) การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (Multiple Indicator Cluster Surveys: MICS)
การสารวจการดาเนิ น การเฝ้ า ระวัง และความรับ ผิด ชอบพ.ศ. 2563 (Performance Monitoring and Accountability
2020 surveys: PMA) การสารวจภาวะเจริญ พัน ธุ์ร ะดับ โลก (World Fertility Surveys: WFS) รวมทัง้ โครงการการ
สารวจในระดับประเทศและระดับสากลอื่น ๆ

สาหรับข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลประมาณการแต่ละตัว ดูท่ี สหประชาชาติ แผนกเศรษฐกิจและสังคม ฝ่ ายประชากร


(2019) การคุมกาเนิดโลก 2019

----------------------------------------------------------------------------------------

80
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.7: สร้างหลักประกันถ้วนหน้ า ในการเข้าถึงบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธ์ รวมถึง
การวางแผนครอบครัว และข้อมูลข่าวสารและความรู้และการบูรณาการอนามัยเจริ ญพันธุ์ไว้ในยุทธศาสตร์
และแผนงานระดับชาติ ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 3.7.2: อัตราการคลอดบุตรในหญิ งวัยรุ่นอายุ (10-14 ปี ,15-19 ปี ) ต่อผู้หญิ งกลุ่มอายุดงั กล่าว 1,000 คน

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: ฝ่ ายประชากร แผนกเศรษฐกิจ และสัง คม (Population Division, Department of Economic and
Social Affairs: DESA)
กองทุนสหประชาชาติเพื่อประชากร (United Nations Population Fund: UNFPA)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
อัตราการให้กาเนิดบุตรจากหญิงวัยรุ่น ทีม่ อี ายุระหว่าง 10-14 ปี หรือ 15-19 ปี ต่อจานวนสตรี 1,000 รายในกลุ่มอายุ
เดียวกันในแต่ละปี

หลักการและเหตุผล:
การลดภาวะเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและการระบุปัจจัย หลาย ๆ ปั จจัยที่อยู่ภายใต้ภาวะดังกล่าวถือเป็ นสิ่งสาคัญในการ
พัฒนาอนามัยเจริญพันธุแ์ ละสุขภาพทางเพศ รวมทัง้ ความเป็ นอยู่ทางเศรษฐกิจสังคมของวัยรุ่นด้วย มีการเห็นพ้องกัน
อย่างเป็ นรูปธรรมว่าสตรีท่ตี งั ้ ครรภ์แ ละคลอดบุตรในขณะที่มีอายุ น้อยมาก ๆ เป็ นการเพิ่มความเสี่ยงต่ อการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนหรือแม้แต่การเสียชีวติ ระหว่างตัง้ ครรภ์หรือคลอดบุตร และเด็กทีเ่ กิดมายังมีความอ่อนแอมากกว่าปกติ
ด้วย ดังนัน้ การป้ องกันการตัง้ ครรภ์ในช่วงทีส่ ตรียงั มีอายุน้อยนัน้ เป็ นมาตรการสาคัญในการพัฒนาสุขภาพของมารดา
และลดการเสียชีวติ ของทารก นอกจากนี้ พบว่าสตรีท่มี ลี ูกในช่วงที่อายุยงั น้อยจะลดโอกาสทางเศรษฐกิจสังคมของ
ตนเองลง โดยเฉพาะในกรณีน้ี มารดาวัยรุ่นอาจจะไม่สามารถศึกษาต่อได้และถ้าหากต้องหางานทา ก็อาจจะเผชิญ
ความลาบากจากทัง้ ความรับผิดชอบต่อครอบครัวและงานที่ทา อัตราการให้กาเนิดบุตรจากมารดาวัยรุ่นยังปรากฏ
หลักฐานทางอ้อมถึงการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ เพราะกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะหญิงวัยรุ่นมักจะมีประสบการณ์ทเ่ี ผชิญ
กับความยากลาบากในการเข้าถึงบริการด้านอนามัยเจริญพันธุแ์ ละสุขภาพทางเพศ

แนวคิ ด:
อัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นเป็ นตัวแทนของความเสีย่ งในการเลีย้ งดูบุตรโดยเฉพาะกับกลุ่มสตรีในช่วงวัยนี้
อัตราการให้กาเนิดบุตรจากหญิงวัยรุ่นทีม่ อี ายุระหว่าง 15-19 ปี ยังสามารถอ้างอิงได้กบั อัตราการเจริญพันธุ์ตามช่วง
อายุในกลุ่มสตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 15-19 ปี ดว้ ย

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ความคลาดเคลื่อนระหว่างแหล่งข้อมูลในระดับประเทศพบได้เป็ นปกติ และระดับของอัตราการให้กาเนิดบุตรจากมารดา
วัยรุ่นก็ขน้ึ อยู่กบั แหล่งข้อมูลทีเ่ ลือก

81
อัตราทีป่ รากฏในทะเบียนราษฎรมีขอ้ จากัดทีต่ ้องขึน้ อยู่กบั ความสมบูรณ์ของการจดทะเบียนการเกิด การรักษาทารก
แรกเกิด ที่เ สีย ชีวิต ก่ อ นการจดทะเบีย นการเกิ ด หรือ ภายใน 24 ชัว่ โมงแรก คุ ณ ภาพของข้อ มู ล ที่ร ายงานยัง มี
ความสัมพันธ์กบั อายุของมารดา และการรวบรวมข้อมูลการเกิดในช่วงที่ผ่านมา ค่าประมาณการจานวนประชากร
อาจจะมีขอ้ จากัดทีเ่ กีย่ วข้องกับการรายงานอายุทผ่ี ดิ พลาดและไม่ครอบคลุมเพียงพอ

สาหรับการสารวจและข้อมูลสามะโนประชากร ทัง้ จานวนเศษและส่วนมาจากประชากรกลุ่มเดียวกัน ข้อจากัดหลักมา


จากการรายงานอายุท่ผี ิดพลาด รวมทัง้ การรายงานไม่ครบถ้วน การรายงานวันเกิดของเด็กผิด พลาด และความ
แปรปรวนของการสุ่มตัวอย่างในการสารวจ

สาหรับการประมาณการอัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นทีม่ อี ายุระหว่าง 10-14 ปี หลักฐานเปรียบเทียบพบว่า


สัดส่วนการให้กาเนิดบุตรของสตรีในกลุ่มทีม่ อี ายุน้อยกว่า 12 ปี มนี ้อยมาก หลักฐานอื่น ๆ อยู่บนฐานของข้อมูลประวัติ
การเกิดย้อนหลังจากการสารวจทีช่ ใ้ี ห้จากคาถามย้อนหลัง 5 ปี ในกลุ่มสตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 20-24 ปี พบว่าในขณะทีพ่ วก
เธอมีอายุระหว่าง 15-19 ปี มีอตั ราการให้กาเนิดบุตรคนแรกก่อนอายุ 15 ปี น้อยกว่าสตรีทอ่ี ยู่ในกลุ่มเดียวกัน

อัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นมักจะถูกรายงานในฐานะอัตราการเจริญพันธุ์ในช่วงอายุระหว่าง 15-19 ปี ใน
บริบทของการคานวณค่าประมาณการการเจริญพันธุท์ งั ้ หมด ทาให้ถูกเรียกว่า อัตราการเจริญพันธุข์ องวัยรุ่น มาตรการ
ทีเ่ กีย่ วข้องกันคือ สัดส่วนการเจริญพันธุข์ องวัยรุ่นทีว่ ดั ออกมาเป็ นร้อยละของการเจริญพันธุท์ งั ้ หมดในกลุ่มสตรีทม่ี อี ายุ
ระหว่าง 15-19 ปี

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
อัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นจะถูกคานวณเพื่อหาอัตราส่วน จานวนเศษมาจากจานวนการให้กาเนิดบุตร
ของหญิงที่มอี ายุระหว่าง 15-19 ปี จานวนส่วนเป็ นค่าประมาณการหญิงทีอ่ ายุระหว่าง 15-19 ปี ท่มี ปี ระสบการณ์การ
คลอดบุตร วิธกี ารคานวณเป็ นแบบเดียวกับทีศ่ กึ ษาในกลุ่มอายุ 10-14 ปี ทัง้ นี้จานวนเศษและส่วนของข้อมูลทีม่ าจาก
ทะเบียนราษฎรและสามะโนประชากรจะถูกคานวณแตกต่างออกไป

ในกรณีของข้อมูลทีม่ าจากทะเบียนราษฎร จานวนเศษ คือ จานวนการให้กาเนิดบุตรของหญิงทีม่ อี ายุระหว่าง 15-19 ปี


ภายในปี ทก่ี าหนด และจานวนส่วน คือ สตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 15-19 ปี ทไ่ี ด้รบั การประมาณการหรือแจกแจงแล้ว

ในกรณีของข้อมูลการสารวจ จานวนเศษ คือ จานวนการให้กาเนิดบุตรจากประวัติการเกิดย้อนหลังที่ได้จากการ


สัมภาษณ์หญิงทีม่ ปี ระสบการณ์ดงั กล่าวเมื่อมีอายุระหว่าง 15-19 ปี ระหว่างปี ทอ่ี ้างอิง ขณะทีจ่ านวนส่วน คือ จานวน
หญิงทีม่ อี ายุระหว่าง 15-19 ปี ตามปี ทอ่ี า้ งอิงผ่านการสัมภาษณ์สตรีในช่วงเวลาเดียวกัน โดยข้อมูลทีถ่ ูกรายงานตามปี ท่ี
ศึกษาจะสอดคล้องกับข้อมูลในช่วงเวลาทีอ่ ้างอิง สาหรับการสารวจบางตัวทีไ่ ม่มขี อ้ มูลประวัตกิ ารเกิดย้อนหลัง วิธกี าร
คานวณของอัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นมาจากวันที่ ทใ่ี ห้กาเนิดบุตรคนสุดท้องหรือจานวนการให้กาเนิด
บุตรภายในระยะเวลา 12 เดือนก่อนการสารวจ

สาหรับข้อมูลจากสามะโนประชากร อัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นถูกคานวณจากวันทีท่ ่ใี ห้กาเนิดบุตรคน


สุดท้องหรือจานวนการให้กาเนิดบุตรภายในระยะเวลา 12 เดือนก่อนการนับค่า ทัง้ จานวนเศษและส่วนของข้อมูลจาก
สามะโนประชากรจะให้ผลเป็ นอัตรา ในบางกรณี อัตราที่มาจากสามะโนประชากรถูกจัดเรียบเรียงสาหรับกรณีทก่ี าร

82
ลงทะเบียนต่ ากว่าความเป็ นจริงด้วยวิธกี ารประมาณการทางอ้อม สาหรับบางประเทศที่ไม่มขี อ้ มูลอื่นใดที่เชื่อถือได้
วิธกี ารคานวณเด็กทีร่ อดชีวติ (Own-children method) เป็ นการประมาณการทางอ้อมที่สามารถให้ขอ้ มูลอัตราการให้
กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นในแต่ละปี ก่อนการสารวจสามะโนประชากรจะเกิดขึน้

หากมีขอ้ มูลทีห่ าได้ ภาวะเจริญพันธุใ์ นวัยรุ่นทีม่ อี ายุระหว่าง 10-14 ปี กส็ ามารถนามาคานวณได้

ทัง้ นี้สามารถศึกษาวิธวี ธิ กี ารคานวณแบบต่าง ๆ ได้จากคู่มอื ในการเก็บข้อมูลการเจริญพันธุ์และการเสียชีวติ United


Nations Publication, Sales No. E.03XVII.11
(http://unstats.un.org/unsd/publication/SeriesF/SeriesF_92E.pdf). Indirect methods of estimation are analyzed
in Manual X: Indirect Techniques for Demographic Estimation, United Nations Publication, Sales No. E.83.XIII.2.
(http://www.un.org/esa/population/publications/Manual_X/Manual_X.htm).

การจาแนกข้อมูล:
อายุ การศึกษา จานวนบุตรทีม่ ชี วี ติ สถานภาพสมรส สถานะทางเศรษฐกิจสังคม ทีอ่ ยู่อาศัยตามภูมศิ าสตร์ และประเด็น
อื่น ๆ ขึน้ อยู่กบั แหล่งข้อมูลและจานวนทีศ่ กึ ษา

การจัดการกับข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ไม่มกี ารประมาณการข้อมูลให้ประเทศหนึ่ง ๆ หาประเทศนัน้ ไม่มขี อ้ มูล

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคหรือระดับโลกเกีย่ วกับอัตราการให้กาเนิดบุตรของหญิงวัยรุ่นทีม่ อี ายุระหว่าง 15-19
ปี จากเอกสารการคาดการณ์ประชากรโลกฉบับล่าสุดทีจ่ ดั ทาโดยฝ่ ายประชากร ในกรณีทข่ี อ้ มูลสูญหายหรือประเมินว่า
เป็ นข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ ค่าประมาณการในแต่ละประเทศหรือพื้นที่สามารถทาได้โดยการตรวจสอบแนวคิด จาก
ผูเ้ ชีย่ วชาญและให้น้าหนักเชิงวิเคราะห์ต่อการศึกษาดังกล่าว หรือไม่กใ็ ช้วธิ กี ารทางสถิตสิ าหรับข้อมูลในปี ทเ่ี พิง่ ผ่านไป
ไม่นาน หรือการใช้แบบจาลองข้อมูลที่จดั เรียบเรียงให้มคี วามเป็ นกลางเพื่ อหลีกเลี่ยงอคติเชิงระบบระหว่างข้อมูล
ประเภทต่าง ๆ ดู United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division (2017). World
Population Prospects: The 2017 Revision, Methodology of the United Nations Population Estimates and
Projections, Working Paper No. ESA/P/WP.250.
https://esa.un.org/unpd/wpp/Publications/Files/WPP2017_Methodology.pdf

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
อัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นที่ได้รบั การรายงานทัง้ ในระดับภูมิภาคและระดับโลกมาจากค่าเฉลี่ยการ
ประมาณการอัตราการให้กาเนิดบุตรของหญิงวัยรุ่น 2 ช่วง ช่วงละ 5 ปี ต่อเนื่องกัน (เช่น สาหรับปี พ.ศ. 2558 ค่าเฉลีย่
จะมาจากช่ ว งปี พ .ศ. 2553-2558 และช่ ว งปี พ .ศ. 2558-2563) ตามที่ตีพิม พ์ไ ว้ใ น United Nations, Department of
Economic and Social Affairs, Population Division (2017). World Population Prospects: The 2017 Revision, DVD
Edition. http://esa.un.org/unpd/wpp/

83
อัตราการเจริญพันธุต์ ามอายุในระดับภูมภิ าคและระดับโลกรวบรวมจากเอกสารการคาดการณ์ประชากรโลก อยู่บนฐาน
ของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรในระดับประเทศซึ่งให้ขอ้ มูลการประมาณการที่ดที ่สี ุดจากรายละเอียดทาง
ประชากรที่หาได้ เอกสารการคาดการณ์ประชากรโลกพิจารณาการประมาณการแหล่งข้อมูลและประเภทข้อมูลเชิง
ประจักษ์ให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้ (รวมทัง้ ประวัตกิ ารเกิดย้อนหลัง การประมาณการภาวะเจริญพันธุ์ทงั ้ ทางตรง
และทางอ้อม) การประมาณการครัง้ สุดท้ายจะเกิดขึน้ เพื่อสร้างความมั ่นใจถึงความสอดคล้องภายในให้มากทีส่ ุดเท่าที่
เป็ นไปได้ ร่วมกับองค์ประกอบทางประชากรอื่น ๆ และกลุ่มประชากรตามที่แจกแจงไว้ในสามะโนประชากรอย่าง
ต่อเนื่อง

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
การประมาณการมาจากทะเบียนราษฎรให้ขอ้ มูลเฉพาะทีไ่ ด้จากรายงานระดับประเทศทีค่ รอบคลุมอย่างน้อยร้อยละ 90
และเมื่อมีความสมเหตุสมผลระหว่างค่าการประมาณการจากทะเบียนราษฎรและการสารวจเท่านัน้ ความคลาดเคลื่อน
เล็กน้อยอาจเกิดขึ้นเนื่องจากการมีจานวนตัวหารทีต่ ่างกันหรือการรวบรวมการให้กาเนิดบุตรของหญิงวัย 15-19 ปี ท่ี
แตกต่างกัน การประมาณการทีไ่ ด้จากการสารวจจะนามาใช้เมื่อไม่มขี อ้ มูลจากทะเบียนราษฎรทีน่ ่าเชื่อถือ ซึง่ อาจจะทา
ให้เกิดความคลาดเคลื่อนในเรื่องวันและจานวนที่แท้จริงในช่วงเวลาที่ไม่เ หมือนกัน ในกรณีท่ชี ่วงเวลาในการอ้างอิง
แตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ พบว่ารายงานการสารวจจานวนมากมักอ้างอิงเป็ นช่วงเวลาทัง้ ระยะ 3 ปี และ 5 ปี
สาหรับประเทศทีข่ อ้ มูลมีน้อย อาจพิจารณาใช้ขอ้ มูลจากช่วงเวลาอ้างอิงทีเ่ กินกว่า 5 ปี ก่อนการสารวจได้

แหล่งข้อมูล
ทะเบียนราษฎรเป็ นแหล่งข้อมูลที่สมควรนามาใช้ สามะโนประชากรและการสารวจรายครัวเรือนเป็ นแหล่งข้อมูลอีก
แหล่งทีน่ ามาใช้ได้ในกรณีทข่ี อ้ มูลจากทะเบียนราษฎรไม่น่าเชื่อถือ

ข้อมูลการให้กาเนิดบุตรตามอายุของแม่ทไ่ี ด้รบั จากระบบการลงทะเบียนราษฎรมีความครอบคลุมการเกิดทัง้ หมดทีก่ ว่ า


ร้อยละ 90 หรือมากกว่า ซึ่งในท้ายทีส่ ุดแล้วสามารถใช้ค่าประมาณการจากสามะโนประชากรหรือการสารวจแทนได้ใน
กรณีทห่ี าข้อมูลการลงทะเบียนไม่ได้ ทัง้ นี้จานวนเศษ ให้ถอื เอาตัวเลขทีร่ ายงานโดยสานักงานสถิตแิ ห่งชาติไปยังฝ่ าย
สถิติขององค์การสหประชาชาติเป็ นแหล่งข้อมูลที่สาคัญ เป็ นอันดับแรก ในกรณีท่หี าข้อมูลดังกล่าวไม่ได้หรือพบว่า
ข้อมูลมีปัญหา สามารถใช้ขอ้ มูลจากฝ่ ายสถิติระดับภูมภิ าคหรือสานักงานสถิติแห่งชาติโดยตรง สาหรับจานวนส่วน
ข้อมูลทีส่ าคัญเป็ นอันดับแรกมาจากเอกสารการคาดการณ์ประชากรโลกทีจ่ ดั ทาโดยฝ่ ายประชากร แผนกเศรษฐกิจและ
สังคม สหประชาชาติ ในกรณีท่จี านวนเศษไม่ครอบคลุมจานวนประชากรทัง้ หมด สามารถใช้ขอ้ มูลการประมาณการ
ประชากรจากแหล่งอื่นทีห่ าได้ เมื่อจานวนเศษหรือส่วนหายไป ให้ใช้การประมาณการโดยตรงทีส่ านักงานสถิตแิ ห่งชาติ
ใช้ ข้อมูลที่มาจากแหล่งต่าง ๆ ให้การสนับสนุ นการประมาณการในระดับบุคคล ขณะที่จานวนเศษและส่วนมาจาก
แหล่งข้อมูลทีแ่ ตกต่างกัน ตามทีร่ ะบุลาดับความสาคัญไว้แล้ว
ในประเทศที่ไม่มรี ะบบการลงทะเบียนราษฎรหรือเมื่อระบบสามารถครอบคลุมข้อมูลการเกิดได้น้อยกว่าร้อยละ 90
อัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่น มาจากข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนและข้อมูลสามะโนประชากร ข้อมูลการ
ลงทะเบียนทีม่ คี วามครอบคลุมน้อยกว่าร้อยละ 90 อาจถูกนามาใช้ในบางประเทศ เมื่อแหล่งข้อมูลอื่น ๆ มีปัญหาด้าน
การเปรียบเทียบ และมีเพียงข้อมูลจากการลงทะเบียนเท่านัน้ ที่สามารถนามาประเมินแนวโน้ มได้ ในประ เทศที่มี
โครงการสารวจหลายโครงการ ให้ใช้การสารวจทีจ่ ดั ทาเป็ นรายปี หรือสองปี ครัง้ และมีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ก่อน

84
รายละเอียดแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประมาณการแต่ละตัว ดู United Nations, Department of Economic and Social
Affairs, Population Division (2017). World Fertility Data 2017 (POP/DB/Fert/Rev2017).
http://www.un.org/en/development/desa/population/publications/dataset/fertility/wfd2017.shtml

กระบวนการเก็บข้อมูล:
ข้อมูลจากทะเบียนราษฎร ข้อมูลการเกิด หรืออัตราการให้กาเนิดบุตรของมารดาวัยรุ่นมาจากรายงานระดับประเทศที่
ส่งไปยังฝ่ ายสถิติขององค์การสหประชาชาติ หรือฝ่ ายสถิติระดับภูมิภาค หรือ หน่ วยสถิติ (เช่น ESCWA ESCAP
CARICOM SPC) โดยสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ จานวนประชากรทีไ่ ด้รบั การตีพมิ พ์ในเอกสารการคาดการณ์ประชากร
โลกโดย UNPD ฉบับล่าสุด และแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ถือเป็ นข้อยกเว้นกรณีทไ่ี ม่มขี อ้ มูลทีต่ อ้ งการเป็ นอันดับแรก

ข้อมูลจากการสารวจที่ได้รบั จากการสารวจรายครัวเรือนระดับประเทศนัน้ จะนามาประสานกับข้อมูลอื่น ๆ ในระดับ


สากล อาทิ การสารวจสุขภาพและประชากร (Demographic and Health Surveys: DHS) การสารวจอนามัยเจริญพันธุ์
(the Reproductive Health Surveys: RHS) และการสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (Multiple Indicator Cluster Surveys:
MICS) รวมทัง้ การสารวจจากแหล่งทุนเอกชนอื่น ๆ ในระดับประเทศ การสารวจระดับประเทศอื่นใดทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของ
การส ารวจครอบครัว และการเจริญ พัน ธุ์ ข องยุ โ รป (Fertility and Family Surveys: FFS) หรือ โครงการสุ ข ภาพ
ครอบครัวของอาหรับ (Pan-Arab Project for Family Health: PAPFAM) อาจจะถูกนามาใช้ด้วยได้ ข้อมูลที่มาจาก
รายงานการสารวจหรือในบางกรณี ให้ใช้ขอ้ มูลจากรายงานเชิงวิเคราะห์ได้ เมื่อใดก็ตามทีค่ ่าการประมาณการสามารถ
หาได้ในรายงานการสารวจ ก็สามารถใช้ค่านัน้ โดยตรง หากมีความจาเป็ นต้องชี้แจ้ง ให้ติดต่อไปยังผู้สนับสนุ นการ
สารวจหรือหน่ วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ซึ่งอาจจะสามารถแก้ไขหรือจัดเรียบเรียงการประมาณการได้ ในกรณีอ่นื ๆ หากมี
ข้อมูลระดับย่อยอยู่ การประมาณการทีอ่ ยู่บนฐานของข้อมูลระดับประเทศสามารถทาได้โดยฝ่ ายประชากร

การประมาณการข้อมูลจากสามะโนประชากรที่หาได้จากรายงานสามะโนประชากรโดยตรงเป็ นแหล่งข้อมูลที่ควร
นามาใช้ ในกรณีดงั กล่าว อัตราทีผ่ ่านการจัดเรียบเรียงแล้วทีร่ ายงานโดยสานักงานสถิตแิ ห่งชาติเท่านัน้ ทีจ่ ะถูกนามาใช้
ส่วนในกรณีอ่นื อัตราการให้กาเนิดบุตรจากมารดาวัยรุ่นจะถูกนามาคานวณจากตารางการเกิดในช่วง 12 เดือนก่อน
หน้าตามอายุของมารดา และการกระจายตัวของประชากรตามสามะโนประชากรตามอายุและเพศ

นอกจากข้อมูลและค่าการประมาณการปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติโดยตรงแล้ว ฐานข้อมูลและ


เ ว็ บ ไ ซ ต์ ดั ง ต่ อ ไ ป นี้ ก็ ส า ม า ร ถ น า ม า ใ ช้ ไ ด้ : ก า ร ส า ร ว จ สุ ข ภ า พ แ ล ะ ป ร ะ ช า ก ร ( DHS)
(http://api.dhsprogram.com/#/index.html), ฐานข้อ มูลประชากรประจ าปี ข องฝ่ ายสถิติ แผนกเศรษฐกิจ และสัง คม
สานักเลขาธิการ สหประชาชาติ (http://data.un.org), ฐานข้อมูลภายในของฝ่ ายประชากร แผนกเศรษฐกิจและสังคม
ส า นั ก เ ล ข า ธิ ก า ร ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ ( ดู ข้ อ มู ล เ ผ ย แ พ ร่ ล่ า สุ ด ไ ด้ ที่
http://www.un.org/en/development/desa/population/publications/dataset/fertility/wfd2017.shtml),
Eurostat (http://ec.europa.eu/eurostat/data/database), ฐ า น ข้ อ มู ล ก า ร เ จ ริ ญ พั น ธุ์ ใ น ม นุ ษ ย์
(http://www.humanfertility.org), การรวบรวมข้อมูลการเจริญพันธุ์ในมนุ ษย์ (http://www.fertilitydata.org), และการ
สารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (http://mics.unicef.org/) ฐานข้อมูลการสารวจ (เช่น ฐานข้อมู ลเครือข่ายการสารวจราย
ครัวเรือนเชิงบูรณาการ) ทีส่ ามารถใช้เป็ นข้อมูลเพิม่ เติมนอกจากข้อมูลของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติและข้อมูลเฉพาะทาง

----------------------------------------------------------------------------------------

85
เป้ าหมายที่ 3: สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.8: บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ ารวมถึงการป้ องกันความเสี่ยงทางการเงิ น การเข้าถึง
การบริการสาธารณสุขจาเป็ นที่มีคณ ุ ภาพ และเข้าถึงยาและวัคซีนจาเป็ นที่ปลอดภัยมีประสิ ทธิ ภาพ มีคณ
ุ ภาพ
และมีราคาที่สามารถซื้อหาได้

ตัวชี้วดั 3.8.1: ความครอบคลุมของบริ การด้านสุขภาพที่จาเป็ น (นิ ยามความครอบคลุมของบริ การที่จาเป็ น


เฉลี่ ยโดยยึดการติ ดตามการรักษา ซึ่ งประกอบด้วย ภาวะเจริ ญพันธุ์ มารดา เด็กเกิ ดใหม่และสุขภาพเด็ก
โรคติ ดต่อ โรคไม่ติดต่อ และความสามารถในการเข้าถึงบริการระหว่างคนทั ่วไปและผู้ด้อยโอกาส)

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ความครอบคลุมของบริการด้านสุขภาพที่จาเป็ น (นิยามเป็ นความครอบคลุมของบริการที่จาเป็ นเฉลี่ยโดยยึด การ
ติดตามการรักษา ซึ่งประกอบด้วย ภาวะเจริญพันธุ์ มารดา เด็กเกิดใหม่และสุขภาพเด็ก โรคติดต่อ โรคไม่ตดิ ต่อ และ
ศักยภาพและความสามารถในการเข้าถึงบริการระหว่างคนทัวไปและผู ่ ด้ อ้ ยโอกาส)
ตัวชีว้ ดั คือดัชนีทร่ี ายงานเป็ นระดับทีไ่ ม่มหี น่วย (unitless scale) ตัง้ แต่ระดับน้อยกว่า 0 ถึง 100 ซึง่ คานวณเป็ นค่าเฉลีย่
เชิงเรขาคณิตของตัวชีว้ ดั การติดตามทัง้ 14 ตัวของการให้บริการด้านสุขภาพ

หลักการและเหตุผล:
เป้ าประสงค์ท่ี 3.8 หมายถึง “บรรลุการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า รวมถึงการป้ องกันความเสีย่ งทางการเงิ น การ
เข้าถึงการบริการสาธารณสุขจาเป็ นทีม่ คี ุณภาพ และเข้าถึงยาและวัคซีนจาเป็ นทีป่ ลอดภัย มีประสิทธิผล มีคุณภาพ ใน
ราคาทีส่ ามารถซื้อหาได้สาหรับทุกคน” โดยให้ความสาคัญกับประชาชนทุกคนและทุกชุมชนในการได้รบั บริการสุขภาพ
ที่มคี ุณภาพที่พวกเขาต้องการ (รวมถึงยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์สุขภาพอื่น ๆ) โดยไม่มปี ั ญหาด้านการเงิน มีการ
เลือกตัวชี้วดั สองตัวเพื่อติดตามเป้ าประสงค์ท่ี 3.8 ภายในกรอบงาน SDG ตัวชี้วดั 3.8.1 ใช้สาหรับความครอบคลุม
บริการด้านสุขภาพ และตัวชี้วดั 3.8.2 มุ่งเน้นไปทีค่ ่าใช้จ่ายด้านสุขภาพทีเ่ กี่ยวข้องกับงบประมาณของครัวเรือน เพื่อ
ระบุความยากลาบากทางการเงินทีเ่ กิดจากการจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาล เมื่อพิจารณาร่วมกัน ตัวชีว้ ดั 3.8.1 และ 3.8.2
ถูกกาหนดมาเพื่อตรวจจับมิตคิ วามครอบคลุมของบริการและมิตคิ วามคุม้ ครองทางการเงินตามลาดับของเป้ าประสงค์
3.8 ตัวชีว้ ดั 2 ตัวนี้ควรถูกติดตามร่วมกัน

ประเทศต่าง ๆ ได้ให้บริการทีจ่ าเป็ นมากมายสาหรับการดูแลสุขภาพ ทัง้ การส่งเสริม การป้ องกัน การรักษาและการ


ดูแล ตัวชี้วดั ความครอบคลุมของการบริการ – หมายถึงประชาชนได้รบั การบริการทีต่ นต้องการ – เป็ นวิธที ด่ี ที ส่ี ุดใน
การตามรอยกระบวนการในการให้บริการภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Health Coverage) เนื่องจาก
ตัวชีว้ ดั บริการสุขภาพเพียงตัวเดียวไม่เพียงพอสาหรับการติดตามหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ดัชนีการวัดจึงสร้างขึน้
จากตัวชี้วดั การติดตามทัง้ หมด 14 ตัว เลือกตามเกณฑ์การแพร่กระจายและเกณฑ์ทางสถิติ นี่รวมถึงตั วชี้วดั หลาย ๆ
ตัวทีถ่ ูกรวมเอาไว้ในเป้ าประสงค์ SDGs อื่น ๆ แล้วด้วย ทัง้ นี้เพื่อให้ภาระของการเก็บและรายงานข้อมูลต่าทีส่ ุด ดัชนีน้ี
ถูกรายงานเป็ นระดับทีไ่ ม่มหี น่วยตัง้ แต่ 0 ถึง 100 โดย 100 เป็ นค่าทีเ่ หมาะสม

86
แนวคิ ด:
ดัชนีของการครอบคลุมบริการด้านสุขภาพคานวณโดยใช้ค่าเฉลี่ยเชิงเรขาคณิตของตัวชี้วดั การติดตามทัง้ 14 ตัว
ดังต่อไปนี้ 14 ตัวชี้วดั ดังกล่าวถูกแสดงเป็ นบัญชีอยู่ด้านล่าง หากอยากทราบรายละเอียดเพิม่ เติมของแต่ละตัวชี้วดั
สามารถดูได้จาก
(http://www.who.int/healthinfo/universal_health_coverage/UHC_Tracer_Indicators_Metadata.pdf) และภาคผนวก
1 ตัวชีว้ ดั การติดตามมีดงั นี้ โดยแบ่งออกเป็ น 4 ประเภทตามประเภทตามความครอบคลุมของบริการ

I. อนามัยเจริญพันธุ์ สุขภาพมารดา สุขภาพทารกแรกเกิด และสุขภาพเด็ก


1. การวางแผนครอบครัว: ร้อยละของผูห้ ญิงในวัยเจริญพันธุ์ (อายุ 15-49 ปี ) ทีแ่ ต่งงานหรือใช้ชวี ติ กับคู่และ
ได้รบั การวางแผนครอบครัวตามทีต่ อ้ งการด้วยวิธกี ารสมัยใหม่ (ดูชุดข้อมูลตัวชีว้ ดั SDG 3.7.1 ทีน่ ่)ี
2. การดูแลการตัง้ ครรภ์และการคลอดบุตร: ร้อยละของผูห้ ญิงในวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15-49 ปี ทีม่ กี ารเกิดมี
ชีพ ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ทีไ่ ด้รบั บริการการฝากครรภ์ 4 ครัง้ หรือมากกว่า
3. การฉีดวัคซีนป้ องกันในเด็ก: ร้อยละของทารกทีไ่ ด้รบั วัคซีนโรคคอตีบ - บาดทะยัก – ไอกรน สามครัง้
4. การรักษาในเด็ก: ร้อยละของเด็กอายุต่ ากว่า 5 ปี ที่มีอาการน่ าสงสัยว่าจะเป็ นโรคปอดบวม (ไอและ
หายใจลาบากเนื่องจากปั ญหาทีห่ น้าอกและจมูกอุดตัน) ในช่วงสองสัปดาห์ก่อนการสารวจถูกนาไปพบผู้
ให้บริการสุขภาพหรือสถานบริการสุขภาพทีเ่ หมาะสม

II. โรคติดต่อ
5. วัณโรค: ร้อยละของผูป้ ่ วยวัณโรคทีต่ รวจพบและรักษาได้สาเร็จ
6. เอชไอวี / เอดส์: ร้อยละของผูท้ ต่ี ดิ เชือ้ เอชไอวีในปั จจุบนั ทีไ่ ด้รบั การรักษาด้วยยาต้านไวรัส
7. มาลาเรีย: ร้อยละของประชากรทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีร่ ะบาดของโรคมาลาเลีย มีการป้ องกันโดยนอนในมุง้ เคลือบ
ยาป้ องกันแมลง (สาหรับประเทศทีอ่ ยู่ในกลุ่มเสีย่ ง)
8. น้าและสุขาภิบาล: ร้อยละของครัวเรือนทีใ่ ช้สงิ่ อานวยความสะดวกด้านสุขาภิบาลทีด่ ขี น้ึ

III. โรคไม่ตดิ ต่อ


9. โรคความดันโลหิตสูง: ความชุกที่ถูกปรับมาตรฐานด้วยอายุแล้วของ ความดันโลหิตแบบปกติ (non-
raised blood pressure) (ความดันโลหิตซิสโตลิก <140 มม. ปรอทหรือความดันโลหิตไดแอสโตลิก <90
มม. ปรอท) ในผูใ้ หญ่อายุ 18 ปี ขน้ึ ไป
10. โรคเบาหวาน: ค่าเฉลี่ยที่ปรับมาตรฐานด้วยอายุแล้วของระดับน้ าตาลในเลือดเมื่องดอาหาร (Fasting
plasma glucose) ไป (mmol/L) สาหรับผูใ้ หญ่อายุ 25 ปี ขน้ึ ไป
11. ยาสูบ: ความชุกทีถ่ ูกปรับมาตรฐานด้วยอายุแล้วของผูใ้ หญ่ 15 ปี ขึน้ ไปทีไ่ ม่สูบบุหรีใ่ น 30 วันทีผ่ ่านมา
(ดูตวั ชีว้ ดั SDG 3.a.1 ทีน่ ่)ี
IV. การให้บริการและการเข้าถึง
12. การเข้าถึงโรงพยาบาล: เตียงของโรงพยาบาลต่อหัวประชากรเมื่อเทียบกับค่าแบ่งระดับสูงสุดที่ 18 เตียง
ต่อประชากร 10,000 คน
13. บุคลากรด้านสุขภาพ: ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสุขภาพ (แพทย์ จิตแพทย์ และศัลยแพทย์) ต่อหัวประชากรเมื่อ
เทียบกับค่าแบ่งระดับสูงสุดในแต่ละท้องถิน่ (ส่วนหนึ่งของตัวชีว้ ดั SDG 3.c.1 ดูชุดข้อมูล ทีน่ ่)ี

87
14. ความมั ่นคงด้า นสุ ข ภาพ: ตัว ชี้ว ัด ดัช นี ศ ัก ยภาพหลัก ของกฎอนามัยระหว่า งประเทศ (International
Health Regulations (IHR) ซึ่งเป็ นร้อยละเฉลี่ยของคุณลักษณะของศักยภาพหลัก 13 อย่างทีต่ ้องทาให้
ถึงตามเกณฑ์ (ดูขอ้ มูลตัวชีว้ ดั SDG 3.d.1 ทีน่ ่ี)

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ตัวชีว้ ดั การติดตามเหล่านี้มไี ว้เพื่อบ่งบอกถึงความครอบคลุมของบริการ ไม่ใช่รายการบริการและการรักษาด้านสุขภาพ
ที่ละเอียดหรือครบถ้วนสมบูรณ์ ท่จี าเป็ นต้องมีในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ า ตัวเลือกดัชนีการติดตาม 14
รายการได้รบั การคัดเลือกเพราะตัวชี้วดั เหล่านี้เป็ นทีย่ อมรับและมีขอ้ มูลทีถ่ ูกรายงานอย่างกว้างขวางจากประเทศต่าง
ๆ (หรือคาดว่าจะมีให้เข้าถึง อย่างกว้างขวางเร็วๆ นี้) ดังนัน้ ดัชนีน้ีจงึ สามารถถูกคานวณโดยใช้แหล่งข้อมูลทีม่ อี ยู่ได้
และไม่จาเป็ นต้องเริม่ ต้นรวบรวมข้อมูลใหม่เพียงเพื่อนามาคิดคานวณดัชนีน้ี

คาดว่าในปี ต่อ ๆ ไปตัวชี้วดั ทีเ่ กี่ยวข้องกับ SDG จะถูกนาไปใช้แทนตัวชี้วดั การติดตามปั จจุบนั บางส่วน (อ่านสรุปได้
ทีน่ ่ี) นอกจากนี้ยงั คาดว่าตัวชี้วดั ในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและยาทีจ่ าเป็ นจะถูกรวมอยู่ในการคานวณดัชนีเมื่อ
ตัวชี้วดั เหล่านัน้ ถูกนามาใช้ได้ (ภาคผนวก 2) จังหวะเวลาของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะขึน้ อยู่กบั ค่าทีเ่ ทียบเคียงได้
สาหรับตัวชี้วดั เหล่านี้จะมีในประเทศส่วนใหญ่เมื่อใดและจะทาตามการปรึกษาหารือกับประเทศสมาชิก WHO ทัง้ หมด
รวมถึงจุดประสานงานของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติทไ่ี ด้รบั การเสนอชื่อและรับรองโดยคณะตัวแทนระหว่างองค์กรและ
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านตัวชีว้ ดั เป้ าหมายการพัฒนาทีย่ ั ่งยืน (Inter-Agency and Expert Group on Sustainable Development
Goal Indicators: IAEG-SDG)

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ดัชนีคานวณด้วยค่าเฉลี่ยเรขาคณิต โดยใช้วธิ กี ารเดียวกับดัชนีการพัฒนามนุ ษย์ (Human Development Index) การ
คานวณตัวชีว้ ดั 3.8.1 นัน้ จาเป็ นต้องมีการเตรียมการตัวชีว้ ดั การติดตามทัง้ 14 ตัวก่อนเป็ นขัน้ แรก เพื่อให้สามารถรวม
ค่าเหล่านัน้ เข้าสู่ดชั นี แล้วคานวณดัชนีจากค่าเหล่านัน้

ขัน้ แรกนาตัวชี้วดั การติดตามมาอยู่ในระบบการวัดเดียวกัน โดยค่า 0 เป็ นค่าต่าสุด และ 100 เป็ นค่าทีเ่ หมาะสมที่สุด
ระบบการวัดนี้เป็ นระบบการวัดโดยปกติของการวัดสาหรับตัวชีว้ ดั ส่วนใหญ่ เช่น ร้อยละของทารกทีไ่ ด้รบั วัคซีนตัง้ แต่
ร้อยละ 0 ถึง 100 อย่างไรก็ตามสาหรับตัวชี้วดั บางประเภทจาเป็ นต้องมีการจัดมาตรวัดใหม่เพื่อให้ได้ค่าทีเ่ หมาะสม
ระหว่าง 0-100 ดังนี้:
• การจัดระบบการวัดใหม่โดยใช้ค่าขัน้ ต่าทีไ่ ม่เป็ น 0 เพื่อให้ได้ความละเอียดมากขึน้ (วิธกี ารนี้ “ยืด” กระจาย
แบบข้ามประเทศ) ความชุกของความดันโลหิตไม่สงู และความชุกของการไม่ใช้ยาสูบ เป็ นตัวอย่างของการจัด
มาตรวัดใหม่โดยใช้ค่าร้อยละ 50 เป็ นอย่างน้อย
Rescaled value = (X-50)/(100-50)*100

• การจัด มาตรวัดใหม่สาหรับ การวัดค่ า ต่อ เนื่ อ ง: ค่ า เฉลี่ย ของระดับ น้ า ตาลในเลือ ดเมื่อ งดอาหาร ( fasting
plasma glucose) ต้องใช้การวัดค่าต่อเนื่อง (หน่วย mmol / L) การแปลงเป็ นระดับ 0 ถึง 100 โดยใช้ค่าความ
เสี่ยงขัน้ ต่ าทางทฤษฎีชวี วิทยา (5.1 mmol / L) และสังเกตการณ์จนถึงค่าสูงสุดจากหลาย ๆ ประเทศ (7.1
mmol / L)
Rescaled value = (7.1 - original value)/(7.1-5.1)*100

88
• ค่าแบ่งระดับสูงสุดสาหรับตัวชีว้ ดั ประเภทอัตรา (rate indicators): ความหนาแน่นของเตียงในโรงพยาบาลและ
จานวนบุคลากรด้านสุขภาพถูกกาหนดไว้ทค่ี ่าแบ่งระดับ สูงสุด และค่าที่สูงกว่าค่าแบ่งระดับนี้น้ีจะยังคงทีท่ ่ี
100 ค่าแบ่งระดับเหล่านี้ขน้ึ อยู่กบั ค่าต่าสุดทีส่ งั เกตได้ในกลุ่มประเทศ OECD

จานวนเตียงโรงยาบาลต่อประชากร 10,000 คนที่ ถูกปรับระบบการวัดแล้ว = minimum(100, original value / 18*100)


จานวนอายุรแพทย์ต่อประชากร 1,000 คน ทีถ่ ูกปรับระบบการวัดแล้ว = minimum(100, original value / 0.9*100)
จานวนจิตแพทย์ต่อประชากร 100,000 คน ทีถ่ ูกปรับระบบการวัดแล้ว= minimum(100, original value / 1*100)
จานวนศัลยแพทย์ต่อประชากร 100,000 คน ทีถ่ ูกปรับระบบการวัดแล้ว= minimum(100, original value / 14*100)

เมื่อค่าตัวชี้วดั การติดตามทัง้ หมดอยู่ในมาตรวัด 0 ถึง 100 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิตจะถูกคานวณภายในแต่ละขอบเขตการ


ให้บริการด้านสุขภาพทัง้ สี่ด้านจากนัน้ จะทาการคานวณค่าเฉลี่ยทางเรขาคณิตของค่าทัง้ สี่ หากค่าของตัวชี้วดั การ
ติดตามเป็ นศูนย์ จะถูกตัง้ ค่าเป็ น 1 (จาก 100) ก่อนคานวณค่าเฉลี่ยเชิงเรขาคณิตออกมา แผนภาพแสดงการคานวณ
ด้านล่าง

สาหรับประเทศทีจ่ านวนการเสียชีวติ จากโรคมาลาเรียต่า ตัวชี้วดั การติดตามสาหรับจานวนการใช้มงุ้ กันแมลงจะถูกตัด


ออกไป

การจาแนกข้อมูล:
ความเสมอภาคเป็ นศูนย์กลางของคาจากัดความของ UHC ดังนัน้ ดัชนีความครอบคลุมการให้บริการของ UHC จึงควร
ใช้ในการสื่อสารข้อมูลความรู้ เกี่ยวกับความไม่เท่าเทียมในการให้บริการภายในประเทศ ซึ่งสามารถทาได้โดยนาเสนอ

89
ค่าดัชนีแยกกันระหว่างจานวนประชากรของประเทศกับจานวนประชากรที่ด้อยโอกาส เพื่อชี้ให้เห็นความแตกต่าง
ระหว่างสองกลุ่ม

สาหรับระดับประเทศ ที่ตงั ้ ทางภูมศิ าสตร์จะมีความเป็ นไปได้มากทีส่ ุดในการจาแนกข้อมูลภายในประเทศตามระดับ


ความครอบคลุมโดยเฉลี่ยวัดจากแหล่งข้อมูลทีม่ อี ยู่ โดยดัชนี UHC สามารถคานวณแยกต่างหากได้ เช่น ผูอ้ ยู่อาศัยใน
จังหวัดหรือเขตเมือง กับผูท้ อ่ี ยู่อาศัยในเขตชนบท ซึง่ จะช่วยให้สามารถเปรียบเทียบการให้บริการภายในประเทศได้ ใน
ปั จจุบนั ข้อมูลที่พร้อมใช้มากที่สุดสาหรับการจาแนกข้อมูลในมิติอ่นื ๆ ของความไม่เท่าเทียม เช่น ความมั ่งคั ่งของ
ครัวเรือน เป็ นตัวชี้วดั ของความครอบคลุมในหมวดบริการอนามัยด้านการสืบพันธุ์ การมีบุตร ทารกแรกเกิด และ
สุขภาพเด็ก เป็ นต้น ความไม่เท่าเทียมที่สงั เกตเห็นได้ในมิติน้ี สามารถใช้เป็ นตัววัดตัวแทน (proxy) เพื่อทาความเข้า
ใจความแตกต่างในความครอบคลุมของการให้บริการในมิตคิ วามไม่เท่าเทียมหลัก ๆ แนวทางนี้ควรถูกแทนทีด่ ว้ ยการ
จาแนกข้อมูลแบบเต็มรูปแบบของตัวชีว้ ดั การติดตามทัง้ 14 ตัวเมื่อมีขอ้ มูลทีส่ ามารถใช้ได้

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
จุ ด เริ่ม ต้น สาหรับ การค านวณดัชนี คือ การรวบรวมข้อมูล ที่มีอยู่สาหรับตัว ชี้วดั การติดตามแต่ละตัว ในหลายกรณี
ประเด็นนี้เกีย่ วข้องกับการใช้ขอ้ มูลอนุกรมเวลา (time series) ของแต่ละประเทศทีผ่ ลิตหรือสอบทานโดยหน่วยงานของ
องค์การสหประชาชาติโดยการปรึกษาหารือของรัฐบาลของประเทศนัน้ ๆ (เช่น ความครอบคลุมของการฉีดวัคซีน การ
เข้าถึงสุขาภิบาล ความครอบคลุมการรักษาเชื้อเอชไอวี เป็ นต้น) ข้อมูลอนุ กรมเวลาทีถ่ ูกเผยแพร่บางชุดนัน้ เกี่ยวข้อง
กับ แบบจ าลงทางคณิ ต ศาสตร์ใ นการสมานแหล่ ง ข้อ มูล จากหลายแหล่ ง หรือ ก าหนดแทนค่ า ที่ห ายไป อ่ า นส รุ ป
รายละเอียดได้ทน่ี ่ี และในภาคผนวก 1

เมื่อรวบรวมข้อมูลมาแล้ว อาจยังคงมีค่าทีต่ กหล่นสาหรับบางประเทศ-ปี สาหรับตัวชีว้ ดั บางตัว การคานวณดัชนี UHC


นัน้ จาเป็ นต้องมีค่าสาหรับตัวชีว้ ดั การติดตามสาหรับแต่ละประเทศ ดังนัน้ การกาหนดแทนค่าจึงจาเป็ นต้องทาเพื่อเติม
ช่องว่างข้อมูลเหล่านี้ แนวทางทีใ่ ช้กนั ในปั จจุบนั เกีย่ วข้องกับชุดคาสั ่งทีส่ ร้างไว้ตามขันตอนอย่
้ างง่ายสาหรับการกาหนด
แทนค่า (Simple imputation algorithm) สาหรับแต่ละตัวชีว้ ดั คือ:
• ถ้าประเทศมีค่าตกหล่นระหว่าง 2 ปี ให้ใช้การประเมินค่าในช่วงเชิงเส้น (linear interpolation) เพื่อเติมข้อมูล
ทีห่ ายไป สาหรับในการหาค่าของปี ระหว่างกลาง
• ถ้าประเทศมีขอ้ มูลของปี ทผ่ี ่าน ๆ มา แต่ไม่มขี อ้ มูลปั จจุบนั ให้ใช้การประมาณค่านอกช่วงแบบคงที่ (constant
extrapolation) ในการเติมข้อมูลทีห่ ายไปสาหรับหาค่าของปี ปัจจุบนั
• ถ้าประเทศไม่มขี อ้ มูล สามารถใช้ค่ากลางของส่วนภูมภิ าค (regional median)ที่คานวณมาจากภูมภิ าคของ
ธนาคารโลก

จากจังหวะเวลาและการกระจายตัวของการสารวจด้านสุขภาพต่าง ๆ และกลไกการรวบรวมข้อมูลอื่น ๆ ประเทศหลาย


ประเทศจึงไม่ได้รวบรวมและรายงานตัวชี้วดั การติดตาม 14 ตัวของความครอบคลุมของบริการด้านสุขภาพในแต่ละปี
ดังนัน้ ขอบเขตที่กาหนดในการกาหนดแทนข้อมูลที่ตกหล่นไปควรต้องสอดคล้องกับค่าดัชนี และมีการติดตามค่าใน
ระดับประเทศทีน่ ัน้ จะเหมาะสมทีส่ ุดหากกระทบในช่วงเวลาที่กว้างขึน้ เช่น ทุก ๆ 5 ปี เพื่อให้ได้มกี ารเก็บข้อมูลใหม่
ของ ทุก ๆ ตัวชีว้ ดั สาหรับในตอนนี้ให้ใช้เส้นฐานสาหรับ SDG 2015 ทีค่ านวณโดย WHO ไปก่อน

90
ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ค่าต่าง ๆ ทีร่ วบรวมได้จากระดับประเทศสามารถนามาใช้ในการคานวณสาหรับค่าในระดับภูมภิ าคและระดับโลกได้

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคและระดับโลกคานวณโดยใช้จานวนประชากรของประเทศนัน้ ในการคานวณหา
ค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักของค่าจาเพาะสาหรับแต่ละประเทศ (weighted average of country-specific values) สาหรับดัชนี
วิธกี ารนี้นับว่ามีเหตุผลบนฐานทีว่ ่า UHC เป็ นทรัพย์สนิ ของประเทศและดัชนีของการบริการทีจ่ าเป็ นเหล่านี้เป็ นการวัด
ทีส่ รุปรวมการเข้าถึงบริการทีจ่ าเป็ นของประชากรในแต่ละประเทศ

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
การหาดัชนีความครอบคลุมของบริการ ใช้ขอ้ มูลสาธารณะทีม่ อี ยู่และใช้ขอ้ มูลนัน้ ประมาณการตัวชี้วดั ติดตาม ตัวเลข
เหล่านี้ได้รบั การปรึกษาหารือในระดับประเทศแล้ว (เช่น สาหรับความครอบคลุมการฉีดวัคซีน) หรือนามาจากข้อมูล
รายงานภายในประเทศ สาหรับค่าเส้นฐานของประเทศปี พ.ศ. 2558 สาหรับดัชนีน้นี นั ้ ผ่านการปรึกษาหารือกับประเทศ
สมาชิก WHO แล้วในปี พ.ศ. 2560

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
ตัวชี้วดั การติดตามหลายตัวทีแ่ สดงถึงความครอบคลุมด้านบริการสุขภาพ วัดโดยใช้การสารวจรายครัวเรือน อย่างไรก็
ตาม ข้อมูลด้านการบริหาร สถานที่ สิง่ อานวยความสะดวก และระบบเฝ้ าระวังนัน้ ใช้สาหรับตัวชี้วดั บางตัว ดูขอ้ มูล
อ้างอิงสาหรับตัวชีว้ ดั การติดตามแต่ละตัวถูกอธิบายในรายละเอียดทีน่ ่ี และในภาคผนวก 1

สาหรับค่าที่ใช้ในการคานวณดัชนี ค่าต่าง ๆ จะถูกนามาจากแหล่งข้อมูลที่ได้รบั การเผยแพร่ รวมถึงชุดข้อมูลและ


ค่าประมาณการทีถ่ ูกรวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์การสหประชาชาติ โดยได้สรุปไว้ในลิงก์ดา้ นบน

กระบวนการเก็บข้อมูล:
กลไกในการรวบรวมข้อมูลจากประเทศต่าง ๆ นัน้ แตกต่างกันไปตามตัวชี้วดั ทัง้ 14 ตัว อย่างไรก็ตามในหลายกรณี
หน่ วยงานของสหประชาชาติได้รวบรวมและวิเคราะห์แหล่งข้อมูลระดับประเทศทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อดาเนินการปรึกษาหารือ
กับทางรัฐบาล สาหรับดัชนีความครอบคลุมการให้บริการของ UHC เมื่อข้อมูลทีม่ อี ยู่ในตัวชี้วดั การติดตาม 14 ฉบับนี้
ได้รบั การตรวจสอบแล้ว ทาง WHO จะทาการปรึกษาหารือกับรัฐบาลในประเทศนัน้ ๆ ในการตรวจสอบวิธกี ารคานวณ
ตัววัดต่าง ๆ อีกครัง้ เพื่อให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของแต่ละประเทศ

----------------------------------------------------------------------------------------

91
เป้ าหมายที่ 3 สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.9: ลดจานวนการตายและการเจ็บป่ วยจากสารเคมีอนั ตรายและจากมลพิ ษและการปนเปื้ อน
ทางอากาศ น้า และดิ น ให้ลดลงอย่างมาก ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 3.9.1: อัตราการตายที่เกิ ดจากมลพิ ษทางอากาศในบ้านเรือนและในบรรยากาศ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
อัตราการตายในครัวเรือนทีเ่ กิดจากผลกระทบร่วมกันของมลพิษทางอากาศและสภาพแวดล้อม สามารถแสดงได้ดงั นี้:
จานวนผูเ้ สียชีวติ (อัตราการตาย) อัตราการตายคานวณโดยการหารจานวนผูต้ ายด้วยจานวนประชากรทัง้ หมด (หรือถ้า
มีการใช้กลุ่มประชากรอื่น เช่น เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ให้ระบุดว้ ย)

หลักฐานจากการศึกษาการแพร่กระจายแสดงให้เห็นว่ามีการเชื่อมโยงกันระหว่างการสัมผัสกับมลพิษทางอากาศกับโรค
ทีเ่ กิดขึน้ ดังนี้:
- การติดเชือ้ ทางเดินหายใจเฉียบพลันในเด็กเล็ก (อายุต่ากว่า 5 ปี โดยเฉลีย่ )
- โรคหลอดเลือดสมองในผูใ้ หญ่ (อายุ 25 ปี ขน้ึ ไป)
- โรคหัวใจขาดเลือด (IHD) ในผูใ้ หญ่ (อายุ 25 ปี ขน้ึ ไป)
- โรคปอดอุดตันเรือ้ รัง (COPD) ในผูใ้ หญ่ (อายุ 25 ปี ขน้ึ ไป) และ
- มะเร็งปอดในผูใ้ หญ่ (อายุ 25 ปี ขน้ึ ไป)

หลักการและเหตุผล:
ในฐานะทีเ่ ป็ นส่วนหนึ่งของโครงการทีใ่ หญ่กว่าทีป่ ระเมินความเสีย่ งหลักทีม่ ตี อ่ สุขภาพ การเสียชีวติ ทีเ่ กิดจากการสัมผัส
กับมลพิษทางอากาศ (กลางแจ้ง) รอบข้าง และครัวเรือน (ในร่ม) และมลพิษทางอากาศจากการใช้เชื้อเพลิงประกอบ
อาหารก็ถูกประเมินด้วย มลพิษทางอากาศโดยรอบเป็ นผลมาจากการปล่อยมลพิษจากอุตสาหกรรม ครัวเรือน รถยนต์
และรถบรรทุก ซึ่งรวมเป็ นสารพิษที่ซบั ซ้อนทางมลพิษทางอากาศ และส่วนใหญ่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ในบรรดา
มลพิษเหล่านี้ อนุภาคละเอียดมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์มากทีส่ ุด โดยเชือ้ เพลิงทีก่ ่อมลพิษนัน้ เป็ นทีเ่ ข้าใจกันว่ามาจาก
การเผาไม้ถ่านหิน มูลสัตว์ ถ่าน และของเสียจากพืช รวมถึงน้ามันก๊าด

มลพิษทางอากาศเป็ นความเสีย่ งด้านสิง่ แวดล้อมทีใ่ หญ่ทส่ี ุดต่อภาวะสุขภาพ ผลกระทบส่วนใหญ่จะตกอยู่ทป่ี ระชากรใน


ประเทศทีม่ รี ายได้ต่าและปานกลาง

แนวคิ ด:
การตายทีเ่ กิดขึน้ จากการสัมผัสกับมลพิษทางอากาศภายนอก (กลางแจ้ง) และมลพิษทางอากาศที่ใช้ในครัวเรือน (ในที่
ปิ ด) และมลพิษทางอากาศจากเชื้อเพลิงทีใ่ ช้ในการประกอบอาหารนัน้ ถูกประเมินด้วย มลพิษทางอากาศโดยรอบเป็ น
ผลมาจากการปล่อยมลพิษจากอุตสาหกรรม ครัวเรือน รถยนต์และรถบรรทุก ซึ่งรวมเป็ นสารพิษทีซ่ บั ซ้อนทางมลพิษ
ทางอากาศ และส่วนใหญ่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ในบรรดามลพิษเหล่านี้ อนุ ภาคละเอียดมีผลต่อสุขภาพของมนุ ษย์

92
มากที่สุด โดยเชื้อเพลิงทีก่ ่อมลพิษนัน้ เป็ นทีเ่ ข้าใจกันว่ามาจากการเผาไม้ถ่านหิน มูลสัตว์ ถ่าน และของเสียจากพืช
รวมถึงน้ามันก๊าซ

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
การประมาณการผลกระทบร่วมกันของปั จจัยเสีย่ งต่าง ๆ นัน้ มีความเป็ นไปได้ หากความเป็ นอิสระต่อกันและความมี
สหสัมพันธ์ในระดับต่าระหว่างปั จจัยเสีย่ งต่าง ๆ กับผลกระทบต่อโรคเดียวกันสามารถเป็ นข้อสมมติได้ (Ezzati et al,
2003) อย่างไรก็ตามสาหรับปั ญหามลพิษทางอากาศ มีขอ้ จากัดในการประมาณการผลกระทบร่วมคือ: ความรูท้ จ่ี ากัด
เกีย่ วกับการกระจายตัวของประชากรทีส่ มั ผัสกับมลพิษทางอากาศทัง้ ในครัวเรือนและภายนอกบ้าน สหสัมพันธ์ระหว่าง
การสัมผัสมลพิษระดับบุคคลเนื่องจากมลพิษทางอากาศในครัวเรือนเป็ นหนึ่งในสาเหตุของมลพิษในบรรยากาศภาย
นอกบ้านและการปฏิสมั พันธ์กนั แบบไม่เป็ นเส้นตรงของปั จจัยเหล่านี้ (Lim et al, 2012; Smith et al, 2014) อย่างไรก็ดี
ในหลายภูมภิ าค มลพิษทางอากาศจากภายในครัวเรือนยังคงเป็ นปั ญหาของผูอ้ ยู่อาศัยในชนบท ในขณะทีม่ ลพิษทาง
อากาศภายนอกมักจะเป็ นปั ญหาของผู้อยู่อาศัยในเมือง ในบางทวีป หลายๆ ประเทศก็ไม่ได้รบั ผลกระทบจากมลพิษ
ทางอากาศภายในครัวเรือนแต่ได้รบั ผลกระทบรุนแรงจากมลพิษทางอากาศภายนอก ถ้าตัง้ สมมุติฐานว่ามลพิษทาง
อากาศทัง้ สองประเทศเป็ นอิสระต่อกันและมีสหสัมพันธ์กนั เล็กน้อย การประมาณการแบบหยาบ ๆ ของผลกระทบรวมก็
สามารถคานวณได้ ซึง่ จะน้อยกว่าผลรวมของผลกระทบจากปั จจัยเสีย่ งทัง้ สองปั จจัย

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
การเสียชีวติ ที่เป็ นผลมาจากปั จจัยเสี่ยงข้างต้นนัน้ สามารถถูกคานวณได้โดย ขัน้ ตอนแรก รวบรวมข้อมูลของความ
เสี่ยงที่เพิม่ ขึน้ (หรือความเสี่ยงสัมพัทธ์) ของโรคทีเ่ กิดจากการสัมผัส กับ ข้อมูลที่ว่ามีประชากรวงกว้างแค่ไหนทีต่ ้อง
สัมผัสกับอากาศนี้ (เช่น ค่าเฉลี่ยรายปี ของอนุ ภาคฝุ่นต่อสัดส่วนประชากรที่สูดอากาศเข้าไป สัดส่วนของประชากรที่
ต้องอาศัยเชือ้ เพลิงทีก่ ่อมลพิษในการประกอบอาหาร)

วิธนี ้ีช่วยให้การคานวณ 'สัดส่วนประชากรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ' (Population attributable fraction: PAF) ซึ่งเป็ นเศษส่วน
ของโรคทีพ่ บในประชากรทีเ่ ป็ นเหตุมาจากการรับอากาศมีพษิ เข้าไป (เช่น ในกรณีของค่าเฉลีย่ รายปี ของอนุภาคฝุ่นกับ
การได้รบั มลพิษจากเชือ้ เพลิงสาหรับประกอบอาหาร)

การนาเศษส่วนนี้ไปคูณกับจานวนการเสียชีวติ ทัง้ หมดทีเ่ กิดจากโรค (เช่น จานวนการเสียชีวติ จากโรคหัวใจและปอด)


จะได้จานวนผูเ้ สียชีวติ ทัง้ หมดทีเ่ ป็ นผลมาจากการสัมผัสกับปั จจัยเสีย่ งเฉพาะนัน้ ๆ (ในตัวอย่างทีใ่ ห้ไว้ขา้ งต้น , ปั จจัย
เสีย่ งคือมลภาวะทางอากาศโดยรอบและในครัวเรือน)

ในการประมาณค่าผลกระทบร่วมของปั จจัยเสี่ยงต่าง ๆ สัดส่ วนประชากรที่ได้รบั ผลกระทบร่วม (a joint population


attributable fraction) จะต้องถูกคานวณ ดังทีอ่ ธิบายใน Ezzati et al (2003)

อัตราการเสียชีวติ ทีเ่ กีย่ วข้องกับมลพิษทางอากาศในครัวเรือนและในอากาศโดยรอบ ได้รบั การประมาณการโดยยึดเอา


การคานวณสัดส่วนประชากรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบร่วมทีอ่ ยู่ภายใต้ขอ้ สมมติว่าการสัมผัสกับมลพิษทีก่ ระจายตัวอย่างเป็ น
อิสระต่อกันและปั จจัยเสีย่ งเหล่านัน้ ก็เป็ นอิสระต่อกันดังทีไ่ ด้อธิบายใน (Ezzati et al, 2003)

สัดส่วนประชากรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบร่วม (The joint population attributable fraction: PAF) คานวณโดยสูตร:

93
PAF=1-PRODUCT (1-PAFi)
โดย PAFi คือ PAF ของปั จจัยเสีย่ งแต่ละตัว

PAF ของมลพิษในอากาศภายนอกและ PAF ของอากาศภายในครัวเรือนจะประเมินแยกกันโดยยึดเอาจากการประเมิน


ความเสีย่ งเปรียบเทียบ (Ezzati et al, 2002) และกลุ่มผูเ้ ชีย่ วชาญของ รายงานภาระโรคในระดับโลก (Global Burden
of Disease: GBD) ประจาปี 2010 (Lim et al, 2012; Smith et al, 2014)

สาหรับการได้รบั มลพิษจากอากาศภายนอก ค่าเฉลีย่ รายปี ของอนุภาคฝุ่น PM2.5 ได้ถูกทาเป็ นแบบจาลองดังทีอ่ ธิบาย


ไว้ใน (WHO 2016, forthcoming) หรือดูจากตัวชีว้ ดั 11.6.2

สาหรับการได้รบั มลพิษทางอากาศภายในครัวเรือน สัดส่วนของประชากรทีต่ ้องพึง่ เชื้อเพลิงทีก่ ่อมลพิษในการประกอบ


อาหารเป็ นหลักมีกาหนดแบบจาลองไว้ใ นตัวชี้วดั 7.1.2 (เชื้อเพลิงเป็ นพิษ=1 เชื้อเพลิงสะอาด) รายละเอียดของ
แบบจาลองมีเผยแพร่ใน (Bonjour et al, 2013)

มีการใช้ ฟั งก์ชนการสั
ั่ มผัส -การตอบสนองแบบบูรณาการ (the Integrated Exposure-Response Function: IER) ซึ่ง
พัฒนาขึน้ สาหรับ GBD 2010 (Burnett et al, 2014) และปรับปรุงเพิม่ เติมสาหรับการศึกษา GBD 2013 (Forouzanfar
et al, 2015)

ร้อยละของประชากรทีส่ มั ผัสกับปั จจัยเสีย่ งจาเพาะ (ในทีน่ ้ีคอื มลพิษทางอากาศโดยรอบ เช่น PM2.5) ถูกจัดทาโดยแต่
ละประเทศโดยการเพิม่ ขึ้นเล็กน้อยของ 1 ug / m3 ; ความเสี่ยงสัมพัทธ์จะถูกคานวณสาหรับการเพิม่ PM2.5 แต่ละ
หน่ วย โดยอิงตาม IER ความเข้มข้นแบบสวนทางข้อเท็จจริง (the counterfactual concentration) ถูกเลือกค่าให้อยู่
ระหว่าง 5.6 ถึง 8.8 ug / m3 ตามทีอ่ ธิบายไว้ใน (Ezzati et al, 2002; Lim et al, 2012) สัดส่วนประชากรของประเทศ
สาหรับ ALRI, COPD, IHD, โรคหลอดเลือดสมอง และมะเร็งปอด คานวณโดยใช้สตู รต่อไปนี้

PAF=SUM(Pi(RR-1)/(SUM(RR-1)+1)

โดยที่ i คือระดับ PM2.5 ใน ug / m3 และ Pi คือร้อยละของประชากรที่สมั ผัสกับระดับมลพิษทางอากาศในระดับนัน้


และ RR คือค่าความเสีย่ งสัมพัทธ์

โดยวิธนี ้สี ามารถใช้คานวณมลพิษทางอากาศในครัวเรือนได้เช่นกัน ดูรายละเอียดได้จาก (WHO 2014a)

การจาแนกข้อมูล:
ชุดข้อมูลนาเสนอโดย ประเทศ เพศ โรค และอายุ

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลให้เว้นว่างไว้

94
ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลจะไม่มรี ายงานในค่าเฉลีย่ ระดับภูมภิ าคและระดับโลก

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
จานวนการตายของประชากรจาแนกโดยประเทศถูกรวมและหารโดยจานวนประชากรของประเทศซึง่ รวมอยู่ในภูมภิ าค
(ผลรวมระดับภูมภิ าค) หรือจานวนประชากรทัง้ หมด (ผลรวมระดับโลก)

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ความแตกต่างของข้อมูลระหว่างระดับประเทศและระดับนานาชาติอาจเป็ นเพราะ:
- ข้ อ มู ล จากความแตกต่ า งของระดับ มลพิ ศ ทางอากาศที่ ไ ด้ ร ับ (ค่ า เฉลี่ ย ต่ อ ปี ของอนุ ภ าคฝุ่ นขนาดเล็ ก กว่ า
เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 um สัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีในการประกอบอาหาร)
- การประมาณค่าการสัมผัส-ความเสีย่ ง (exposure-risk estimates) ทีแ่ ตกต่างกัน
- ข้อมูลสัดส่วนการตายทีแ่ ตกต่างกัน

แหล่งข้อมูล
การสัมผัสกับมลพิษ: ตัวชีว้ ดั 7.1.2 ใช้ในการคานวณหาค่ามลพิษทางอากาศในครัวเรือน

ใช้ค่าเฉลีย่ ความเข้มข้นของฝุ่นละอองทีเ่ ล็กกว่า 2.5 um ต่อปี เป็ นตัวชีว้ ดั การสัมผัสกับมลพิษทางอากาศรอบข้าง ข้อมูล


ดังกล่าวถูกสร้างเป็ นแบบจาลองตามกระบวนการทีไ่ ด้อธิบายไว้ในตัวชีว้ ดั 11.6.2

ฟั งก์ชนั การสัมผัส-ความเสีย่ ง: ใช้ฟังก์ชนการสั


ั่ มผัส -ความเสีย่ งแบบบูรณาการ (IER) ทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ สาหรับ GBD 2010
(Burnett et al, 2014) และได้รบั การปรับปรุงเพิม่ เติมสาหรับการศึกษา GBD 2013 (Forouzanfar et al, 2015)

ข้อมูลสุขภาพ: จานวนการเสียชีวติ จากโรค ประเทศ เพศ และอายุ ได้รบั การรวบรวมโดยองค์การอนามัยโลก (WHO)

----------------------------------------------------------------------------------------

95
เป้ าหมายที่ 3 สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิ ภาพสาหรับทุกคนในทุกวัย
เป้ าประสงค์ 3.b: สนับสนุนการวิ จยั และการพัฒนาวัคซีนและยาสาหรับโรคติ ดต่อและไม่ติดต่อที่ส่งผลกระทบ
โดยตรงต่อประเทศกาลังพัฒนา ให้มีการเข้าถึงยาและวัคซีนจาเป็ นในราคาที่สามารถซื้อหาได้ ตามปฏิ ญญา
โดฮาความตกลงว่าด้วยสิ ทธิ ในทรัพย์สินทางปั ญญาที่ เกี่ ยวกับการค้าและการสาธารณสุข ซึ่ งเน้ นยา้ สิ ทธิ
สาหรับประเทศกาลังพัฒนาที่ จะใช้บทบัญญัติในความตกลงว่าด้วยสิ ทธิ ในทรัพย์สินทางปั ญญาที่ เกี่ยวกับ
การค้าอย่างเต็มที่ในเรื่องการผ่อนปรนเพื่อจะปกป้ องสุขภาพสาธารณะและโดยเฉพาะการเข้าถึงยาโดยถ้วน
หน้ า

ตัวชี้วดั 3.b.1: สัดส่วนของประชากรเป้ าหมายที่ได้รบั การครอบคลุ มด้วยวัคซีนทัง้ หมดที่รวมไว้ในโครงการ


ของประเทศ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ความครอบคลุมของวัคซีน DTP (ได้รบั ครัง้ ที ่ 3): ร้อยละของทารกทีร่ อดชีวติ ทีไ่ ด้รบั วัคซีนป้ องกันโรคคอตีบ 3 ครัง้
และวัคซีนป้ องกันบาดทะยักบาดทะยัก 3 ครัง้ ในแต่ละปี

ความครอบคลุมของวัคซีนหัด (ได้รบั ครัง้ ที ่ 2): ร้อยละของเด็กทีไ่ ด้รบั วัคซีนครบสองครัง้ ตามระยะเวลาทีแ่ นะนาทัว่


ประเทศ ผ่านบริการการสร้างภูมคิ มุ้ กันโรคประจาปี ทก่ี าหนด

ความครอบคลุมของวัคซีนโรคปอดอักเสบ (ครัง้ สุดท้ายตามกาหนด): ร้อยละของทารกทีร่ อดชีวติ ทีไ่ ด้รบั วัคซีน


ป้ องกันโรคปอดบวมทีแ่ นะนาทัวประเทศในปี
่ ทก่ี าหนด

ความครอบคลุมของวัคซีน HPV (ครัง้ สุดท้ายตามกาหนด): ร้อยละของเด็กหญิงอายุ 15 ปี ทีไ่ ด้รบั ปริมาณวัคซีน


HPV ตามกาหนด

หลักการและเหตุผล:
ตัวชี้วดั นี้มจี ุดมุ่งหมายเพื่อวัดการเข้าถึงวัคซีนรวมถึงวัคซีนทีเ่ พิง่ กาหนดให้มเี พิม่ เติมหรือใช้น้อยกว่าที่ควรจะเป็ นใน
ระดับประเทศ ในทศวรรษทีผ่ ่านมาทุกประเทศได้มกี ารเพิม่ วัคซีนใหม่และวัคซีนทีใ่ ช้น้อยกว่าทีค่ วรเป็ นจานวนมากใน
กาหนดการการฉีดวัคซีนทีก่ าหนดในระดับชาติ และมีวคั ซีนหลายชนิดทีอ่ ยู่ในขัน้ ตอนสุดท้ายของการพัฒนาทีจ่ ะเปิ ดตัว
ในปี พ.ศ. 2573 สาหรับการติดตามการควบคุมโรคและผลกระทบของวัคซีนนี้เป็ นสิง่ สาคัญในการวัดความครอบคลุม
จากวัคซีนแต่ละตัวในตารางการฉีดวัคซีนทีก่ าหนดไว้แล้วของประเทศ อย่างไรก็ตามการวัดสัดส่วนประชากรที่ได้รบั
วัคซีนครบตามโปรแกรมโดยตรงจะเป็ นไปได้กต็ ้องเมื่อประเทศนัน้ ๆ มีระบบทะเบียนการฉีดวัคซีนระดับชาติทด่ี ี โดย
ปกติแล้ว โดยปกติแล้วการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์กจะทาให้สามารถคิดคานวณค่าประมาณการได้ง่าย หากประเทศ
กาลังพัฒนาและทาให้ระบบทะเบียนการฉีดวัคซีนให้เข้มแข็ง ประเทศนัน้ จะต้องการวิธวี ดั แบบอื่น

96
แนวคิ ด:
เพื่อให้เป็ นไปตามอานาจทีไ่ ด้รบั มอบหมายทีใ่ ห้องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ให้คาแนะนา
แก่ประเทศสมาชิกเกีย่ วกับนโยบายสาธารณสุข WHO ได้ให้คาแนะนาด้านวัคซีนและการฉีดวัคซีนทัวโลกส ่ าหรับโรคที่
มีผลกระทบด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ โปรแกรมสุขภาพระดับประเทศจะปรับข้อเสนอแนะและพัฒนากาหนดการ
การฉีดวัคซีนแห่งชาติ โดยยึดกับการระบาดของโรคในแต่ละท้องที่และตามลาดับความสาคัญด้านสุขภาพแห่งชาติ
กาหนดการการฉีดวัคซีนแห่งชาติและจานวนวัคซีนทีแ่ นะนานัน้ แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศโดยเฉพาะโปลิโอ DTP
และวัคซีนป้ องกันโรคหัดทีใ่ ช้ในทุกประเทศ

ประชากรเป้ าหมายสาหรับแต่ละวัคซีนนัน้ กาหนดตามอายุทม่ี กี ารเสนอแนะไว้ให้กบั หน่ วยงานภาครัฐ ชุดการให้วคั ซีน


หลักสาหรับวัคซีนส่วนใหญ่จะดาเนินการภายในเด็กแรกเกิดถึงสองปี

ความครอบคลุมของวัคซีน DTP วัดทีค่ วามแข็งแกร่งของระบบในภาพรวมในการฉีดวัคซีนให้แก่ทารก


ความครอบคลุมของวัคซี นป้ องกันโรคหัด วัดความสามารถในการให้วคั ซีนต่อเนื่องหลังทารกพ้นวัย 1 ปี ผ่าน
บริการสร้างเสริมภูมคิ มุ้ กันตามกาหนด
ความครอบคลุมของวัคซีนป้ องกันโรคปอดอักเสบ การปรับใช้วคั ซีนใหม่ตวั ใหม่ให้เด็ก
ความครอบคลุมของวัคซีนเอชพีวี (HPV): การได้รบั วัคซีนตามวัฏจักรชีวติ

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
เหตุผลในการเลือกวัคซีนชุดหนึ่ง ๆ สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถของโปรแกรมการสร้างภูมคิ ุม้ กันในการให้บริการ
วัคซีนตลอดวัฏจักรชีวติ และเพื่อใช้ในการปรับวัคซีนใหม่ ความครอบคลุมสาหรับวัคซีนตัวอื่น ๆ ที่ WHO แนะนานัน้ ก็มี
และสามารถให้บริการได้

หากวัคซีน HPV นัน้ ค่อนข้างใหม่และตารางการฉีดวัคซีนแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ การประเมินความครอบคลุม


จะทาสาหรับเด็กหญิงทีไ่ ด้รบั การฉีดวัคซีนเมื่ออายุ 15 ปี และปั จจุบนั ยังมีขอ้ มูลจากัดอยู่เพียงไม่ก่ปี ระเทศ จึงจะมีการ
จัดทารายงานในภายหลัง

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) และองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations
Children’s Fund: UNICEF) ได้ร่วมกันพัฒนาระเบียบวิธกี ารประมาณการความครอบคลุมการสร้างภูมคิ ุ้มกันโรคใน
ระดับชาติในรูปแบบการให้วคั ซีนตามกาหนดตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2543 ระเบียบวิธี พร้อมแหล่งอ้างอิงถูกตีพมิ พ์ ค่าประมาณ
การอนุกรมเวลาสาหรับวัคซีนทีแ่ นะนาโดย WHO ถูกผลิตและเผยแพร่เป็ นรายปี ตงั ้ แต่ พ.ศ. 2544
ระเบียบวิธดี งั กล่าวใช้ขอ้ มูลที่ถูกรายงานโดยหน่ วยงานที่มอี านาจระดับชาติจากระบบการบริหารจัดการของประเทศ
และข้อมูลจากการให้วคั ซีน หรือการสารวจครัวเรือนแบบพหุดชั นีต่าง ๆ (multi indicator household surveys)

การจาแนกข้อมูล:
ทีต่ งั ้ ทางภูมศิ าสตร์ คือการประเมินในระดับภูมภิ าคและระดับประเทศ และเป็ นไปได้ถงึ ระดับทวีป

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:

97
ระดับประเทศ
ข้อมูลจุดแรกได้จากการรายงานผลในปี แรกหลังการเริม่ ให้วคั ซีน หากประเทศดังกล่าวไม่มขี อ้ มูล ให้ใช้วธิ กี ารประมาณ
ค่าในช่วงเข้าไประหว่างทัง้ 2 จุดข้อมูล และให้ประมาณค่านอกช่วงจากจุดข้อมูลล่าสุดทีม่ อี ยู่

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
การประมาณค่าสูญหายทีจ่ าเป็ นให้ทาในระดับประเทศ ค่าต่าง ๆ นี้สามารถนาไปใช้ในระดับภูมภิ าคและระดับประเทศ

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้ าหนัก ของอัตราความครอบคลุม ระดับประเทศเมื่อน้ าหนักคือขนาดของประชากรกลุ่มเป้ าหมาย
ระดับประเทศโดยยึดตามรายงานการคาดการณ์ประชากรโลก (World Population Prospects: 2017) ฉบับปรับปรุงปี
พ.ศ. 2560 จากฝ่ ายประชากรขององค์การสหประชาชาติ รวมทุกประเทศในภูมภิ าค

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ประเทศส่วนใหญ่จะใช้ขอ้ มูลบริหารจัดการด้านความครอบคลุม (administrative coverage data) ขณะที่ WHO และ
UNICEF จะทบทวนและประเมินข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ รวมถึงระบบบริหารจัดการและการสารวจต่าง ๆ ความแตกต่าง
ระหว่างค่าประมาณการจากประเทศและค่ าประมาณการระหว่างประเทศส่วนใหญ่เกิดจากความแตกต่างกันระหว่าง
ค่าประมาณการความครอบคลุมทีไ่ ด้มาจากระบบบริหารจัดการและผลจากการสารวจ

ในกรณีทว่ี คั ซีนไม่รวมอยู่ในตารางการฉีดวัคซีนแห่งชาติ การได้รบั วัคซีนจากจากภาคเอกชนจะไม่นามาคิดร่วม

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
ระบบข้อมูลสุขภาพแห่งชาติหรือระบบการให้ภูมคิ มุ้ กันแห่งชาติ
สานักงานทะเบียนภูมคิ มุ้ กันโรคแห่งชาติ
การส ารวจรายครัว เรือ นคุ ณ ภาพสู ง ที่มีแ บบจ าลองการสร้ า งภู มิต้ า นทานโรค (เช่ น DHS, MICS, แบบส ารวจ
ภายในประเทศ)

กระบวนการรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลประจาปี ผ่านกลไกทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2541 เป็ นความพยายามทีจ่ ะเสริมสร้างความร่วมมือและ
ลดภาระการรายงานข้อ มู ล ซึ่ ง WHO และ UNICEF ร่ ว มกัน รวบรวมสารสนเทศผ่ า นแบบสอบถามมาตรฐาน
(แบบฟอร์มการรายงานร่วม) ทีส่ ่งไปยังประเทศสมาชิก
http://www.who.int/immunization/monitoring_surveillance/routine/reporting/en/

----------------------------------------------------------------------------------------

98
เป้ าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคณ
ุ ภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุน
โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เป้ าประสงค์ 4.1: สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิ งทุกคนสาเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เท่ าเที ยม โดยไม่มีค่าใช้จ่าย นาไปสู่ ผลลัพธ์ทางการเรียนที่ มีประสิ ทธิ ผล ภายในปี
พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 4.1.1: สัดส่วนของเด็ก/เยาวชนใน: (ก) ระดับชัน้ ป.2 หรือ ป.3 (ข) ป.6 และ (ค) ม.3 ที่มีความสามารถ
ตามเกณฑ์ขนั ้ ตา่ เป็ นอย่างน้ อย ใน (1) ด้านการอ่าน และ (2) ด้านคณิ ตศาสตร์ หรือการคิ ดคานวณ จาแนก
ตาม เพศ

ทีม่ าของข้อมูลในส่วนนี้ครอบคลุมส่วน (ข) และ (ค) ของตัวชี้วดั 4.1.1: สัดส่วนของเด็กและคนหนุ่ มสาว (ข) ทีส่ าเร็จ
การศึกษาชัน้ ประถมศึกษา และ (ค) ทีส่ าเร็จการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นซึง่ มีความสามารถใน (1) การอ่าน
และ (2) คณิตศาสตร์ อย่างน้อยในขัน้ พืน้ ฐานทีส่ ุด และ จาแนกตามเพศ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: สถาบันสถิติแห่งองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
(UNESCO Institute for Statistics (UNESCO-UIS)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ร้อยละของเด็กและคนหนุ่ มสาวทีศ่ กึ ษาอยู่ในชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 2 หรือ 3 สาเร็จการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาและชัน้
มัธยมศึกษาตอนต้นซึ่งมีความสามารถใน (a) การอ่าน และ (b) คณิตศาสตร์ ระดับความสามารถขัน้ พืน้ ฐานทีส่ ุดจะถูก
วัดโดยเปรียบเทียบกับระดับความสามารถในการอ่านและความสามารถทางคณิตศาสตร์แบบใหม่ ซึง่ กาลังพัฒนาอยู่ใน
ขณะนี้

หลักการและเหตุผล:
ตัวชีว้ ดั เป็ นการวัดค่าโดยตรงของผลสัมฤทธิความส
์ าเร็จทางการศึกษา ใน 2 วิชาสาคัญเมื่อจบการศึกษาในระดับต่าง ๆ
ทัง้ นี้การวัดค่าทัง้ สามประเด็นต่างก็มมี าตรฐานขัน้ ต่าเป็ นการเฉพาะ และมีเพียงเกณฑ์เดียวเท่านัน้ ทีแ่ บ่งนักเรียนให้อยู่
สูงหรือต่ากว่าขัน้ พืน้ ฐาน
(a) ระดับต่ากว่าขัน้ พืน้ ฐาน หมายถึง สัดส่วนหรือร้อยละของนักเรียนทีไ่ ม่ผ่านมาตรฐานขัน้ ต่าทีก่ าหนดไว้ใน
แต่ละประเทศ ตามเกณฑ์ความสามารถขัน้ ต่าทีก่ าหนดไว้เป็ นสากล
(b) ระดับสูงกว่าขัน้ พืน้ ฐาน หมายถึง สัดส่วนหรือร้อยละของนักเรียนทีผ่ ่านมาตรฐานขัน้ ต่า เนื่องจากระดับ
การประเมิน ที่แ ตกต่ า งกัน ในแต่ ล ะประเทศและระหว่ า งประเทศ จึง ท าให้ ต้ อ งมีก ารจัด ท าเกณฑ์
ความสามารถขัน้ ต่าทีก่ าหนดไว้เป็ นสากลขึน้ ซึ่งเมื่อจัดทาเรียบร้อยแล้ว ชุมชนการศึกษาในระดับโลกจะ
สามารถนาไปใช้ในประเทศต่าง ๆ เพื่อระบุสดั ส่วนหรือร้อยละของเด็กทีผ่ ่านมาตรฐานขัน้ ต่าได้

แนวคิ ด:
ความสามารถขัน้ พืน้ ฐานทีส่ ุดนี้ถอื เป็ นเกณฑ์มาตรฐานของความรูข้ นั ้ พืน้ ฐานในขอบเขตความรู้ (คณิตศาสตร์แ ละการ
อ่าน) ที่ใช้วดั กันตามการประเมินการเรียนรู้ เช่น การทดสอบการอ่านสาหรับโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับ

99
นานาชาติ (the Programme for International Student Assessment: PISA) จะมี 6 ระดับความสามารถ ซึง่ กาหนดให้
ระดับ ที่ 2 เป็ น ระดับ ความสามารถขัน้ พื้น ฐาน ขณะที่ โ ครงการศึก ษาแนวโน้ มการจัด การศึก ษาคณิ ต ศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (TIMSS) และการศึกษาความคืบหน้าในระหว่างการอ่านและการเรียนรู้ระหว่างประเทศ (PIRLS) จะมี 4
ระดับความสามารถ ต่า กลาง สูง และยอดเยีย่ ม นักเรียนทีผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับกลาง จะสามารถประยุกต์ความรู้
ขัน้ พืน้ ฐานในหลากหลายสถานการณ์ เช่นเดียวกับความสามารถขัน้ พืน้ ฐานทีส่ ุด ในปั จจุบนั ยังไม่มมี าตรฐานใดทีไ่ ด้รบั
การตรวจสอบโดยชุมชนนานาชาติหรือประเทศร่วมกัน ตัวชี้วดั แสดงข้อมูลทีเ่ ผยแพร่โดยหน่ วยงานและองค์กรเฉพาะ
ทางด้านการประเมินการเรียนรูร้ ะหว่างประเทศ

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ขณะทีม่ กี ารประเมินระดับประเทศจานวนมาก ณ เวลานี้ ทว่าแต่ละประเทศต่างก็มมี าตรฐานของระดับความสามารถที่
เป็ นของตนเองและอาจจะไม่สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ ทางเลือกหนึ่งคือ การเชื่อมโยงกับการประเมินระดับ
ภูมภิ าคที่อยู่บนฐานของกรอบการทางานร่วมกัน นอกจากนี้ การประเมินควรได้รบั การบริหารจัดการอย่างเป็ นแบบ
แผนภายในระบบโรงเรียน ตัวชี้วดั ปั จจุบนั ครอบคลุมเพื่อตัวชี้วดั ที่มีอยู่ในโรงเรียนและสัดส่วนของกลุ่มประชากร
เป้ าหมายทีศ่ กึ ษาในโรงเรียนอาจจะแตกต่างกันในแต่ละประเทศ เนื่องจากแต่ละประเทศต่างก็มจี านวนเด็กทีไ่ ม่ได้รบั
การศึกษาทีไ่ ม่เท่ากัน การสารวจรายครัวเรือนอาจจะมีความจาเป็ นเพื่อประเมินความสามารถของเด็กและคนวัยหนุ่ม
สาวทีไ่ ม่อยู่ในระบบโรงเรียน ทัง้ นี้ตอ้ งตระหนักว่า การประเมินเด็กในครัวเรือนอาจจะยากและมีค่าใช้จ่ายในการบริหาร
จัดการสูง และอาจจะใช้เวลาประมาณ 3-5 ปี ในการเข้าถึงกลุ่มประชากรตามขนาดทีต่ อ้ งการ ในท้ายทีส่ ุด การคานวณ
ตัว ชี้ว ัด นี้ ต้อ งการข้อ มูล เฉพาะด้า นเกี่ย วกับ อายุ ข องเด็ก ที่เ ข้า ร่ ว มการประเมิน เพื่อ สร้า งข้อ มูล ที่ส ามารถน ามา
เปรียบเทียบกันได้ในระดับโลก อายุของเด็กทีถ่ ูกรายงานโดยหัวหน้าครอบครัวก็อาจจะคลาดเคลื่อนและไม่น่าเ ชื่อถือ
ซึ่งจะทาให้การคานวณตัวชี้วดั ยากขึน้ กว่าเดิม ทาง UIS ได้ใช้วธิ สี เตปปิ งสโตน (Stepping Stone Approach) เพราะ
การประเมินเด็กทีไ่ ม่ได้รบั การศึกษานัน้ มีความซับซ้อนและมีเป้ าหมายหลักอยู่ทก่ี ารพัฒนาระบบการศึกษา วิธกี ารนี้จะ
ให้ความสาคัญกับการประเมินเด็กในโรงเรียนในระยะกลาง ซึ่งจะมีขอ้ มูลที่หาได้มากกว่า จากนัน้ จึงสามารถพัฒนา
แผนการดาเนินงานเพื่อประเมินเด็กทีไ่ ม่อยู่ในระบบโรงเรียนในระยะยาวได้สอดคล้องกันมากขึน้

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ตัวชีว้ ดั จะได้รบั การคานวณเป็ นจานวนร้อยละของเด็กและ/หรือคนหนุ่มสาวถึงระดับความสามารถทางการศึกษาทีผ่ ่าน
เกณฑ์ความสามารถขัน้ ต่าหรือสูงกว่าเกณฑ์ในวิชาทีก่ าหนด

ความสามารถระดับทีส่ งู กว่าขัน้ พืน้ ฐาน แทนด้วย PLtn s สูงกว่าขัน้ พืน้ ฐาน = p

โดยให้ p แทนจานวนร้อยละของนักเรียนในการประเมินการเรียนที่การศึกษาระดับต่าง ๆ n แทนรายวิชา s แทน


จานวนปี (t-i) ทีใ่ ห้ค่าเป็ น 0 ? i ? 5 และให้ Smin แทนนักเรียนทีม่ รี ะดับความสามารถทีส่ ูงกว่าระดับความสามารถขัน้
ต่าทีก่ าหนดไว้ มาตรฐานขัน้ ต่าสุดถูกกาหนดโดยชุมชนการศึกษาระดับโลกทีผ่ ่านการพิ จารณาความแตกต่างในระดับ
ภูมภิ าคแล้ว

100
การจาแนกข้อมูล:
โดยอายุ หรือกลุ่มอายุของนักเรียน เพศ สถานที่ สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม สถานะผู้อพยพหรือกลุ่มชาติพนั ธุ์
ความพิการยังไม่ถือเป็ นส่วนหนึ่งที่ใช้ในการประเมินการเรียนรู้ในระดับประเทศและระหว่างประเทศแต่ก็สามารถ
พิจารณาให้เป็ นส่วนหนึ่งของการประเมินในอนาคตได้

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ยังไม่มผี รู้ วบรวมในระดับนี้

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ยังไม่มผี รู้ วบรวมในระดับนี้

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ยังไม่มกี ารคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคและระดับโลกสาหรับตัวชีว้ ดั นี้

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การประเมิน การเรีย นรู้ร ะหว่ า งประเทศหลายตัวจะรวมถึง Programme d'analyse des systèmes éducatifs de la
CONFEMEN (PASEC) การศึก ษาความคืบหน้ า ในระหว่า งการอ่ า นและการเรียนรู้ ระหว่า งประเทศ (PIRLS) การ
ทดสอบการอ่านสาหรับโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) การติดตามคุณภาพทางการศึกษาโดย
กลุ่มประเทศแอฟริกาใต้และตะวันออก (SACMEQ) Tercer Estudio Regional Comparativo y Explicativo (TERCE)
และ โครงการศึกษาแนวโน้ มการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของนัก เรียนไทยเทียบกับ นานาชาติ
(TIMSS) (a) กลยุทธ์ระยะสัน้ : ใช้การประเมินผลข้อมูลที่เป็ นตัวแทนระดับประเทศที่ได้จากการประเมินผลระหว่ าง
ประเทศแม้ว่าข้อมูลอาจจะไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้โดยตรงก็ต าม (b) กลยุทธ์ระยะกลาง: ใช้ขนาดการรายงาน
ระดับโลกที่มาจากการทดสอบใหม่หรือการเชื่อมโยงเชิงสถิติของการประเมินผลระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค และ
ระหว่างประเทศ

กระบวนการเก็บข้อมูล:
ข้อมูลทีใ่ ช้สาหรับการประเมินผลการเรียนรูร้ ะหว่างประเทศ จะต้องมาจากองค์กรทีร่ บั ผิดชอบการประเมินผลแต่ละตัว
เป็ นการเฉพาะ

----------------------------------------------------------------------------------------

101
เป้ าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคณ
ุ ภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุน
โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เป้ าประสงค์ 4.2: สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิ งทุกคนเข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัด
การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัย ที่มีคุณภาพ เพื่อให้เด็กเหล่านัน้ มีความพร้อมสาหรับ
การศึกษาระดับประถมศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 4.2.1: สัดส่วนของเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี ที่มีพฒ


ั นาการทางด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และพัฒนาการทาง
บุคลิ กภาพตามวัย จาแนกตามเพศ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
สัดส่วนของเด็กทีม่ อี ายุต่ากว่า 5 ปี ทไ่ี ด้รบั การพัฒนาด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และพัฒนาการทางบุคลิกภาพตามวัยจะ
วัดจากร้อยละของเด็กอายุ 36-59 เดือน ซึง่ มีพฒ ั นาการอย่างน้อย 3 ใน 4 ด้านเป็ นไปตามเกณฑ์ พัฒนาการ 4 ด้าน คือ
ด้านการอ่านออกและการรูจ้ กั ตัวเลข ด้านกายภาพ ด้านสังคมและอารมณ์ และด้านการเรียนรู้

หลักการและเหตุผล:
การพัฒนาเด็กเล็ก (Early childhood development: ECD) เป็ นการเตรียมความพร้อมสาหรับความสมบูรณ์ตลอดชีวติ
การลงทุ น ในด้า นนี้ เ ป็ น การลงทุ น ที่สาคัญ และคุ้ม ค่ า ประเทศสามารถพัฒ นาสุ ข ภาพของผู้ใ หญ่ การศึก ษา และ
ความสามารถในการผลิตเพื่อสร้างทุนมนุ ษย์และสนับสนุ นการพัฒนาอย่างยั ่งยืน การพัฒนาเด็กเล็กที่ เท่าเทียมตัง้
เริม่ แรกจึงเป็ นตัวชี้วดั ที่ดขี องการพัฒนาระดับประเทศ ความพยายามในการพัฒนาเด็กเล็กทาให้เกิดการพัฒนาทัง้
มนุษย์ สังคมและเศรษฐกิจทัง้ ในระดับบุคคลและระดับสังคม

แนวคิ ด:
ขอบเขตการพัฒนารวมเอาตัวชีว้ ดั ในปั จจุบนั ใช้เป็ นตัวแทนสาหรับการรายงานตัวชีว้ ดั การพัฒนาอย่างยั ่งยืนที่ 4.2.1 มี
ดังนี้
• ด้านการอ่าน-คณิ ตศาสตร์: เด็กทีไ่ ด้รบั การระบุว่าได้รบั การพัฒนาในด้านนี้จะต้องมีความสามารถดังต่อไปนี้: ระบุ
ชื่ออย่างน้อย 10 ตัวอักษร อ่านคาศัพท์ทง่ี า่ ยและเป็ นทีร่ จู้ กั จานวน 4 คา และ/หรือรูจ้ กั ชื่อและจดจาตัวเลขจาก 1 ถึง 10
ได้
• ด้านร่างกาย: ถ้าเด็กสามารถหยิบสิง่ ของขนาดเล็กด้วยนิ้วมือ 2 นิ้ว เช่น ท่อนไม้หรือก้อนหินทีอ่ ยู่บนพืน้ และ/หรือ
เมื่อเด็กรับรูว้ ่าการเล่นบางอย่างเป็ นอันตรายโดยทีแ่ ม่/ผูด้ ูแลเบื้องต้นไม่จาเป็ นต้องบอก ให้ถอื ว่าเด็กคนนัน้ ได้รบั การ
พัฒนาด้านร่างกายแล้ว
• ด้านอารมณ์ สงั คม: เด็กจะได้รบั การพิจารณาว่าได้รบั การพัฒนาด้านอารมณ์ สงั คมก็ต่ อเมื่อมีความสามารถ 2
ประการจากทัง้ หมด ดังนี้ เด็กเข้ากับเพื่อนคนอื่นได้ดี เด็กไม่เตะ กัด หรือตีเด็กคนอื่น และเด็กไม่เสียสมาธิโดยง่าย
• ด้านการเรียนรู้: ถ้าเด็กสามารถเข้าใจคาสั ่งอย่างง่ายให้ทาตามได้อย่างถูกต้อง และ/หรือเมื่อได้รบั คาสั ่งให้ทาอะไร
บางอย่างและสามารถทาสิง่ นัน้ ได้อย่างเป็ นอิสระ ให้ถอื ว่าเด็กคนนัน้ ได้รบั การพัฒนาด้านการเรียนรูแ้ ล้ว

102
ข้อแนะนาและข้อจากัด:
ในกรณีน้ี ตัวชี้วดั แทน (เด็กอายุ 36-59 เดือน ซึ่งมีพฒ
ั นาการอย่างน้อย 3 ใน 4 ด้านเป็ นไปตามเกณฑ์ พัฒนาการ 4
ด้าน คือ ด้านการอ่านออกและการรูจ้ กั ตัวเลข ด้านกายภาพ ด้านสังคมและอารมณ์ และด้านการเรียนรู้ ) จะถูกนามาใช้
ในการรายงานตาม 4.2.1 จนกว่าการวัดค่าใหม่จะได้รบั การทาให้สมบูรณ์ (คาดว่าภายในสิน้ ปี พ.ศ. 2562) ตัวชีว้ ดั แทน
จะไม่เป็ นไปตามนิยามและกลุ่มอายุตามสูตรตัวชีว้ ดั ของการพัฒนาอย่างยั ่งยืนทัง้ หมด

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนของเด็กที่อายุต่ า กว่า 5 ปี ซึ่งมีพฒ
ั นาการเป็ นไปตามเกณฑ์ในด้านสุขภาพ การเรียนรู้ และพัฒนาการทาง
บุคลิกภาพหารด้วยจานวนเด็กทัง้ หมดทีอ่ ายุต่ากว่า 5 ปี และคูณด้วยจานวน 100

ตัวชี้วดั แทน:
จานวนเด็กอายุ 36-59 เดือน ซึง่ มีพฒ
ั นาการอย่างน้อย 3 ใน 4 ด้านเป็ นไปตามเกณฑ์ พัฒนาการ 4 ด้าน คือ ด้านการ
อ่านออกและการรูจ้ กั ตัวเลข ด้านกายภาพ ด้านสังคมและอารมณ์ และด้านการเรียนรู้หารด้วยจานวนเด็กทัง้ หมดที่อายุ
36-59 เดือนและคูณด้วยจานวน 100

การจาแนกข้อมูล:
อายุ เพศ สถานทีพ่ กั อาศัย ความมั ่งคั ่ง สถานทีท่ างภูมศิ าสตร์ การศึกษาของผูด้ แู ล และลักษณะภูมหิ ลัง อื่น ๆ

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
หากประเทศไม่ มีข้อ มู ล เลย ทางองค์ ก ารทุ น เพื่อ เด็ ก แห่ ง สหประชาชาติจ ะไม่ เ ผยแพร่ ค่ า การประมาณการใน
ระดับประเทศ

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ค่าเฉลีย่ ระดับภูมภิ าคจะถูกนามาใช้กบั ประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลในภูมภิ าคนัน้ เพื่อใช้ในการคานวณผลรวมระดับภูมภิ าค แต่
จะไม่มกี ารเผยแพร่ค่าการประมาณการในระดับประเทศ การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคจะได้รบั การเผยแพร่ก็
ต่อเมื่อมีขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วข้องกับจานวนประชากรตามกลุ่มอายุทก่ี าหนดไว้เกินกว่าร้อยละ 50 ของทัง้ ภูมภิ าค

ผลรวมในระดับโลกคือค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของทุกประเทศทีม่ ขี อ้ มูล การรวบรวมข้อมูลในระดับโลกจะถูกเผยแพร่โดย


ไม่คานึงถึงความครอบคลุมของประชากร แต่จะมีการระบุจานวนของประเทศและสัดส่วนของประชากรทีเ่ กีย่ วข้องทีถ่ ูก
นาเสนอในข้อมูลทีม่ อี ยู่ไว้อย่างชัดเจน

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคจะถูกคานวณค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักร่วมกับทุกประเทศในภูมภิ าคเดียวกัน

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
การประมาณการระดับโลกทีถ่ ูกรวบรวมและแสดงผลไว้มาจากข้อมูลในระดับประเทศโดยตรง โดยไม่มกี ารจัดเรียบเรียง
หรือคานวณใหม่แต่อย่างใด

103
วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
ประเทศต่าง ๆ จะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์พฒ ั นาเด็กจากการสารวจรายครัวเรือน เช่น องค์การทุนเพื่อเด็ก
แห่งสหประชาชาติสนับสนุ นการสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (MICS) หรือ การสารวจสุขภาพและประชากร (DHS)
นอกจากนี้ยงั มีการเก็บรวบรวมข้อมูลบางประการ เช่น ดัชนีการพัฒนาเด็กเล็ก (ECDI) ผ่านเครื่องมืออื่น ๆ (เช่น การ
สารวจอื่น ๆ หรือการบันทึกจากฝ่ ายบริหาร) ในประเทศทีม่ รี ายได้สงู ด้วย

การรับประกันคุณภาพ:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติรกั ษาฐานข้อมูลระดับโลกทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาเด็กเล็กทีใ่ ช้สาหรับเป้ าหมายการ
พัฒนาอย่างยั ่งยืนและรายงานทีเ่ ป็ นทางการอื่น ๆ ทัง้ นี้ก่อนทีจ่ ะมีการรวบรวมข้อมูลใด ๆ ไว้ในฐานข้อมูลนัน้ จะต้อง
ได้รบั การตรวจสอบจากผูเ้ ชีย่ วชาญทางเทคนิค ที่สานักงานใหญ่ขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติเพื่อความ
ถูกต้องตรงกันและคุณภาพของข้อมูลทัง้ หมด การตรวจสอบนี้จะเป็ นไปตามเกณฑ์กาหนดของวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง
หลักประกันว่าข้อมูลดังกล่าวทีจ่ ะนาไปไว้ในฐานข้อมูลนัน้ มีความทันสมัยและเชื่อถือได้ อาทิ แหล่งข้อมู ลจะต้องมีการ
จัดทาอย่างเหมาะสม ค่าของข้อมูลจะต้องสามารถเป็ นตัวแทนของประชากรในระดับประเทศได้ ข้อมูลผ่านการเก็บ
รวบรวมด้วยระเบียบวิธที เ่ี หมาะสม (เช่น การสุ่มตัวอย่าง) ค่าของข้อมูลทีไ่ ด้จะต้องมาจากกลุ่มตัวอย่างทีม่ ากเพียงพอ
ข้อมูลมีความเข้ากันได้กบั นิยามตัวชี้วดั ทีเ่ ป็ นมาตรฐานรวมถึงกลุ่มอายุ และแนวคิด ตามขอบเขตทีเ่ ป็ นไปได้ ข้อมูลมี
ความเหมาะสมตามแนวโน้มและมีความสอดคล้องกับการประมาณการทีเ่ ผยแพร่/รายงานตามตัวชีว้ ดั ก่อนหน้านี้

เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้จดั การหารือประจาปี ร่วมกับเจ้าหน้า ทีร่ ฐั เกี่ยวกับตัวชี้วดั


การพัฒนาอย่างยั ่งยืนทีเ่ กี่ยวข้องกับเด็กทัง้ 10 ตัวชี้วดั ในบทบาทการคุม้ ครองทัง้ แบบเดี่ยวและแบบร่วม ร่วมกับกฎ
กติกาในระดับโลก และบรรทัดฐานพันธกรณีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กภายในปี พ.ศ. 2573 ซึ่งรวมถึงตัวชี้วดั 4.2.1 เค้า
โครงรายละเอียดกระบวนการหารือระดับประเทศอยู่ดา้ นล่างของเอกสาร

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การสารวจรายครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มทีส่ นับสนุ นโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้
ท าการเก็บ ข้อ มูลตามตัว ชี้ว ัด นี้ (ผ่ า นดัช นี ก ารพัฒ นาเด็ก เล็ก หรือ ECDI) ในกลุ่ ม ประเทศที่มีร ายได้ร ะดับต่ าและ
ระดับกลาง ตัง้ แต่ประมาณปี พ.ศ. 2553 อีกทัง้ ยังมีขอ้ มูลเดี่ยวอีกหลายรายการที่มาจากกลไกอื่น ๆ ในประเทศที่มี
รายได้สงู (OECD) ถูกรวมไว้ในดัชนีน้ดี ว้ ย

กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจดั กระบวนการหารืออย่างกว้างขวางเพื่อรวบรวมและประเมินผลข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลระดับประเทศ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงฐานข้อมูลระดับโลกให้ทนั สมัยกับสถานการณ์ของเด็ก
จนกระทังปี ่ พ.ศ.2560 กลไกทีอ่ งค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติใช้สาหรับประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้ าที่รฐั
ระดับประเทศเพื่อสร้างหลักประกันในคุณภาพของข้อมูลและความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับสากลตาม
ตัวชีว้ ดั หลักทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็กดังทีอ่ ยู่ในการรายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมาย (CRING)

เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ได้จดั กระบวนการหารือในระดับประเทศครัง้ ใหม่


ขึน้ ร่วมกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั ภายในประเทศเกีย่ วกับตัวชีว้ ดั การพัฒนาอย่างยั ่งยืนระดับโลกในประเด็นด้านเด็กในฐานะทีเ่ ป็ น

104
หน่ วยงานรับผิดชอบหรือหน่ วยงานรับผิดชอบร่วม เพื่อให้การดาเนินงานสอดคล้องกับมาตรฐานและคาแนะนาในการ
ส่งผ่านข้อมูลสาหรับการรายงานตัวชี้วดั การพัฒนาอย่างยั ่งยืนระดับโลกทีใ่ ห้ความสาคัญกับความเข้มงวดทางเทคนิค
ความเป็ นเจ้าของของแต่ละประเทศ และการใช้ขอ้ มูลและสถิตทิ างการ กระบวนการปรึกษาหารือได้เชือ้ เชิญให้มกี ารส่ง
ข้อเสนอแนะโดยตรงจากสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ รวมทัง้ หน่ วยงานรัฐอื่น ๆ ทีร่ บั ผิดชอบด้านสถิตอิ ย่างเป็ นทางการใน
เรื่องที่เกี่ยวกับ การรวบรวมตัวชี้วดั ตลอดจนแหล่งข้อมูลที่ใช้ และการประยุกต์ใช้นิยาม ประเภท และระเบียบวิธที ่ี
เห็นชอบร่วมกันในระดับสากลกับข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เมื่อมีการทบทวนแล้ว ประเทศต่าง ๆ จะได้รบั ข้อเสนอแนะที่
เกี่ยวกับว่าข้อมูลจาเพาะบางจุดได้รบั การยอมรับหรือไม่ หากไม่ก็จะได้รบั คาอธิบายถึงเหตุผลที่ไม่ได้รบั การยอมรับ
หากต้องการรายละเอียดเกีย่ วกับกระบวนการปนึกษาหารือสามารถหาได้ในบันทึกคาแนะนา

----------------------------------------------------------------------------------------

105
เป้ าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุน
โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เป้ าประสงค์ 4.2: สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิ งทุกคนเข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัด
การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัย ที่มีคุณภาพ เพื่อให้เด็กเหล่านัน้ มีความพร้อมสาหรับ
การศึกษาระดับประถมศึกษา ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้ วดั 4.2.2: อัตราการเข้าเรียนปฐมวัย (1 ปี ก่ อนถึงเกณฑ์อายุเข้าเรียนประถมศึกษา) จาแนกตามเพศ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: สถาบันสถิติแห่งองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
(UNESCO Institute for Statistics: UNESCO-UIS)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม
อัตราการเข้าเรียนระดับปฐมวัยทีจ่ ดั ขึน้ (1 ปี ก่อนถึงเกณฑ์อายุเข้าเรียนประถมศึกษา) จาแนกตามเพศ ได้รบั การนิยาม
เป็ นค่าร้อยละของเด็กซึง่ เข้าร่วมในโครงการการศึกษาตามช่วงอายุทก่ี าหนด โดยเป็ นการเข้าร่วมในโครงการการศึกษา
ปฐมวัยหนึ่งโครงการหรือมากกว่า ตลอดจนโครงการที่เป็ นทัง้ การเรียนรู้และการดูแลเด็กในโครงการเดียวกัน การมี
ส่วนร่วมนี้หมายถึงการศึกษาสาหรับเด็กเล็กและการศึกษาระดับประถมศึกษา ซึ่งมีช่วงอายุท่แี ตกต่างกันไปตาม
กาหนดการรับเข้าศึกษาระดับประถมศึกษาในแต่ละประเทศ

หลักการและเหตุผล:
ตัวชีว้ ดั วัดจากการเข้ารับกิจกรรมการศึกษาปฐมวัยในช่วงหนึ่งปี ก่อนทีจ่ ะเข้าเรียนชัน้ ประถมศึกษา ค่าตัวชีว้ ดั ยิง่ สูง ยิง่
แสดงถึงการเข้าศึกษาปฐมวัยก่อนจะเริม่ ต้นเข้าเรียนขัน้ ประถมศึกษาตามเกณฑ์ในอัตราทีส่ งู เช่นกัน

แนวคิ ด:
โครงการการศึกษาปฐมวัยประกอบด้วยชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ทส่ี อดคล้องกัน ซึ่ งผ่านการออกแบบมาด้วยความ
ตัง้ ใจที่จ ะเห็น ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในระดับ ก่ อ นปฐมวัย หรือ ประสบความสาเร็จ ในชุด การเรียนรู้เ ฉพาะด้าน
โครงการการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาและประถมศึกษาเป็ นตัวอย่างหนึ่งของโครงการการศึกษาปฐมวัย

การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาและประถมศึกษาได้รบั การนิยามไว้ในกลุ่มสาขาวิชาและอาชีพจาแนกตามระบบฉบับ
ปี พ.ศ. 2554 (ISCED 2011) การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษามักจะได้รบั การออกแบบด้วยวิธกี ารแบบองค์รวมเพื่อ
สนับสนุ นการพัฒนาเด็กทัง้ ด้านความรู้ ร่างกาย สังคมและอารมณ์ และส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรูว้ ธิ กี ารเรียนการสอนอื่o
นอกเหนือจากทีไ่ ด้รบั จากครอบครัว การศึกษาระดับประถมศึกษาจัดกิจกรรมด้านการศึกษาและการเรียนรูท้ อ่ี อกแบบ
มาเพื่อให้นักเรียนมีทกั ษะขัน้ พื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน และคณิตศาสตร์ ตลอดจนมีพน้ื ฐานทีม่ ั ่นคงสาหรับการ
เรียนรู้และทาความเข้าใจองค์ความรู้สาคัญ ๆ และการพัฒนาส่วนบุคคล โดยจะเน้นที่การเรียนรู้ถึงสิง่ ที่ซบั ซ้อนใน
ระดับพืน้ ฐาน ร่วมกับความเชีย่ วชาญเพียงเล็กน้อย (ถ้ามี)
อายุตามเกณฑ์เข้าศึกษาระดับประถมศึกษาหมายถึงอายุของเด็กทีถ่ ูกกาหนดให้เริม่ ต้นการเรียนในระดับประถมศึกษา
ตามกฎหมายหรือนโยบายของแต่ละประเทศ ในกรณีท่มี กี ารกาหนดอายุไว้มากกว่าหนึ่ง เช่น ในพื้นที่ต่าง ๆ ของ

106
ประเทศ ให้ใช้อายุทเ่ี ริม่ เข้าเรียนทีเ่ ป็ นมาตรฐาน (เช่น อายุ ทเ่ี ด็กส่วนใหญ่ในประเทศควรจะเริม่ เข้าเรียน) มาใช้สาหรับ
คานวณตัวชีว้ ดั นี้ในระดับโลก

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
โครงการการเรียนรูท้ จ่ี ดั ไว้ให้สาหรับช่วงก่อนปฐมวัยไม่ได้เป็ นโครงการเต็มเวลาสาหรับเด็กจานวนมาก หมายความว่า
ความเข้มข้นของการเข้าสู่สงิ่ แวดล้อมการเรียนรูท้ ่นี อกเหนือจากทีบ่ ้านจะมีความแตกต่างกัน ตัวชี้วดั จะวัดค่าร้อยละ
ของเด็กทีไ่ ด้รบั การเรียนรูท้ จ่ี ดั ไว้ให้เท่านัน้ ไม่รวมถึงความเข้มข้นของการเข้าศึกษาในโครงการ ซึ่งอาจจะกลายเป็ น
ข้อจากัดความสามารถในการสรุปขอบเขตของความสาเร็จตามเป้ าหมาย ดังนัน้ จึงต้องมีการสร้ างหลักประกันว่านิยาม
ของโครงการการศึกษามีความถูกต้องตรงกันในทุกการสารวจและเป็ นนิยามทีเ่ ข้าใจง่ายสาหรับผู้ตอบแบบสอบถาม
และตามอุดมคติกค็ วรจะมีการเก็บข้อมูลเกีย่ วกับจานวนครัง้ ทีเ่ ด็กใช้ในโครงการการเรียนรูท้ จ่ี ดั ไว้ให้ประกอบด้วย

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนของเด็กในกลุ่มช่วงอายุทเ่ี กี่ยวข้องทีเ่ ข้าร่วมโครงการการเรียนรูท้ จ่ี ดั ไว้ให้จะถูกแสดงค่าเป็ นจานวนร้อยละต่อ
ประชากรทัง้ หมดในช่วงอายุเดียวกัน ตัวชี้วดั สามารถถูกคานวณได้ทงั ้ จากข้อมูลจากฝ่ ายบริหารจัดการและจากการ
สารวจรายครัวเรือน ถ้าเป็ นในอดีต จะใช้จานวนการลงทะเบียนเข้าเรียนในโครงการการเรียนรูท้ จ่ี ดั ไว้ให้ทร่ี ายงานโดย
โรงเรีย นและจานวนประชากรในช่ว งวัยที่ต่ า กว่ า อายุ ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดให้เ ข้า ศึก ษาชัน้ ประถมศึก ษาที่มาจาก
ค่าประมาณการประชากรเป็ นเวลาหนึ่งปี สาหรับการคานวณตัวชี้วดั นี้ในระดับสากล การประมาณการประชากรจาก
UNPD จะถูกนามาใช้ แต่ถ้าเป็ นข้อมูลที่ได้รบั จากการสารวจรายครัวเรือน จะเก็บทัง้ ข้อมูลประชากรและข้อมูลการ
ลงทะเบียนเข้าศึกษาในเวลาเดียวกัน

PROL0t1,AG(a-1) = E0t1,AG(a-1)

SAPAG(a-1)

เมื่อ

PROL0t1,AG(a-1) = อัตราการเข้าศึกษาปฐมวัยหนึ่งปี ก่อนอายุตามเกณฑ์ทก่ี าหนดให้เข้าศึกษาชัน้ ประถมศึกษา

E0t1,AG(a-1) = การสมัค รเข้าศึก ษาในระดับ ปฐมวัยหรือ ประถมศึกษา (มาตรฐานสากลการจัด จาแนกการศึกษา


(International Standard Classification of Education: ISCED) ระดับ 0 และ 1) ในช่วงวัยที่ต่ ากว่าอายุตามเกณฑ์ท่ี
กาหนดให้เข้าศึกษาชัน้ ประถมศึกษาเป็ นเวลาหนึ่งปี

SAPAG(a-1) = ประชากรทีเ่ ข้าศึกษาในโรงเรียนทีม่ อี ายุต่ากว่าอายุตามเกณฑ์ทก่ี าหนดให้เข้าศึกษาชัน้ ประถมศึกษา


เป็ นเวลาหนึ่งปี

107
การจาแนกข้อมูล:
ตามอายุและเพศจากแหล่งข้อมูลจากฝ่ ายบริหารจัดการ และตามอายุ เพศ สถานที่ และรายได้จากการสารวจราย
ครัวเรือน

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
UIS ประมาณการข้อมูลที่เป็ นรายการหลักบางรายการที่อาจจะสูญหายหรือไม่ครบถ้วนเพื่อหาค่าประมาณการใน
ระดับประเทศที่สามารถเผยแพร่ได้ ในกรณีท่ไี ม่สามารถกระทาได้ ให้ UIS คะเนข้อมูลที่สูญหายไว้เพื่อการคานวณ
ผลรวมระดับภูมภิ าคและระดับโลกเท่านัน้

สาหรับวัตถุประสงค์การคานวณอัตราการมีส่วนร่วมตามอายุ ทาง UIS อาจจะดาเนินการประการใดประการหนึ่ง หรือ


หลายประการ ดังนี้
• การจัดเรียบเรียงข้อมูลสาหรับพิจารณาการรายงานทีม่ ากเกินไปหรือน้อยเกินไป เช่น
o รวมเอาข้อมูลการลงทะเบียนตามประเภทของการศึกษา เช่น การศึกษาเอกชน หรือ การศึกษา
พิเศษ ทีไ่ ม่ได้รายงานในระดับประเทศ และ/หรือ
o รวมเอาข้อ มู ล การลงทะเบีย นในส่ ว นต่ า ง ๆ ของประเทศแต่ ไ ม่ ไ ด้ มีก ารรวมไว้ ใ นรายงาน
ระดับประเทศ
• ค่าประมาณการจานวนการลงทะเบียนในกลุ่มช่วงอายุทก่ี าหนดในกรณีท่กี ารกระจายช่วงอายุไม่ได้รบั การ
รายงานในระดับประเทศ
• การกระจายข้อมูลการลงทะเบียนใหม่ตามอายุทไ่ี ม่ได้ระบุ (ตลอดช่วงอายุทร่ี ะบุ)
• ค่าประมาณการประชากรในกลุ่มอายุตามเกณฑ์สาหรับประเทศขนาดเล็ก (ถ้าประเทศนัน้ ทัง้ ไม่มขี อ้ มูลใน
UNPD และไม่ได้ทาการประมาณการภายในประเทศเอง)

ในทุกกรณี ค่าประมาณการจะอยู่บนฐานของข้อมูลทีไ่ ด้รบั จากแต่ละประเทศเอง (เช่น ข้อมูลจากผู้ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ


ขนาดขององค์ประกอบทีห่ ายไป ผ่านการติดต่อประสานงาน เอกสารตีพมิ พ์ หรือข้อมูลทีไ่ ด้จากเว็บไซต์ของกระทรวง
หรือสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ หรือจากการสารวจทีจ่ ดั ทาโดยหน่ วยงานต่าง ๆ) หรือข้อมูลทีไ่ ด้จากแต่ละประเทศในปี
ก่อนหน้านัน้ ตัวเลขเหล่านี้อาจจะได้รบั การเผยแพร่ในฐานะ (ก) ข้อมูลทีศ่ กึ ษาในกรณีทม่ี กี ารพบรายการทีส่ ูญหายใน
แหล่งข้อมูลระดับประเทศ (ข) ค่าประมาณการระดับประเทศในกรณีทป่ี ระเทศได้รบั การสนับสนุ นให้จดั ทาการประมาณ
การและส่งไปยังข้อมูลทีส่ ญ
ู หาย หรือ (ค) ค่าประมาณการของ UIS ในกรณีท่ี UIS จัดทาค่าประมาณการนัน้

โดยมากแล้วมักจะประมาณการการกระจายอายุของการลงทะเบียนเข้าศึกษาจากการกระจายอายุทไ่ี ด้รบั รายงานในปี


ก่อนหน้า ในกรณีทไ่ี ม่เคยมีการรายงานการกระจายอายุของการลงทะเบียนในประเทศมาก่อน ก็จะใช้การกระจายอายุ
ของการลงทะเบียน และการกระจายอายุทพ่ี บในการสารวจอื่น หรือใช้การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม หรือการสารวจ
สุขภาพและประชากร ถ้าเป็ นไปได้

การลงทะเบียนเข้าศึกษาของประชากรที่ไม่ทราบอายุจะถูกนามากระจายใหม่โดยไขว้กบั กลุ่มทีส่ ามารถระบุอายุได้


เฉพาะในกรณี ท่ีมีจานวนเกิน กว่ า ร้อ ยละ 5 ของการลงทะเบีย นทัง้ หมดในระดับ การศึก ษาที่ก าหนด หากค่ า การ
ลงทะเบียนเข้าศึกษาของประชากรทีไ่ ม่ทราบอายุเท่ากับหรือต่ากว่าร้อยละ 5 ไม่จาเป็ นต้องทาการประมาณการใหม่

108
ให้ใช้การประมาณการประชากรโดยอายุสาหรับประเทศทีม่ ปี ระชากรจานวนน้อยได้เฉพาะในกรณีทไ่ี ม่มกี ารประมาณ
การอื่นทีเ่ หมาะสมทัง้ จาก UNPD และจากประเทศเอง โดยนามาใช้เฉพาะประเทศทีม่ กี ารรายงานข้อมูลการศึกษาไปยัง
UIS และสาหรับการประมาณการประชากรจากแหล่งข้อมูลทีน่ ่าเชื่อถือซึง่ หาได้ในบางปี

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคและระดับโลกมาจากข้อมูลในระดับประเทศทัง้ ทีเ่ ผยแพร่ได้และทีเ่ ป็ นตัวแทน ข้อมูล
ที่เผยแพร่ได้เป็ นข้อมูลที่ประเทศสมาชิกส่งไปยัง UIS หรือเป็ นผลของการประมาณการที่ชดั เจนโดยหน่ วยงานตาม
มาตรฐานทีก่ าหนดไว้ล่วงหน้า ข้อมูลทัง้ สองประเภทจะถูกส่งไปให้ประเทศสมาชิกตรวจสอบก่อนทีจ่ ะส่งไปยัง UIS เพื่อ
ดาเนินการเผยแพร่

สาหรับบางประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลทีห่ าได้ ทาง UIS จะใช้ขอ้ มูลระดับประเทศเป็ นตัวแทนเพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์


ในการคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าค โดยข้อมูลเหล่านี้จะไม่ถูกเปิ ดเผยหรือเผยแพร่ออกไป

ในกรณีทป่ี ระเทศมีขอ้ มูลทีท่ งั ้ เก่าและใหม่กว่าข้อมูลทีส่ ญ


ู หายไป ก็ให้นาข้อมูลเหล่านัน้ มาแทรกตามช่วงเวลาได้เลย ใน
กรณีทม่ี เี พียงข้อมูลทีเ่ ก่ากว่า ให้ใช้ค่าล่าสุดมาใช้ในการประมาณการ เช่นเดียวกันกับกรณีทม่ี เี พียงข้อมูลของปี ล่าสุด ก็
ให้ใช้ค่าล่าสุดเพื่อทาการประมาณการได้

สาหรับประเทศที่ไม่สามารถหาข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องได้ ค่าประมาณการอาจจะมาจากตัวแปรอื่น ๆ ซึ่งมีความเกี่ยวข้อง


อย่างชัดเจนกับรายการทีจ่ ะทาการประมาณการ ยกตัวอย่างเช่น การลงทะเบียนเข้าศึกษาตามอายุอาจจะมาจากข้อมูล
การลงทะเบียนเข้าศึกษาทัง้ หมด

สาหรับประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลใด ๆ ทีจ่ ะสามารถนามาใช้เพื่อการประเมินได้เลยแม้แต่ปีเดียว ให้ใช้การหาค่าไม่แน่นอนใน


ระดับภูมภิ าคทีป่ ระเทศนัน้ ๆ ตัง้ อยู่แทน

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคและระดับโลกให้ใช้การคานวณจากค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนักทีใ่ ช้จานวนส่วนของตัวชี้วดั
เป็ นน้ าหนัก ดังทีอ่ ธิบายไปข้างต้น ในกรณีทไ่ี ม่มขี อ้ มูลทีเ่ ผยแพร่ได้ในปี หรือประเทศทีก่ าหนด ให้ใช้การแทนค่าเพื่อ
ตอบสนองวัตถุประสงค์การคานวณผลสรุประดับภูมภิ าคและระดับโลกแทน

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ข้อมูลทีเ่ ผยแพร่ในระดับประเทศอาจแตกต่า งไปจากข้อมูลเดียวกันในระดับโลกเนื่องจาก ความแตกต่างระหว่างระบบ
การศึกษาในแต่ละประเทศและคานิยามที่ให้ไว้แก่กลุ่มสาขาวิชาและอาชีพจาแนกตามระบบ (ISCED) หรือความ
แตกต่างในความครอบคลุม (เช่น ขอบเขตของประเภทการศึกษาทีแ่ ตกต่างกัน เช่น การศึกษาเอกชนหรือการศึกษา
พิเศษ ทีอ่ าจจะถูกรวมไว้เพียงประเภทใดประเภทหนึ่งเท่านัน้ ) และ/ หรือค่าประมาณการประชากรระหว่างประเทศและ
UNPD

109
แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
ข้อมูลจากฝ่ ายบริหารจัดการของโรงเรียนและศูนย์การศึกษาอื่น ๆ หรือจากการสารวจรายครัวเรือนเกี่ยวกับการ
ลงทะเบียนเข้าศึกษาในโครงการการเรียนรูท้ จ่ี ดั ไว้ให้จาแนกตามอายุของผูเ้ รียนเป็ นรายปี สามะโนประชากร และการ
สารวจการประมาณการประชากรจาแนกตามอายุเป็ นรายปี (ในกรณีท่ใี ช้ขอ้ มูลการลงทะเบียนเข้าศึกษาต่อจากฝ่ าย
บริหารจัดการ) ข้อมูลจากฝ่ ายบริหารจัดการเกี่ยวกับอายุตามเกณฑ์ทก่ี าหนดให้เข้าศึกษาในระดับประถมศึกษาของ
กระทรวงต่าง ๆ ทีร่ บั ผิดชอบด้านการศึกษา

กระบวนการเก็บข้อมูล:
สถาบันสถิตแิ ห่งองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) จัดทาชุดเวลาทีม่ ฐี าน
มาจากข้อมูลการลงทะเบียนเข้าศึกษาทีร่ ายงานโดยกระทรวงศึกษาธิการหรือสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ และการประมาณ
การประชากรโดย UNPD ข้อมูลการลงทะเบียนเข้าศึกษาจะถูกรวบรวมมาจากการสารวจประจาปี เกี่ยวกับการศึกษา
อย่างเป็ นทางการ แต่ละประเทศจะรายงานข้อมูลตามระดับชัน้ การศึกษาทีน่ ิยามไว้ในกลุ่มสาขาวิชาและอาชีพจาแนก
ตามระบบ (ISCED) เพื่อสร้างความมั ่นใจถึงความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลระดับสากลของผลลัพธ์ตามตัวชีว้ ดั

ข้อ มูลที่ไ ด้ร ับ จะถู ก น ามาตรวจสอบความถู ก ต้อ งโดยใช้ร ะบบตรวจจับข้อ ผิด พลาดทางอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ท่ีสามารถ
ตรวจสอบความผิดพลาดและความไม่สอดคล้องกันในทางคณิตศาสตร์ รวมทัง้ การวิเคราะห์แนวโน้มสาหรับผลลัพธ์ทไ่ี ม่
น่ าเชื่อถือ ตัวแทนของแต่ละประเทศทีร่ ายงานข้อมูลจะทาหน้าทีใ่ นการแก้ไข (ข้อผิดพลาด) หรือให้คาอธิบาย (สาหรับ
ผลทีไ่ ม่น่าเชื่อถือ) ตามคาถามทีไ่ ด้รบั ในระหว่างกระบวนการนี้ จะมีการสนับสนุนให้ประเทศต่าง ๆ ได้ทาการประมาณ
การรายการทีส่ ญ ู หายหรือไม่สมบูรณ์ดว้ ย

นอกจากนี้ แต่ละประเทศยังมีโอกาสทีจ่ ะเห็นและให้คาแนะนาต่อตัวชีว้ ดั หลักที่ UIS นามาไว้ในรายงานประจาปี “การ


ทบทวนระดับประเทศ” ด้านตัวชีว้ ดั

----------------------------------------------------------------------------------------

110
เป้ าหมายที่ 4: สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคณ
ุ ภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุน
โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เป้ าประสงค์ 4.a: สร้างและยกระดับอุปกรณ์ และเครื่องมือทางการศึกษาที่อ่อนไหวต่ อเด็ก ผู้พิการ และเพศ
ภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมีประสิ ทธิ ผล
สาหรับทุกคน

ตัวชี้ วดั 4.a.1: สัดส่ วนของโรงเรียนที่ มีการเข้าถึง (a) ไฟฟ้ า (b) อิ นเทอร์เน็ ตที่ ใช้ ในการเรียนการสอน (c)
เครื่องคอมพิ วเตอร์ที่ใช้ ในการเรีย นการสอน (d) โครงสร้างพื้นฐาน และวัสดุอุปกรณ์ ที่ได้ รบั การปรับ ให้
เหมาะสมกับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางร่างกาย (e) น้าดื่มพื้นฐาน (f) สิ่ งอานวยความสะดวกพื้นฐานด้าน
สุขอนามัยที่แบ่งแยกตามเพศ และ (g) สิ่ งอานวยความสะดวกพื้นฐานในการทาความสะอาดมือ (ตามนิ ยาม
ตัวชี้วดั WASH)

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: สถาบันสถิติแห่งองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
(UNESCO Institute for Statistics: UNESCO-UIS)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ร้อยละของโรงเรียนทีจ่ าแนกตามระดับการศึกษา (ประถมศึกษา) กับการเข้าถึงสิง่ อานวยความสะดวกหรือการบริการ

หลักการและเหตุผล:
ตัวชี้วดั นี้วดั จากการเข้าถึงการบริการหลักขัน้ พื้นฐานในโรงเรียนและสิง่ อานวยความสะดวกที่จาเป็ นเพื่อสร้างความ
มั ่นใจในความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อมแห่งการเรียนรูท้ ป่ี ลอดภัยสาหรับนักเรียนทุกคน

ค่าตัวชีว้ ดั ทีส่ งู แสดงว่าโรงเรียนมีการเข้าถึงการบริการทีเ่ กีย่ วข้องและสิง่ อานวยความสะดวกได้เป็ นอย่างดี ซึง่ ตามอุดม


คติแล้ว โรงเรียนแต่ละแห่งควรจะเข้าถึงการบริการและสิง่ อานวยความสะดวกเหล่านี้ได้ทงั ้ หมด

แนวคิ ด:
ไฟฟ้ า : แหล่ ง พลังงานที่หาได้อย่ างง่า ยดายและสม่ าเสมอ (เช่ น การเชื่อ มต่อ กระแสไฟฟ้ าหลัก ลม น้ า พลัง งาน
แสงอาทิตย์ และเครื่องให้กาเนิดพลังงานไฟฟ้ า เป็ นต้น) ที่ช่วยส่งเสริมการใช้งานสาธารณูปโภคด้านเทคโนโลยีการ
สื่อสารสาหรับวัตถุประสงค์ทางการศึกษาทีเ่ พียงพอและยั ่งยืน

อินเตอร์เน็ตสาหรับการจัดการเรียนการสอน: มีระบบอินเตอร์ เน็ตสาหรับยกระดับการเรียนการสอนและเข้าถึงได้โดย


นักเรียนทุกคน อินเตอร์เน็ตในทีน่ ้ี หมายถึง ระบบเครือข่ายการเชื่อมต่อระหว่างกันของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทวโลก ั่ ที่
ช่วยให้นักเรียนเข้าถึงบริการการสื่อสารจานวนมาก รวมทัง้ ระบบเว็บไซต์และอีเมล ข่าว ไฟล์ขอ้ มูลและสื่อบั นเทิง โดย
ไม่คานึงถึงอุปกรณ์ทใ่ี ช้ (เช่น ไม่จาเป็ นต้องเป็ นเฉพาะคอมพิวเตอร์เท่านัน้ ) และนัน่ จึงทาให้สามารถใช้โทรศัพท์มอื ถือ
แท็บ เล็ต PDA เครื่อ งเล่ น เกมส์ และโทรทัศ น์ ดิจิท ัล การเข้า ถึง สามารถท าได้โ ดยแถบความถี่แคบแบบประจาที่
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงแบบประจาที่ หรือเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเคลื่อนที่

111
คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดการเรียนการสอน: การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการถ่ายทอดบทเรียนหรือการสอนแบบ
อิสระและความต้องการอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วกับการเรียนรู้ โดยอาจรวมถึงกิจกรรมทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์หรือระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อ
ค้นหาข้อมูลทีต่ อ้ งการสาหรับวัตถุประสงค์ดา้ นการวิจยั การพัฒนางานนาเสนอ การส่งแบบฝึกหัดหรือการทดลอง การ
แบ่งปั นข้อมูล และการเข้าร่วมในการสนทนาแบบออนไลน์เพื่อวัตถุประสงค์ด้านการเรียนการสอน คอมพิวเตอร์เป็ น
อุปกรณ์ทต่ี งั ้ โปรแกรมทางอิเล็กทรอนิกส์ไว้ใช้สาหรับการเก็บ กู้ และประมวลผลข้อมูล ตลอดจนการแบ่งปั นข้อมูลโดย
โครงสร้างการส่งต่อข้อมูลชัน้ สูง คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลทางตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ตามชุดคาสั ่งหรือ
ขัน้ ตอนได้อย่างรวดเร็ว คอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็ นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
- คอมพิวเตอร์ตงั ้ โต๊ะทีม่ กั จะตัง้ ไว้ประจาทีแ่ ห่งใดแห่งหนึ่งเบือ้ งหน้าของผูใ้ ช้งาน และด้านหลังแป้ นพิมพ์
- คอมพิวเตอร์แบบพกพาจะมีขนาดเล็กพอทีจ่ ะถือและยกระดับการทางานของคอมพิวเตอร์ตงั ้ โต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบนี้
จะรวมเอาโน้ตบุ๊กไว้ดว้ ย โดยทีโ่ น้ตบุ๊กนี้จะไม่รวมเอาแท็บเล็ตและอุปกรณ์มอื ถืออื่นทีม่ ลี กั ษณะเหมือนกันไว้ดว้ ย และ
- แท็บเล็ต (หรือคอมพิวเตอร์มอื ถือ) เป็ นคอมพิวเตอร์ท่บี ูรณาการเข้ากับจอภาพแบบแบน ที่ทางานผ่านการสัมผัส
หน้าจอมากกว่าการใช้งานผ่านแป้ นพิมพ์

สาธารณูปโภคทีม่ กี ารประยุกต์ให้เหมาะสม หมายถึง สิง่ แวดล้อมทีถ่ ูกสร้างขึน้ โดยเกีย่ วข้องกับสิง่ อานวยความสะดวก


ด้านการศึกษาทีท่ ุกคนรวมทัง้ บุคคลทุพพลภาพประเภทต่าง ๆ สามารถเข้าถึงการใช้งาน และออกจากการใช้งานได้
การเข้าถึงการใช้งานรวมถึงกลวิธี การเข้า การย้ายที่เป็ นอิสระ และ/หรือการใช้งานอาคาร ตลอดจนบริการและสิ่ง
อานวยความสะดวกในอาคาร (เช่น น้ า และสิง่ อานวยความสะดวกด้านสุขอนามัย) โดยผูท้ ม่ี โี อกาสจะเป็ นผูใ้ ช้งานทุก
คนจะได้รบั การคุม้ ครองด้านสุขภาพส่วนบุคคล ความปลอดภัย และความเป็ นอยู่ในระหว่างทีท่ ากิจกรรมดังกล่าว

อุปกรณ์ท่มี กี ารประยุกต์ให้เหมาะสม หมายถึง อุปกรณ์การเรียนรูแ้ ละผลิตภัณฑ์ทย่ี กระดับความสามารถของครูและ


นักเรียน รวมทัง้ กลุ่มคนทีม่ คี วามทุพพลภาพหรือมีขอ้ จากัดด้านการทางาน เพื่อให้เข้าถึงการเรียนรูแ้ ละมีส่วนร่วมกับ
สภาพแวดล้อมในโรงเรียนอย่างเต็มที่

อุปกรณ์การเรียนทีส่ ามารถเข้าถึงได้ อาทิ หนังสือเรียน อุปกรณ์ทใ่ี ช้สาหรับแนะนาการเรียนการสอน การประเมินผล


และอุปกรณ์อ่นื ๆ ทีห่ าได้และนามาใช้ในรูปแบบทีเ่ หมาะสม เช่น เสียง อักษรเบรลล์ ภาษาสัญลักษณ์ และในรูปแบบที่
ได้รบั การปรับให้ง่ายเพื่อให้นักเรียนและครูทุกคน รวมทัง้ กลุ่มคนทีม่ คี วามทุพพลภาพหรือมีขอ้ จากัดด้านการทางาน
สามารถใช้ได้

น้ า ดื่ม สะอาด หมายถึง แหล่ ง น้ า ที่สามารถน ามาดื่ม ได้ (ในหมวด “ที่พ ัฒ นาแล้ว ” ของเป้ า หมายการพัฒ นาแห่ ง
สหัสวรรษ) ทีอ่ ยู่หรืออยู่ใกล้กบั แหล่งน้าทีท่ ุกคนสามารถเข้าถึงได้ระหว่างอยู่ทโ่ี รงเรียน

สิง่ อานวยความสะดวกเพื่อสุขอนามัยขัน้ พืน้ ฐาน หมายถึง สิง่ อานวยความสะดวกเพื่อสุขอนามัยขัน้ พืน้ ฐานทีใ่ ช้งานได้
(ในหมวด “ทีพ่ ฒ
ั นาแล้ว” ของเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ) แยกเป็ นหญิงและชายหรือใกล้เคียง

สิง่ อานวยความสะดวกขัน้ พืน้ ฐานสาหรับการล้างมือ หมายถึง สิง่ อานวยความสะดวกขัน้ พืน้ ฐานสาหรับการล้างมือทีใ่ ช้


งานได้ ร่วมทัง้ สบู่และน้าสาหรับทัง้ เด็กหญิงและเด็กชาย

112
ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ตัวชี้วดั วัดค่าจากบริการหรือสิ่งอานวยความสะดวกที่มีอยู่ในโรงเรียน แต่ไม่หมายรวมถึงคุณภาพ หรือสภาวะการ
ปฏิบตั งิ าน (Operational state) ของบริการและสิง่ อานวยความสะดวกนัน้

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนโรงเรียนที่จดั การเรียนการสอนในระดับชัน้ ที่กาหนดและมีการเข้าถึงสิง่ อานวยความสะดวกทีเ่ กี่ยวข้องจะถูก
คานวณเป็ นร้อยละของจานวนโรงเรียนทัง้ หมดทีจ่ ดั การเรียนการสอนในระดับชัน้ ทีก่ าหนด

PSn,f = Sn,f

Sn

เมื่อ:

PSn,f = ร้อยละของโรงเรียนทีก่ ารศึกษาระดับ n และมีการเข้าถึงสิง่ อานวยความสะดวก f

Sn,f = โรงเรียนทีก่ ารศึกษาระดับ n และมีการเข้าถึงสิง่ อานวยความสะดวก f

Sn = จานวนโรงเรียนทีก่ ารศึกษาระดับ n

การจาแนกข้อมูล:
ตามระดับการศึกษา

การจัดการกับข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ค่าประมาณการของ UIS ข้อมูลทีเ่ ป็ นรายการหลักบางรายการทีอ่ าจจะสูญหายหรือไม่ครบถ้วนเพื่อหาค่าประมาณการ
ในระดับประเทศที่สามารถเผยแพร่ได้ ในกรณีท่ไี ม่สามารถกระทาได้ ให้ UIS คาดคะเนข้อมูลที่สูญหายไว้เพื่อการ
คานวณผลรวมระดับภูมภิ าคและระดับโลกเท่านัน้

ในทุกกรณี ค่าประมาณการจะอยู่บนฐานของข้อมูลทีไ่ ด้รบั จากแต่ละประเทศ (เช่น ข้อมูลจากผูใ้ ห้ขอ้ มูลเกี่ยวกับขนาด


ขององค์ประกอบทีห่ ายไป ผ่านการติดต่อประสานงาน เอกสารตีพมิ พ์ หรือข้อมูลทีไ่ ด้จากเว็บไซต์ของกระทรวง หรือ
สานักงานสถิติแห่งชาติ หรือจากการสารวจที่จดั ทาโดยหน่ วยงานต่าง ๆ) หรือข้อมูลทีไ่ ด้จากแต่ละประเทศในปี ก่อน
หน้านัน้

ในกรณีทป่ี ระเทศมีขอ้ มูลทีท่ งั ้ เก่าและใหม่กว่า และมีขอ้ มูลทีส่ ญ


ู หายไป ก็ให้นาข้อมูลเหล่านัน้ มาประมาณค่าในช่วงเชิง
เส้นอย่างง่าย ในกรณีทม่ี เี พียงข้อมูลทีเ่ ก่ากว่า ให้ใช้ค่าล่าสุดมาใช้ เป็ นค่าประมาณการ เช่นเดียวกันกับกรณีทม่ี เี พีย ง
ข้อมูลของปี ล่าสุด ก็ให้ใช้ค่าล่าสุดเป็ นค่าประมาณการได้

113
สาหรับประเทศที่ไม่สามารถหาข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องได้ ค่าประมาณการอาจจะมาจากตัวแปรอื่น ๆ ซึ่งมีความเกี่ยวข้อง
อย่างชัดเจนกับรายการที่จะทาการประมาณการ ยกตัวอย่างเช่น การประมาณการโรงเรียนที่เข้าถึงบริการหรือสิ่ ง
อานวยความสะดวกขัน้ พืน้ ฐานอาจจะมาจากข้อมูลจานวนโรงเรียนทัง้ หมด

สาหรับประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลใด ๆ ทีจ่ ะสามารถนามาใช้เพื่อการประเมินได้เลยแม้แต่ปีเดียว ให้ใช้ ค่าเฉลี่ยแบบไม่ถ่วง


น้าหนักในระดับภูมภิ าคทีป่ ระเทศนัน้ ๆ ตัง้ อยู่แทน

ในปั จจุบนั ยังไม่มกี ารประมาณการเพื่อวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่ขอ้ มูลระดับประเทศสาหรับตัวชีว้ ดั นี้

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคและระดับโลกมาจากข้อมูลในระดับประเทศทัง้ ทีเ่ ผยแพร่ได้และที่ถูกประมาณค่าสูญ
หายแล้ว โดยข้อ มูลที่เ ผยแพร่ไ ด้เ ป็ น ข้อ มูลที่ประเทศสมาชิก ส่ง ไปยัง UIS หรือ เป็ น ค่ าประมาณการที่ชดั เจนโดย
หน่ วยงานตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ล่วงหน้า ข้อมูลทัง้ สองประเภทจะถูกส่งไปให้ประเทศสมาชิกตรวจสอบก่อนที่จะ
ส่งไปยัง UIS เพื่อดาเนินการเผยแพร่

สาหรับบางประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลทีห่ าได้ ทาง UIS จะประมาณค่าข้อมูลสูญหายของข้อมูล ระดับประเทศเพื่อใช้ในการ


คานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าค โดยข้อมูลเหล่านี้จะไม่ถูกเปิ ดเผยหรือเผยแพร่ออกไป

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคและระดับโลกให้ใช้การคานวณจากค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนักทีใ่ ช้จานวนส่วนของตัวชี้วดั


เป็ นน้าหนัก

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคและระดับโลกให้ใช้การคานวณจากค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนักทีใ่ ช้จานวนส่วนของตัวชี้วดั
เป็ นน้ าหนัก ดังที่อธิบายไปข้างต้น ในกรณีท่ไี ม่มีข้อมูลที่เผยแพร่ได้ใ นปี หรือประเทศที่กาหนด ให้ใช้ ค่าจากการ
ประมาณค่าสูญหายในการคานวณผลสรุประดับภูมภิ าคและระดับโลกแทน

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ข้อมูลทีเ่ ผยแพร่ในระดับประเทศอาจแตกต่างไปจากข้อมูลเดียวกันในระดับโลกเนื่องจาก ความแตกต่างระหว่างระบบ
การศึกษาในแต่ละประเทศและการให้คานิยามไว้แก่กลุ่มสาขาวิชาและอาชีพจาแนกตามระบบ (ISCED) หรือความ
แตกต่างในความครอบคลุม (เช่น ขอบเขตของประเภทการศึกษาทีแ่ ตกต่างกัน เช่น การศึกษาเอกชนหรือการศึกษา
พิเศษ ทีอ่ าจจะถูกรวมไว้เพียงประเภทใดประเภทหนึ่งเท่านัน้ ) และ/ หรือการประมาณการประชากรระหว่างประเทศ
และ UNPD

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
ข้อมูลจากฝ่ ายบริหารจัดการของโรงเรียนและผูใ้ ห้บริการการศึกษาหรือการอบรมอื่น ๆ

114
กระบวนการเก็บข้อมูล:
สถาบันสถิตแิ ห่งองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) จัดทาชุดเวลาทีม่ ฐี านมา
จากข้อมูลการลงทะเบียนเข้าศึกษาทีร่ ายงานโดยกระทรวงศึกษาธิการหรือสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ ข้อมูลทีร่ วบรวมมา
จากการสารวจประจาปี เกี่ยวกับการศึกษาอย่างเป็ นทางการ (ด้านการเข้าถึงไฟฟ้ า น้ าดื่มสะอาด และสิง่ อานวยความ
สะดวกสาหรับการล้างมือ) และจากการสารวจด้านเทคโนโลยีการสื่อสารในการศึกษา (ด้านการเข้าถึงไฟฟ้ า ระบบ
อินเตอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์) ในปั จจุบนั ไม่มกี ารเก็บข้อมูลเกีย่ วกับสาธารณูปโภคทีม่ กี ารประยุกต์ให้เหมาะสม แต่ละ
ประเทศจะรายงานข้อมูลตามระดับชัน้ การศึกษาทีน่ ิยามไว้ในกลุ่มสาขาวิชาและอาชีพจาแนกตามระบบ (ISCED) เพื่อ
สร้างความมั ่นใจถึงความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลระดับสากลของผลลัพธ์ตามตัวชีว้ ดั

ข้อ มูลที่ไ ด้ร ับ จะถู ก น ามาตรวจสอบความถู ก ต้อ งโดยใช้ร ะบบตรวจจับข้อ ผิด พลาดทางอิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ท่ีสามารถ
ตรวจสอบความผิดพลาดและความไม่สอดคล้องกันในทางคณิตศาสตร์ รวมทัง้ การวิเคราะห์แนวโน้มสาหรับผลลัพธ์ทไ่ี ม่
น่ าเชื่อถือ ตัวแทนของแต่ละประเทศทีร่ ายงานข้อมูลจะทาหน้าทีใ่ นการแก้ไข (ข้อผิดพลาด) หรือให้คาอธิบาย (สาหรับ
ผลทีไ่ ม่น่าเชื่อถือ) ตามคาถามทีไ่ ด้รบั ในระหว่างกระบวนการนี้ จะสนับสนุ นให้ประเทศต่าง ๆ ได้ทาการประมาณการ
รายการทีส่ ญ ู หายหรือไม่สมบูรณ์ดว้ ย

นอกจากนี้ แต่ละประเทศยังมีโอกาสทีจ่ ะเห็นและให้คาแนะนาต่อตัวชีว้ ดั หลักที่ UIS นามาไว้ในรายงานประจาปี “การ


ทบทวนระดับประเทศ” ด้านตัวชีว้ ดั

----------------------------------------------------------------------------------------

115
เป้ าหมายที่ 5: บรรลุความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรีและเด็กหญิ ง
เป้ าประสงค์ 5.2: ขจัดความรุนแรงทุกรูปแบบที่ มีต่อผู้หญิ งและเด็ก หญิ งทัง้ ในที่ สาธารณะและที่ รโหฐาน
รวมถึงการค้ามนุษย์ การกระทาทางเพศ และการแสวงประโยชน์ ในรูปแบบอื่น

ตัวชี้วดั 5.2.1: สัดส่วนของผู้หญิ งและเด็กหญิ งอายุ 15 ปี ขึ้นไป ที่เคยอยู่ร่วมกับคู่ครองได้รบั ความรุนแรงทาง


ร่างกาย ทางเพศ หรือทางจิ ตใจโดยคู่ครองคนปั จจุบนั หรือคู่ครองคนก่อนหน้ า ในช่วง 12 เดือนที่ ผ่านมา
จาแนกตามรูปแบบความรุนแรงและอายุ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์ก ารเพื่อ การส่ งเสริมความเสมอภาคระหว่า งเพศ และเพิ่ม พลังของสตรีแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Entity for Gender Equality and the Empowerment of Women: UNWOMEN)
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)
สานักงานสถิตแิ ห่งสหประชาชาติ (United Nations Statistics Division: UNSD)
องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)
กองทุนสหประชาชาติเพื่อประชากร (United Nations Population Fund: UNFPA)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ตัวชี้วดั นี้วดั ค่าจากร้อยละของสตรีและเด็กหญิงอายุ 15 ปี ข้นึ ไป ที่เคยอยู่ร่วมกับคู่ครองและได้รบั ความรุนแรงทาง
ร่างกาย ทางเพศ หรือทางจิตใจโดยคู่ครองคนปั จจุบนั หรือคู่ครองคนก่อนหน้า ในช่วง 12 เดือนทีผ่ ่านมา นิยามความ
รุนแรงต่อสตรีและเด็กหญิงและรูปแบบของความรุนแรงทีน่ ามาใช้เฉพาะตัวชีว้ ดั นี้ อธิบายไว้ดา้ นล่าง (แนวคิด)

หลักการและเหตุผล:
ความรุนแรงทีก่ ระทาต่อเด็กหญิงและสตรีเป็ นความรุนแรงด้านเพศสภาพทีพ่ บได้ทวไปที
ั ่ ส่ ุด ในสังคมทีใ่ ห้ผชู้ ายครอบงา
สตรี ความรุนแรงระหว่างคู่ครองอาจจะเป็ นองค์ประกอบทัวไปของการใช้
่ ชวี ติ คู่ของคนต่างเพศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน
บริบทของการแต่งงานและการอยู่กินกันฉันสามีภรรยา ซึง่ ความรุนแรงดังกล่าวเป็ นลักษณะหนึ่งของความไม่เท่าเทียม
กันทางเพศสภาพ

ข้อมูลความชุกจะเป็ นที่ต้องการเพื่อนามาวัดขนาดของปั ญหา ทาความเข้าใจความรุนแรงรูปแบบต่าง ๆ และผลที่


ตามมา ระบุกลุ่มเสีย่ ง วินิจฉัยปั ญหาเพื่อแสวงหาแนวการช่วยเหลือ และสร้างหลักประกันถึงการตอบสนองทีเ่ หมาะสม
ข้อมูลเหล่านี้ถอื เป็ นจุดเริม่ ต้นในการให้ขอ้ มูลทางกฎหมายและนโยบาย รวมทัง้ การพัฒนาการตอบสนองและโครงการที่
มีประสิทธิภาพตามความต้องการ ทัง้ ยังเปิ ดโอกาสให้ประเทศต่าง ๆ ได้ติดตามความเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลา
รวมทัง้ ประเมินประสิทธิภาพของการให้ความช่วยเหลือทีจ่ ดั ขึน้

แนวคิ ด:
ปฏิญญาว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อสตรีปี พ.ศ. 2536 ให้นิยามความรุนแรงต่อสตรีว่าเป็ น “การกระทาใด ๆ ทีเ่ ป็ น
ความรุนแรงทางเพศ ซึ่งเป็ นผลหรืออาจจะเป็ นผล ให้เกิดการทาร้ายทางร่างกาย ทางเพศหรือทางจิตใจ เป็ นผลให้เกิด
ความทุกข์ทรมานแก่สตรี รวมทัง้ การขูเ่ ข็ญ คุกคาม กีดกันเสรีภาพทัง้ ในทีส่ าธารณะ และในชีวติ ส่วนตัว ซึง่ ความรุนแรง

116
ต่อสตรีน้ีมคี วามครอบคลุมแต่ไม่จากัดเฉพาะ ความรุนแรงต่อร่างกาย เพศ และจิตใจทีเ่ กิดขึน้ ภายในครอบครัวเท่านัน้
[…]” ดูนิยามเต็มได้ท:่ี http://www.un.org/documents/ga/res/48/a48r104.htm

ความรุนแรงจากคู่สมรสหมายรวมถึงการทาร้ายทีเ่ กิดจากคู่สมรสคนปั จจุบนั และในอดีตในบริบทของการแต่งงานหรือ


การอยู่กนิ กันทัง้ ทีเ่ ป็ นทางการและไม่เป็ นทางการในรูปแบบอื่น ๆ

นิยามความรุนแรงแต่ละรูปแบบทีถ่ ูกรวมอยู่ในตัวชีว้ ดั นี้ ได้แก่

1. ความรุนแรงต่อร่างกาย รวมถึงการกระทาอันมุ่งไปทีก่ ารทาร้ายร่างกายของเหยื่อให้เจ็บปวด ซึง่ ครอบคลุมแต่


ไม่จากัดเฉพาะการผลัก จับ บิดแขน ดึงผม ตบ เตะ กัด หรือทุบตีดว้ ยกาปั น้ หรือสิง่ ของ ความพยายามทีจ่ ะ
บีบคอหรือทาให้อีกฝ่ ายหายใจไม่ออก เผาหรือลวกด้วยน้ าร้อนอย่างตัง้ ใจ การทาร้ายหรือจู่โจมด้วยสิง่ ที่ ใช้
เป็ นอาวุธได้ ปื น หรือมีด
2. ความรุนแรงต่อเพศ หมายถึง พฤติกรรมทางเพศทีร่ ุนแรงและไม่เป็ นทีต่ ้องการอันกระทาต่อบุคคลใดบุคคล
หนึ่ง ตลอดจนการมีเพศสัมพันธ์ทร่ี ุนแรง การบังคับให้มเี พศสัมพันธ์ ความพยายามมีเพศสัมพันธ์หรือการมี
เพศสัมพันธ์โดยปราศจากความยินยอม การมีเพศสัมพันธ์กบั คนในครอบครัว การล่วงละเมิดทางเพศ เป็ นต้น
ความรุนแรงต่อเพศที่พบในความสัมพันธ์กับคู่ครอง มักจะหมายถึงการถูกบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ การมี
เพศสัมพันธ์จากความกลัวในสิง่ ทีค่ ่สู มรสอาจจะทา และ/หรือการถูกบังคับให้กระทาการบางอย่างทีเ่ กี่ยวกับ
เพศซึง่ ฝ่ ายหญิงมองว่าเป็ นความน่าอับอายหรือต่าช้า
3. ความรุนแรงต่อจิตใจ รวมถึงพฤติกรรมต่าง ๆ ซึง่ เกีย่ วข้องกับการทาร้ายจิตใจและการควบคุมพฤติกรรม โดย
มักจะเกิดขึน้ ร่วมกับความรุนแรงต่อร่างกายและเพศโดยคู่สมรสและการกระทาความรุนแรงในตัวเอง

สาหรับรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับความรุนแรงต่อร่ายกาย เพศและจิตใจต่อสตรี ดูได้จาก คาแนะนาสาหรับการจัดทา


สถิติความรุนแรงต่อสตรี – การสารวจเชิงสถิติ (Guidelines for Producing Statistics on Violence against Women-
Statistical Surveys (สหประชาชาติ 2014)

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ความเปรียบเทียบกันได้:
การมีอยู่ของข้อมูลทีเ่ ปรียบเทียบกันได้ยงั คงเป็ นข้อท้าทายเสมอมา ด้วยเหตุทค่ี วามพยายามในการเก็บข้อมูลจานวน
มากล้วนมีระเบียบวิธที แ่ี ตกต่างกัน นิยามความรุนแรงของคู่สมรสหรือคู่ครองก็ไม่เหมือนกัน ตลอดจนรูปแบบความ
รุนแรงและการวางเกณฑ์คาถามสารวจทีแ่ ตกต่างกัน และยัง พบว่ามีการใช้กลุ่มอายุประชากรทีห่ ลากหลายด้วย ความ
เต็มใจในการพูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์ความรุนแรงและความเข้าใจแนวคิดที่เกี่ยวข้องอาจจะแตกต่างกันไปตาม
บริบททางวัฒนธรรมด้วย ซึง่ ทัง้ หมดล้วนแต่ส่งผลต่อระดับความชุกทีถ่ ูกรายงานออกไป

ความสม่าเสมอของการผลิตข้อมูล:
ตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2538 มีเพียง 40 ประเทศเท่านัน้ ทีจ่ ดั ทาการสารวจความรุนแรงต่อสตรีมากกว่าหนึ่งตัว การได้รบั ข้อมูล
เกี่ยวกับความรุนแรงต่อสตรีเป็ นสิ่งที่มีค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลามาก ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลที่มาจากการสารวจเฉพาะ
ประเด็น หรือโดยผ่านแบบจาลองทีน่ าไปใส่ไว้ในการสารวจอื่น ๆ การสารวจสุขภาพและประชากรจะจัดทาทุก 5 ปี หรือ
การสารวจเฉพาะอื่น ๆ ถ้ามีการทาซ้า ก็จะจัดทาในช่วงเวลาทีเ่ ป็ นระยะน้อยกว่านี้ การติดตามตัวชี้วดั นี้ร่วมกับบาง
ช่วงเวลาอาจจะเป็ นข้อท้าทายในกรณีทไ่ี ม่มกี ารเสริมศักยภาพอย่างยั ่งยืนและไม่สามารถหาแหล่งทุนสนับสนุนได้

117
ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ตัวชี้วดั นี้จะต้องการรายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบความรุนแรงและกลุ่มอายุ ตลอดจนผลทีม่ าจากรูปแบบความรุนแรงใน
แต่ละรูปแบบหรือทุกรูปแบบ

1. ความรุนแรงต่อร่างกาย
จานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยได้รบั ความรุนแรงทางกาย โดยคู่ครองทัง้ ในปั จจุบ ั นและใน
อดีต ภายในระยะเวลา 12 เดือน หารด้วยจานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยผ่านการมีค่คู รอง
ทัง้ หมดในประชากรทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

2. ความรุนแรงต่อเพศ
จานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยได้รบั ความรุนแรงทางเพศ โดยคู่ครองทัง้ ในปั จจุบนั และใน
อดีต ภายในระยะเวลา 12 เดือน หารด้วยจานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยผ่านการมีค่คู รอง
ทัง้ หมดในประชากรทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

3. ความรุนแรงต่อจิตใจ
จานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยได้รบั ความรุนแรงทางจิตใจ โดยคู่ครองทัง้ ในปั จจุบนั และใน
อดีต ภายในระยะเวลา 12 เดือน หารด้วยจานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยผ่านการมีค่คู รอง
ทัง้ หมดในประชากรทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

4. ความรุนแรงต่อร่างกาย และ/หรือเพศ รูปแบบต่าง ๆ


จานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยได้รบั ความรุนแรงต่อร่างกาย และ/หรือทางเพศ รูปแบบต่าง
ๆ โดยคู่ครองทัง้ ในปั จจุบนั และในอดีต ภายในระยะเวลา 12 เดือน หารด้วยจานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15
ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยผ่านการมีค่คู รองทัง้ หมดในประชากรทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

5. ความรุนแรงต่อร่างกาย เพศ และ/หรือจิตใจ รูปแบบต่าง ๆ


จานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยได้รบั ความรุนแรงต่อร่างกาย เพศ และ/หรือจิตใจ รูปแบบต่าง
ๆ โดยคู่ครองทัง้ ในปั จจุบนั และในอดีต ภายในระยะเวลา 12 เดือน หารด้วยจานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15
ปี ขน้ึ ไป) ทีเ่ คยผ่านการมีค่คู รองทัง้ หมดในประชากรทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

การจาแนกข้อมูล:
นอกเหนือจากรูปแบบของความรุนแรงและอายุแล้ว ตัวชีว้ ดั นี้ยงั ใช้ รายได้หรือความมั ่งคั ่ง การศึกษา ชาติพนั ธุ์ (รวมทัง้
สถานภาพทางชาติพนั ธุ)์ ความทุพพลภาพ สถานทีอ่ ยู่ทางภูมศิ าสตร์ และความถีข่ องความรุนแรงมาเป็ นตัวแปรร่วมที่
ใช้ในการจาแนกข้อมูลด้วย

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
จะไม่มกี ารเผยแพร่ขอ้ มูลประมาณการระดับประเทศ ในกรณีทข่ี อ้ มูลในระดับนี้สญ
ู หายทัง้ หมด

118
ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ไม่มกี ารใช้การประมาณค่าสูญหายในกรณีทไ่ี ม่สามารถหาข้อมูลในระดับประเทศได้ ในกรณีทม่ี ขี อ้ มูลระดับภูมภิ าคและ
ระดับโลก จะต้องมีการบันทึกข้อจากัดของข้อมูล ไว้ด้วย นอกจากนี้ต้องมีการแสดงถึงจานวนประเทศที่ใช้ในการหา
ค่าเฉลีย่ ไว้ดว้ ย

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ผลรวมระดับโลกคือค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนักจากแต่ละภูมภิ าคทัวโลก ่ ผลรวมระดับภูมภิ าคนี้คอื ค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนักของทุก
ประเทศทีต่ งั ้ อยู่ในภูมภิ าคนัน้ ๆ ในกรณีทภ่ี ูมภิ าคใดภูมภิ าคหนึ่งไม่มขี อ้ มูลใด ๆ ในระดับประเทศอยู่เลย ผลรวามระดับ
ภูมภิ าคอาจจะยังพอคานวณได้หากเกณฑ์ขนั ้ ต่าของประชากรทีค่ รอบคลุมในการศึกษาถึงเป้ า ทัง้ นี้จะต้องมีการแสดง
ถึงจานวนประเทศทีใ่ ช้ในการหาค่าเฉลีย่ ไว้ดว้ ย

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ใช้เฉพาะข้อมูลทีเ่ ผยแพร่โดยแต่ละประเทศเท่านัน้

วิธกี ารและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:แหล่งข้อมูล
1. องค์ก ารเพื่อ การส่ ง เสริม ความเสมอภาคระหว่ า งเพศ และเพิ่ม พลัง ของสตรีแ ห่ ง สหประชาชาติ. 2559.
ฐานข้อมูลระดับโลกเกีย่ วกับความรุนแรงต่อสตรี. จาก: http://evaw-global-database.unwomen.org/en
2. องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ข้อมูล: http://data.unicef.org/child-protection/violence.html
3. ส า นั ก ง า น ส ถิ ติ แ ห่ ง ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ ชุ ด ตั ว ชี้ วั ด พื้ น ฐ า น ด้ า น เ พ ศ ภ า ว ะ :
http://genderstats.un.org/beta/index.html#/home
4. ส านั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง สหประชาชาติ ข้ อ มู ล และรายละเอี ย ดของข้ อ มู ล เกี่ ย วกับ ความรุ น แรงต่ อสตรี:
http://unstats.un.org/unsd/gender/vaw/

United Nations, 2 0 1 4 . Guidelines for Producing Statistics on Violence against Women‐ Statistical Surveys.
จาก https://unstats.un.org/unsd/gender/docs/Guidelines_Statistics_VAW.pdf

การรับประกันคุณภาพ:
ส่ ว นนี้ จ ะต้อ งได้ร ับ การพัฒ นาในรายละเอีย ด โดยเกณฑ์ต่ อ ไปนี้ จ ะถู ก น ามาใช้ในการเลือ กข้อ มูลให้เ ข้า มาอยู่ใน
ฐานข้อมูลเพื่อรับประกันถึงคุณภาพและความสามารถในการเปรียบเทียบของข้อมูล
(1) ข้อมูลทีเ่ ป็ นตัวแทนระดับประเทศ
(2) การสารวจรายครัวเรือนทีร่ วบรวมไว้
(3) นิยามของความรุนแรงต่อร่างกายและเพศจากการกระทาของคู่สมรส ที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ระหว่าง
ประเทศ
(4) กลุ่มอายุทส่ี ามารถเปรียบเทียบกันได้ (15-49 ปี )
(5) แหล่งข้อมูลทีน่ ่าเชื่อถือ
ข้อมูลทัง้ หมดจะนามาจากรายงานระดับประเทศที่เผยแพร่สู่สาธารณะ และฐานข้อมูลที่หาได้จากการผนวกเข้า กับ
รายงานเหล่านี้โดยกลุ่มผูผ้ ลิตข้อมูล ยังไม่มกี ารประมาณการหรือศึกษาเชิงคานวณในประเด็นนี้

119
แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
แหล่ ง ที่ให้ข้อ มูลหลัก ด้า นความชุกของความรุน แรงที่ก ระทาโดยคู่สมรส ได้แ ก่ (1) การสารวจเฉพาะประเด็นใน
ระดับประเทศทีม่ ขี อ้ มูลสนับสนุนการวัดความรุนแรงต่อสตรี และ (2) การสารวจรายครัวเรือนระหว่างประเทศทีร่ วมเอา
แบบจาลองเกีย่ วกับประสบการณ์ของสตรีทไ่ี ด้รบั ความรุนแรงไว้ดว้ ย เช่น แบบสารวจสุขภาพและประชากร

แม้ว่าข้อมูลจากเชิงบริหารจัดการทีไ่ ด้จากด้านสุขภาพ ตารวจ ศาล ความยุตธิ รรมและงานบริการทางสังคม ตลอดจน


บริการอื่น ๆ ทีจ่ ดั สรรไว้สาหรับผูท้ ร่ี อดชีวติ จากความรุนแรง จะสามารถให้รายละเอียดเกีย่ วกับความรุนแรงทีม่ ตี ่อสตรี
และเด็กหญิงได้ แต่ไม่สามารถให้ขอ้ มูลด้านความชุกได้ หากนับเป็ นข้อมูลอัตราการเกิดหรือกรณีท่ไี ด้รบั หรืออยู่ใน
รายงานของสถานบริการเหล่านัน้ ซึง่ เรารับรูก้ นั ว่าสตรีทถ่ี ูกทาร้ายจานวนมากไม่รายงานความรุนแรงของตน เว้นแต่ใน
กรณีท่เี ป็ นความรุนแรงถึงที่สุด ดังนัน้ ข้อมูลจากฝ่ ายบริหารจัดการเหล่านี้จงึ ไม่ควรนามาใช้เป็ นแหล่งข้อมูลสาหรับ
ตัวชีว้ ดั นี้

สาหรับ ข้อ มูลเกี่ย วกับ ค าแนะน าในการปฏิบ ัติใ นการจัด ท าสถิติเ กี่ย วกับ ความรุ น แรงต่ อ สตรี สามารถหาได้จ าก
คาแนะนาสาหรับการจัดทาสถิตคิ วามรุนแรงต่อสตรี – การสารวจเชิงสถิติ (สหประชาชาติ, 2014)

รายการ:
ไม่ปรากฏ

กระบวนการเก็บข้อมูล:
คณะทางานร่วมด้านข้อมูลความรุนแรงต่อสตรีและคณะทีป่ รึกษาด้านเทคนิคสาหรับข้อมูลดังกล่าวกาลังได้รบั การจัดตัง้
ขึ้น (โดย WHO, UNWOMEN, UNICEF, UNSD และ UNFPA) เพื่ อ จัด วางกลไกส าหรับ การรวบรวมข้ อ มู ล ใน
ระดับประเทศสาหรับตัวชีว้ ดั นี้ให้สอดคล้องกลมกลืนกัน

----------------------------------------------------------------------------------------

120
เป้ าหมายที่ 5: บรรลุความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรีและเด็กหญิ ง
เป้ าประสงค์ 5.2: ขจัดความรุนแรงทุกรูปแบบที่ มีต่อผู้หญิ งและเด็ก หญิ งทัง้ ในที่ สาธารณะและที่ รโหฐาน
รวมถึงการค้ามนุษย์ การกระทาทางเพศ และการแสวงประโยชน์ ในรูปแบบอื่น

ตัวชี้วดั 5.2.2: สัดส่วนของผู้หญิ ง และเด็กหญิ งอายุ 15 ปี ขึ้นไป ที่ได้รบั ความรุนแรงทางเพศจากบุคคลอื่น ที่


ไม่ใช่ค่คู รอง ในช่วงระยะเวลา 12 เดือนที่ผ่านมา จาแนกตามอายุ และสถานที่เกิ ดเหตุ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์ก ารเพื่อ การส่ ง เสริมความเสมอภาคระหว่า งเพศ และเพิ่ม พลัง ของสตรีแ ห่งสหประชาชาติ
(United Nations Entity for Gender Equality and the Empowerment of Women: UNWOMEN)
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)
กองสถิตแิ ห่งสหประชาชาติ (United Nations Statistics Division: UNSD)
องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)
กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (United Nations Population Fund: UNFPA)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ตัวชีว้ ดั นี้วดั ค่าร้อยละของสตรีและเด็กหญิงทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไปทีป่ ระสบความรุนแรงทางเพศจากบุคคลอื่นทีม่ ใิ ช่ค่คู รอง
ภายในระยะเวลา 12 เดือน

นิยามของความรุนแรงทางเพศต่อสตรีและเด็กหญิงอยู่ในส่วนถัดไป (แนวคิด)

หลักการและเหตุผล:
ความรุนแรงต่อสตรีและเด็กหญิงเป็ นรูปแบบการละเมิดสิทธิมนุ ษยชนทีแ่ พร่หลายทีส่ ุดในโลก มีหลักฐานแสดวงว่า ทัว่
โลกมีสตรีประมาณร้อยละ 7 ที่ถูกละเมิดทางเพศจากบุคคลอื่นที่มใิ ช่คู่สมรสของตนเองในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวติ
(องค์การอนามัยโลกและคณะ, 2556) การมีขอ้ มูลของตัวชีว้ ดั นี้จะช่วยให้ความเข้าใจเกีย่ วกับขอบเขตและธรรมชาติของ
ความรุนแรงแบบนี้ นาไปสู่การพัฒนานโยบายและโครงการทีเ่ หมาะสมต่อไป

แนวคิ ด:
ปฏิญญาว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อสตรีปีพ.ศ. 2536 ให้นิยามความรุนแรงต่อสตรีว่าเป็ น “การกระทาใด ๆ ทีเ่ ป็ น
ความรุนแรงทางเพศ ซึ่งเป็ นผลหรืออาจจะเป็ นผล ให้เกิดการทาร้ายร่างกาย ทางเพศหรือทางจิตใจ เป็ นผลให้เกิด
ความทุกข์ทรมานแก่สตรี รวมทัง้ การขูเ่ ข็ญ คุกคาม กีดกันเสรีภาพทัง้ ในทีส่ าธารณะ และในชีวติ ส่วนตัว ซึง่ ความรุนแรง
ต่อสตรีน้ีมคี วามครอบคลุมแต่ไม่จากัดเฉพาะ ความรุนแรงต่อร่างกาย เพศ และจิต ใจทีเ่ กิดขึน้ ภายในครอบครัวเท่านัน้
[…] ความรุนแรงต่อร่างกาย เพศและจิตใจทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชนทัวไป
่ รวมทัง้ การข่มขืน การทาร้ายทางเพศ การละเมิดทาง
เพศ และการข่มขูใ่ นทีท่ างาน สถานศึกษาหรือสถานทีอ่ ่นื ใด การค้ามนุษย์ในกลุ่มสตรีและการบังคับให้คา้ ประเวณี ”
ดูนิยามเต็มได้ท:่ี http://www.un.org/documents/ga/res/48/a48r104.htm

ความรุนแรงต่อเพศ หมายถึง พฤติกรรมทางเพศที่รุนแรงและไม่เ ป็ นที่ต้องการอันกระท าต่อบุ คคลใดบุค คลหนึ่ ง


ตลอดจนการมีเพศสัมพันธ์ทร่ี ุนแรง การบังคับให้มเี พศสัมพันธ์ ความพยายามมีเพศสัมพันธ์หรือการมีเพศสัมพัน ธ์โดย
ปราศจากความยินยอม การมีเพศสัมพันธ์กบั คนในครอบครัว การล่วงละเมิดทางเพศ เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม การสารวจ
ส่วนมากที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศต่อสตรีและเด็กหญิงโดยบุคคลอื่นที่มใิ ช่คู่ครองหรือคู่สมรสมักจะ

121
จากัดอยู่ทก่ี ารบังคับให้มเี พศสัมพันธ์ในขณะทีฝ่ ่ ายหญิงไม่ต้องการ ตลอดจนความพยายามในการบังคับให้แสดงการ
กระทาทางเพศทีฝ่ ่ ายหญิงไม่ตอ้ งการหรือความพยายามในการบังคับให้ฝ่ายหญิงมีเพศสัมพันธ์กบั ตน

สาหรับรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับความรุนแรงทางเพศต่อสตรี ดูได้จาก คาแนะนาสาหรับการจัดทาสถิตคิ วามรุนแรง


ต่อสตรี – การสารวจเชิงสถิติ (Guidelines for Producing Statistics on Violence against Women-Statistical Surveys
(สหประชาชาติ 2014)

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ความเปรียบเทียบกันได้:
การมีอยู่ของข้อมูลทีเ่ ปรียบเทียบกันได้ยงั คงเป็ นข้อท้าทายเสมอมา ด้วยเหตุทค่ี วามพยายามในการเก็บข้อมูลจานวน
มาก ล้วนมีระเบียบวิธที แ่ี ตกต่างกัน นิยามความรุนแรงของคู่สมรสหรือคู่ครองก็ไม่เหมือนกัน ตลอดจนรูปแบบความ
รุนแรงและการวางเกณฑ์คาถามสารวจทีแ่ ตกต่างกัน และยัง พบว่ามีการใช้กลุ่มอายุประชากรทีห่ ลากหลายด้วย ความ
เต็มใจในการพูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์ความรุนแรงและความเข้าใจแนวคิดที่เกี่ยวข้องอาจจะแตกต่างกันไปตาม
บริบททางวัฒนธรรมด้วย ซึง่ ทัง้ หมดล้วนแต่ส่งผลต่อระดับความชุกทีถ่ ูกรายงานออกไป

ความพยายามและการลงทุนเป็ นสิง่ ที่ต้องมีในการพัฒนามาตรฐานที่เห็นพ้องต้องกันในระดับสากลและนิยามความ


รุนแรงทางเพศทีก่ ระทาโดยบุคคลอื่นทีม่ ใิ ช่ค่คู รองหรือคู่สมรส เพื่อยกระดับการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างประเทศ

ความสม่าเสมอของการผลิตข้อมูล:
ตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2536 มีเพียง 40 ประเทศเท่านัน้ ทีจ่ ดั ทาการสารวจความรุนแรงต่อสตรีมากกว่าหนึ่งตัว การได้รบั ข้อมูล
เกี่ยวกับความรุนแรงต่อสตรีเป็ นสิ่งที่มีค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลามาก ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลที่มาจากการสารวจเฉพาะ
ประเด็น หรือโดยผ่านแบบจาลองทีน่ าไปใส่ไว้ในการสารวจอื่น ๆ อย่างไรก็ตามมิใช่ว่าการสารวจความรุนแรงต่ อสตรีจะ
เก็บข้อมูลเกี่ยวกับความรุนแรงทีก่ ระทาโดยบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ค่คู รองหรือคู่สมรสเสมอไป การติดตามตัวชี้วดั นี้ร่วมกับ
บางช่วงเวลาอาจจะเป็ นข้อท้าทายในกรณีทไ่ี ม่มกี ารเสริมศักยภาพอย่างยั ่งยืนและไม่สามารถหาแหล่งทุนสนับสนุนได้

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ตัวชี้ว ดั นี้ต้องการข้อมูลที่จาแนกตามกลุ่มอายุและสถานที่เกิดความรุนแรง ซึ่งยังไม่มีนิยามหรือระเบียบวิธีท่เี ป็ น
มาตรฐานทีเ่ ห็นพ้องต้องกันในระดับโลกเกี่ยวกับการเก็บข้อมูลสถานทีซ่ ่งึ เกิดความรุนแรงขึน้ ดังนัน้ ข้อมูลดังกล่าวจึง
ไม่ถูกนามาใช้ศกึ ษาเชิงคานวณดังทีแ่ สดงไว้ดา้ นล่างนี้

จานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ที่มอี ายุ 15 ปี ข้นึ ไป) ที่เคยได้รบั ความรุนแรงทางเพศ ที่กระทาโดยบุคคลอื่นซึ่งมิใช่


คู่ครองหรือคู่สมรสภายในระยะเวลา 12 เดือน หารด้วยจานวนของสตรีหรือเด็กหญิง (ทีม่ อี ายุ 15 ปี ขน้ึ ไป) ในประชากร
ทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

การจาแนกข้อมูล:
นอกเหนือจากรูปแบบของความรุนแรงและอายุแล้ว ตัวชีว้ ดั นี้ยงั ใช้ รายได้หรือความมั ่งคั ่ง การศึกษา ชาติพนั ธุ์ (รวมทัง้
สถานภาพทางชาติพนั ธุ์) ความทุพพลภาพ สถานที่อยู่ทางภูมศิ าสตร์ ความสัมพันธ์กับผู้กระทา (รวมทัง้ เพศของ
ผูก้ ระทา) และความถีข่ องความรุนแรง (ทีเ่ ป็ นตัวแทนของความรุนแรง) มาเป็ นตัวแปรร่วมทีใ่ ช้ในการจาแนกข้อมูลด้วย

122
การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
จะไม่มกี ารเผยแพร่ขอ้ มูลประมาณการระดับประเทศ ในกรณีทข่ี อ้ มูลในระดับนี้สญ
ู หายทัง้ หมด

ระดับภูมภิ าคและระดับโลก
ไม่มกี ารใช้การประมาณค่าสูญหายในกรณีทไ่ี ม่สามารถหาข้อมูลในระดับประเทศได้ ในกรณีทม่ี ขี อ้ มูลระดับภูมภิ าคและ
ระดับโลก จะต้องมีการบันทึกข้อจากัดของข้อมูล ไว้ด้วย นอกจากนี้ต้องมีการแสดงถึงจานวนประเทศที่ใช้ในการหา
ค่าเฉลีย่ ไว้ดว้ ย

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ผลรวมระดับโลกคือค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนักจากแต่ละภูมภิ าคทัวโลก ่ ผลรวมระดับภูมภิ าคนี้คอื ค่าเฉลีย่ ถ่วงน้ าหนักของทุก
ประเทศทีต่ งั ้ อยู่ในภูมภิ าคนัน้ ๆ ในกรณีทภ่ี ูมภิ าคใดภูมภิ าคหนึ่งไม่มขี อ้ มูลใด ๆ ในระดับประเทศอยู่เลย ผลรวมระดับ
ภูมภิ าคอาจจะยังพอคานวณได้หากเกณฑ์ขนั ้ ต่าของประชากรที่ครอบคลุมในการศึกษาถึงเป้ า ทัง้ นี้จะต้องมีการแสดง
ถึงจานวนประเทศทีใ่ ช้ในการหาค่าเฉลีย่ ไว้ดว้ ย

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ใช้เฉพาะข้อมูลทีเ่ ผยแพร่โดยแต่ละประเทศเท่านัน้

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
แหล่ ง ที่ให้ข้อ มูลหลัก ด้า นความชุกของความรุน แรงที่ก ระทาโดยคู่สมรส ได้แ ก่ (1) การสารวจเฉพาะประเด็นใน
ระดับประเทศทีม่ ขี อ้ มูลสนับสนุนการวัดความรุนแรงต่อสตรี และ (2) การสารวจรายครัวเรือนระหว่างประเทศทีร่ วมเอา
แบบจาลองเกีย่ วกับประสบการณ์ของสตรีทไ่ี ด้รบั ความรุนแรงไว้ดว้ ย เช่น แบบสารวจสุขภาพและประชากร

แม้ว่าข้อมูลจากเชิงบริหารจัดการทีไ่ ด้จากด้านสุขภาพ ตารวจ ศาล ความยุตธิ รรมและการบริการทางสังคม ตลอดจน


บริการอื่น ๆ ทีจ่ ดั สรรไว้สาหรับผูท้ ร่ี อดชีวติ จากความรุนแรง จะสามารถให้รายละเอียดเกีย่ วกับความรุนแรงทีม่ ตี ่อสตรี
และเด็กหญิงได้ แต่ไม่สามารถให้ขอ้ มูลด้านความชุกได้ หากนับเป็ นข้อมูลอัต ราการเกิดหรือกรณีทไ่ี ด้รบั หรืออยู่ใน
รายงานของสถานบริการเหล่านัน้ ซึง่ เรารับรูก้ นั ว่าสตรีทถ่ี ูกทาร้ายจานวนมากไม่รายงานความรุนแรงของตน เว้นแต่ใน
กรณีท่เี ป็ นความรุนแรงถึงที่สุด ดังนัน้ ข้อมูลจากฝ่ ายบริหารจัดการเหล่านี้จงึ ไม่ควรนามาใช้เป็ นแหล่งข้อมูลสาหรับ
ตัวชีว้ ดั นี้

สาหรับ ข้อ มูลเกี่ย วกับ ค าแนะน าในการปฏิบ ัติใ นการจัด ท าสถิติเ กี่ย วกับ ความรุ น แรงต่ อ สตรี สามารถหาได้จ าก
คาแนะนาสาหรับการจัดทาสถิตคิ วามรุนแรงต่อสตรี – การสารวจเชิงสถิติ (สหประชาชาติ, 2557)
รายการ:
ไม่ปรากฏ
กระบวนการเก็บข้อมูล:
คณะทางานร่วมด้านข้อมูลความรุนแรงต่อสตรีและคณะทีป่ รึกษาด้านเทคนิคสาหรับข้อมูลดังกล่าวกาลังได้รบั การจัดตัง้
ขึ้น (โดย WHO, UNWOMEN, UNICEF, UNSD และ UNFPA) เพื่ อ จัด วางกลไกส าหรับ การรวบรวมข้ อ มู ล ใน
ระดับประเทศสาหรับตัวชีว้ ดั นี้ให้สอดคล้องกลมกลืนกัน
----------------------------------------------------------------------------------------

123
เป้ าหมายที่ 5: บรรลุความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรีและเด็กหญิ ง
เป้ าประสงค์ 5.3: ขจัดแนวปฏิ บตั ิ ที่เป็ นภัยทุกรูปแบบ อาทิ การแต่งงานในเด็กก่อนวัยอันควรโดยการบังคับ
และการขลิ บอวัยวะเพศหญิ ง

ตัวชี้วดั 5.3.1: สัดส่วนของผู้หญิ งอายุระหว่าง 20-24 ปี ที่แต่งงานหรืออยู่ด้วยกันก่อนอายุ 15 และก่อนอายุ 18


ปี

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
สัดส่วนของสตรีอายุระหว่าง 20-24 ปี ทม่ี สี ถานภาพสมรสหรืออยู่กนิ กันฉันสามีภรรยาตัง้ แต่ก่อนอายุ 15 ปี และ 18 ปี

หลักการและเหตุผล:
การแต่ ง งานก่ อ นอายุ 18 ปี เ ป็ น การละเมิด สิท ธิม นุ ษ ยชนอย่ า งรุ น แรง การแต่ ง งานกับ เด็ก มัก จะมีผ ลกระทบต่อ
พัฒนาการของเด็กหญิงเนื่องมาจากการตัง้ ครรภ์เมื่ออายุยงั น้อยและการถูกบีบให้โดดเดีย่ วจากสังคม การโดนขัดขวาง
ทางการศึกษา การโดนจากัดโอกาสในการทางานและการฝึ กทักษะด้านอาชีพ อีกทัง้ ยังเป็ นการผลักดันเธอไปสู่การ
ได้รบั ความรุนแรงจากคู่สมรส ในหลายวัฒนธรรม เด็กหญิงทีถ่ งึ วัยมีประจาเดือนจะถูกคาดหวังให้ดาเนินบทบาทการ
เลีย้ งดูบุตร รวมทัง้ การมีค่ชู วี ติ และเป็ นมารดา

การแต่งงานกับเด็กหรือการแต่งงานของเด็กถือเป็ นการแสดงถึงความไม่เท่าเทียมทางเพศโดยตรง

กติกาและสัญญาระหว่างประเทศจานวนมากต่างก็พยายามแก้ไ ขสถานการณ์การแต่งงานกับเด็ก และแม้ว่าจะไม่ได้มี


การระบุไว้โดยตรงในอนุสญั ญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก แต่การแต่งงานกับเด็กก็มคี วามเกีย่ วข้องกับสิทธิดา้ นอื่น
อาทิ สิทธิในการมีเสรีภาพในการแสดงออก สิทธิในการป้ องกันการถูกทาร้ายทุกรูปแบบ และสิทธิท่จี ะได้รบั ความ
คุม้ ครองจากการกระทาอันตรายในเชิงประเพณี

แนวคิ ด:
ตัวชี้วดั นี้ครอบคลุมทัง้ การอยู่อาศัยฉันสามีภรรยาทัง้ ทีเ่ ป็ นทางการ (เช่น การแต่งงาน) และไม่เป็ นทางการ โดยทัวไป

แล้วการอยู่กนิ กันอย่างไม่เป็ นทางการ หมายถึง การทีค่ ่คู รองอยู่ดว้ ยกันเป็ นระยะเวลาหนึ่ง และมีความประสงค์จะสาน
ความสัมพันธ์ให้ยาวนาน แต่มไิ ด้มกี ารรับรองสถานภาพสมรสอย่างเป็ นทางการตามกฎมายหรือด้วยพิธีกรรมทาง
ศาสนา (เช่น การอยู่กนิ กันฉันสามีภรรยาโดยไม่จดทะเบียนสมรส)

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ในปั จจุบนั มีเครื่องมือและกลไกการเก็บข้อมูลทีแ่ ต่ละประเทศได้นามาใช้เพื่อติดตามสถานการณ์ตามตัวชี้วดั นี้ โดย
เกณฑ์ท่ใี ช้ในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพสมรสในกลุ่มตัวแทนชายและหญิงตามอายุ (15-49 ปี ) ในการสารวจ
สุขภาพและประชากรและการสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มนัน้ มีความสอดคล้องกันเป็ นอย่างมาก

124
ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนสตรีทอ่ี ายุระหว่าง 20-24 ปี ซึ่งแต่งงานแล้วหรือมีการอยู่กนิ กันฉันสามีภรรยาตัง้ แต่ก่อนอายุ 15 (หรือก่อนอายุ
18 ปี ) หารด้วยจานวนสตรีทงั ้ หมดในกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษาซึง่ มีอายุระหว่าง 20-24 ปี คูณด้วยจานวน 100

การจาแนกข้อมูล:
อายุ รายได้ ทีอ่ ยู่อาศัย ทีต่ งั ้ ทางภูมศิ าสตร์ การศึกษา ชาติพนั ธุ์ (สาหรับบางประเทศ)

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
เมื่อข้อมูลในระดับประเทศของประเทศใดสูญหายไป ทางองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะไม่ตพี มิ พ์เผยแพร่
ข้อมูลประมาณการของประเทศนัน้

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ค่าเฉลีย่ ระดับภูมภิ าคประยุกต์มาจากข้อมูลค่าเฉลีย่ ของแต่ละประเทศทีต่ งั ้ อยู่ในภูมภิ าคนัน้ ร่วมกับค่าทีส่ ญ
ู หายไป ทัง้ นี้
เพื่อใช้ในการคานวณผลรวมในระดับภูมภิ าคเท่านัน้ แต่จะไม่มกี ารตีพมิ พ์เผยแพร่คา่ ประมาณการในระดับประเทศ

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ผลรวมข้อมูลระดับโลกคือเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักจากแต่ละภูมภิ าคทัวโลก
่ ผลรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคคือค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนัก
ของทุกประเทศทีต่ งั ้ อยู่ในภูมภิ าคนัน้ ๆ

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การสารวจในระดับครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มทีส่ นับสนุนโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
และการสารวจสุขภาพและประชากรได้ดาเนินการเก็บข้อมูลตามตัวชีว้ ดั นี้ในกลุ่มประเทศทีม่ รี ายได้น้อยและรายได้ปาน
กลาง มาตัง้ แต่ปลายทศวรรษที่ 2523 ในบางประเทศ ข้อ มูลดัง กล่า วก็จะถู กเก็บตามการสามะโนประชากร
ระดับประเทศหรือการสารวจรายครัวเรือนในระดับประเทศอื่น ๆ

กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้ดาเนินกระบวนการปรับข้อมูลในฐานข้อมูลให้ทนั สมัยทุกปี ซึ่งเรียกว่า การ
รายงานระดับประเทศของตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมาย (CRING) ซึง่ กระบวนการนี้จะกระทาโดยผ่านการประสานความร่วมมือ
กันอย่างแนบแน่นกับสานักงานองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในระดับประเทศ ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความ
มัน่ ใจว่ า ข้อ มู ล ที่อ ยู่ ใ นฐานข้อ มู ล ระดับ โลกขององค์ ก ารทุ น เพื่ อ เด็ก แห่ ง สหประชาชาตินั น้ มีค วามทัน สมัย และ
เปรียบเทียบกันได้ในระดับสากล สานักงานองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติระดับประเทศจะนาส่งข้อมูลอันเป็ น
ข้อมูลที่ทนั สมัยตามตัวชี้วดั ต่าง ๆ ในด้านความเป็ นอยู่ของสตรีและเด็กผ่านระบบออนไลน์ ข้อมูลที่ถูกส่งมาจาก
สานักงานองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในระดับประเทศจะถูกตรวจสอบโดยผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านทีส่ านักงาน
ใหญ่องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความตรงกันของข้อมูลและคุณภาพของข้อมูล
การประมาณการทีถ่ ูกส่งมาทัง้ หมด การตรวจสอบนี้อยู่บนฐานของเกณฑ์ต ามตัวชี้วดั เพื่อสร้างความมั ่นใจว่าข้อมูลที่
ฐานข้อมูลมีความทันสมัยและน่ าเชื่อถือ เมื่อการตรวจสอบเสร็จสิน้ ผูเ้ ชีย่ วชาญจะลงความเห็นว่าข้อมูลทีถ่ ูกส่งมานัน้

125
ได้รบั การยอมรับหรือไม่ พร้อมทัง้ ให้เหตุผลในกรณีทข่ี อ้ มูลไม่ได้รบั การยอมรับ ข้อมูลทีไ่ ด้รบั การยอมรับจะถู กป้ อนไป
ยังฐานข้อมูลระดับโลกขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และเผยแพร่ในตารางเชิงสถิตเิ กี่ยวกับสถานการณ์
เด็กของโลก ตลอดจนเอกสารตีพมิ พ์และเครื่องมืออื่น ๆ ทีต่ อ้ งใช้ขอ้ มูลดังกล่าวเป็ นตัวขับเคลื่อน ฐานข้อมูลทีไ่ ด้รบั การ
ปรับให้ทนั สมัยแล้วจะนามาโพสต์ออนไลน์ไว้ท่ี data.unicef.org

องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติยงั แสวงหาแหล่งข้อมูลเพิม่ เติมตลอดปี ด้วย ซึ่งข้อมูลที่ได้มาจะต้องได้รบั การ


ตรวจสอบจากสานักงานองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในระดับประเทศก่อนการนาข้อมูลไปรวมไว้ในฐานข้อมูล
ระดับโลก

----------------------------------------------------------------------------------------

126
เป้ าหมายที่ 5: บรรลุความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สตรีและเด็กหญิ ง
เป้ าประสงค์ 5.3: ขจัดแนวปฏิ บตั ิ ที่เป็ นภัยทุกรูปแบบ อาทิ การแต่งงานในเด็กก่อนวัยอันควรโดยการบังคับ
และการขลิ บอวัยวะเพศหญิ ง

ตัวชี้วดั 5.3.2: สัดส่วนของเด็กหญิ งและผู้หญิ ง (อายุระหว่าง 15-49 ปี ) ที่ ได้รบั การขลิ บ/ตัดอวัยวะเพศหญิ ง
จาแนกตามอายุ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ในปั จจุบนั สัดส่วนของเด็กหญิงและสตรีทม่ี อี ายุระหว่าง 15-49 ปี ซึง่ ได้รบั การขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิงได้รบั การวัด
ค่าโดยสัดส่วนของเด็กหญิงทีม่ อี ายุระหว่าง 15-19 ปี ซึง่ ได้รบั การขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิง

หลักการและเหตุผล:
การขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิงเป็ นการละเมิดสิทธิมนุ ษยชนของสตรีและเด็กหญิง มีรายงานการศึกษาจานวนมากที่
บันทึกเกีย่ วกับผลร้ายทีต่ ามมาจากการขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิงทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว การขลิบหรือตัดอวัยวะ
เพศหญิงเป็ นลักษณะหนึ่งของความไม่เท่าเทียมกันทางเพศสภาพ

การขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิงถูกประณามจากกติกาและสนธิสญ ั ญาในระดับสากลจานวนมาก เนื่องจากการขลิบหรือ


ตัดอวัยวะเพศหญิงเป็ นประเพณีท่สี ่งผลร้ายต่อสุขภาพของเด็กและเป็ นการละเมิดต่ออนุ สญั ญาสหประชาชาติว่าด้วย
สิทธิเด็กอย่างทีส่ ุด ทัง้ นี้กฎหมายในหลาย ๆ ประเทศ กาหนดข้อห้ามในการขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิงไว้อย่างชัดเจน

แนวคิ ด:
ขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิง หมายถึง “กระบวนการทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับการนาอวัยวะเพศหญิงภายนอกออกบางส่วน
หรือทัง้ หมด หรือการกระทาความเสียหายอื่นใดต่ออวัยวะเพศหญิงโดยปราศจากเหตุผลทางการแพทย์ ” (องค์การ
อนามัยโลก, ขจัดการขลิบอวัยวะเพศหญิง: แถลงการณ์ร่วมระหว่างหน่ วยงาน WHO, UNFPA, UNICEF, UNIFEM,
OHCHR, UNHCR, UNERA, UNESCO, UNDP, UNAIDS, องค์การอนามัยโลก เจนีวา 2008 หน้า 4)

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ในปั จจุบนั มีเครื่องมือและกลไกการเก็บข้อมูลทีแ่ ต่ละประเทศได้นามาใช้เพื่อติดตามสถานการณ์ตามตัวชี้วดั นี้ โดย
เกณฑ์ทใ่ี ช้ในการเก็บข้อมูลเกีย่ วกับการขลิบอวัยวะเพศในเด็กหญิงอายุระหว่าง 0-14 ปี และในสตรีอายุระหว่าง 15-49
ปี ในการสารวจสุขภาพและประชากรและการสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มนัน้ มีความสอดคล้องกันเป็ นอย่างมาก

127
ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนเด็กหญิงและสตรีทอ่ี ายุระหว่าง 15-49 ปี ซง่ึ ได้รบั การขลิบหรือตัดอวัยวะเพศ หารด้วยจานวนเด็กหญิงและสตรีท่ี
อายุระหว่าง 15-49 ปี ในกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษาทัง้ หมด คูณด้วยจานวน 100

การจาแนกข้อมูล:
อายุ รายได้ ทีอ่ ยู่อาศัย ทีต่ งั ้ ทางภูมศิ าสตร์ ชาติพนั ธุ์ การศึกษา

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
เมื่อข้อมูลในระดับประเทศของประเทศใดสู ญหายไป ทางองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะไม่ตพี มิ พ์เผยแพร่
ข้อมูลประมาณการของประเทศนัน้

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ผลรวมข้อมูลในระดับภูมภิ าคจะถูกเผยแพร่ออกไปก็ต่อเมื่อมีขอ้ มูลทีค่ รอบคลุมประชากรในกลุ่มอายุทเ่ี กี่ยวข้องอย่าง
น้อยร้อยละ 50 ของประชากรในระดับภูมภิ าค

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ผลรวมข้อมูลระดับโลก คือ ค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักข้อมูลความชุกทีเ่ ป็ นตัวแทนระดับประเทศของทุกประเทศ

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน
ค่าประมาณการทีไ่ ด้รบั การรวบรวมและนาเสนอในระดับโลกนัน้ จะมาจากข้อมูลในระดับประเทศโดยตรง ไม่มกี ารจัด
เรียบเรียงหรือคานวณใหม่

วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
แต่ละประเทศจะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิงผ่านการสารวจรายครัวเรื อน เช่น การสารวจ
พหุดชั นีแบบจัดกลุ่มที่สนับสนุ นโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติหรือการสารวจสุขภาพและประชากร ใน
หลายประเทศยังมีการเก็บข้อมูลผ่านการสารวจรายครัวเรือนในระดับประเทศตัวอื่น ๆ ด้วย

การรับประกันคุณภาพ:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะเก็บรักษาฐานข้อมูลระดับโลกเกีย่ วกับการขลิบหรือตัดอวัยวะเพศหญิง เพื่อใช้
สาหรับเป้ าหมายการพัฒนาทีย่ ั ่งยืนและรายงานอย่างเป็ นทางการอื่น ๆ ก่อนทีจ่ ะนาข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูล ข้อมูลจะถูก
ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่สานักงานใหญ่ องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ เพื่อตรวจสอบความ
ถูกต้องตรงกันของข้อมูลและคุณภาพของข้อมูลการประมาณการที่ถูกส่งมาทัง้ หมด การตรวจสอบนี้อยู่บนฐานของ
เกณฑ์ตามตัวชี้วดั เพื่อสร้างความมั ่นใจว่าข้อมูลทีฐ่ านข้อมูลมีความทันสมัยและน่ าเชื่อถือ เกณฑ์กาหนดเหล่านี้ อาทิ
แหล่งข้อมูลจะต้องมีการจัดทาอย่างเหมาะสม ค่าของข้อมูลจะต้องสามารถเป็ นตัวแทนของประชากรในระดับประเทศได้
ข้อมูลผ่านการเก็บรวบรวมด้วยระเบียบวิธที ่เี หมาะสม (เช่น การสุ่มตัวอย่าง) ค่าของข้อมูลที่ได้จะต้องมาจากกลุ่ม
ตัวอย่างที่มากเพียงพอ ข้อมูลมีความเข้ากันได้กบั นิยามตัวชี้วดั ที่เป็ นมาตรฐานรวมถึงกลุ่มอายุ และแนวคิด ตาม

128
ขอบเขตทีเ่ ป็ นไปได้ ข้อมูลมีความเหมาะสมตามแนวโน้มและมีความสอดคล้องกับการประมาณการทีเ่ ผยแพร่/รายงาน
ตามตัวชีว้ ดั ก่อนหน้านี้

เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้จดั การหารือประจาปี ร่วมกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั เกีย่ วกับตัวชีว้ ดั การ


พัฒนาอย่างยั ่งยืนทีเ่ กี่ยวข้องกับเด็กทัง้ 10 ตัวชี้วดั ในบทบาทการคุม้ ครองทัง้ แบบเดีย่ วและแบบรวม ร่วมกับกฎกติกา
ในระดับโลก และบรรทัดฐานพันธกรณีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็ กภายในปี พ.ศ. 2573 ซึ่งรวมถึงตัวชี้วดั 5.3.2 เค้าโครง
รายละเอียดกระบวนการหารือระดับประเทศอยู่ดา้ นล่างของเอกสาร

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การสารวจในระดับครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มทีส่ นับสนุนโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
และการสารวจสุขภาพและประชากร ได้ดาเนินการเก็บข้อมูลตามตัวชี้วดั นี้ในกลุ่มประเทศที่มรี ายได้น้อยและรายได้
ปานกลาง มาตัง้ แต่ปลายทศวรรษที่ 2523 ในบางประเทศ ข้อมูลดังกล่าวก็จะถูกเก็บตามการสามะโนประชากร
ระดับประเทศหรือการสารวจรายครัวเรือนในระดับประเทศอื่น ๆ

กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจดั กระบวนการหารืออย่างกว้างขวางเพื่อรวบรวมและประเมินผลข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลระดับประเทศ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงฐานข้อมูลระดับโลกให้ทนั สมัยกับสถานการณ์ของเด็ก
จนกระทังปี ่ พ.ศ. 2560 กลไกทีอ่ งค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติใช้สาหรับประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้ าที่รฐั
ระดับประเทศเพื่อสร้างหลักประกันในคุณภาพของข้อมูลและความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับสากล ตาม
ตัวชีว้ ดั หลักทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็กดังทีอ่ ยู่ในรายงานข้อมูลระดับประเทศด้านตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมาย (CRING)

เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ได้จดั กระบวนการหารือในระดับประเทศครัง้ ใหม่ขน้ึ ร่วมกับ


เจ้าหน้าทีร่ ฐั ภายในประเทศเกี่ยวกับตัวชี้วดั การพัฒนาอย่างยั ่งยืนระดับโลกในประเด็นด้านเด็ก ในฐานะการคุม้ ครอง
เดี่ยวหรือร่วมเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานและคาแนะนาการเคลื่อนไหวของข้อมูลสาหรับตัวชี้วดั การพัฒนาอย่าง
ยั ่งยืนระดับโลก ทีใ่ ห้ความสาคัญกับความเข้มงวดทางเทคนิค ความเป็ นเจ้าของของแต่ละประเทศ และการใช้ขอ้ มูลและ
สถิติ กระบวนการหารือ เรีย กร้องข้อ เสนอแนะโดยตรงจากสานั ก งานสถิติแ ห่ง ชาติ รวมทัง้ หน่ ว ยงานรัฐอื่น ๆ ที่
รับผิดชอบด้านสถิติอย่างเป็ นทางการ การรวบรวมตัวชี้วดั ตลอดจนแหล่งข้อมูลที่ใช้ และการประยุกต์ใช้
นิยาม ประเภท และระเบียบวิธที ่เี ห็นชอบร่วมกันในระดับสากลกับข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ แต่ละประเทศจะให้การ
ตรวจสอบและข้อเสนอแนะว่าสามารถยอมรับในข้อมูลเฉพาะต่าง ๆ หรือไม่ พร้อมทัง้ แจ้งเหตุผลในกรณีทไ่ี ม่สามารถ
ยอมรับข้อมูลได้ดว้ ย รายละเอียดเกีย่ วกับกระบวนการหารือสามารถหาได้ในบันทึกคาแนะนา

----------------------------------------------------------------------------------------

129
เป้ าหมายที่ 6: สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน้าและสุขอนามัยสาหรับทุกคนและมีการบริ หารจัดการที่
ยังยื
่ น
เป้ าประสงค์ 6.1: บรรลุเป้ าหมายการให้ทุกคนเข้าถึงน้าดื่มที่ปลอดภัยและมีราคาที่สามารถซื้อหาได้ ภายในปี .
พ.ศ. 2573

ตัวชีว้ ดั 6.1.1: สัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้บริการน้าดื่มทีไ่ ด้รบั การจัดการอย่างปลอดภัย

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ในปั จจุบนั สัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้บริการน้ าดื่มทีไ่ ด้รบั การจัดการอย่างปลอดภัยวัดจากสัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้
แหล่งน้ าดื่มขัน้ พืน้ ฐานทีไ่ ด้รบั การพัฒนาแล้ว ซึ่งตัง้ อยู่ในพืน้ ที่ ๆ สามารถหาได้ตามความต้องการและไม่ถูกปนเปื้ อน
โดยอุจจาระ (และสารเคมีสาคัญ) กล่าวคือ แหล่งน้ าดื่ ม “ที่ได้รบั การพัฒนาแล้ว” ที่หมายรวมถึง ท่อส่งน้ าไปยังทีอ่ ยู่
อาศัย บ้านเรือนหรือทีด่ นิ ก๊อกน้าสาธารณะหรือระบบท่อยืน หลุมเจาะหรือท่อส่งน้าใต้ดนิ บ่อบาดาลชนิดบ่อขุดทีไ่ ด้รบั
การป้ องกัน น้าพุทไ่ี ด้รบั การป้ องกัน น้าดื่มบรรจุขวด น้าทีถ่ ูกนาส่งและน้าฝน

หลักการและเหตุผล:
เป้ าประสงค์ท่ี 7C ของเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ เรียกร้องให้มี “การเข้าถึงน้ าดื่มที่ปลอดภัยอย่างยั ่งยืน ”
ในช่วงเริม่ ต้นของเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ พบว่า ประเทศกาลังพัฒนาไม่มขี อ้ มูลระดับประเทศเกีย่ วกับความ
ปลอดภัยของน้าดื่มอยู่เลย และข้อมูลดังกล่าวก็ไม่ได้ถูกเก็บรวบรวมผ่านการสารวจรายครัวเรือนหรือสามะโนประชากร
ด้วย โครงการติดตามร่วมระหว่างองค์การอนามัยโลกและองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือโครงการ JMP ได้
พัฒนาแนวคิด “แหล่งน้ าทีไ่ ด้รบั การพัฒนาแล้ว ” ขึน้ ซึ่งสามารถนามาใช้เป็ นตัวแทนสาหรับ “น้ าสะอาด” โดยแหล่งน้า
ดังกล่าวมักจะถูกป้ องกันจากการปนเปื้ อนของอุจจาระ ระบบนี้ถูกนามาใช้ตงั ้ แต่ปีพ.ศ. 2543 เพื่อติดตามความก้าวหน้า
ตามเป้ าประสงค์ของเป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ การหารือในระดับสากลตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2554 เห็นพ้องต้องกั น
เกี่ยวกับความจาเป็ นในการสร้างและแก้ไขจุดอ่อนของตัวชี้วดั นี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวางเกณฑ์เกี่ยวกับสิท ธิ
มนุษยชนด้านน้าทีเ่ ป็ นบรรทัดฐาน ซึง่ รวมถึง การเข้าถึง การหาได้และคุณภาพ

การหารือดังกล่าวลงมติว่า โครงการติดตามร่วมระหว่างองค์การอนามัยโลกและองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ
ควรมีความก้าวหน้ ามากกว่าเรื่องระดับการเข้าถึงขัน้ พื้นฐานและการบริหารจัดการบริการน้ า ดื่มที่ปลอดภัย โดย
ความก้าวหน้านี้รวมถึง มิตขิ องการเข้าถึง การหาได้และคุณภาพน้า ตัวชีว้ ดั เรื่อง “บริการน้าดื่มทีไ่ ด้รบั การจัดการอย่าง
ปลอดภัย” จึงถูกออกแบบขึน้ เพื่อการนี้

130
แนวคิ ด:
แหล่งน้ าดื่มทีไ่ ด้รบั การพัฒนาแล้ว หมายรวมถึง ท่อส่งน้ าไปยังทีอ่ ยู่อาศัย บ้านเรือนหรือทีด่ นิ ก๊อกน้ าสาธารณะหรือ
ระบบท่อยืน หลุมเจาะหรือท่อส่งน้าใต้ดนิ บ่อบาดาลชนิดบ่อขุดทีไ่ ด้รบั การป้ องกัน น้าพุทไ่ี ด้รบั การป้ องกัน น้าดื่มบรรจุ
ขวด น้าทีถ่ ูกนาส่งและน้าฝน

การตัดสินว่าแหล่งน้าอยู่ใน “พืน้ ที”่ นัน้ ในกรณีทจ่ี ุดเก็บน้าอยู่ภายในทีอ่ ยู่อาศัย บ้านเรือนหรือทีด่ นิ

“สามารถหาได้ตามความต้องการ”: ครัวเรือนสามารถเข้าถึงน้าในปริมาณทีเ่ พียงพอได้ตามต้องการ

“ไม่ถูกปนเปื้ อนโดยอุจจาระและสารเคมีสาคัญ ”: น้ ามีมาตรฐานทัง้ ในระดับประเทศและระดับสากล ในกรณีทไ่ี ม่มกี าร


ระ บุ ถึ ง มา ตรฐานดั ง กล่ าว ใ ห้ อ้ า ง อิ ง ค า แนะ น าขององค์ ก ารอนา มั ย โลกส าหรั บ คุ ณภ าพ ของน้ าดื่ ม
(http://www.who.int/water_sanitation_health/dwq/guidelines/en/)
แบคทีเรียอีโคไล (E. Coli) หรือ thermotolerant coliforms เป็ นตัวชี้วดั ที่พงึ ประสงค์ สาหรับการวัดคุณภาพด้านจุล
ชีววิทยา ส่วนสารหนูและฟลูออไรด์เป็ นสารเคมีสาคัญสาหรับการรายงานในระดับโลก

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
มีข้อ มู ล เกี่ย วกับ การหาและความปลอดภัย ของน้ า ดื่ม เพิ่ม ขึ้น ผ่ า นการผนวกเข้า กับ รายงานระดับ ครัว เรือ นและ
แหล่งข้อมูลจากฝ่ ายบริหารจัดการตลอดจนเจ้าหน้าทีร่ ฐั ขณะทีย่ งั ไม่มกี ารกาหนดนิยามในประเด็นนี้ให้เป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน ข้อมูลการปนเปื้ อนของอุจจาระและสารเคมีท่ีดึงออกมาจากการสารวจรายครัว เรือนและฐานข้อมูล ด้า น
กฎหมาย จะไม่ครอบคลุมทุกประเทศ อย่างไรก็ตาม ก็ยงั มีขอ้ มูลทีเ่ พียงพอในการประมาณการเกี่ยวกับการบริการน้า
ดื่มทีไ่ ด้รบั การจัดการอย่างปลอดภัย ในระดับภูมภิ าคและระดับโลกสาหรับ 4 ใน 8 ภูมภิ าคตามเป้ าหมายการพัฒนาที่
ยั ่งยืนในปี พ.ศ. 2560

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ในปั จจุบนั การสารวจรายครัวเรือนและสามะโนประชากรให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับประเภทของแหล่งน้ าดื่มขัน้ พืน้ ฐานดังทีร่ ะบุ
ไว้ขา้ งต้น รวมทัง้ ระบุดว้ ยว่าแหล่งน้าดังกล่าวตัง้ อยู่ในพืน้ ทีห่ รือไม่ ข้อมูลเหล่านี้มกั จะมีรายละเอียดเกีย่ วกับการเข้าถึง
และคุณภาพของน้ าในระดับครัวเรือนที่เพิม่ ขึ้น โดยผ่านการทดลอบน้ าดื่มโดยตรงเพื่อตรวจสอบการปนเปื้ อนของ
อุจจาระหรือสารเคมีอ่นื ๆ ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนามารวมกับข้อมูลการหาได้ของน้ าและการดาเนินการตามมาตรฐาน
คุณภาพน้าดื่ม (อุจจาระและสารเคมี) จากรายงานจากฝ่ ายบริหารจัดการหรือฝ่ ายกฎหมาย

โครงการติดตามร่วมระหว่างองค์การอนามัยโลกและองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติดา้ นการประปา สุขอนามัย


และความสะอาด (JMP) ประมาณการการเข้าถึงบริการขัน้ พื้นฐานของแต่ละประเทศ แบ่งออกเป็ นเขตเมืองและเขต
ชนบท โดยเปรียบเทียบเส้นความถดถอยเข้ากับชุดจุดข้อมูลทีไ่ ด้จากการสารวจรายครัวเรือนและสามะโนประชากร
วิธกี ารนี้ถูกนามาใช้ในการรายงานการใช้แหล่งน้ าที่ “ได้รบั การพัฒนาแล้ว” ตามการติดตามตามเป้ าหมายการพัฒนา
แห่งสหัสวรรษ JMP กาลังประเมินการใช้วธิ ปี ระมาณการทางสถิตริ ปู แบบอื่น ๆ เนื่องจากข้อมูลทีห่ าได้เริม่ มีมากขึน้

131
ข้อมูล JMP ปี พ.ศ. 2560 และรายงานเส้นฐานเป้ าหมายการพัฒนาที่ย ั ่งยืน โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลเรื่อง
คุณภาพและการเข้าถึงจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งสามารถนามารวมกับข้อมูลการใช้แหล่งน้ าประเภทต่าง ๆ ตามที่
บันทึกไว้ในฐานข้อมูล JMP ปั จจุบนั เพื่อการคานวณตัวชีว้ ดั ด้านบริการน้าดื่มทีไ่ ด้รบั การจัดการอย่างปลอดภัยต่อไป
https://washdata.org/report/jmp-2017-report-final

การจาแนกข้อมูล:
การจาแนกข้อมูลตามพื้นที่ตงั ้ ของที่อยู่อาศัย (เขตเมือง/เขตชนบท) และสถานะทางเศรษฐกิจสังคม (ความมั ่งคั ่ง
ความสามารถซื้อหา) สามารถทาได้ในทุกประเทศ ขณะทีก่ ารจาแนกข้อมูลตามช่วงชัน้ ความไม่เท่าเทียมอื่น ๆ (ข้อมูล
ในระดับท้องถิน่ เพศภาวะ กลุ่มผูเ้ สียประโยชน์ เป็ นต้น) จะกระทาได้เมื่อมีขอ้ มูลในส่วนนัน้ การบริการน้ าดื่มจะได้รบั
การจ าแนกตามระดับ ของบริก าร (รวมทัง้ การไม่ มีบ ริก าร บริก ารขัน้ พื้น ฐานและบริก ารที่ไ ด้ ร ับ การจัด การอย่าง
ปลอดภัย) ตามระดับขัน้ น้าดื่มของ JMP

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย
ระดับประเทศ
JMP ใช้วธิ กี ารแบบจาลองการถดถอดอย่างง่ายในการหาค่าประมาณการอนุ กรมเวลาสาหรับทุกปี รวมทัง้ ปี ทไ่ี ม่มจี ุด
ข้อมูลด้วย จากนัน้ JMP จะแบ่งปั นค่าการประมาณการโดยใช้กลไกการหารือในระดับประเทศเพื่อแสวงหาความเห็น
พ้องต้องกันจากแต่ละประเทศก่อนการเผยแพร่คา่ ประมาณการดังกล่าว

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
JMP จะไม่เผยแพร่ค่าประมาณการสาหรับประเทศที่ไม่สามารถหาข้อมูลในระดับประเทศได้ ค่าประมาณการในระดับ
ภูมภิ าคและระดับโลกถูกจัดทาขึน้ สาหรับการบริการขัน้ พืน้ ฐาน เฉพาะในกรณีทม่ี ขี อ้ มูลจากประชากรในภูมภิ าคนัน้ ๆ
ร้อยละ 50 ถ่วงน้าหนักโดยค่าประมาณการประชากรล่าสุดของ ฝ่ ายประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNPD) ค่าประมาณ
การในระดับภูมภิ าคและระดับโลกด้านบริการทีไ่ ด้รบั การจัดการอย่างปลอดภัยนี้ใช้เกณฑ์ทต่ี ่ากว่าร้อยละ 30 สาหรับ
ข้อมูล JMP ปี พ.ศ. 2560 และรายงานเส้นฐานเป้ าหมายการพัฒนาทีย่ ั ่งยืน

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
สาหรับรายละเอียดเกีย่ วกับกฎเกณฑ์และวิธกี ารของ JMP โปรดดูจากเว็บไซต์ www.washdata.org

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
การประมาณการของ JMP ตัง้ อยู่บนฐานของแหล่งข้อมูลระดับประเทศทีไ่ ด้รบั การอนุ มตั ใิ ห้เป็ นสถิตอิ ย่างเป็ นทางการ
ซึ่งความแตกต่างระหว่างข้อมูลระดับโลกและระดับประเทศสามารถเกิดขึน้ ได้ เนื่องจากความแตกต่างในนิยามตัวชีว้ ดั
และวิธกี ารทีใ่ ช้ในการคานวณประมาณการทีค่ รอบคลุมระดับประเทศ ในบางกรณี การประมาณการระหว่างประเทศอยู่
บนฐานของจุดข้อมูลล่าสุดแทนทีจ่ ะเป็ นจากความถดถอยของจุดข้อมูลทัง้ หมดทีด่ าเนินการโดย JMP ในบางกรณีพบว่า
การประมาณการระดับประเทศนัน้ ดึงข้อมูลมาจากข้อมูลส่วนบริหารจัดการแทนที่จะเป็ นการสารวจที่เป็ นตัวแทน
ระดับประเทศและสามะโนประชากรตามที่ JMP ใช้

132
แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การเข้าถึงน้ าและสุขอนามัยถือเป็ นตัวชี้วดั หลักด้านสุขภาพและเศรษฐกิจสังคม เป็ นตัวกาหนดหลักถึงการมีชวี ติ รอด
ของเด็ก สุขภาพของแม่และเด็ก ความเป็ นอยู่ของครอบครัว และการผลิตทางเศรษฐกิจ น้ าดื่มและสิง่ อานวยความ
สะดวกด้านสุขอนามัยยังถูกนามาใช้ในการวางโครงสร้าง ความมั ่งคั ่งของครัวเรือนแบ่งกลุ่มตามควินไทล์ (Quintiles) ที่
ใช้ในการสารวจรายครัวเรือนเชิงบูรณาการจานวนมากเพื่อวิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมระหว่างคนรวยและคนจน การ
เข้าถึงน้าและสุขอนามัยจึงเป็ นตัวชีว้ ดั หลักสาหรับการสารวจรายครัวเรือนส่วนใหญ่ ในปั จจุบนั ฐานข้อมูล JMP มีขอ้ มูล
การสารวจและสามะโนประชากรกว่า 1,700 ตัว ในประเทศทีม่ รี ายได้สูง พบว่า การสารวจรายครัวเรือนหรือสามะโน
ประชากรมิได้เก็บข้อมูลการเข้าถึงขัน้ พืน้ ฐานเสมอไป จึงมีการดึงเอาข้อมูลทีบ่ นั ทึกเชิงการบริหารจัดการมาใช้ดว้ ย

JMP จะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าถึงและคุณภาพของน้ าดื่ม ตลอดจนกฎหมายซึ่งออกโดยหน่ วยงานทีเ่ หมาะสม ผ่าน


การหารือ ร่ ว มกัน ของหน่ ว ยงานภาครัฐ ที่มีห น้ า ที่ร ับ ผิด ชอบด้า นน้ า ดื่ม และกฎหมาย JMP ด าเนิ น การหารือ ใน
ระดับประเทศร่วมกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั อย่างสม่าเสมอก่อนการเผยแพร่ขอ้ มูลประมาณการระดับประเทศ ในปั จจุบนั ข้อมูล
เกีย่ วกับการเข้าถึงและคุณภาพของน้าประปาสามารถหาได้จากการสารวจรายครัวเรือนหรือแหล่งข้อมูลจากฝ่ ายบริหาร
จัดการรวมทัง้ ผูบ้ งั คับใช้กฎหมายในประเทศทีม่ รี ายได้สูง 70 ประเทศ และอีกอย่างน้อย 30-40 ประเทศทีม่ รี ายได้น้อย
และปานกลาง จากนัน้ ข้อมูลทีห่ าได้จากกว่า 100 ประเทศนี้กถ็ อื ว่าครอบคลุมประชากรโลกส่วนใหญ่แล้ว จานวนของ
ประเทศทีม่ รี ายได้น้อยและปานกลาง ทีเ่ ริม่ ออกกฎหมายในประเด็นนี้ ค่อย ๆ มีมากขึน้ ทัง้ นี้ ข้อมูลประชากรทีใ่ ช้โดย
JMP ตลอดจนสัดส่วนของประชากรทีอ่ าศัยอยู่ในเขตเมืองและเขตชนบท ได้รบั การปรับให้ทนั สมัยโดย UNPD อยู่เสมอ

กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การอนามัยโลกได้รบั มอบหมายจากสมัชชาอนามัยโลกที่มมี ติให้จดั การหารือเรื่องสถิติขององค์การอนามัยโลก
ทัง้ หมด ตลอดจนแสวงหาข้อคิดเห็นของแต่ละประเทศทีม่ ตี ่อข้อมูลในระดับประเทศและอาณาเขต การประมาณการของ
JMP ทัง้ หมดจะต้องผ่านการหารือในระดับประเทศทีจ่ ดั โดยสานักงานองค์การอนามัยโลกและองค์การทุนเพื่อเด็กแห่ง
สหประชาชาติในระดับประเทศอย่างเข้มงวด ก่อนการตีพมิ พ์เผยแพร่ขอ้ มูล ซึ่งมีหลายครัง้ ทีก่ ารหารือจัดขึน้ ในรูปแบบ
ของการลงพืน้ ทีใ่ นประเทศและการประชุมหัวข้อข้อมูลเรื่องการบริการน้าดื่ม สุขอนามัยและความสะอาด รวมทัง้ ระบบ
การติดตามทีร่ วบรวมข้อมูลเหล่านี้ไว้ JMP มีการประสานความร่วมมือกับกว่า 50 ประเทศทัวโลกในช่
่ วงระยะเวลา 10
ปี ทผ่ี ่านมาในการอธิบายการประมาณการของ JMP และเหตุผลของความคลาดเคลื่อนทีอ่ าจมีได้

----------------------------------------------------------------------------------------

133
เป้ าหมายที่ 6: สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน้าและสุขอนามัยสาหรับทุกคนและมีการบริ หารจัดการที่
ยังยื
่ น
เป้ าประสงค์ 6.2: บรรลุเป้ าหมายการให้ทุกคนเข้าถึงสุขอนามัยที่พอเพียงและเป็ นธรรม และยุติการขับถ่ายใน
ที่ โ ล่ ง โดยให้ ค วามสนใจเป็ นพิ เ ศษต่ อความต้ องการของผู้หญิ ง เด็ก หญิ ง และกลุ่ มที่ อ ยู่ใต้ สถานการณ์ ที่
เปราะบาง ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 6.2.1: สัดส่วนของประชากรที่ใช้บริ การสุขอนามัยได้รบั การจัดการอย่างปลอดภัย รวมถึงการจัดให้มี


สิ่ งอานวยความสะดวกในการล้างมือด้วยสบู่ และน้า

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
สัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้บริการสุขาภิบาลทีม่ กี ารจัดการอย่างปลอดภัยรวมถึงมีสถานทีล่ ้างมือด้วยสบู่และน้ า โดยวัด
จากสัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้สงิ่ อานวยความสะดวกด้านการสุขาภิบาลขัน้ พืน้ ฐานใช้โดยไม่ได้ใช้ร่วมกับครัวเรือนอื่น ๆ
และมีการจัดการบาบัดของเสียอย่างปลอดภัยตาม ณ แหล่งกาเนิด หรือบาบัดนอกแหล่งกาหนด สิง่ อานวยความสะดวก
ด้านสุขาภิบาลทีไ่ ด้รบั การปรับปรุงแล้ว ได้แก่ น้ าเสียจากห้องน้ าหรือชักโครกตรงไปยังระบบท่อระบายน้ า ถังบาบัดน้า
เสีย หรือส้วมหลุม ส้วมหลุมระบายอากาศทีป่ รับปรุงแล้ว ส้วมหลุมทีม่ ฐี านนั ่ง และส้วมหมัก

ประชากรมีสงิ่ อานวยความสะดวกในการล้างมือขัน้ พืน้ ฐาน: มีอุปกรณ์สาหรับเก็บกัก ขนส่งและควบคุมการไหลของน้า


มาทีจ่ ุดล้างมือเพื่อล้างมือด้วยสบู่และน้าในครัวเรือน

หลักการและเหตุผล:
เป้ าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDG) มีเป้ า 7C เรียกร้องให้มี “การเข้าถึงทีย่ ั ่งยืน” ของ “สุขาภิบาลขัน้ พืน้ ฐาน”
JMP ได้พฒ ั นาเกณฑ์การชี้วดั การใช้สงิ่ อานวยความสะดวกด้านสุขอนามัยที่ “ปรับปรุงแล้ว” ซึ่งมีแนวโน้มทีจ่ ะแยกสิง่
ขับถ่ายของมนุ ษย์ออกจากการสัมผัสของมนุ ษย์อย่างถูกสุขลักษณะ และใช้ตัวชี้วดั นี้เพื่อตามรอยความคืบหน้ าสู่
เป้ าหมาย MDG ตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2543 การหารือกันระหว่างประเทศตัง้ แต่ปีพ.ศ. 2554 ได้มีฉันทามติเกี่ยวกับความ
ต้องการทีจ่ ะสร้างและแก้ไขข้อบกพร่องของตัวชีว้ ดั นี้ โดยเฉพาะเพื่อระบุเกณฑ์เชิงบรรทัดฐานของสิทธิมนุษยชนในการ
เข้าถึงการใช้น้ า การยอมรับ และความปลอดภัย นอกจากนี้ควรพิจารณาถึงการจัดการของเสียอุจจาระอย่างปลอดภัย
เนื่องจากการปล่อยน้าเสียทีไ่ ม่ผ่านการบาบัดสู่สงิ่ แวดล้อมสร้างอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน

การหารือดังกล่าวข้างต้นสรุปว่าเป้ าหมายหลังปี พ.ศ. 2558 ซึ่งมีผลบังคับใช้กบั ทุกประเทศควรจะไปให้ไกลกว่าการ


เข้าถึงขัน้ พื้นฐานและพูดถึงตัวชี้วดั ของการจัดการด้านความปลอดภัยของบริการด้านสุขาภิบาล รวมถึงมิติของการ
เข้าถึง การยอมรับ และความปลอดภัย คณะทางานผูเ้ ชีย่ วชาญได้เรียกร้องให้มกี ารวิเคราะห์การจัดการของเสียอุจจาระ
ตามห่วงโซ่สุขาภิบาล รวมถึงการกักเก็บ การขจัดอุจจาระออกจากส้วมหลุมหรือถังเกรอะ และการกาจัดอย่างปลอดภัย
ในพืน้ ที่ หรือการขนส่งและบาบัดของเสียในสถานทีบ่ าบัดทีก่ าหนด การจาแนกประเภทของการบาบัดจะขึน้ อยู่กบั ระบบ

134
บัญชีดา้ นสิง่ แวดล้อมและเศรษฐกิจ (System of Environmental and Economic Accounting: SEEA) และข้อเสนอแนะ
ระดับนานาชาติสาหรับสถิตนิ ้า และทาตามวิธกี ารแบบระดับขัน้ (การบาบัดขัน้ ต้น ขัน้ กลาง และขัน้ สุดท้าย)

การล้างมือด้วยสบู่ได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็ นสิ่งสาคัญอันดับแรกด้านสุขอนามัยสาหรับการปรับปรุง


ผลลัพธ์ดา้ นสุขภาพ ในปี พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2552 JMP สนับสนุนการทบทวนตัวชีว้ ดั ของแนวปฏิบตั วิ ่าด้วยการล้าง
มือและกาหนดว่าแนวทางปฏิบตั ทิ น่ี าไปสู่การวัดผลการล้างมือทีเ่ ชื่อถือได้มากทีส่ ุดในการสารวจรายครัวเรือนระดับชาติ
คือ การสังเกตสถานทีท่ ส่ี มาชิกในครัวเรือนล้างมือ สังเกตและบันทึกลักษณะของน้ า และสบู่ (หรือทางเลือกอื่น ๆ ใน
ท้องถิ่นนัน้ ) ในที่แห่งนัน้ นี่เป็ นการวัดว่าครัวเรือนมีเครื่องมือที่จาเป็ นสาหรับการล้างมือหรื อไม่และเป็ นตัวกาหนด
พฤติกรรมของพวกเขา การสังเกตจากการสารวจแบบนี้ทาให้ได้ตวั ชีว้ ดั ทีน่ ่ าเชื่อถือ ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพสาหรับ
การวัดพฤติกรรมการล้างมือมากกว่าการขอให้บุคคลรายงานพฤติกรรมของตนเอง

แนวคิ ด:
สิง่ อานวยความสะดวกด้านสุขาภิบาลทีไ่ ด้รบั การปรับปรุงแล้วมีดงั ต่อไปนี้: ชักโครกหรือส้วมราดน้าทีเ่ ชื่อมกับระบบท่อ
น้ าทิ้ง ถังเกรอะ หรือ ส้วมหลุม , ส้วมหลุมแบบมีการระบายอากาศทีป่ รับปรุงแล้ว ส้วมหลุมแบบมีฐานให้นัง่ และ ส้วม
หมัก

การกาจัดอย่างปลอดภัยในแหล่งกาเนิด เมื่อหลุมส้วมและถังเกรอะไม่ได้ถูกระบายออกจากที่กกั เก็บ ของเสียจะยัง


สามารถคงเหลือแต่ปราศจากการโดนสัมผัสของมนุ ษย์ และสามารถพิจารณาได้ว่าปลอดภัย เช่น ตัวอย่างจากตัวชีว้ ดั
SDG ใหม่ ครัวเรือนที่ใช้ส้วมหลุมคู่หรือส้วมหลุมเต็มอย่างปลอดภัยและมีการขุดทาระบบใหม่อย่างปลอดภัยซึ่งการ
ปฏิบตั ทิ วไปในพื
ั่ น้ ทีช่ นบทจะถือเป็ นเกณฑ์ตดั สินการมีบริการด้านสุขอนามัยทีม่ กี ารจัดการอย่างปลอดภัยใช้

การบาบัดนอกสถานที่; จะมีสงิ่ ขับถ่ายจากห้องน้ าทีล่ าเลียงในท่อระบายน้ า (น้ าเสีย) หรือถูกถ่ายจากบ่อส้วมและถัง


เกรอะ (เช่น อุจจาระ) ถึงสถานทีบ่ าบัดไม่หมด เช่นของเสียจานวนหนึ่งอาจซึมออกจากท่อระบายน้า หรือจากการชารุจ
ของเครื่องสูบน้ า และของเสียเหล่านี้ถูกปล่อยออกโดยตรงสู่สงิ่ แวดล้อม ในทานองเดียวกัน ส่วนหนึ่งของกากตะกอน
อุจจาระทีถ่ ูกปล่อยออกมาอาจถูกระบายลงในท่อระบายน้ าทีล่ งสู่พน้ื ดินหรือแหล่งน้าแทนทีจ่ ะส่งไปยังโรงบาบัด และใน
ที่สุดแม้กระทังเมื
่ ่อสิง่ ปฏิกูลมาถึงโรงบาบัด ของเสียส่วนหนึ่งอาจยังไม่ได้รบั การบาบัดเนื่องจากอุปกรณ์การบาบัด
เสียหายหรือความสามารถในการบาบัดไม่เพียงพอและถูกปล่อยออกสู่สงิ่ แวดล้อม สาหรับวัตถุประสงค์ของการตรวจ
ติดตาม SDG ความเหมาะสมและเพียงพอของการบาบัดจะได้รบั การประเมินเบือ้ งต้นตามรายงานการบาบัดทีไ่ ด้รบั

สิง่ อานวยความสะดวกในการล้างมือด้วยสบู่และน้ า: สิง่ อานวยความสะดวกในการล้างมือคืออุปกรณ์ทใ่ี ช้บรรจุ ขนส่ง


หรือควบคุมการไหลของน้าเพื่ออานวยความสะดวกในการล้างมือ ตัวชีว้ ดั นี้เป็ นตัวชีว้ ดั แทน (proxy) พฤติกรรมการฝึ ก
ล้างมือ ซึง่ พบว่ามีความแม่นยามากกว่าตัวชีว้ ดั อื่น ๆ เช่นการให้รายงานตนเองเรื่องการล้างมือ

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
กรอบในการวัดปริมาณขยะมูลฝอยและปั จจัยด้านความปลอดภัยได้รบั การพัฒนาและนาไปใช้นาร่องใน 12 ประเทศ
(World Bank Water and Sanitation Program, 2014) และมีการนาไปใช้และขยายขนาดภายในภาคสุขาภิบาล กรอบ
การวัดนี้ทาหน้าทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานสาหรับตัวชีว้ ดั 6.2.1 และ 6.3.1 ข้อมูลเกีย่ วกับการกาจัดและการบาบัดอย่างปลอดภัยยัง
มีไม่ครบในทุกประเทศ อย่างไรก็ตามมีขอ้ มูลเพียงพอที่จะจัดทาประมาณการทัวโลกและระดั ่ บภูมภิ าคของบริการ
สุขาภิบาลทีม่ กี ารจัดการอย่างปลอดภัยในปี พ.ศ. 2560

135
การมีอยู่ของจุดล้างมือด้วยสบู่และน้ า ไม่ได้รบั ประกันว่าสมาชิกในครัวเรือนจะล้างมืออย่างสม่าเสมอในเวลาทีส่ มควร
แต่ได้รบั การยอมรับว่าเป็ นตัวชีว้ ดั แทนทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด มีขอ้ มูลสาหรับ 70 ประเทศในปี พ.ศ. 2560

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
การสารวจรายครัวเรือนและสามะโนประชากรให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการใช้สงิ่ อานวยความสะดวกด้านการสุขาภิบาลขัน้
พืน้ ฐานประเภทต่าง ๆ ทีร่ ะบุไว้ขา้ งต้นรวมถึงการมีวสั ดุทใ่ี ช้ลา้ งมือในบ้าน

ร้อ ยละของประชากรที่ใ ช้บ ริก ารสุ ข าภิบาลที่มีการจัด การอย่า งปลอดภัย ค านวณโดยการรวมข้อ มูลสัด ส่ ว นของ
ประชากรทีใ่ ช้สงิ่ อานวยความสะดวกด้านการสุขาภิบาลขัน้ พืน้ ฐานประเภทต่าง ๆ กับ ค่าประมาณการสัดส่วนของของ
เสียอุจจาระทีท่ ง้ิ อย่างปลอดภัยในแหล่งกาเนิดหรือบาบัดนอกแหล่งกาเนิด

โครงการร่วมระหว่าง WHO และ UNICEF ในการติดตามอุปทานน้ า สุขาภิบาลและสุขอนามัย (the WHO/UNICEF


Joint Monitoring Programme for Water Supply, Sanitation and Hygiene: JMP) ประมาณการการใช้สงิ่ อานวยความ
สะดวกด้านการสุขาภิบาลขัน้ พื้นฐานสาหรับแต่ละประเทศแยกกันในเขตเมืองและชนบทโดยการปรับแบบจาลอง
ถดถอย (regression model) ให้เหมาะสมกับชุดข้อมูลจากการสารวจรายครัวเรือนและข้อมูลสามะโนประชากร วิธนี ้ใี ช้
เพื่อรายงานการใช้สิ่งอานวยความสะดวก “การสุขาภิบาลที่ดีข้นึ ” สาหรับการติดตามผลเป้ าหมายการพัฒนาแห่ง
สหัสวรรษ (MDG) JMP กาลังประเมินการใช้วธิ กี ารประมาณทางเลือกทางสถิตเิ มื่อมีขอ้ มูลทีใ่ ช้ได้มากขึน้

การอัพเดต JMP 2017 และรายงานเส้นฐาน SDG อธิบายในรายละเอียดเพิม่ เติมว่าการประมาณการสัดส่วนของน้าเสีย


ในครัวเรือนทีถ่ ูกกาจัดอย่างปลอดภัยในแหล่งกาเนิดหรือการบาบัดนอกสถานที่ ได้รบั การรวมเข้ากับข้อมูลการใช้สงิ่
อานวยความสะดวกด้านสุขอนามัยต่าง ๆ ดังทีบ่ นั ทึกไว้ใน ฐานข้อมูล JMP ระดับโลก

การจาแนกข้อมูล:
การกระจายตัวตามสถานทีอ่ ยู่อาศัย (เมือง/ชนบท) และสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม (ความมั ่งคั ่ง ความสามารถใน
การจ่าย) นัน้ เป็ นไปได้สาหรับทุกประเทศ การจาแนกข้อมูลโดยวิธกี ารแบ่งกลุ่มอื่น ๆ ของความไม่เท่าเทียมกัน (กลุ่ม
ย่อยเพศ กลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาส ฯลฯ ) จะกระทาเมื่อมีการอนุญาตให้ใช้ขอ้ มูล บริการด้านสุขาภิบาลจะถูกจาแนกตามระดับ
การให้บริการ (รวมถึงการไม่มีบริการขัน้ พื้นฐานและบริการที่ได้รบั การจัดการอย่างปลอดภัย) ตามลาดับขัน้ การ
สุขาภิบาลของ JMP

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
วิธกี าร JMP ใช้แบบจาลองถดถอยอย่างง่าย (Simple regression model) เพื่อสร้างการประมาณอนุ กรมเวลาสาหรับ
ทุกปี รวมถึงปี ทไ่ี ม่มขี อ้ มูล จากนัน้ JMP จะเผยแพร่ค่าประมาณการทัง้ หมดโดยใช้กลไกการปรึกษาหารือในประเทศ
เพื่อให้ได้ฉนั ทามติจากประเทศนัน้ ๆ ก่อนทีจ่ ะเผยแพร่การประเมิน

136
ระดับภูมิภาคและระดับระดับโลก
JMP ไม่ได้เผยแพร่ขอ้ มูลการประเมินสาหรับประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลระดับประเทศ ค่าประมาณการระดับภูมภิ าคและระดับ
โลกจะผลิตได้สาหรับบริการขัน้ พื้นฐานหากมีข้อมูลอย่างน้ อย 50% ของประชากรในภูมิภาคโดยถ่วงน้ าหนักตาม
ค่าประมาณการประชากรล่าสุดของ UNPD ยังคงมีอยู่ การประมาณการในระดับภูมภิ าคและระดับโลกสาหรับบริการทีม่ ี
การจัดการอย่างปลอดภัยใช้ค่าแบ่งระดับระดับต่ากว่า 30% สาหรับการอัพเดต JMP 2017 และรายงานเส้นฐาน SDG

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
สาหรับรายละเอียดเพิม่ เติมของระเบียบการและวิธกี ารของ JMP สามารถสอบถามที่ www.washdata.org.

สาเหตุข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ค่าประมาณการ JMP นัน้ มาจากแหล่งข้อมูลระดับชาติทไ่ี ด้รบั การรับรองว่าเป็ นสถิตอิ ย่างเป็ นทางการ ความแตกต่าง
ระหว่างค่าระดับโลกและระดับชาติเกิดขึน้ เนื่องจากความแตกต่างในคาจากัดความตัวชีว้ ดั และวิธกี ารทีใ่ ช้ในการคานวณ
ค่าความครอบคลุ มระดับชาติ ในบางกรณีการประมาณการระดับชาติจะขึ้นอยู่กับชุดข้อมูลล่าสุดมากกว่าจากการ
คานวณแบบจาลองแบบถดถอยของชุดข้อมูลทัง้ หมดทีท่ าโดย JMP ในบางกรณีการประมาณการระดับชาติใช้ขอ้ มูล
ภาคการบริหารมากกว่าการสารวจตัวแทนระดับประเทศและสามะโนประชากรทีใ่ ช้โดย JMP

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การเข้าถึงน้ าและการสุขาภิบาลถือว่าเป็ นตัวชี้วดั หลักทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ เป็ นปั จจัยสาคัญของการรอด
ชีวติ ของเด็ก มารดา และสุขภาพในเด็ก สุขภาวะทีด่ ขี องครอบครัว และผลิตภาพทางเศรษฐกิจ น้ าดื่มและสิง่ อานวย
ความสะดวกด้านสุขาภิบาลยังใช้ในการสร้างกลุ่มความมั ่งคั ่งครัวเรือนแบ่ง 5 ระดับ (wealth quintiles) ซึง่ ถูกใช้โดยการ
สารวจรายครัวเรือนแบบบูรณาการหลายวิธเี พื่อวิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมกันระหว่างคนรวยและคนจน การเข้าถึงการ
สุขาภิบาลจึงเป็ นตัวชีว้ ดั หลักสาหรับการสารวจรายครัวเรือนส่วนใหญ่ ปั จจุบนั ฐานข้อมูล JMP มีการสารวจและสามะโน
ประชากรมากกว่า 1,700 รายการ ในประเทศที่มีรายได้สูงที่การสารวจรายครัวเรือนหรือสามะโนประชากรไม่ได้
รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับการเข้าถึงขัน้ พืน้ ฐานเหล่านี้ ข้อมูลจะถูกดึงมาจากระบบฝ่ ายบริหาร

ค่าประมาณการของการจัดการสิง่ ปฏิกูลจะถูกรวบรวมจากประเทศต่าง ๆ เพื่อใช้ปรับปรุงข้อมูลการใช้สงิ่ อานวยความ


สะดวกด้านสุขาภิบาลขัน้ พื้นฐานตามที่จาเป็ น ข้อมูลด้านการบริหาร ข้อมูลประชากรและข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมยัง
สามารถนามารวมกันเพื่อประมาณการกาจัดหรือขนส่งอุจจาระ ของเสีย อย่างปลอดภัยเมื่อไม่มขี อ้ มูลจากประเทศนัน้ ๆ
ข้อมูลเกี่ยวกับการกาจัดหรือบาบัดของเสียอาจมีจากัด แต่การประเมินเพื่อการจัดการอุจจาระ ของเสีย อย่างปลอดภัย
สามารถคานวณได้โดยยึดเอาการไหลของของเสียอุจจาระที่เกี่ยวข้องกับการใช้สงิ่ อานวยความสะดวกพื้นฐานด้าน
สุขาภิบาลประเภทต่าง ๆ

เมื่อคาถามสาหรับใช้สารวจการล้างมือด้วยสบู่ได้มาตรฐานในปี พ.ศ. 2552 การสารวจเชิงประชากรและสุขภาพ


(Demographic and Health Survey: DHS) และการสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (Multiple Indicator Cluster Survey:
MICS) กว่า 70 รายการได้รวมชุดคาถามเหล่านี้ไว้ด้วย โดยทาง JMP ได้เผยแพร่การประเมินการล้างมือสาหรับ 12
ประเทศในข้อมูลปี พ.ศ. 2557 สาหรับ 54 ประเทศในข้อมูลปี พ.ศ. 2558 และสาหรับ 70 ประเทศในข้อมูลปี พ.ศ. 2560

137
ข้อมูลประชากรทีใ่ ช้โดย JMP รวมถึงสัดส่วนของประชากรทีอ่ าศัยอยู่ในเขตเมืองและชนบทเป็ นข้อมูลทีจ่ ดั ทาขึน้ โดย
ฝ่ ายประชากรของสหประชาชาติ

ขัน้ ตอนการรวบรวมข้อมูล:
องค์การอนามัยโลกจาเป็ นต้องมีมติของสภาอนามัยโลกในการให้คาปรึกษาเกี่ยวกับสถิตทิ งั ้ หมดขององค์การอนามัย
โลกและถามความเห็นจากประเทศต่าง ๆ เกี่ยวกับข้อมูลจากประเทศและข้อมูลจากเขตแดนต่าง ๆ ก่อนทีจ่ ะเผยแพร่
การประเมิน JMP ทัง้ หมดจะมีการปรึกษาหารืออย่างจริงจังจากประเทศต่าง ๆ ซึ่งมีการประสานงานโดยองค์การ
อนามัยโลกและองค์การยูนิเซฟ บ่อยครัง้ ที่การให้คาแนะนาเหล่านี้ก่อให้เกิดการเยี่ยมชมประเทศต่าง ๆ และมีการ
ประชุมเรื่องน้าดื่ม บริการด้านสุขอนามัย และระบบสุขอนามัย การตรวจสอบการรวบรวมข้อมูลเหล่านี้ ซึง่ ทาง JMP ได้
มีส่วนร่วมกับกว่าห้าสิบประเทศในช่วง 10 ปี ท่ผี ่านมาในการอธิบายการประเมิน JMP และให้เหตุผลของความแตก
ต่างหากมีปรากฏ

----------------------------------------------------------------------------------------

138
เป้ าหมายที่ 7: สร้างหลักประกันให้ทุกคนสามารถเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ที่ยงยื
ั ่ นในราคาที่ย่อมเยา
เป้ าประสงค์ 7.1: สร้างหลักประกันว่ามีการเข้าถึงการบริ การพลังงานสมัยใหม่ที่เชื่อถือได้ ในราคาที่สามารถ
ซื้อหาได้ ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 7.1.2: สัดส่วนของประชากรที่พึ่งพาพลังงานและเทคโนโลยีสะอาดเป็ นหลัก

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
สัด ส่ ว นของประชากรที่พ่ึง พาเชื้อ เพลิง และเทคโนโลยีสะอาดเป็ น หลัก ค านวณจากจ านวนคนที่ใ ช้เ ชื้อ เพลิง และ
เทคโนโลยีสะอาดสาหรับการปรุงอาหาร การให้ความร้อน และการให้แสงสว่าง หารด้วยจานวนประชากรทัง้ หมดที่
รายงานว่ามีการประกอบอาหาร ความร้อน หรือการใช้แสงสว่าง โดยแสดงเป็ น ร้อยละ “ความสะอาด” ถูกนิยามโดยใช้
เป้ าหมายอัตราการปล่อยก๊าซและคาแนะนาเกีย่ วกับเชื้อเพลิงจาเพาะ (เช่น ไม่ควรใช้ถ่านหินและน้ามันก๊าดทีย่ งั ไม่ได้
ผ่ า นกระบวนการ) ที่ร วมอยู่ในแนวปฏิบตั ิ WHO สาหรับ คุ ณภาพอากาศภายในอาคาร: การเผาไหม้เ ชื้อ เพลิงใน
ครัวเรือน

หลักการและเหตุผล:
การทาอาหาร การให้แสงสว่างและการให้ความร้อนถือเป็ นส่วนแบ่งทีใ่ หญ่ของการใช้พลังงานในครัวเรือนในประเทศทีม่ ี
รายได้ต่าและปานกลาง สาหรับการปรุงอาหารและให้ความร้อน ครัวเรือนมักอาศัยเชื้อเพลิงแข็ง (เช่น ไม้ ถ่าน มวล
ชีวภาพ) หรือ น้ ามันก๊าดโดยใช้ร่วมกับกับเทคโนโลยีทไ่ี ม่มปี ระสิทธิภาพ (เช่น ไฟกลางแจ้ง เตาไฟ อุปกรณ์ทาความ
ร้อนในพืน้ ที่ หรือตะเกียง) เป็ นทีท่ ราบกันดีว่าการพึง่ พาพลังงานทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพสาหรับการประกอบอาหาร การให้
ความร้อ นและแสงสว่ า งนั น้ เกี่ย วข้อ งกับ การเพิ่ม มลพิษ ทางอากาศในครัว เรือ น (ในร่ ม ) การใช้เ ชื้อ เพลิง ที่ไ ม่ มี
ประสิทธิภาพในการประกอบอาหารเพียงอย่างเดียวคาดว่าจะทาให้มผี ู้เสียชีวติ กว่า 4 ล้านคนต่อปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็ น
ผู้หญิงและเด็ก จานวนนี้มากกว่าการเสียชีวติ จากวัณโรค HIV และมาลาเรียรวมกัน ผลกระทบต่อสุขภาพที่ไม่พงึ
ประสงค์เหล่านี้ สามารถหลีกเลีย่ งได้โดยการใช้เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาดสาหรับพลังงานหลักในครัวเรือนทัง้ หมด
หรือในบางสถานการณ์ เช่นการใช้เตาหุงต้มแบบเผาไหม้ขนั ้ สูง (เช่น อุปกรณ์ทบ่ี รรลุอตั ราการปล่อยก๊าซเป้ าหมายที่
ก าหนดโดยแนวปฏิบ ัติข อง WHO) และยึด ขัน้ ตอนการใช้ง านแบบเคร่ ง ครัด เพื่อ การใช้ง านอย่ า งปลอดภัย ด้ว ย
ความสาคัญของการใช้พลังงานในครัวเรือนทีส่ ะอาดและปลอดภัยเป็ นประเด็นการพัฒนามนุ ษย์ การเข้าถึงพลังงานใน
ทุกพื้นที่ในความหมายที่ให้โดยชุมชนผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคนัน้ หมายถึงการเข้าถึงพลังงานไฟฟ้ าและเชื้อเพลิงที่
สะอาดและเทคโนโลยีในการประกอบอาหาร การให้ความร้อน และแสงสว่าง ด้วยเหตุน้ี การประกอบอาหารทีส่ ะอาดจึง
เป็ นส่วนหนึ่งของเป้ าหมายว่าด้วยการเข้าถึงสากล ภายใต้ความริเริม่ ด้านพลังงานยั ่งยืนสาหรับทุกคนของเลขาธิการ
สหประชาชาติ (the UN Secretary General’s Sustainable Energy for All)

แนวคิ ด:
การรวบรวมข้อมูลทัวโลกในปั
่ จจุบนั มุ่งเน้นไปทีเ่ ชื้อเพลิงหลักทีใ่ ช้ในการประกอบอาหาร โดยแบ่งเป็ นเชื้อเพลิงทีเ่ ป็ น
ของแข็งหรือไม่แข็ง ซึ่งเชื้อเพลิงทีเ่ ป็ นของแข็งนัน้ ถือว่าเป็ นมลพิษและไม่ทนั สมัย ส่วนเชื้อเพลิงทีไ่ ม่อยู่ในรูปของแข็ง
ถือว่าเป็ นเชื้อเพลิงที่สะอาด มาตรการนี้ใช้วดั การขาดการเข้าถึงเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารที่สะอาดได้ แต่ไม่

139
สามารถรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีทใ่ี ช้สาหรับการประกอบอาหาร และยังไม่สามารถ
วัดการก่อมลพิษรูปแบบอื่น ๆ จากการใช้พลังงานในบ้านได้ เช่น การใช้พลังงานสาหรับให้แสงสว่างและความร้อน

คาแนะนาอิงจากหลักฐานใหม่ของ WHO (เช่น แนวทางจาก WHO สาหรับแนวปฏิบตั ิด้านคุณภาพอากาศภายใน


อาคาร: การเผาไหม้เชื้อเพลิงในครัวเรือน) เน้นความสาคัญของการจัดการทัง้ เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีเพื่อการปกป้ อง
สุขภาพของประชาชนอย่างเหมาะสม แนวทางเหล่านี้ให้คาแนะนาทางเทคนิคในรูปแบบของเป้ าหมายการปล่อยก๊าซที่
ใช้พจิ ารณาว่า การผสมผสานกันของเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีรูปแบบใดในครัวเรือน (เตา โคมไฟ และอื่น ๆ) จะถือว่า
สะอาด แนวทางเหล่านี้ยงั แนะนาให้ไม่ใช้ถ่านหินทีย่ งั ไม่ผ่านกระบวนการและไม่สนับสนุนการใช้น้ามันก๊าด (เชือ้ เพลิงที่
ไม่อยู่ในรูปของแข็ง แต่เป็ นมลพิษสูง) ในบ้าน และเสนอให้การใช้พลังงานในครัวเรือนที่สาคัญทัง้ หมด (เช่น การ
ทาอาหาร การให้ความร้อน การให้แสงสว่าง) มาจากการผสมผสานกันของเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
เพื่อให้ม ั ่นใจว่าดีต่อสุขภาพ

ด้วยเหตุผลเหล่านี้ คาแนะนาเชิงเทคนิคตามแนวทางของ WHO เรื่องการเข้าถึงการประกอบอาหารทีท่ นั สมัยในบ้านจะ


ถูกกาหนดเป็ น “การเข้าถึงเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาด” มากกว่า “การเข้าถึงเชื้อเพลิงทีไ่ ม่อยู่ในรูปของแข็ง ” การ
ยกระดับนี้จะช่วยให้ม ั ่นใจได้ว่าสุขภาพ และผลประโยชน์มติ อิ ่นื ๆ ทีเ่ ชื่อมโยงกันจะสามารถนับจานวนได้ดขี น้ึ และทาให้
เป็ นจริงได้

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ตัวชีว้ ดั นี้ใช้ประเภทของเชือ้ เพลิงและเทคโนโลยีหลักทีใ่ ช้สาหรับการปรุงอาหาร การให้ความร้อน และให้แสงสว่าง เป็ น
ปั จจัยตัวแทนในทางปฏิบตั สิ าหรับการประมาณการการสัมผัสมลพิษภายในครัวเรือน (ในร่ม) ของมนุษย์และภาระโรคที่
เกี่ยวข้อง เนื่องจากปั จจุบนั ยังสามารถหากลุ่มตัวอย่างทีเ่ ป็ นตัวแทนระดับชาติของความเข้มข้นในร่มของสารพิษทีเ่ ป็ น
เกณฑ์ เช่น ฝุ่นละเอียดและคาร์บอนมอนอกไซด์ อย่างไรก็ตาม การศึกษาเชิงระบาดวิทยาให้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์
ในการสร้างค่าประมาณการโดยใช้ปัจจัยตัวแทนเหล่านี้ได้

ตัวชี้วดั จะยึดเอาประเภทเชือ้ เพลิงหลักและเทคโนโลยีทใ่ี ช้ในการประกอบอาหาร เนื่องจากการประกอบอาหารนัน้ เป็ น


การใช้พลังงานทีม่ สี ดั ส่วนมากทีส่ ุดในความต้องการใช้พลังงานของครัวเรือนมากทีส่ ุด อย่างไรก็ตาม ครัวเรือนจานวน
มากใช้เชือ้ เพลิงและเตามากกว่าหนึ่งประเภทในการประกอบอาหารและการให้ความร้อนด้วยเชือ้ เพลิ งทีม่ มี ลภาวะอาจ
เป็ น สาเหตุ ใ ห้ร ะดับมลพิษ ทางอากาศในครัว เรือนเพิ่มขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอ ากาศและสภาพทางภูมิศาสตร์
นอกจากนี้ การให้แสงสว่างด้วยน้ ามันก๊าดจุดไฟ ซึ่งเป็ นเชื้อเพลิงที่ก่อมลพิษและเป็ นอันตรายมากมีการใช้อ ย่ า ง
แพร่หลาย และในบางประเทศใช้เป็ นเชือ้ เพลิงหลักในการประกอบอาหาร

ในขณะที่ฐานข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนทัวโลกที่ ่มอี ยู่นัน้ เป็ นจุดเริม่ ต้นที่ดีในการติดตามการเข้าถึงพลังงานใน


ครัวเรือนสาหรับเชือ้ เพลิงในการทาอาหาร แต่กม็ ขี อ้ จากัดมากมายทีจ่ าเป็ นต้องได้รบั การแก้ไขเมื่อเวลาผ่านไป ขณะนี้
มีขอ้ มูลจานวนจากัดที่เก็บชนิดของเชื้อเพลิงและอุปกรณ์ท่ใี ช้ในบ้านเพื่อทาความร้อนและแสงสว่าง ดังนัน้ องค์การ
อนามัยโลกโดยความร่วมมือกับธนาคารโลก (World Bank) และพันธมิตรระดับโลกสาหรับเตาหุงต้มทีส่ ะอาด (Global
Alliance for Clean Cook stoves) ได้เป็ นเจ้าภาพในกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั การสารวจ โดยทางาน
ร่วมกับร่วมกับผู้แทนจากสานักงานสถิติของประเทศและหน่ วยงานสารวจรายครัวเรือนแห่งชาติ (เช่น การสารวจ
ประชากรและสุขภาพ (Demographic and Health Survey: DHS) แบบสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (Multiple Indicator
Cluster Survey: MICS), การสารวจมาตรฐานการครองชีพ (Living Standards Measurement Survey: LSMS)) เพื่อ

140
ทาให้การรวบรวมข้อมูลทีม่ ปี ระสิทธิภาพและเป็ นไปในทางเดียวกันเรื่องเชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสาหรับการประกอบ
อาหาร การให้ความร้อน และแสงสว่างนัน้ ทาได้ดขี น้ึ กระบวนการนี้กาลังอยู่ในขัน้ ตอนการนาร่อง โดยคาดว่าจะมีการ
เปิ ดตัวคาถามการสารวจรายครัวเรือนขัน้ สุดท้าย (คาดว่าจะมีทงั ้ หมด 6 คาถาม) ในปี หน้า คาถามเหล่านี้จะมาแทนที่
และขยายชุด คาถามเล็กน้ อ ยจากปั จจุบนั ที่ใช้กัน ทัวไปในการส
่ ารวจต่ าง ๆ ของประเทศเพื่อ ประเมิน พลังงานใน
ครัวเรือน

ความก้าวหน้ าที่สาคัญในการพัฒนาและนาร่องระเบี ยบวิธีใหม่เรียกว่ากรอบหลายระดับสาหรับการวัดการเข้าถึง


พลังงาน (Multi-Tier Framework for Measuring Energy Access) (ธนาคารโลก) ซึ่งสามารถบันทึกความสามารถใน
การจ่ายและความเชื่อถือได้ของการเข้าถึงพลังงานอย่างเป็ นชัดแจ้ง อ้างอิงจากภาษาใน SDG7 และตีกรอบคาแนะนา
เชิงบรรทัดฐานตามแนวทางของ WHO ในการกาหนดระดับของการเข้าถึงพลังงาน ระเบียบวิธกี ารของกรอบหลาย
ระดับสาหรับการวัดการเข้าถึงพลังงาน ได้รบั การเผยแพร่แล้วโดยอาศัยกิจกรรมการปรึกษาหารือในวงกว้างและเป็ น
ตัวแทนของมุมมองที่เป็ นฉันทามติของหน่ วยงานระดับนานาชาติจานวนมากที่ทางานในภาคสนาม การสารวจการ
เข้าถึงพลังงานระดับโลกครัง้ แรกทีใ่ ช้ระเบียบวิธนี ้ไี ด้เปิ ดตัวไปแล้วและคาดว่าจะสามารถให้ผลสารวจภายในต้นปี พ.ศ.
2560

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ตัวชีว้ ดั ถูกสร้างแบบจาลองมาจากข้อมูลการสารวจรายครัวเรือนทีร่ วบรวมโดย WHO สารสนเทศการใช้เชือ้ เพลิงในการ
ประกอบอาหารและแนวปฏิบตั ใิ นการประกอบอาหารมาจากการสารวจตัวแทนระดับชาติรายครัวเรือนและการสารวจสา
มะโนประชากรประมาณ 800 แห่ง การสารวจประกอบด้วยแบบสารวจด้านประชากรและสุขภาพ (DHS) และแบบ
สารวจมาตรฐานการครองชีพ (LSMS) แบบสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (MICS) แบบสารวจสุขภาพโลก (WHS) และ
แบบสารวจอื่น ๆ ทีพ่ ฒ ั นาและดาเนินการในระดับประเทศ

การประมาณการพลังงานหลักทีใ่ ช้ในการประกอบอาหารของประชากรในเมืองและชนบททัง้ หมดในปี นัน้ ๆ จะได้มา


แยกกันโดยใช้แบบจาลองหลายระดับ แบบจาลองนี้พจิ ารณาเพียงภูมภิ าค ประเทศ และช่วงเวลาทีก่ าหนดในฐานะที่
เป็ นฟั งก์ชนเสมื
ั ่ อนพหุนาม (spline function) และการประมาณค่าจะถูกจากัดอยู่ในค่าตัง้ แต่ศูนย์ถงึ หนึ่ง รายละเอียด
เพิม่ เติมเกีย่ วกับแบบจาลองดังกล่าวได้เผยแพร่ใน (Bonjour et al, 2013)

การประเมินสาหรับประเทศทีไ่ ม่มผี ลสารวจ:

เมื่อข้อมูลการสารวจสาหรับประเทศสามารถหาได้ ค่าเฉลี่ยระดับภูมภิ าคแบบถ่วงน้ าหนักโดยจานวนประชากรจะถูก


นามาใช้ในการหาค่าประมาณการในระดับภูมภิ าคหรือในระดับโลก อย่างไรก็ตาม ไม่มจี ุดประมาณการของประเทศ
สาหรับประเทศทีถ่ ูกรายงาน

ประเทศทีจ่ ดั อยู่ในประเทศทีม่ รี ายได้สูง มีรายรับระดับชาติ (Gross National Income) มากกว่า 12,746 ดอลลาร์ สรอ.
ต่อคน ถือว่าเป็ นประเทศทีไ่ ด้เปลี่ยนมาใช้เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีท่สี ะอาดเป็ นแหล่งพลังงานหลักในประเทศสาหรับ
การประกอบอาหาร และมีการรายงานว่าใช้เชื้อเพลิงและใช้เทคโนโลยีท่กี ่อมลพิษน้อยกว่า 5% ซึ่งถือว่าค่าเป็ น 0
สาหรับการประมาณการระดับภูมภิ าคและระดับโลก

141
ระเบียบวิธแี บบเดียวกันทีใ่ ช้ขอ้ มูลการสารวจในการหาค่าประมาณการของประเทศ ณ ปี หนึ่ง ๆ จะสามารถใช้ได้ในการ
ประมาณการสัดส่วนของประชากรทีใ่ ช้เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาดเพื่อให้ความร้อนและแสงสว่าง โดยใช้ขอ้ สมมติ
เดียวกันดังทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น

การจาแนกข้อมูล:
ค่าประมาณการทีม่ กี ารจาแนกข้อมูลแล้วสาหรับการใช้งานทีป่ ลายทางแตกต่างกัน (เช่น การประกอบอาหาร การทา
ความร้อนและการให้แสงสว่าง) ประกอบกับการปรับปรุงที่คาดว่าจะเกิ ดขึน้ ในการสารวจรายครัวเรือน องค์ประกอบ
เหล่านี้คาดว่าจะนาไปใช้ได้สาหรับการประมาณการการให้ความร้อนและแสงสว่างในทุกประเทศ

การจาแนกข้อมูลด้านการเข้าถึงเชือ้ เพลิงสะอาดและเทคโนโลยีสาหรับประกอบอาหารของประชากรในพืน้ ทีช่ นบทหรือ


ในเมืองมีความเป็ นไปได้สาหรับทุกประเทศ

การจาแนกข้อมูลตามเพศสภาวะ โดยผูใ้ ช้หลักของพลังงานสาหรับการประกอบอาหาร (เช่น ผูป้ ระกอบอาหาร) จะมีได้


หากมีการปรับปรุงตามทีค่ าดหวังไว้ในการสารวจรายครัวเรือน

การจาแนกข้อมูลตามเพศสภาวะของหัวหน้าครัวเรือนสาหรับการประกอบอาหาร การให้แสงสว่าง และการให้ความ


ร้อนนัน้ มีอยู่
ความเท่าเทียมทางเพศสภาวะ

พลังงาน คือบริการทีม่ ใี ห้กบั แต่ละครัวเรือนไม่ใช่กบั ระดับบุคคล

อย่างไรก็ตาม มีการใช้งานทีแ่ ตกต่างกันระหว่างผูช้ ายและผูห้ ญิ ง และมีผลกระทบทีแ่ ตกต่างกันต่อสุขภาพและความ


เป็ นอยู่ โดยหลักการ แล้วสิง่ ทีเ่ ป็ นไปได้คอื การรายงานการเข้าถึงและใช้พลังงานเพื่อประกอบอาหารของผูใ้ ช้หลัก

นอกจากนี้ ฐานข้อมูลพลังงานในครัวเรือนจาก WHO ยังรวมถึงข้อมูลระดับประเทศจาก 30 ประเทศ เกี่ยวกับเวลาที่


เด็กใช้เก็บฟื นและตักน้ า โดยจาแนกตามเพศ ด้วยการปรับปรุงการเก็บข้อมูลผ่านกระบวนการประสานการสารวจให้
เป็ นมาตรฐานเดียวกันทีก่ ล่าวถึงด้านล่าง ข้อมูลจะมีให้ใช้ได้และรายงานเฉพาะเวลาทีใ่ ช้หาเชื้อเพลิงแทนทีจ่ ะรวมกัน
กับข้อมูลเวลาการหาน้า

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ไม่มกี ารรายงานสาหรับประเทศทีม่ รี ายได้น้อยถึงปานกลางทีไ่ ม่มขี อ้ มูล
ประเทศทีม่ รี ายได้สงู ทีไ่ ม่มขี อ้ มูล ถูกสันนิษฐานว่าเปลีย่ นผ่านไปใช้เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาด และดังนัน้ จึงคาดว่า
ประชากรมากกว่า 95% ใช้เชือ้ เพลิงและเทคโนโลยีสะอาด

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
สาหรับประเทศที่มรี ายได้ต่ าและปานกลางที่ไม่มขี อ้ มูล จะใช้ ค่าประมาณการค่าเฉลี่ยระดับภูมภิ าคโดยถ่วงน้ าหนัก
ประชากรในภูมภิ าคนัน้ เพื่อใช้ในการคานวณค่าประมาณการของภูมภิ าคและระดับโลก

142
ประเทศที่มรี ายได้สูงที่ไม่มขี อ้ มูล ถูกสันนิษฐานว่าเปลี่ยนไปใช้เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีสะอาด และดังนัน้ จึงคาดว่า
ประชากรมากกว่า 95% ใช้เชือ้ เพลิงและเทคโนโลยีสะอาด

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ค่าประมาณการในระดับภูมภิ าคและระดับโลกจะถูกถ่วงน้ าหนักโดยจานวนประชากร เช่น ค่าประมาณการประเทศ
(เช่น 56%) จะคูณด้วยจานวนประชากร ค่านี้ถูกรวม (ตามภูมภิ าคหรือทุกประเทศ) และหารด้วยผลรวมของจานวน
ประชากรจากประเทศทีร่ วมอยู่ดว้ ยกัน

สาเหตุข้อมูลคลาดเคลื่อน:
อาจมีความคลาดเคลื่อนระหว่างตัวเลขทีน่ านาชาติรายงานกับตัวเลขทีร่ ะดับประเทศรายงาน ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้:
- ค่าประมาณการจากแบบจาลองเปรียบเทียบกับข้อมูลการสารวจ
- ใช้คาจากัดความทีแ่ ตกต่างกับเชือ้ เพลิงทีก่ ่อให้เกิดมลพิษ (หรือจากทีเ่ คยเป็ นของแข็งมาก่อน) (เฉพาะไม้เท่านัน้ หรือ
ไม้และชีวมวลอื่น ๆ เช่นเศษมูลสัตว์; น้ามันก๊าดถูกรวมเข้าไปเป็ นเชือ้ เพลิงทีก่ ่อให้เกิดมลพิษหรือไม่)
- ใช้จานวนประชากรประมาณการทีแ่ ตกต่างกัน
- ค่าประมาณการจะแสดงเป็ นเปอร์เซ็นต์ของประชากรทีใ่ ช้เชื้อเพลิงทีก่ ่อมลพิษ (หรือของแข็ง) (ตามตัวชี้วดั SDG)
โดยเปรียบเทียบกับเปอร์เซ็นต์ของครัวเรือนทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงทีก่ ่อมลพิษ (หรือของแข็ง) (ตามการประเมินโดยการสารวจ
จาก DHS หรือ MICS)
- ค่าจากการประเมินทีแ่ สดงนี้ ถ้าสูงกว่า 95% เชื้อเพลิงทีก่ ่อให้เกิดมลพิษจะรายงานว่า “> 95%” และค่าทีต่ ่ากว่า 5%
จะรายงานเป็ น “<5

แหล่งข้อมูล
เชื้อเพลิงและเทคโนโลยีในครัวเรือนเบื้องต้นโดยเฉพาะสาหรับการปรุงอาหาร ประเทศส่วนใหญ่มกี ารเก็บรวบรวมเป็ น
ประจาในระดับประเทศ โดยใช้สามะโนประชากรและแบบสารวจ การสารวจรายครัวเรือนทีใ่ ช้ประกอบด้วย: การสารวจ
ด้านประชากรและสุขภาพ (DHS) สนับสนุ นโดยสานักงานเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา (USAID);
การสารวจพหุดชั นีแบบจัด กลุ่ม (MICS) สนับสนุ นโดยกองทุ น เพื่อ เด็กแห่ง สหประชาชาติ (UNICEF); การสารวจ
อนามัยโลก (WHS) สนับสนุนโดย WHO; และแบบสารวจทีเ่ ชื่อถือได้ทแ่ี ทนค่าสารวจของประเทศต่าง ๆ

องค์การอนามัยโลกเป็ นหน่ วยงานทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบในการรวบรวมฐานข้อมูลสถิตเิ กี่ยวกับการเข้าถึงเชื้อเพลิงและ


เทคโนโลยีทส่ี ะอาดและประเภททีก่ ่อมลพิษ จากการสารวจรายครัวเรือนทัง้ หมดในโลกทีเ่ กี่ยวกับการประกอบอาหาร
การให้ความร้อน และให้แสงสว่าง ปั จจุบนั ฐานข้อมูลของ WHO ครอบคลุมพลังงานในการประกอบอาหารสาหรับ 157
ประเทศ และหนึ่งเขตแดนในช่วงปี พ.ศ. 2513-2558 และมีการปรับปรุงเป็ นประจาและเปิ ดเผยต่อสาธารณะ สาหรับการ
ให้แสงสว่าง ฐานข้อมูลขององค์การอนามัยโลกประกอบด้วยข้อมูลสาหรับ 76 ประเทศในช่วงปี พ.ศ. 2506-2557
สาหรับการให้ความร้อน ฐานข้อมูลขององค์การอนามัยโลกประกอบด้วยข้อมูลสาหรับ 16 ประเทศในช่วงปี พ.ศ. 2529–
2555

ปั จจุบนั WHO ทางานกับหน่วยงานสารวจแห่งชาติ สานักงานสถิตขิ องประเทศต่าง ๆ และผูม้ สี ่วนเกีย่ วข้องอื่น ๆ (เช่น


นั ก วิจ ัย ) เพื่อ ปรับ ปรุ ง เครื่อ งมือ การสารวจรายครัวเรือ นอเนกประสงค์ เพื่อ รวบรวมข้อ มูลเกี่ยวกับ เชื้อเพลิงและ
เทคโนโลยีทใ่ี ช้สาหรับการให้ความร้อนและแสงสว่าง
----------------------------------------------------------------------------------------

143
เป้ าหมายที่ 8: ส่งเสริมการเติ บโตทางเศรษฐกิ จที่ต่อเนื่ อง ครอบคลุม และยังยื
่ น การจ้างงานเต็มที่ มีผลิ ตภาพ
และการมีงานที่เหมาะสมสาหรับทุกคน
เป้ าประสงค์ 8.7: ดาเนิ นมาตรการที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยทันที เพื่อขจัดแรงงานที่ ถกู บังคับ ยุติความเป็ นทาส
สมัยใหม่และการค้ามนุษย์ และยับยัง้ และกาจัดการใช้แรงงานเด็กในรูปแบบที่ เลวร้ายที่ สุ ด ซึ่ งรวมถึงการ
เกณฑ์และการใช้ทหารเด็ก และภายในปี พ.ศ. 2568 ยุติการใช้แรงงานเด็กในทุกรูปแบบ

ตัวชี้วดั 8.7.1: สัดส่วนและจานวนเด็กอายุ 5-17 ปี ที่เป็ นแรงงานเด็ก จาแนกตามเพศและอายุ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
จานวนของเด็กที่เป็ นแรงงานสอดคล้องกับจานวนของเด็กที่รายงานว่าเป็ นแรงงานในช่วงเวลาที่อ้างอิง (โดยทัวไป ่
มักจะเป็ นเวลาหนึ่งสัปดาห์ก่อนการสารวจ) สัดส่วนของเด็กทีเ่ ป็ นแรงงานถูกคานวณออกมาเป็ น จานวนของเด็กทีเ่ ป็ น
แรงงาน หารด้วยจานวนเด็กทัง้ หมดในกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษา เด็กทีม่ อี ายุระหว่าง 5-17 ปี ถูกรวมอยู่ในวัตถุประสงค์ของ
ตัวชีว้ ดั นี้ ซึง่ จาแนกตามเพศและกลุ่มอายุ (ช่วงอายุระหว่าง 5-14 และ 10-17 ปี )

หลักการและเหตุผล:
มีเด็กจานวนมากในโลกนี้ทย่ี งั ตกเป็ นเหยื่อของการค้าแรงงานเด็ก ซึ่งเป็ นภัยต่ออนาคตของพวกเขา จากการประมาณ
การระดับโลกล่าสุดขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ มีเด็กกว่า 168 ล้านคนทัวโลกที ่ เ่ ป็ นแรงงานเด็ ก หรือนับเป็ น
เกือบร้อยละ 11 ของประชากรเด็กทัวโลก ่ ตัวเลขดังกล่าวยิง่ เน้นย้าให้เห็นถึงความจาเป็ นในการยกระดับความก้าวหน้า
ในการต่อต้านการค้าแรงงานเด็กให้บรรลุเป้ าหมายภายในปี พ.ศ. 2568 รวมทัง้ การติดตามสถิตแิ รงงานเด็กและการเพิม่
ความพยายามในประเด็นดังกล่าว ข้อมูลทีท่ นั สมัย ครอบคลุม และเชื่อถือได้เกี่ยวกับธรรมชาติและขอบเขตของการค้า
แรงงานเด็กเป็ นพืน้ ฐานสาหรับระบุความสาคัญของการดาเนินการเพื่อต่อต้านการค้าแรงงานเด็กในระดับประเทศและ
ระดับโลก รายละเอียดทางสถิติเกี่ยวกับแรงงานเด็ก และในประเด็นที่กว้างกว่า อาทิ งานทุกอย่า งของเด็ก ยังเป็ น
พืน้ ฐานเพื่อการเพิม่ ความตระหนักของสาธารณะในเรื่องสถานการณ์การทางานของเด็ก และเพื่อการพัฒนากรอบการ
ดาเนินงานด้านกฎหมายและนโยบายทีเ่ หมาะสม

แนวคิ ด:
คาว่าแรงงานเด็ก หมายถึง กิจกรรมย่อย ๆ ทีเ่ ด็กทาและก่อให้เกิดอันตราย ให้ผลในเชิงลบ หรือไม่พงึ ปรารถนาต่อเด็ก
ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่ควรจะต้องขจัดออกไป การค้าแรงงานเด็กเป็ นแนวคิดทางกฎหมายมากกว่าแนวคิดทางสถิติ และ
มาตรฐานทางกฎหมายในระดับสากลยังกาหนดให้มกี รอบการอ้างอิงทีจ่ าเป็ นสาหรับสถิตดิ า้ นแรงงานเด็ก มี อนุ สญ ั ญา
ระหว่างประเทศ 3 ตัวทีเ่ กี่ยวข้องกับการค้าแรงงานเด็ก ได้แก่ อนุ สญ ั ญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 138
(ว่าด้วยอายุขนั ้ ต่าทีอ่ นุ ญาตให้จา้ งงาน) (C138) อนุ สญ
ั ญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 182 (ว่าด้วยการใช้
แรงงานเด็กในรูปแบบทีเ่ ลวร้าย) (C182) และ อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) ทีร่ ่วมกันวางขอบเขตใน
การค้าแรงงานเด็ก และพื้นฐานทางกฎหมายสาหรับการดาเนินงานในระดับประเทศและระหว่างประเทศเพื่อต่อต้าน
การค้าแรงงานเด็ก

144
เมื่อเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2551 การประชุมนักสถิตแิ รงงานระหว่างประเทศได้ร ับมติว่าด้วยสถิตแิ รงงานเด็ก โดยมติน้ี
ช่วยในการแปลมาตรฐานทางกฎหมายเกี่ยวกับแรงงานเด็กไปเป็ นศัพท์ทางสถิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มติน้ีได้ถูก
ออกแบบมาเพื่อเป็ นชุดมาตรฐานสาหรับการเก็บ การรวบรวมและการวิเคราะห์สถิตวิ ่าด้วยแรงงานเด็กในระดับประเทศ
และให้คาแนะนากับแต่ละประเทศในการปรับปรุงระบบสถิตทิ เ่ี กีย่ วข้องและมีอยู่ให้ทนั สมัย

ตามมติดงั กล่าวและพืน้ ฐานของชุดขอบเขตการผลิตทีก่ าหนดโดยระบบบัญชีประชาชาติแห่งสหประชาชาติ (SNA) คา


ว่า แรงงานเด็กที่ถูกกาหนดให้นามาใช้ในการวัด หมายถึง ผู้ท่มี อี ายุระหว่าง 5-17 ปี ท่มี คี วามเกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ดังต่อไปนี้ในช่วงระยะเวลาตามทีก่ าหนด
• งานทีก่ ่ออันตราย (การประชุมนักสถิตแิ รงงานระหว่างประเทศ ครัง้ ที่ 18 ย่อหน้าที่ 21 ถึง 32);
• การทางานในรูปแบบที่เลวร้ายอื่น ๆ นอกเหนือจากงานทีก่ ่ออันตราย (การประชุมนักสถิตแิ รงงานระหว่าง
ประเทศ ครัง้ ที่ 18 ย่อหน้าที่ 33 ถึง 34); และ
• การจ้างงานเด็กซึง่ มีอายุต่ากว่าอายุขนั ้ ต่า นอกเสียจากว่าจะเป็ นงานอย่าง “ง่าย” ทีก่ ระทาโดยเด็กซึง่ มีอายุไม่
น้อยกว่า 12 หรือ 13 ปี (การประชุมนักสถิตแิ รงงานระหว่างประเทศ ครัง้ ที่ 18 ย่อหน้าที่ 35 ถึง 37)

ทัง้ นี้ยงั ขึน้ อยู่กบั นโยบายและสถานการณ์ของแต่ละประเทศ ขอบเขตการผลิตทัวไปที ่ น่ อกเหนือจากขอบเขตการผลิต


ตามนิยามของ SNA ซึง่ ถูกนามาใช้สาหรับการวัดกิจกรรมทีก่ ่อให้เกิดผลงาน ซึง่ กระทาโดยเด็ก รวมทัง้ แรงงานเด็กด้วย
นอกเหนือจากงานทัง้ 3 ประเภทข้างต้นแล้ว ยังรวมถึงงานบ้านที่อนั ตรายและไม่ได้รบั ค่าตอบแทนด้วยซึ่งควรเรียก
แรงงานเด็กจากค่าประมาณการตามฐานนี้ว่า “แรงงานเด็ก (ตามขอบเขตการผลิตทัวไป)” ่ เพื่อให้เกิดความชัดเจน
ระเบียบวิธกี ารวัดที่ ILO นามาใช้ในการประมาณการแรงงานเด็กระดับโลก 6 สร้างขึ้นตามนิ ยามทางสถิติของการ
ประชุมนักสถิตแิ รงงานระหว่างประเทศ ทีก่ าหนดให้แรงงานเด็กอยู่บนฐานของเกณฑ์ต่อไปนี้
• อายุ 5-11 ปี : ทากิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างน้อย 1 ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์
• อายุ 12-14 ปี : ทากิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างน้อย 14 ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์ โดยหมายถึงงานทุกรูปแบบเว้นแต่
งานอย่าง “เบา” ที่ได้รบั อนุ ญาต และเป็ นกิจกรรมทางเศรษฐกิจในทางปฏิบตั ิเมื่อ (i) ไม่เกิน 14 ชัวโมงต่
่ อ
สัปดาห์ และเมื่อ (ii) ไม่เป็ นอันตรายโดยธรรมชาติ; และ
• อายุ 15-17 ปี : งานที่อยู่ในอุตสาหกรรมอันตราย หรือเป็ นอาชีพที่อนั ตราย มีระยะเวลาการทางานหลาย
ชัวโมง
่ หมายถึง 43 ชัวโมงหรื
่ อมากกว่าในสัปดาห์อา้ งอิง

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
การประมาณการแรงงานเด็กมาจากมาตรฐานทางสถิตทิ ่กี าหนดโดยมติการประชุมนักสถิติแรงงานระหว่างประเทศ
เป็ นตัวแทนของเกณฑ์มาตรฐานที่มปี ระโยชน์สาหรับวัตถุประสงค์ด้านการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างประเทศ ซึ่งไม่
จาเป็ นว่าจะต้องสอดคล้องกับการประมาณการตามกฎหมายแรงงานเด็กระดับประเทศเสมอไป อนุ สญ ั ญาองค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 138 บรรจุขอ้ ความทีย่ ดื หยุ่นไว้จานวนมากเพื่อให้เป็ นดุลยพินิจของเจ้าหน้าทีร่ ฐั ของแต่
ละประเทศในการหารือ (ในกรณี ท่ีเ กี่ย วข้อ ง) ร่ ว มกับ องค์ก รด้า นแรงงาน (เช่ น ประเด็น อายุ ขนั ้ ต่ า ขอบเขตการ

6
ILO-IPEC การทาเครื่องหมายความก้าวหน้าในการต่อต้านแรงงานเด็ก – การประมาณการและแนวโน้มระดับโลกปี 2543-2555/
สานักงานองค์การแรงงานระหว่างประเทศ, โครงการระหว่างประเทศเพื่อขจัดปัญหาการใช้แรงงานเด็ก (IPEC) – เจนีวา: องค์การแรงงาน
ระหว่างประเทศ, 2556

145
ประยุกต์ใช้)7 ในการนี้ นิยามตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานเด็กจึงแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ และจึงไม่มกี ารวัดค่า
เชิงสถิตแิ บบใดแบบหนึ่งทีจ่ ะสอดคล้องกับนิยามทางกฎหมายของทุกประเทศได้

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
เด็กอายุระหว่าง 5-17 ปี : จานวนของเด็กซึง่ มีอายุระหว่าง 5-17 ปี ทีร่ ายงานว่าเป็ นแรงงานในช่วงหนึ่งสัปดาห์ก่อนการ
สารวจ หารด้วยจานวนเด็กทัง้ หมดในกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

เด็กอายุระหว่าง 5-14 ปี : จานวนของเด็กซึง่ มีอายุระหว่าง 5-14 ปี ทีร่ ายงานว่าเป็ นแรงงานในช่วงหนึ่งสัปดาห์ก่อนการ


สารวจ หารด้วยจานวนเด็กทัง้ หมดในกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

เด็กอายุระหว่าง 15-17 ปี : จานวนของเด็กซึง่ มีอายุระหว่าง 15-17 ปี ทีร่ ายงานว่าเป็ นแรงงานในช่วงหนึ่งสัปดาห์ก่อน


การสารวจ หารด้วยจานวนเด็กทัง้ หมดในกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษา คูณด้วยจานวน 100

การจาแนกข้อมูล:
เพศและอายุ

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การสารวจรายครัวเรือน เช่น การสารวจแรงงานในระดับประเทศ การสารวจรายครัวเรือนเอนกประสงค์ระดับประเทศ
การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มทีส่ นับสนุ นโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ การสารวจสุขภาพและประชากร
สถิตขิ อ้ มูลและการกากับติดตามโครงการแรงงานเด็กทีส่ นับสนุ นโดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (SIMPOC) และ
การสารวจการวัดมาตรฐานการครองชีพของธนาคารโลก (LSMS) นับเป็ นหนึ่งในเครื่องมือสาคัญ ๆ สาหรับการจัดทา
ข้อมูลเกี่ยวกับแรงงานเด็กในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา ประมาณการอัตราการเกิดแรงงานเด็กทีม่ าจากเครื่องมือการ
สารวจเหล่านี้ พึ่งพาความก้าวหน้ าของการติดตามในระดับประเทศอันจะนาไปสู่การขจัดการค้าแรงงานเด็กทัง้ ใน
ระดับประเทศและระดับโลกตามเป้ าหมายได้มากขึน้ ทัง้ นี้ หลายประเทศจัดทาการประมาณการและรายงานแรงงาน
ระดับประเทศซึง่ มักจะมีขอ้ มูลเกีย่ วกับแรงงานเด็กและ/หรือการจ้างงานเด็กไว้ดว้ ย

----------------------------------------------------------------------------------------

7
หลักของความยืดหยุ่นในอนุสญ ั ญารวมถึง: (a) อายุขนั ้ ต่า: ประเทศสมาชิกซึง่ เศรษฐกิจและการจัดการศึกษาของตนยังพัฒนาไม่เพียงพอ
นัน้ ในตอนแรกอาจกาหนดอายุขนั ้ ต่าเป็ น 14 ปี ได้ (มาตรา 2.4) และ อายุ 12-14 ปี สาหรับการทางานเบา (มาตรา 7.4); และ (b) ขอบเขต
การประยุกต์ใช้: ประเทศสมาชิกมีอานาจอาจยกเว้นการปฏิบตั ติ ามอนุสญ ั ญานี้กบั การจ้างงานหรือการทางานบางประเภท ซึง่ ก่อให้เกิด
ปัญหาพิเศษเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามอนุสญ
ั ญานี้ได้ (มาตรา 4.1) ประเทศสมาชิกซึง่ เศรษฐกิจและการจัดการทางการบริหารยังพัฒนาไม่
เพียงพอ อาจจากัดขอบเขตการบังคับใช้อนุสญ ั ญานี้ได้ในตอนต้น (มาตรา 5.1) นอกเหนือจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจหรือภาระหน้าทีห่ ลัก
(มาตรา 5.3)

146
เป้ าหมายที่ 13: เร่งต่อสู้กบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิ ดขึ้น
เป้ าประสงค์ 13.1: เสริ ม ภูมิ ต้ า นทานและขี ด ความสามารถในการปรับ ตัว ต่ อ อัน ตรายและภัย พิ บ ตั ิ ท าง
ธรรมชาติ ที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศในทุกประเทศ

ตัว ชี้ ว ดั 13.1.1: จ านวนผู้เ สี ย ชี วิต สู ญ หาย และผู้ที่ ไ ด้ ร บั ผลกระทบโดยตรงอัน เป็ นผลมาจากภัย พิ บตั ิ ต่อ
ประชากร 100,000 คน

ข้อมูลเชิงสถาบัน
องค์กร: สานักงานว่าด้วยกลยุทธ์ระหว่างประเทศเพื่อการลดภัยพิบตั ิแห่งสหประชาชาติ (United Nations
Office for Disaster Reduction: UNISDR)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ตัวชี้วดั นี้วดั ค่าจากจานวนผูเ้ สียชีวติ สูญหาย และผู้ท่ไี ด้รบั ผลกระทบโดยตรงอันเป็ นผลมาจากภัยพิบตั ติ ่อประชากร
100,000 ราย

แนวคิ ด:
การเสียชีวิต: จานวนประชากรทีเ่ สียชีวติ ระหว่างภัยพิบตั หิ รือหลังจากภัยพิบตั ใิ นทันที อันเป็ นผลโดยตรงจากพิบตั ภิ ยั
การสูญหาย: จานวนประชากรซึง่ ไม่ทราบว่าอยู่ทใ่ี ดตัง้ แต่เกิดพิบตั ภิ ยั รวมทัง้ ประชากรทีค่ าดว่าน่าจะเสียชีวติ และผูท้ ่ี
ไม่มหี ลักฐานทางกายภาพ เช่น ร่างกาย และทีม่ รี ายงานอย่างเป็ นทางการ/ทางกฎหมายโดยผูม้ อี านาจ

ผู้ได้รบั ผลกระทบโดยตรง: จานวนประชากรทีไ่ ด้รบั ความทุกข์ทรมานจากการบาดเจ็บ ความเจ็บป่ วยหรือผลกระทบ


ด้านสุขภาพอื่น ๆ ผูท้ ต่ี ้องอพยพ ย้ายถิน่ เปลี่ยนทีอ่ ยู่อาศัยหรือได้รบั ความทุกข์ทรมานจากความเสียหายโดยตรงต่อ
การดารงชีวติ ทรัพย์ทางเศรษฐกิจ กายภาพ สังคม วัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อม

ผู้ที่ได้รบั ผลกระทบทางอ้อม คือ ประชากรซึง่ ได้รบั ความทุกข์ทรมานจากผลทีต่ ามมาจากพิบตั ภิ ยั นอกเหนือจากหรือ


เพิ่ม เติ ม จากผลกระทบทางตรง เมื่อ เวลาผ่ า นไป เนื่ อ งจากการหยุ ด ชะงัก หรือ การเปลี่ย นแปลงในเศรษฐกิจ
สาธารณูปโภคสาคัญ บริการขัน้ พืน้ ฐาน การค้าหรือการทางาน หรือผลทีต่ ามมาในด้านสังคม สุขภาพและจิต ใจ

หลักการและเหตุผลและการตีความ:
ประเทศสมาชิกสหประชาชาติได้รบั กรอบการดาเนินงานเซนได เพื่อการลดความเสีย่ งจากภัยพิบตั ปิ ี พ.ศ. 2558-2573
เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 ในฐานะนโยบายระดับโลกด้านการลดความเสีย่ งจากภัยพิบตั ิ ในเป้ าประสงค์ระดับโลก
หลาย ๆ ตัว “เป้ าประสงค์ A: อัตราการเสียชีวติ จากภัยพิบตั ขิ องโลกลดลงอย่างเป็ นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2573 โดย
ค่าเฉลี่ยการเสียชีวติ จากภัยพิบตั ิต่ออัตราการเสียชีวติ ของประชากรโลก 100,000 ราย ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573
จะต้องน้อยกว่าค่าเฉลี่ยระหว่างปี พ.ศ. 2548–2558” และ “เป้ าประสงค์ B: จานวนผู้ได้รบั ผลกระทบจากภัยพิบตั ขิ อง
โลกลดลงอย่างเป็ นรูปธรรม ภายในปี พ.ศ. 2573 โดยค่าเฉลี่ยของผู้ได้รบั ผลกระทบจากภัยพิบตั ิต่อประชากรโลก
100,000 ราย ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2573 จะต้องน้อยกว่าค่าเฉลีย่ ระหว่างปี พ.ศ. 2548–2558” ซึง่ เป้ าประสงค์ทงั ้ 2 นัน้
จะรับผิดชอบในการพัฒนาและการเสริมความเข้มแข็งทีย่ ั ่งยืนด้านพลวัตรทางเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพและสิง่ แวดล้อม

147
ทัศนคติดา้ นเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อมและสังคมนี้รวมถึงการขจัดความยากจน พลวัตรของเมือง และการปรับตัวต่อการ
เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
คณะทางานของผูเ้ ชีย่ วชาญระหว่างรัฐบาลแบบเปิ ดว่าด้วยตัวชี้วดั และศัพท์บญ ั ญัตเิ กี่ยวกับการลดความเสีย่ งจากภัย
พิบ ัติ (OIEWG) ได้ถู ก ก่ อ ตัง้ ขึ้น โดยสมัช ชาแห่ ง สหประชาชาติ (มติท่ี 96/284) เพื่อ พัฒ นาชุ ด ตัว ชี้ว ัด ในการวัด
ความก้าวหน้าระดับโลกตามกรอบการดาเนินงานเซนได และได้รบั การรับรองโดยสมัชชาแห่ งสหประชาชาติ (รายงาน
OIEWG ที่ A/71/644) ตัวชีว้ ดั ระดับโลกตามกรอบการดาเนินงานเซนไดจะถูกนามาใช้รายงานสาหรับตัวชีว้ ดั นี้
ข้อมูลความสูญเสียด้านภัยพิบตั ิมกั จะได้รบั อิทธิพลจากการเกิดภัยร้ายแรงทีม่ ขี นาดใหญ่ ซึ่งก่อให้เกิดความผิดปกติ
อย่างสาคัญ UNISDR จึงแนะนาให้แต่ละประเทศจัดทารายงานเป็ นรายครัง้ เมื่อเกิดพิบตั ภิ ยั ขึน้ เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์
ทีส่ อดคล้องกันและสามารถกาหนดแนวโน้มและรูปแบบทัง้ ทีม่ แี ละไม่มอี ยู่ในภัยพิบตั ดิ งั กล่าว (ซึ่งสามารถเป็ นตัวแทน
ของความผิดปกติได้)

การศึกษาด้วยวิ ธีการคานวณและการพิ จารณาวิ ธีการอื่น ๆ


วิ ธีการคานวณ:
ตัวชีว้ ดั X ถูกคานวณเป็ นผลรวมอย่างง่ายของตัวชีว้ ดั ทีเ่ กีย่ วข้อง (การเสียชีวติ บุคคลสูญหายและผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบ)
จากฐานข้อมูลการสูญเสียระดับประเทศ หารด้วยข้อมูลประชากรระดับโลก (จากสามะโนประชากรโลก ธนาคารโลก
หรือคณะกรรมาธิการด้านสถิตแิ ห่งสหประชาชาติ)

(𝐴2 + 𝐴3 + 𝐵1 )
𝑋= × 100,000
𝐺𝑙𝑜𝑏𝑎𝑙 𝑃𝑜𝑝𝑢𝑙𝑎𝑡𝑖𝑜𝑛
โดย:
A2 คือ จานวนผูเ้ สียชีวติ จากภัยพิบตั ิ
A3 คือ จานวนผูส้ ญ
ู หายจากภัยพิบตั ิ และ
B1 คือ จานวนผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบโดยตรงจากภัยพิบตั ิ
* รายละเอียดของระเบียบวิธสี ามารถหาได้จากคาแนะนาด้านเทคนิค (ดูส่วนการอ้างอิงด้านล่าง)

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ระบบการติดตามตามกรอบการดาเนินงานเซนได ได้รบั การพัฒนาขึ้นเพื่อวัดความก้าวหน้าในการดาเนินงานตาม
ตัวชี้วดั ของกรอบการดาเนินงานเซนไดทีไ่ ด้รบั การรับรองจากสมัชชาแห่งสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกจะสามารถ
รายงานโดยใช้ระบบดังกล่าวได้ตงั ้ แต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ข้อมูลสาหรับตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมายการพัฒนาทีย่ ั ่งยืนจะ
ถูกนามารวมไว้และรายงานไปยัง UNISDR

ตัวชี้วดั แทน ตัวชี้วดั ทางเลือก และตัวชี้วดั เพิ่ มเติ ม:


แหล่งข้อมูลระดับสากลส่วนมากเพียงแต่บนั ทึกเหตุการณ์ทเ่ี กินกว่าเกณฑ์ดา้ นผลกระทบบางเกณฑ์และใช้ขอ้ มูลทุตยิ
ภูมทิ ม่ี กั จะไม่มแี บบแผนหรือมีระเบียบวิธที ไ่ี ม่สอดคล้องกัน ทาให้เกิดชุดข้อมูลทีไ่ ม่เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันขึน้

แหล่งข้อมูลและวิ ธีการเก็บข้อมูล
แหล่งข้อมูลและกระบวนการเก็บข้อมูล:
ผูเ้ ชีย่ วชาญกรอบการดาเนินงานเซนไดจะเป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลในระดับประเทศ โดยในหลายประเทศ ข้อมูลด้านภัยพิบตั ถิ ูก
เก็บไว้โดยกระทรวงหลักและฐานข้อมูลความสูญเสียจากภัยพิบตั ิซ่ึงได้รบั การจัดทาและจัดการโดยหน่ วยงานที่มี
วัตถุประสงค์เฉพาะ รวมทัง้ หน่วยงานบริหารจัดการภัยพิบตั ิระดับประเทศ หน่วยงานด้านการปกป้ องคุม้ ครองพลเมือง

148
และหน่ วยงานด้านอุตุนิยมวิทยา ผู้เชี่ยวชาญกรอบการดาเนินงานเซนไดในแต่ละประเทศมีหน้าที่รบั ผิดชอบในการ
รายงานข้อมูลผ่านระบบติดตามตามกรอบการดาเนินงานเซนได

การจาแนกข้อมูล
จานวนผูเ้ สียชีวติ จากภัยพิบตั ิ
จานวนผูส้ ญ
ู หายจากภัยพิบตั ิ และ
จานวนผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบโดยตรงจากภัยพิบตั ิ

[การจาแนกทีพ่ งึ ประสงค์]:
อันตราย
ภูมศิ าสตร์ (หน่วยทางการบริหารจัดการ)
เพศ
อายุ (3 ประเภท)
ความทุพพลภาพ
รายได้

ข้อมูลอ้างอิ ง
ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ข้ อ มู ล ( metadata) เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั ่ง ยื น อ ย่ า ง เ ป็ น ท า ง ก า ร URL:
https://unstats.un.org/sdgs/metadata/files/Metadata-01-05-01.pdf <รออัพโหลดเอกสารใหม่>

คาแนะนาและระเบียบวิธที ไ่ี ด้รบั การยอมรับในระดับสากล URL:


คาแนะนาด้านเทคนิคสาหรับการติดตามและการรายงานความก้าวหน้าในการบรรลุเป้ าประสงค์ระดับโลกตาม กรอบ
การดาเนินงานเซนไดเพื่อการลดความเสีย่ งจากภัยพิบตั ิ (UNISDR 2560)
https://www.preventionweb.net/files/54970_collectionoftechnicalguidancenoteso.pdf

แหล่งอ้างอิงอื่น ๆ:
รายงานของคณะทางานของผูเ้ ชีย่ วชาญระหว่างรัฐบาลแบบเปิ ดว่าด้วยตัวชีว้ ดั และศัพทวิทยาเกีย่ วกับการลดความเสีย่ ง
จ า กภั ย พิ บ ั ติ ( OIEWG). รั บ รอง โ ดย สมั ช ช า แ ห่ ง สห ป ระ ช า ช า ติ เมื่ อวั น ที่ 2 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2560. จ า ก:
https://www.preventionweb.net/publications/view/51748

การติ ดต่อองค์กรระหว่างประเทศสาหรับการติ ดตามระดับโลก


สานักงานว่าด้วยกลยุทธ์ระหว่างประเทศเพื่อการลดภัยพิบตั แิ ห่งสหประชาชาติ (UNISDR)

----------------------------------------------------------------------------------------

149
เป้ าหมายที่ 13: เร่งต่อสู้กบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิ ดขึ้น
เป้ าประสงค์ 13.1: เสริ ม ภูมิ ต้ า นทานและขี ด ความสามารถในการปรับ ตัว ต่ อ อัน ตรายและภัย พิ บ ตั ิ ท าง
ธรรมชาติ ที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศในทุกประเทศ

ตัวชี้วดั 13.1.2: จานวนประเทศที่ ใช้และดาเนิ นการตามยุทธศาสตร์ของประเทศ ด้านการลดความเสี่ยงอัน


เนื่ องมาจากภัยพิ บตั ิ ซึ่ งสอดคล้องกับกรอบแผนงานเซ็นไดด้านการลดความเสี่ยงอันเนื่ องมาจากภัยพิ บตั ิ
พ.ศ. 2558-2573

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: สานักงานว่าด้วยกลยุทธ์ระหว่างประเทศเพื่อการลดภัยพิบตั ิแห่งสหประชาชาติ (United Nations
International Strategy for Disaster Reduction: UNISDR)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ไม่มี

[a] คณะทางานปลายเปิ ดของผูเ้ ชีย่ วชาญระหว่างรัฐบาล (Open-Ended Intergovernmental Expert Working Group:
OEIWG) ว่าด้วยตัวชี้วดั และคาอธิบายที่เกี่ยวข้องกับการลดความเสี่ยงจากภัยพิบตั ทิ จ่ี ดั ตัง้ ขึน้ โดยที่สมัชชาใหญ่แห่ง
สหประชาชาติ (มติ 69/284) กาลังพัฒนาชุดของตัวชีว้ ดั เพื่อวัดความก้าวหน้าระดับโลกในการดาเนินการตามกรอบการ
ดาเนินงานเซนได (Sendai Framework) ซึ่งตัวชี้วดั เหล่านี้จะสะท้อนข้อตกลงในตัวชี้วดั ตามกรอบเซนไดเมื่อเสร็จ
สมบูรณ์

หลักการและเหตุผล:
ตัว ชี้ว ัด จะเป็ น ตัว เชื่อ มระหว่ า ง SDG และกรอบการด าเนิ น งานเซนไดเพื่อ ลดความเสี่ย งจากภัย พิบ ัติ (Sendai
Framework for Disaster Risk Reduction) การเพิ่มจานวนรัฐบาลระดับชาติท่ยี อมรับและนากลยุทธ์ระดับชาติและ
ระดับ ท้อ งถิ่น ในการลดความเสี่ย งจากภัย พิบ ัติ (Disaster Risk Reduction: DRR) มาใช้อ ัน เป็ น สิ่ง ที่ก รอบเซนได
เรียกร้อง จะนาไปสู่การพัฒนาทีย่ ั ่งยืนทัง้ ทางมิตเิ ศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อมและสังคม

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
การติดตามกรอบการปฏิบตั กิ ารเฮียวโก (HFA Monitor) เริม่ ต้นในปี พ.ศ. 2550 และเมื่อเวลาผ่า นไปจานวนประเทศที่
รายงานไปยัง UNISDR เพิม่ ขึน้ จาก 60 ประเทศ ในปี พ.ศ. 2550 เป็ นมากกว่า 140 ประเทศ โดยทีป่ ระเทศเหล่านี้ใน
ขณะนี้กาลังดาเนินการประเมินความก้าวหน้าของประเทศตนเองโดยสมัครใจในการนากรอบปฏิบตั กิ ารเฮียวโก (Hyogo
Framework for Action: HFA) ไปปฏิบตั ิ ในช่วงการรายงานผล 4 ครัง้ จนถึงปี พ.ศ. 2558 HFA Monitor ได้สร้างแหล่ง
เก็บข้อมูลทีใ่ หญ่ทส่ี ุดในโลกเกีย่ วกับนโยบาย DRR ระดับชาติ สิง่ ทีจ่ ะมาแทน HFA นัน้ เดิมเรียกว่า การติดตามเซนได
(Sendai Monitor) นัน้ อยู่ระหว่างการพัฒนาและจะแจ้งให้ทราบตามคาแนะนาของ OEIWG คาดว่าเส้นฐานของปี พ.ศ.
2558 คาดว่าจะจัดทาขึน้ ในปี พ.ศ. 2559-2560 ซึ่งจะช่วยอานวยความสะดวกในการรายงานความคืบหน้าในการบรรลุ
เป้ าหมายทีเ่ กีย่ วข้องของทัง้ กรอบเซนไดและ SDGs

150
สมาชิกของทัง้ OEIWG และ IAEG-SDG ได้ระบุไว้ว่าไม่แนะนาให้ใช้ตวั ชี้วดั ที่นับจานวนประเทศเพียงอย่ างเดียวแต่
ส่งเสริมให้ใช้ตวั ชีว้ ดั ทีว่ ดั ความก้าวหน้าในช่วงเวลาหนึ่งแทน นอกเหนือจากการพิจารณาของ OEIWG และ IAEG แล้ว
UNISDR ยังเสนอวิธกี ารคานวณทีอ่ นุ ญาตให้มกี ารติดตามการปรับปรุงในกลยุทธ์ DRR ระดับชาติและระดับท้องถิน่
เมื่อเวลาผ่านไป วิธกี ารเหล่านี้มตี งั ้ แต่ก ารประเมินเชิงปริมาณอย่างง่าย ๆ โดยนับจานวนกลยุทธ์เหล่านี้ ไปจนถึงการ
วัดเชิงคุณภาพของการเข้ากันกับกรอบเซนได รวมถึงประชากรทีค่ รอบคลุมภายใต้กลยุทธ์ทอ้ งถิน่ นัน้

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
หมายเหตุ: ระเบียบวิธีการคานวณสาหรับตัวชี้ว ัดหลายตัว นัน้ มีค วามครบถ้ว นมากและเนื้อหายาวมาก (ทัง้ หมด
ประมาณ 180 หน้า) และไม่ได้อยู่ในขอบเขตของ Metadata นี้ UNISDR เลือกที่จะใช้อ้างถึงผลลัพธ์ของคณะทางาน
ระหว่างรัฐบาล (OEIWG) ซึง่ มีวธิ กี ารอย่างละเอียดสาหรับตัวชีว้ ดั และตัวชีว้ ดั ย่อยแต่ละตัว

ข้อมูลล่าสุดของวิธนี ้สี ามารถหาดูได้ท:่ี


http://www.preventionweb.net/documents/oiewg/Technical%20Collection%20of%20Concept%20Notes%20on%
20Indicators.pdf

สรุปอย่างสัน้ :

รวมข้อมูลจากรายงานความคืบหน้าแห่งชาติของการติดตามเซนได

การจาแนกข้อมูล:
จากประเทศ
จากเมือง (ประยุกต์ใช้หน่วยการบริหารจัดการภายในประเทศ)

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
ในการติดตามเซนได (Sendai Monitor) ซึ่งจะดาเนินการเป็ นการประเมินตนเองโดยสมัครใจเช่นเดียวกับการติดตาม
กรอบการปฏิบตั กิ ารเฮียวโก (HFA Monitor) ค่าทีข่ าดหายไปและ 0 หรือไม่มคี ่าจะถือว่าเท่ากัน
ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ไม่มี

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ดูได้จากหัวข้อวิธกี ารคานวณ

ค่าจะถูกคานวณตามดุลยพินิจของ OEIWG ไม่ว่าจะเป็ นค่าเฉลีย่ เชิงเส้นของดัชนีทอ่ี ธิบายไว้ในวิธกี ารคานวณหรือเป็ น


ค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักของดัชนีคณ
ู จานวนประชากรของประเทศ หารด้วยประชากรโลก

151
สาเหตุข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ไม่มฐี านข้อมูลส่วนกลางที่รวบรวมข้อมูลนโยบาย DRR นอกเหนือจาก HFA Monitor และ Sendai Monitor ทีร่ บั ช่วง
ต่อมา

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
รายงานความก้าวหน้าแห่งชาติของการติดตามเซนได (Sendai Monitor) ทีร่ ายงานต่อ UNISDR

กระบวนการเก็บข้อมูล:
เจ้าหน้าทีท่ ท่ี างานร่วมกันในระดับประเทศจะจัดทารายงานความก้าวหน้าแห่งชาติของ Sendai Monitor

----------------------------------------------------------------------------------------

152
ั ่ น ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม
เป้ าหมายที่ 16: ส่งเสริ มสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยงยื
และสร้างสถาบันที่มีประสิ ทธิ ผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
เป้ าประสงค์ 16.1: ลดความรุนแรงทุ ก รูป แบบและอัต ราการตายที่ เ กี่ ย วข้ อ งในทุ ก แห่ ง ให้ ล ดลงอย่ า งมี
นัยสาคัญ

ตัวชี้วดั 16.1.1: จานวนเหยื่อของการฆาตกรรมโดยเจตนา ต่อจานวนประชากร 100,000 คน จาแนกตามเพศ


และอายุ

ข้อมูลเชิงสถาบัน
องค์กร: สานักงานว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Office on Drugs and Crime: UNODC)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ตัวชีว้ ดั ทีถ่ ูกนิยามเป็ นจานวนรวมของผูท้ ต่ี กเป็ นเหยื่อของการฆาตกรรมโดยเจตนาหารด้วยประชากรทัง้ หมดแสดงเป็ น
ต่อจานวนประชากร 100,000 คน

การฆาตกรรมโดยเจตนา หมายถึงการตายอย่างผิดกฎหมายซึง่ กระทาโดยบุคคลทีม่ เี จตนาทีจ่ ะก่อให้เกิดการเสียชีวติ


หรือบาดเจ็บสาหัส (ที่มา: มาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจาแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ ,
ICCS 2015); ประชากร หมายถึงประชากรทัง้ หมดในประเทศทีก่ าหนดในปี นนั ้ ๆ

หลักการและเหตุผล:
ตัวชี้วดั นี้ใช้กันอย่างแพร่หลายในระดับประเทศและระหว่างประเทศเพื่อวัดอาชญากรรมที่รุนแรงที่สุด และยังบ่งชี้
โดยตรงถึงการขาดความปลอดภัย ความปลอดภัยจากความรุนแรงเป็ นสิง่ ทีจ่ าเป็ นลาดับแรกสาหรับบุคคลทีจ่ ะสามารถ
มีชวี ติ ทีป่ ลอดภัยและมีชวี ติ ชีวา และสาหรับสังคมและเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาอย่างเสรี คดีฆาตกรรมโดยเจตนาเกิดขึน้
ในทุกประเทศทัวโลกและตั
่ วชีว้ ดั นี้สามารถปรับใช้ได้ทวโลก
ั่

การติดตามการฆาตกรรมโดยเจตนามีความจาเป็ นต่อการประเมินสาเหตุ ปั จจัยขับเคลื่อน ผลทีต่ ามมา และเพื่อพัฒนา


มาตรการป้ องกันที่มีประสิทธิภาพในระยะยาว หากมี การจาแนกข้อมูลอย่างเหมาะสม (ตามที่แนะนาในมาตรฐาน
ระหว่างประเทศว่าด้วยการจาแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ (International Crime Classification
for Statistical Purposes - ICCS) ตัวชี้วดั สามารถระบุประเภทของความรุนแรงทีเ่ กี่ยวข้องกับคดีฆาตกรรม: ระหว่าง
บุคคล (รวมถึงความรุนแรงทีเ่ กีย่ วข้องกับคู่ครองและครอบครัว) อาชญากรรม (รวมถึงองค์กรอาชญากรรมและรูปแบบ
ของอาชญากรรมอื่น ๆ) และสังคมการเมือง (รวมถึงการก่อการร้าย อาชญากรรมทีเ่ กิดจากความเกลียดชัง)

แนวคิ ด:
คดีฆาตกรรมโดยเจตนาของ ICCS หมายถึง “การเสียชีวติ โดยมิชอบด้วยกฎหมายซึ่งกระทาโดยบุคคลทีม่ เี จตนาทีจ่ ะ
ทาให้เสียชีวติ หรือได้รบั บาดเจ็บสาหัส ” คาจากัดความนี้มอี งค์ประกอบสามประการที่บ่งบอกถึงการฆ่าคนโดยเจตนา
ฆ่า:
1. การฆ่าคนโดยบุคคลอื่น (องค์ประกอบเป้ าหมาย)

153
2. เจตนาของผูก้ ระทาผิดในการฆ่าหรือทาร้ายผูบ้ าดเจ็บอย่างจริงจัง (องค์ประกอบอัตวิสยั )
3. ความไม่ชอบด้วยกฎหมายของการฆ่าซึง่ หมายความว่ากฎหมายพิจารณาผูก้ ระทาความผิดทีต่ อ้ งรับผิดชอบต่อการ
เสียชีวติ โดยมิชอบด้วยกฎหมาย (องค์ประกอบตามกฎหมาย)

เพื่อวัตถุประสงค์ทางสถิติ คาจากัดความได้ระบุว่า การสังหารทัง้ หมดทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์สามข้อข้างต้นควรได้รบั การ


พิจารณาว่าเป็ นการฆาตกรรมโดยเจตนา โดยไม่คานึงถึงคานิยามทีใ่ ห้ไว้โดยกฎหมายหรือแนวปฏิบตั ขิ องประเทศ

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ICCS ให้คาอธิบายทีช่ ดั เจนเกี่ยวกับคาจากัด ความของการฆาตกรรมโดยเจตนา โดยระบุว่าการฆ่าต่อไปนี้รวมอยู่ใน
การฆาตกรรม:
- ฆาตกรรม
- ฆ่าเพื่อเกียรติ
- การทาร้ายร่างกายอย่างรุนแรงทีน่ าไปสู่การตาย
- การตายอันเป็ นผลมาจากการกระทาของผูก้ ่อการร้าย
- การฆ่าทีเ่ กีย่ วข้องกับสินสอดทองหมัน้
- การวางยาฆ่า
- การฆ่าทารก
- การฆาตกรรมโดยสมัครใจ
- วิสามัญฆาตกรรม
- การสังหารทีเ่ กิดจากการใช้กาลังมากเกินไปโดยเจ้าหน้าทีบ่ งั คับใช้กฎหมาย/เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ

นอกจากนี้ ICCS ยังมีขอ้ บ่งชี้ว่าจะแยกความแตกต่างระหว่างคดีฆาตกรรมโดยเจตนา การฆ่าทีเ่ กี่ยวข้องโดยตรงกับ


สงคราม/ความขัดแย้งและการสังหารอื่น ๆ ซึง่ เท่ากับอาชญากรรมสงคราม

ข้อ เท็จ จริง ที่ว่ า ข้อ มูลการฆาตกรรมมัก เกิด จากแหล่ ง ข้อ มู ลสองแห่ ง ที่แ ยกกัน และเป็ น เอกเทศในระดับ ประเทศ
(กระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาและสาธารณสุข) คือลักษณะเฉพาะของตัวชีว้ ดั นี้ เนื่องจากการเปรียบเทียบแหล่งข้อมูล
ทัง้ สองเป็ นเครื่องมือในการประเมินความแม่นยาของข้อมูลระดับประเทศ โดยปกติแล้วสาหรับประเทศทีม่ ขี อ้ มูลมาจาก
ทัง้ สองแหล่งที่มา ระดับความสอดคล้องกันเป็ นอย่างดีระหว่างแหล่งข้อมูลทัง้ สองแหล่งจะถูกบันทึกไว้ (อ้างอิงจาก
UNODC การศึกษาทัวโลกเกี ่ ย่ วกับการฆาตกรรม 2013)

ข้อมูลเกี่ยวกับคดีฆาตกรรมทีร่ วบรวมจากหน่ วยงานด้านสาธารณสุขของรัฐนัน้ ได้รบั การชีน้ าจากนานาชาติให้จาแนก


ประเภทของโรค (ICD-10) ซึง่ ให้คาจากัดความของ “การตายโดยการถูกทาร้าย” ใกล้เคียงกับคาจากัดความของการฆ่า
(คาจากัดความจาก ICCS)

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
ตัวชีว้ ดั นี้คานวณจากจานวนเหยื่อการฆาตกรรมโดยเจตนาทีบ่ นั ทึกไว้ในปี นนั ้ ๆ หารด้วยจานวนประชากรทัง้ หมดในปี
เดียวกันแล้วคูณด้วย 100,000

154
ในหลายประเทศ มีการจัดทาข้อมูลสองชุดแยกกันเกีย่ วกับการฆาตกรรมโดยเจตนาตามลาดับจากกระบวนการยุตธิ รรม
ทางอาญาและระบบสาธารณสุข/ทะเบียนราษฎร์ เมื่อปรากฏ ตัวเลขจากแหล่งข้อมูลทัง้ สองจะถูกรายงาน ข้ อมูล
ประชากรจะได้มาจากการประมาณการประจาปี ทจ่ี ดั ทาโดยแผนกประชากรของสหประชาชาติ

การจาแนกข้อมูล:
การกระจายข้อมูลทีแ่ นะนาสาหรับตัวชีว้ ดั นี้คอื :
- เพศและอายุของเหยื่อและผูก้ ระทาความผิด (ผูต้ อ้ งสงสัย)
- ความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่อและผูก้ ระทาความผิด (คู่ครองทีใ่ กล้ชดิ สมาชิกในครอบครัวคนอื่น ๆ คนรูจ้ กั ฯลฯ )
- วิธกี ารของการกระทาผิด (อาวุธปื น วัตถุท่อื ฯลฯ )
- บริบทสถานการณ์ แรงจูงใจตามสถานการณ์ (อาชญากรรมจัดฉาก, ความรุนแรงของคู่ครองทีใ่ กล้ชดิ และอื่น ๆ )

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
WHO จัดทาค่าประมาณการสาหรับประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลระดับชาติเกีย่ วกับการฆาตกรรมจากกระบวนการยุตธิ รรมทาง
อาญาหรือจากการสาธารณสุข / ทะเบียนราษฎร์ ค่าประมาณการเหล่านี้จะใช้เมื่อรวบรวมชุดข้อมูลทัวโลกแล้
่ วมาผลิต
ค่าประมาณการของค่าที่หายไป (วิธกี ารหาค่า ดูได้จาก รายงานสถานะทัวโลก ่ WHO-UNDP-UNODC เกี่ยวกับการ
ป้ องกันการใช้ความรุนแรงปี พ.ศ. 2557)
• ระดับภูมภิ าคและระดับโลก
WHO จัดทาค่าประมาณการสาหรับประเทศทีไ่ ม่มขี อ้ มูลระดับชาติเกี่ยวกับการฆาตกรรมทัง้ จากกระบวนการยุตธิ รรม
ทางอาญาหรือจากการสาธารณสุข / ทะเบียนราษฎร์ การประเมินเหล่านี้จะใช้เมื่อรวบรวมชุดข้อมูลทัวโลกแล้
่ วมาผลิต
ค่าประมาณการสาหรับค่าทีห่ ายไป (วิธกี ารหาค่า ดูได้จาก รายงานสถานะทัวโลก่ WHO-UNDP-UNODC เกีย่ วกับการ
ป้ องกันการใช้ความรุนแรงปี พ.ศ. 2557)

UNODC และ WHO กาลังทางานร่วมกันเพื่อ พัฒนาแนวทางร่วมในการทาชุดข้อมูลร่วมของ UNODC-WHO ว่าด้วย


การฆาตกรรมในระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค และระดับโลก

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ค่าประมาณการระดับโลกและระดับภูมภิ าคคานวณจากค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของข้อมูลระดับชาติ โดยค่าถ่วงน้าหนักใช้
จานวนประชากรทีอ่ าศัยในประเทศนัน้

สาเหตุข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ความแตกต่างอาจเกิดขึน้ จากเหตุทเ่ี กิดในประเทศและจานวนการรายงานการฆาตกรรมโดยเจตนาในระดับประเทศ
เนื่องจากข้อมูลระดับชาติอาจหมายถึงการกาหนดโทษประหารระดับชาติ ในขณะทีข่ อ้ มูลทีร่ ายงานโดย UNODC มุ่งมั ่น
ทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามคานิยามของ ICCS (อนุมตั ใิ นปี พ.ศ. 2558 โดยคณะกรรมาธิการและคณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่า
ด้วยการป้ องกันอาชญากรรมและความยุตธิ รรมทางอาญา) UNODC ใช้ความพยายามเป็ นพิเศษในการนับการสังหาร
ทัง้ หมดทีต่ กอยู่ภายใต้คานิยามของ ICCS ของการฆาตกรรมโดยเจตนาขณะทีข่ อ้ มูลระดับประเทศอาจถูกรวบรวมตาม
ระบบกฎหมายของประเทศนัน้ ๆ มากกว่าการจาแนกทางสถิติ การนา ICCS ไปใช้อย่างค่อยเป็ นค่อยไปของประเทศ
นัน้ ๆ จะช่วยปรับปรุงคุณภาพและความสอดคล้องของข้อมูลระดับชาติและระดับนานาชาติ
อัตราการฆาตกรรมโดยเจตนาอาจแตกต่างกันเนื่องจากการใช้ตวั เลขประชากรทีแ่ ตกต่างกัน

155
แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
แหล่ ง ข้อ มูลสองแหล่ งที่แยกกัน ในระดับประเทศ: a) ระบบยุ ติธ รรมทางอาญา; b) สาธารณสุ ข / ทะเบีย นราษฎร
UNODC รวบรวมและเผยแพร่ขอ้ มูลจากระบบยุติธรรมทางอาญาผ่านการเก็บรวบรวมข้อมูลประจาปี ท่ยี าวนาน ซึ่ง
ได้รบั คาสั ่งจากสมัชชาสหประชาชาติ (การสารวจแนวโน้มอาชญากรรมของสหประชาชาติ , UN-CTS) WHO รวบรวม
และเผยแพร่ขอ้ มูลทีผ่ ลิตโดยการสาธารณสุข / การลงทะเบียนพลเมือง การรวบรวมข้อมูลผ่าน UN-CTS มีการจัดการ
โดยเครือข่ายกว่า 130 จุดสังเกตระดับชาติทแ่ี ต่งตัง้ โดยหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ

ปั จจุบนั ทีข่ อ้ มูลระดับชาติเกีย่ วกับการฆาตกรรมไม่สามารถหาได้จากแหล่งทีม่ าทัง้ สองประเภทข้างต้น ค่าประมาณการ


ทีจ่ ดั ทาโดย WHO จะถูกนามาใช้
UNODC และ WHO กาลังทางานร่วมกันเพื่อพัฒนาวิธกี ารในการทาชุดข้อมูลการระบุการฆาตกรรมในระดับประเทศ
ระดับภูมภิ าค และระดับโลก

กระบวนการรวบรวมข้อมูล:
ในระดับสากล ข้อมูลของการฆาตกรรมโดยเจตนาจะถูกรวบรวมโดย UNODC เป็ นปกติ โดยมาจากการรวบรวมข้อมูล
ของ UN-CTS ประจาปี ตามทีค่ ณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยการป้ องกันอาชญากรรมและความยุตธิ รรมทาง
อาญาขอให้ป ระเทศสมาชิก ทัง้ 130 ประเทศแต่ ง ตัง้ จุ ด สัง เกต UN-CTS ระดับ ชาติเ พื่อ ส่ ง ข้อ มูล UN-CTS ไปยัง
UNODC ในกรณีส่วนใหญ่ จุดสังเกตเหล่านี้คอื สถาบันระดับชาติทร่ี บั ผิดชอบการเก็บข้อมูลในด้านอาชญากรรมและ
กระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา (สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุตธิ รรม ฯลฯ ) สาหรับประเทศ
ทีไ่ ม่ได้กาหนดจุดสังเกต การขอข้อมูลจะถูกส่งไปยังภารกิจถาวรในกรุงเวียนนา เมื่อประเทศไม่รายงานต่อ UNODC จะ
มีการหาค่าจากแหล่งข้อมูลทางการอื่น ๆ เช่น เว็บไซต์ทเ่ี ชื่อถือได้ สิง่ พิมพ์หรือสิง่ สื่อสารรูปแบบอื่น ๆ การฆาตกรรมที่
ประเมินจาก WHO ปั จจุบนั จะใช้เมื่อไม่มแี หล่งข้อมูลอื่นเกี่ยวกับการฆาตกรรม เมื่อรวบรวมข้อมูลแล้วจะถูกส่งไปยัง
ประเทศนัน้ ๆ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง

เมื่อมีขอ้ มูลและข้อมูลฐานใหญ่ทเ่ี กีย่ วข้อง จะมีการปรับเปลีย่ นบางข้อมูลเพื่อให้ม ั ่นใจว่าสอดคล้องกับคานิ ยามของการ


ฆาตกรรมโดยเจตนาตามที่ ICCS กาหนดไว้ ข้อมูลระดับชาติของประเภทการฆ่าทีไ่ ด้พจิ ารณาว่าเป็ นการฆาตกรรม
โดยเจตนาโดย ICCS แล้วในขณะทีถ่ ูกจัดประเภทของอาชญากรรมทีแ่ ตกต่างกันภายในประเทศ จะถูกเพิม่ เข้าไปใน
จานวนการฆาตกรรมโดยเจตนาระดับชาติ สิง่ นี้สามารถทาได้เมื่อมีขอ้ มูลรายละเอียดเกี่ยวกับการฆ่าประเภทดังกล่าว
(เช่น การโจมตีทร่ี า้ ยแรงทีน่ าไปสู่การเสียชีวติ การฆ่าผูม้ เี กียรติ ฯลฯ )

สาหรับนโยบายการเผยแพร่ขอ้ มูลของ UNODC ข้อมูลสาหรับการตรวจสอบ SDG จะถูกส่งไปยังแต่ละประเทศเพื่อ


ปรึกษาก่อนการตีพมิ พ์เผยแพร่

----------------------------------------------------------------------------------------

156
ั ่ น ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม
เป้ าหมายที่ 16: ส่งเสริ มสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยงยื
และสร้างสถาบันที่มีประสิ ทธิ ผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
เป้ าประสงค์ 16.1: ลดความรุน แรงทุ ก รูป แบบและอัต ราการตายที่ เ กี่ ย วข้ อ งในทุ ก แห่ ง ให้ ล ดลงอย่ า งมี
นัยสาคัญ

ตัวชี้วดั 16.1.2: การเสียชี วิตที่ เกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง ต่ อจานวนประชากร 100,000 คน จาแนกตาม อายุ


เพศ และสาเหตุการตาย

ในปั จจุบนั ยังไม่มขี อ้ มูลสาหรับตัวชี้วดั นี้ และระเบียบวิธียงั อยู่ในระหว่างการพัฒนา โปรดดูขอ้ มูลจากเว็บเพจ Tier III
Work Plan

----------------------------------------------------------------------------------------

ั ่ น ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม
เป้ าหมายที่ 16: ส่งเสริ มสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยงยื
และสร้างสถาบันที่มีประสิ ทธิ ผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
เป้ าประสงค์ 16.2: ยุติการข่มเหง การแสวงหาประโยชน์ อย่างไม่ถกู ต้อง การค้ามนุษย์ และความรุนแรงและ
การทรมานทุกรูปแบบที่มีต่อเด็ก

ตัวชี้วดั 16.2.1: สัดส่วนของเด็กอายุ 1-17 ปี ที่เคยถูกทาร้ายทางร่างกาย และ/หรือข่มเหงทางจิ ตใจโดยผู้ดแู ล


ในเดือนที่ผ่านมา

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
ในปั จจุบนั สัดส่วนของเด็กอายุ 1-17 ปี ทีเ่ คยถูกทาร้ายทางร่างกาย และ/หรือถูกข่มเหงทางจิตใจโดยผูด้ ูแลในเดือนที่
ผ่านมาวัดค่าจากสัดส่วนของเด็กอายุ 1-14 ปี ทีเ่ คยถูกทาร้ายทางร่างกาย และ/หรือถูกข่มเหงทางจิตใจโดยผูด้ ูแลใน
เดือนทีผ่ ่านมา

หลักการและเหตุผล:
ในหลาย ๆ ครัง้ พบว่า เด็กทีถ่ ูกเลีย้ งดูมาด้วยวิธกี ารบังคับทางกายและการว่ากล่าวด้วยคาพูดอย่างรุนแรง เพื่อเป็ นการ
ลงโทษต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและสนับสนุ นให้มพี ฤติกรรมตามทีต่ ้องการ การเลี้ยงดูโดยใช้ความรุนแรงกับเด็ก
เป็ นตัวแทนของการละเมิดสิทธิมนุ ษยชน การทาร้ายทางกายภาพและข่มเหงทางจิตใจมักจะทับซ้อนและเกิดขึ้ นพร้อม
กันในหลาย ๆ ครัง้ ก่อให้เกิดความรุนแรงทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยผลของการเลี้ยงดูโดยใช้ความรุนแรงนี้มไี ด้
ตัง้ แต่ผลทีเ่ กิดขึน้ ในทันทีและความเสียหายในระยะยาวทีเ่ ด็ก ๆ จะต้องพกพาไปด้วยเมื่อเติบโตขึน้ การเลี้ยงดูโดยใช้
ความรุนแรงถือเป็ นความรุนแรงต่อเด็กทีก่ ว้างขวางและได้รบั การยอมรับจากสังคมมากทีส่ ุด

157
แนวคิ ด:
การข่มเหงทางจิตใจในการสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (Multiple Indicator Cluster Surveys: MICS) หมายถึง การ
ตะโกน ตวาดหรือกรีดร้องไปที่ตวั เด็ก รวมทัง้ การเรียกชื่อเด็กด้วยชื่อทีน่ ่ ารังเกียจ เช่น “ไอ้โง่” หรือ “ไอ้ข้เี กียจ” การ
ลงโทษทางกายภาพ (หรือทางกาย) เป็ นการกระทาทีม่ จี ุดมุ่งหมายในการสร้างความเจ็บปวดหรือความไม่สบายทาง
กาย แต่ไม่ก่อให้เกิดบาดแผล การลงโทษทางกายภาพ อาทิ การเขย่าตัวเด็ก การตีหรือการตบไปทีม่ อื แขน ขา การตี
ทีก่ ้นหรือบริเวณอื่น ๆ ของร่างกายด้วยของแข็ง การตบหรือตีไปทีก่ ้นด้วยมือเปล่า การตบไปทีใ่ บหน้า ศีรษะ หรือหู
รวมทัง้ การทุบตีซ้าแล้วซ้าเล่าอย่างรุนแรงทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
ในการสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มรอบที่ 3 และ 4 ได้กาหนดให้ตวั ชี้วดั มาตรฐานหมายถึง ร้อยละของเด็กที่มอี ายุ
ระหว่าง 2-14 ปี ทม่ี ปี ระสบการณ์การถูกเลี้ยงดูโดยใช้ความรุนแรงในรูปแบบต่าง ๆ (การทาร้ายทางร่างกาย และ/หรือ
ข่มเหงทางจิตใจ) ในเดือนที่ผ่านมา และเมื่อเริม่ การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มในรอบที่ 5 (MICS5) ได้มกี าร
ขยายการจับภาพประสบการณ์ ของเด็กร่วมกับการลงโทษทางวินัยในกลุ่มเด็กอายุ 1-14 ปี ดังนัน้ ข้อมูลที่มีอยู่ใน
ปั จจุบนั จึงยังไม่ครอบคลุมกลุ่มอายุตามตัวชีว้ ดั ของเป้ าหมายการพัฒนาทีย่ ั ่งยืนทัง้ หมด เนื่อ งจากยังไม่มกี ารเก็บข้อมูล
ในกลุ่มวัยรุ่นทีม่ อี ายุระหว่าง 15-17 ปี ซึง่ ยังต้องมีการทางานด้านระเบียบวิธเี พื่อระบุรายการเพิม่ เติมเกีย่ วกับการเลี้ยง
ดูวยั รุ่น

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนเด็กอายุ 1-17 ปี ทีเ่ คยถูกทาร้ายทางร่างกาย และ/หรือถูกข่มเหงทางจิตใจโดยผูด้ แู ลในเดือนทีผ่ ่านมา หารด้วย
จานวนเด็กอายุ 1-17 ปี ในกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษาทัง้ หมด คูณด้วยจานวน 100

ตัวชี้วดั แทน
จานวนเด็กอายุ 1-14 ปี ทีเ่ คยถูกทาร้ายทางร่างกาย และ/หรือถูกข่มเหงทางจิตใจโดยผูด้ แู ลในเดือนทีผ่ ่านมา หารด้วย
จานวนเด็กอายุ 1-14 ปี ในกลุ่มประชากรทีศ่ กึ ษาทัง้ หมด คูณด้วยจานวน 100

การจาแนกข้อมูล:
เพศ อายุ รายได้ สถานทีอ่ ยู่อาศัย สถานทีต่ งั ้ ตามภูมศิ าสตร์

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
เมื่อข้อมูลสาหรับประเทศหายไปทัง้ หมด ทางองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะไม่เผยแพร่ค่าการประมาณการ
ในระดับประเทศ

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ค่าเฉลี่ยระดับภูมิภาคจะถูกนามาประยุกต์ใช้กับประเทศซึ่งอยู่ในภูมภิ าคเดียวกันและมีขอ้ มูลบางส่วนหายไปเพื่อ
วัต ถุ ป ระสงค์ ใ นการค านวณข้อ มู ล ที่ร วบรวมได้ใ นระดับ ภู มิ ภ าคแต่ จ ะไม่ มีก ารเผยแพร่ ค่ า การประมาณการใน

158
ระดับประเทศ การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคจะได้รบั การเผยแพร่กต็ ่อเมื่อมีขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วข้องกับจานวนประชากร
ตามกลุ่มอายุทก่ี าหนดไว้เกินกว่าร้อยละ 50 ของทัง้ ภูมภิ าค

ผลรวมข้อมูลในระดับโลก คือ ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของทุกประเทศทีม่ ขี อ้ มูล ผลรวมข้อมูลในระดับโลกจะถูกเผยแพร่


โดยไม่คานึงถึงความครอบคลุมของประชากร แต่จะมีการบ่งชี้อย่างชัดเจนถึงจานวนประเทศและสัดสวนของกลุ่ม
ประชากรทีเ่ กีย่ วข้องทีอ่ ยู่ในชุดข้อมูลดังกล่าว

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ผลรวมข้อมูลระดับภูมภิ าค คือ ค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักร่วมกับทุกประเทศในภูมภิ าคเดียวกัน

สาเหตุของข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ค่าประมาณการระดับโลกทีถ่ ูกรวบรวมและแสดงผลในระดับโลกไว้มาจากข้อมูลในระดับประเทศโดยตรง โดยไม่มกี าร
จัดเรียบเรียงหรือคานวณใหม่แต่อย่างใด

วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
ประเทศต่าง ๆ สามารถเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็กได้จากการสารวจรายครัวเรือน อาทิ การสารวจพหุดชั นีแบบ
จัดกลุ่มที่สนับสนุ นโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือ การสารวจสุขภาพและประชากร ในบางประเทศ
ข้อมูลดังกล่าวจะถูกรวบรวมไว้ในการสารวจรายครัวเรือนระดับประเทศตัวอื่น ๆ

การรับประกันคุณภาพ:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติรกั ษาฐานข้อมูลระดับโลกทีเ่ กี่ยวกับ วิธกี ารเลี้ยงดูเด็กทีใ่ ช้สาหรับเป้ าหมายการ
พัฒนาอย่างยั ่งยืนและรายงานทีเ่ ป็ นทางการอื่น ๆ ทัง้ นี้ก่อนทีจ่ ะมีการรวบรวมข้อมูลใด ๆ ไว้ในฐานข้อมูลนัน้ จะต้อง
ได้รบั การตรวจสอบจากผูเ้ ชีย่ วชาญทางเทคนิคที่สานักงานใหญ่ขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติเพื่อความ
ถูกต้องตรงกันและคุณภาพของข้อมูลทัง้ หมด การตรวจสอบนี้จะเป็ นไปตามเกณฑ์กาหนดของวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง
หลักประกันว่าข้อมูลดังกล่าวทีจ่ ะนาไปไว้ในฐานข้อมูลนัน้ มีความทันสมัยและเชื่อถือได้ อาทิ แหล่งข้อมูลจะต้องมีการ
จัดทาอย่างเหมาะสม ค่าของข้อมูลจะต้องสามารถเป็ นตัวแทนของประชากรในระดับประเทศได้ ข้อมูลผ่านการเก็บ
รวบรวมด้วยระเบียบวิธที เ่ี หมาะสม (เช่น การสุ่มตัวอย่าง) ค่าของข้อมูลทีไ่ ด้จะต้องมาจากกลุ่มตัวอย่างทีม่ ากเพียงพอ
ข้อมูลมีความเข้ากันได้กบั นิยามตัวชี้วดั ทีเ่ ป็ นมาตรฐานรวมถึงกลุ่มอายุ และแนวคิด ตามขอบเขตทีเ่ ป็ นไปได้ ข้อมูลมี
ความเหมาะสมตามแนวโน้มและมีความสอดคล้องกับการประมาณการทีเ่ ผยแพร่/รายงานตามตัวชีว้ ดั ก่อนหน้านี้

เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้จดั การหารือประจาปี ร่วมกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั เกีย่ วกับตัวชีว้ ดั การ


พัฒนาอย่างยั ่งยืนทีเ่ กี่ยวข้องกับเด็กทัง้ 10 ตัวชี้วดั ในบทบาทการคุม้ ครองทัง้ แบบเดีย่ วและแบบร่วม ร่วมกับกฎกติกา
ในระดับโลก และบรรทัดฐานพันธกรณีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กภายในปี พ.ศ. 2573 ซึ่งรวมถึงตัวชี้วดั 16.2.1 เค้าโครง
รายละเอียดกระบวนการหารือระดับประเทศอยู่ดา้ นล่างของเอกสาร

159
แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การสารวจรายครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มทีส่ นับสนุ นโดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้
ทาการเก็บข้อมูลตามตัวชี้วดั นี้ ในกลุ่มประเทศทีม่ รี ายได้ระดับต่าและระดับกลาง ตัง้ แต่เมื่อประมาณปี 2553 ในบาง
ประเทศ ข้อมูลดังกล่าวจะถูกรวบรวมไว้ในการสารวจรายครัวเรือนระดับประเทศตัวอื่น ๆ

การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม (MICS) ซึง่ เป็ นแหล่งข้อมูลแหล่งใหญ่ทม่ี ขี อ้ มูลซึง่ สามารถนามาเปรียบเทียบได้ ได้รวม


เอาแหล่งข้อมูลทีร่ วมเอาเกณฑ์เกี่ยวกับวิธกี ารอบรมเลี้ยงดูเด็กไว้ดว้ ย เกณฑ์ทพ่ี ฒ ั นาขึน้ เพื่อใช้ในการสารวจพหุดชั นี
แบบจัดกลุ่ม ถูกปรับมาจากแบบวัดลาดับขัน้ กลยุทธ์ความขัดแย้งฉบับพ่อแม่ -ลูก (CTSPC) ที่เป็ นเครื่องมือวัดทาง
ระบาดวิทยาที่มมี าตรฐานและได้รบั การตรวจสอบแล้วว่าเป็ นเครื่องมือที่ได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวางในหลาย
ประเทศทัวโลก
่ ตลอดจนกลุ่มประเทศทีม่ รี ายได้สูง การสารวจพหุ ดชั นีแบบจัดกลุ่มได้รวมเอาชุดคาถามมาตรฐานที่
ครอบคลุมทัง้ รูปแบบการอบรมทีไ่ ม่ใช้ความรุนแรง การทาร้ายทางร่างกาย และการข่มเหงทางจิตใจต่อเด็กเอาไว้ดว้ ย
โดยจะเก็บข้อมูลจากเด็กทีม่ อี ายุระหว่าง 1-14 ปี ขณะทีก่ ารสารวจสุขภาพและประชากรบางตัวก็ได้มกี ารนาแบบวัดว่า
ด้วยการอบรมเลีย้ งดูเด็กทัง้ ฉบับมาตรฐานหรือฉบับปรับปรุงทีพ่ บในการสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่มเอาไว้ดว้ ยเช่นกัน

กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจดั กระบวนการหารืออย่างกว้างขวางเพื่อรวบรวมและประเมินผลข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลระดับประเทศ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงฐานข้อมูลระดับโลกให้ทนั สมัยกับสถานการณ์ของเด็ก
จนกระทังปี ่ พ.ศ. 2560 กลไกทีอ่ งค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติใช้สาหรับประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้ าที่รฐั
ระดับประเทศเพื่อสร้างหลักประกันในคุณภาพของข้อมูลและความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับสากลตาม
ตัวชีว้ ดั หลักทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็กดังทีอ่ ยู่ในการรายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมาย (CRING)

เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ได้จดั กระบวนการหารือในระดับประเทศครัง้ ใหม่ขน้ึ ร่วมกับ


เจ้าหน้าทีร่ ฐั ภายในประเทศเกี่ยวกับตัวชี้วดั การพัฒนาอย่างยั ่งยืนระดับโลกในประเด็นด้านเด็ก ในฐานะการคุม้ ครอง
เดี่ยวหรือร่วมเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานและคาแนะนาการเคลื่อนไหวของข้อมูลสาหรับตัวชี้วดั การพัฒนาอย่าง
ยั ่งยืนระดับโลก ทีใ่ ห้ความสาคัญกับความเข้มงวดทางเทคนิค ความเป็ นเจ้าของของแต่ละประเทศ และการใช้ขอ้ มูลและ
สถิติ กระบวนการหารือ เรีย กร้องข้อ เสนอแนะโดยตรงจากสานั ก งานสถิติแ ห่ง ชาติ รวมทัง้ หน่ ว ยงานรัฐอื่น ๆ ที่
รับผิดชอบด้านสถิติอย่างเป็ นทางการ การรวบรวมตัวชี้วดั ตลอดจนแหล่งข้อมูลที่ใช้ และการประยุกต์ใช้
นิยาม ประเภท และระเบียบวิธที ่เี ห็นชอบร่วมกันในระดับสากลกับข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ แต่ละประเทศจะให้การ
ตรวจสอบและให้ขอ้ เสนอแนะว่าสามารถยอมรับในข้อมูลเฉพาะต่าง ๆ หรือไม่ พร้อมทัง้ แจ้งเหตุผลในกรณีทไ่ี ม่สามารถ
ยอมรับข้อมูลได้ดว้ ย รายละเอียดเกีย่ วกับกระบวนการหารือสามารถหาได้ในบันทึกคาแนะนา

----------------------------------------------------------------------------------------

160
ั ่ น ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม
เป้ าหมายที่ 16: ส่งเสริ มสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยงยื
และสร้างสถาบันที่มีประสิ ทธิ ผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
เป้ าประสงค์ 16.2: ยุติการข่มเหง การแสวงหาประโยชน์ อย่างไม่ถกู ต้อง การค้ามนุษย์ และความรุนแรงและ
การทรมานทุกรูปแบบที่มีต่อเด็ก

ตัวชี้วดั 16.2.3: สัดส่วนของวัยรุ่นหญิ งและชายอายุ 18-29 ปี ที่เคยถูกกระทาความรุนแรงทางเพศก่อนอายุ 18


ปี

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
สัดส่วนของวัยรุ่นหญิงและชายอายุ 18-29 ปี ทเ่ี คยถูกกระทาความรุนแรงทางเพศก่อนอายุ 18 ปี

หลักการและเหตุผล:
ความรุนแรงทางเพศถือเป็ นเหตุความไม่สงบทีส่ ่งผลให้เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในกลุ่มเด็ก ๆ ประสบการณ์ความ
รุนแรงทางเพศในวัยเด็กขัดขวางพัฒนาการในทุกด้าน ทัง้ ทางกายภาพ จิตใจ/อารมณ์ และสังคม นอกจากการได้รบั
บาดเจ็บ ทางกาย นั ก วิจ ัย ยัง พบว่ า การกระท าทารุ ณกรรมทางเพศต่ อ เด็ ก มีค วามเกี่ย วข้อ งอย่ า งมากต่ อ ผลทาง
สุขภาพจิตทีต่ ามมา และลักษณะพฤติกรรมทีร่ ุนแรงในวัยผูใ้ หญ่

ประเด็นนี้มคี วามเกีย่ วข้องในระดับสากลและเป็ นตัวชีว้ ดั ทีใ่ ห้ภาพความรุนแรงทีช่ ดั เจนต่อเด็กรูปแบบหนึ่ง สิทธิของเด็ก


ทีจ่ ะได้รบั การปกป้ องคุม้ ครองจากความรุนแรงในทุกรูปแบบได้รบั การบรรจุไว้ในอนุ สญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิ
เด็กและพิธสี ารเลือกรับภายใต้อนุสญ ั ญาดังกล่าว

แนวคิ ด:
นิยามจากข้อวินิจฉัยที่ 13 ของอนุสญ
ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก

ความรุนแรงทางเพศประกอบด้วยกิจกรรมทางเพศใด ๆ ที่กระทาโดยผู้ใหญ่ต่อเด็กซึ่งเป็ นการละเมิด การปกป้ อง


คุม้ ครองทีเ่ ด็กต้องได้รบั ตามกฎหมายอาญา ได้แก่ (a) การชักนาหรือการบังคับเด็กให้มสี ่วนเกี่ยวข้องในกิจกรรมทาง
เพศทีผ่ ดิ กฎหมายหรือมีผลเสียต่อจิตใจ (b) การใช้เด็กเพื่อแสวงประโยชน์ทางเพศในเชิงการค้า (c) การใช้เด็กในภาพ
หรือเสียงทีม่ ภี าพการทารุณกรรมทางเพศต่อเด็ก และ (d) การค้าประเวณีเด็ก การเป็ นทาสทางเพศ การแสวงประโยชน์
ทางเพศในการท่องเทีย่ วและการเดินทาง การค้ามนุ ษย์ดว้ ยวัตถุประสงค์ในการแสวงประโยชน์ทางเพศ (ภายในหรือ
ระหว่าง 2 ประเทศ) การขายเด็กเพื่อวัตถุประสงค์ทางเพศและการบังคับให้แต่งงาน กิจกรรมทางเพศทีก่ ระทาระหว่าง
เด็กกับเด็กก็ยงั ถือว่าเป็ นการทารุณกรรมทางเพศได้หากผูก้ ระทามีอายุและพละกาลังมากกว่าเหยื่อ คุกคามหรือกดดัน
เหยื่อด้วยวิธกี ารต่าง ๆ กิจกรรมทางเพศทีไ่ ด้รบั ความยินยอมระหว่างเด็กจะไม่ถอื ว่าเป็ นการกระทาทารุณกรรมทาง
เพศในกรณีทอ่ี ายุของเด็กทัง้ คู่สงู กว่าเกณฑ์อายุขนั ้ ต่าทีก่ าหนดโดยประเทศสมาชิกแห่งอนุสญ
ั ญาฯ

161
ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
การหาได้และมีอยู่ของข้อมูลทีส่ ามารถเปรียบเทียบได้ยงั คงเป็ นข้อท้าทายสาคัญในประเด็นนี้ เนื่องด้วยการออกแบบ
และใช้ระเบียบวิธใี นการเก็บข้อมูลทีแ่ ตกต่างกัน การนิยามความหมายของความรุนแรงทางเพศ ตัวอย่างและคาถาม
เพื่อให้ได้ขอ้ มูลทีเ่ ป็ นจริง ข้อมูลเกีย่ วกับประสบการณ์ของเด็กผูช้ ายในประเด็นนี้ยงั มีน้อย ข้อท้าทายอีกประการหนึ่งใน
ประเด็นนี้ คือ การรายงานทีต่ ่ากว่าความเป็ นจริง โดยเฉพาะอย่างยิง่ การรายงานเกีย่ วกับประสบการณ์ความรุนแรงทาง
เพศในกลุ่มเด็กผูช้ ายและผูช้ าย

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนของวัยรุ่นหญิงและชายอายุ 18-29 ปี ทเ่ี คยถูกกระทาความรุนแรงทางเพศก่อนอายุ 18 ปี หารด้วย จานวนของ
วัยรุ่นหญิงและชายอายุ 18-29 ปี ตามลาดับในกลุ่มประชากรทีท่ าการศึกษาทัง้ หมด คูณด้วยจานวน 100

การจาแนกข้อมูล:
เพศ อายุ รายได้ สถานทีอ่ ยู่อาศัย ทีต่ งั ้ ทางภูมศิ าสตร์ สถานภาพสมรส การศึกษา

การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
เมื่อข้อมูลสาหรับประเทศหายไปทัง้ หมด ทางองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะไม่เผยแพร่ค่าการประมาณการ
ในระดับประเทศ
ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ค่าเฉลี่ยระดับภูมิภาคจะถูกนามาประยุกต์ใช้กับประเทศซึ่งอยู่ในภูมภิ าคเดียวกันและมีขอ้ มูลบางส่วนหายไปเพื่อ
วัต ถุ ป ระสงค์ใ นการค านวณข้อ มูล ที่ร วบรวมได้ใ นระดับ ภู มิภ าค แต่ จ ะไม่ มีก ารเผยแพร่ ค่ า การประมาณการใน
ระดับประเทศ ผลรวมข้อมูลระดับภูมภิ าคจะได้รบั การเผยแพร่กต็ ่อเมื่อมีขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วข้องกับจานวนประชากรตามกลุ่ม
อายุทก่ี าหนดไว้เกินกว่าร้อยละ 50 ของทัง้ ภูมภิ าค

ผลรวมข้อมูลในระดับโลก คือ ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของทุกประเทศทีม่ ขี อ้ มูล ผลรวมข้อมูลในระดับโลกจะถูกเผยแพร่


โดยไม่คานึงถึงความครอบคลุมของประชากร แต่จะมีการบ่งชี้อย่างชัดเจนถึงจานวนประเทศและสัดสวนของกลุ่ม
ประชากรทีเ่ กีย่ วข้องทีอ่ ยู่ในชุดข้อมูลดังกล่าว

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ผลรวมข้อมูลระดับภูมภิ าค คือ ค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักร่วมกับทุกประเทศในภูมภิ าคเดียวกัน

สาเหตุข้อมูลคลาดเคลื่อน:
ค่าประมาณการระดับประเทศที่ถูกรวบรวมและแสดงผลไว้ในฐานข้อมูลเป้ าหมายการพัฒนาทีย่ ั ่งยืน ระดับโลกได้ถูก
วิเคราะห์อกี ครัง้ โดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติเพื่อให้ได้ค่าประมาณการของกลุ่มอายุมาตรฐานทีใ่ ช้ในการ
รายงาน (เช่น อายุ 18-29 ปี ) ด้วยเหตุทก่ี ลุ่มอายุดงั กล่าวไม่ได้รบั การเผยแพร่ไว้ในรายงานการสารวจอย่างเป็ นระเบียบ
แบบแผน

162
วิ ธีการและคาแนะนาสาหรับการรวบรวมข้อมูลในระดับประเทศ:
ประเทศต่าง ๆ สามารถเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์ความรุนแรงทางเพศในวัยเด็กได้จากการสารวจรายครัวเรือน
อาทิ การสารวจสุขภาพและประชากร ในบางประเทศ ข้อมูลดังกล่าวจะถูกรวบรวมไว้ในการสารวจรายครัวเรือน
ระดับประเทศตัวอื่น ๆ รวมทัง้ การสารวจเรื่องความรุนแรงโดยเฉพาะ ตัวชี้วดั นี้ให้ภาพประสบการณ์ความ รุนแรงทาง
เพศทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงวัยเด็ก (เช่น ก่อนอายุ 18 ปี ) โดยไม่คานึงถึงอายุขนั ้ ต่าทีไ่ ด้รบั การรับรองให้มเี พศสัมพันธ์ได้ตาม
กฎหมายในแต่ละประเทศ

การรับประกันคุณภาพ:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะเก็บรักษาฐานข้อมูลระดับโลกทีเ่ กีย่ วกับการความรุนแรงทางเพศในวัยเด็กทีใ่ ช้
สาหรับเป้ าหมายการพัฒนาอย่างยั ่งยืนและรายงานทีเ่ ป็ นทางการอื่น ๆ ทัง้ นี้ก่อนทีจ่ ะมีการรวบรวมข้อมูลใด ๆ ไว้ใน
ฐานข้อมูลนัน้ จะต้องได้รบั การตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญทางเทคนิคที่สานักงานใหญ่ขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่ง
สหประชาชาติเพื่อความถูกต้องตรงกันและคุณภาพของข้อมูลทัง้ หมด การตรวจสอบนี้จะเป็ นไปตามเกณฑ์กาหนดของ
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างหลักประกันว่าข้อมูลดังกล่าวทีจ่ ะนาไปไว้ในฐานข้อมูลนัน้ มีความทันสมัยและเชื่อถือได้ เกณฑ์
กาหนดต่าง ๆ เหล่านี้ ได้แก่ แหล่งข้อมูลจะต้องมีการจัดทาอย่างเหมาะสม ค่าของข้อมูลจะต้องสามารถเป็ นตัวแทนของ
ประชากรในระดับประเทศได้ ข้อมูลผ่านการเก็บรวบรวมด้วยระเบียบวิธที ่เี หมาะสม (เช่น การสุ่มตัวอย่าง) ค่าของ
ข้อมูลที่ได้จะต้องมาจากกลุ่มตัวอย่างที่มากเพียงพอ ข้อมูลมีความเข้ากันได้กบั นิยามตัวชี้วดั ทีเ่ ป็ นมาตรฐานรวมถึง
กลุ่มอายุ และแนวคิด ตามขอบเขตที่เป็ นไปได้ ข้อมูลมีความเหมาะสมตามแนวโน้ มและมีความสอดคล้องกับการ
ประมาณการทีเ่ ผยแพร่/รายงานตามตัวชีว้ ดั ก่อนหน้านี้

เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้จดั การหารือประจาปี ร่วมกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั เกีย่ วกับตัวชีว้ ดั การ


พัฒนาอย่างยั ่งยืนทีเ่ กี่ยวข้องกับเด็กทัง้ 10 ตัวชี้วดั ในบทบาทการคุม้ ครองทัง้ แบบเดีย่ วและแบบรวม ร่วมกับกฎกติกา
ในระดับโลก และบรรทัดฐานพันธกรณีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กภายในปี พ.ศ. 2573 ซึ่งรวมถึงตัวชี้วดั 16.2.3 เค้าโครง
รายละเอียดกระบวนการหารือระดับประเทศอยู่ดา้ นล่างของเอกสาร

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
การสารวจรายครัวเรือน เช่น การสารวจสุขภาพและประชากรได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวชี้วดั นี้ในกลุ่ม
ประเทศทีม่ รี ายได้น้อยและรายได้ปานกลางมาตัง้ แต่ปลายทศวรรษที่ 2533

การสารวจสุขภาพและประชากรได้รวมเอาเกณฑ์มาตรฐานทีใ่ ห้ขอ้ มูลเกี่ยวกั บรูปแบบเฉพาะของความรุนแรงทางเพศ


จานวนหนึ่ง ผูต้ อบแบบสารวจจะถูกสอบถามว่าในช่วงหนึ่งของชีวติ (ทัง้ ทีเ่ ป็ นเด็กและผูใ้ หญ่) ว่าเคยมีผอู้ ่นื ทีบ่ งั คับให้
พวกเขา – ทางกายหรือด้วยวิธอี ่นื ใด – เพื่อให้มเี พศสัมพันธ์หรือมีการกระทาทางเพศทีพ่ วกเขาไม่ตอ้ งการบ้างหรือไม่
หากคาตอบคือ “ใช่” ก็จะสอบถามถึงอายุทพ่ี วกเขาประสบกับเหตุการณ์ดงั กล่าวเป็ นครัง้ แรก ทัง้ นี้ตอ้ งทาความเข้าใจว่า
เกณฑ์ทใ่ี ช้ในการสารวจสุขภาพและประชากรนี้ มิได้ออกแบบมาเพื่อแสวงหาข้อมูลว่าด้วยความรุนแรงทางเพศในวัย
เด็กโดยเฉพาะ ในขณะทีก่ ส็ ามารถให้ขอ้ มูลทีน่ ามาใช้ในการรายงานตามตัวชีว้ ดั ที่ 16.2.3 ได้ การทางานเชิงระเบียบวิธี
ยังมีความจาเป็ นในการพัฒนาคาถามทีเ่ ป็ นมาตรฐาน ซึ่งได้รบั การออกแบบมาเพื่อวัดการถูกกระทาทารุณทางเพศใน
วัยเด็กเป็ นการเฉพาะ

163
กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจดั กระบวนการหารืออย่างกว้างขวางเพื่อรวบรวมและประเมินผลข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลระดับประเทศ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการปรับปรุงฐานข้อมูลระดับโลกให้ทนั สมัยกับสถานการณ์ของเด็ก
จนกระทังปี ่ พ.ศ. 2560 กลไกทีอ่ งค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติใช้สาหรับประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้ าที่รฐั
ระดับประเทศเพื่อสร้างหลักประกันในคุณภาพของข้อมูลและความสามารถในการเปรียบเทียบข้อมูลในระดับสากลตาม
ตัวชีว้ ดั หลักทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็กดังทีอ่ ยู่ในการรายงานข้อมูลระดับประเทศว่าด้วยตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมาย (CRING)

เมื่อปี พ.ศ. 2561 องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ได้จดั กระบวนการหารือในระดับประเทศครัง้ ใหม่ขน้ึ ร่วมกับ


เจ้าหน้าทีร่ ฐั ภายในประเทศเกี่ยวกับตัวชี้วดั การพัฒนาอย่างยั ่งยืนระดับโลกในประเด็นด้านเด็ก ในฐานะการคุม้ ครอง
เดี่ยวหรือร่วมเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานและคาแนะนาการเคลื่อนไหวของข้อมูลสาหรับตัวชี้วดั การพัฒนาอย่าง
ยั ่งยืนระดับโลก ทีใ่ ห้ความสาคัญกับความเข้มงวดทางเทคนิค ความเป็ นเจ้าของของแต่ละประเทศ และการใช้ขอ้ มูลและ
สถิติ กระบวนการหารือ เรีย กร้องข้อ เสนอแนะโดยตรงจากสานั ก งานสถิติแ ห่ง ชาติ รวมทัง้ หน่ ว ยงานรัฐอื่น ๆ ที่
รับผิดชอบด้านสถิตอิ ย่างเป็ นทางการ การรวบรวมตัวชีว้ ดั ตลอดจนแหล่งข้อมูลทีใ่ ช้ และการประยุกต์ใช้นิยาม ประเภท
และระเบียบวิธีท่เี ห็นชอบร่วมกันในระดับ สากลกับข้อมูลจากแหล่งต่ าง ๆ แต่ละประเทศจะให้การตรวจสอบและ
ข้อเสนอแนะว่าสามารถยอมรับในข้อมูลเฉพาะต่าง ๆ หรือไม่ พร้อมทัง้ แจ้งเหตุผลในกรณีทไ่ี ม่สามารถยอมรับข้อมูลได้
ด้วย รายละเอียดเกีย่ วกับกระบวนการหารือสามารถหาได้ในบันทึกคาแนะนา

----------------------------------------------------------------------------------------

164
ั ่ น ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม
เป้ าหมายที่ 16: ส่งเสริ มสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยงยื
และสร้างสถาบันที่มีประสิ ทธิ ผลรับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ
เป้ าประสงค์ 16.9: กาหนดสถานะทางกฎหมายสาหรับทุกคน โดยรวมถึงการให้มีสูติบตั ร ภายในปี พ.ศ. 2573

ตัวชี้วดั 16.9.1: สัดส่วนของเด็กอายุตา่ กว่า 5 ปี ที่มีการแจ้งเกิ ดกับเจ้าหน้ าที่ของรัฐ จาแนกตามอายุ

ข้อมูลเชิ งสถาบัน
องค์กร: องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children’s Fund: UNICEF)
กองสถิตแิ ห่งสหประชาชาติ (UNSD) (United Nations Statistics Divisions (UNSD)

แนวคิ ดและนิ ยาม


นิ ยาม:
สัดส่วนของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ทีม่ กี ารแจ้งเกิดกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ

หลักการเหตุผล:
การแจ้งเกิดถือเป็ นขัน้ แรกของการสร้างความปลอดภัยให้เด็กตามกฎหมาย เป็ นการปกป้ องสิทธิของเด็ก และสร้าง
หลักประกันว่าจะไม่มกี ารละเลยเมื่อพบการละเมิดสิทธิดงั กล่าว

เด็กทีไ่ ม่มเี อกสารประจาตัวอย่างเป็ นทางการอาจจะถูกปฏิเสธการรักษาพยาบาลหรือการศึกษา เมื่อเติบโตขึน้ การขาด


เอกสารดังกล่าวทาให้การสมรสหรือการเข้าสู่ตลาดแรงงานยากลาบากขึน้ หรือแม้กระทังการเข้ ่ ารับราชการทหารก่ อน
อายุถงึ กาหนดให้เกณฑ์ทหาร เมื่อถึงวัยผูใ้ หญ่ สูตบิ ตั รอาจจะมีความจาเป็ นในการเข้ารับความช่วยเหลือทางสังคมหรือ
การหางานในภาคปกติหรือการพิสจู น์สทิ ธิในมรดก การเลือกตัง้ และการทาหนังสือเดินทาง
สิทธิเด็กในการมีช่อื และสัญชาติได้รบั การบรรจุไว้ในมาตรา 7 ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก

ข้อคิ ดเห็นและข้อจากัด:
จานวนของเด็กทีไ่ ด้รบั สิทธิสถานะตามกฎหมายส่วนมากเก็บจากการสามะโนประชากร ระบบทะเบียนราษฎร และการ
สารวจรายครัวเรือน ระบบทะเบียนราษฎรซึ่งทาหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลสถิติชพี อย่างมีประสิทธิภาพจะสามารถ
นามาใช้ในการเปรียบเทียบจานวนประมาณการการเกิดทัง้ หมดในแต่ละประเทศ ร่วมกับจานวนเด็กทีแ่ จ้งเกิดอย่างเป็ น
ทางการ ณ ช่วงเวลาทีก่ าหนด อย่างไรก็ตาม การบันทึกการเกิดอย่างเป็ นระบบในหลายประเทศยังคงเป็ นข้อท้าทาย
สาคัญ การสูญหายไปของข้อมูลทีเ่ ชื่อถือได้จากฝ่ ายปกครอง ทาให้การสารวจรายครัวเรือนกลายเป็ นแหล่งข้อมูลสาคัญ
ในการติดตามระดับและแนวโน้มในการแจ้งเกิด ซึ่งถือเป็ นการสารวจเพียงแหล่งเดียวในกลุ่มประเทศทีม่ รี ายได้ต่าและ
รายได้ปานกลางส่วนใหญ่

ระเบียบวิ ธี
วิ ธีการคานวณ:
จานวนของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ทีม่ กี ารแจ้งเกิดกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ หารด้วยของเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี ในกลุ่มประชากรที่
ศึกษาทัง้ หมด คูณด้วยจานวน 100
การจาแนกข้อมูล:
เพศ อายุ รายได้ สถานทีอ่ ยู่อาศัย ทีต่ งั ้ ทางภูมศิ าสตร์

165
การจัดการข้อมูลที่สูญหาย:
ระดับประเทศ
เมื่อข้อมูลสาหรับประเทศหายไปทัง้ หมด ทางองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติจะไม่เผยแพร่ค่าการประมาณการ
ในระดับประเทศ

ระดับภูมิภาคและระดับโลก
ค่าเฉลี่ยระดับภูมภิ าคจะถูกนามาประยุกต์ใช้กับประเทศซึ่งอยู่ในภูมภิ าคเดียวกันและมีขอ้ มูลบางส่วนหายไป เพื่อ
วัต ถุ ป ระสงค์ใ นการค านวณข้อ มูล ที่ร วบรวมได้ใ นระดับ ภู มิภ าค แต่ จ ะไม่ มีก ารเผยแพร่ ค่ า การประมาณการใน
ระดับประเทศ

การคานวณรวมข้อมูลระดับภูมิภาค:
ผลรวมข้อมูลระดับโลก คือ ค่าเฉลีย่ ถ่วงน้าหนักของภูมภิ าคต่าง ๆ ทัวโลก
่ ผลรวมข้อมูลระดับภูมภิ าค คือ ค่าเฉลีย่ ถ่วง
น้าหนักร่วมกับทุกประเทศในภูมภิ าคเดียวกัน

แหล่งข้อมูล
คาอธิ บาย:
สามะโนประชากร การสารวจรายครัวเรือน เช่น การสารวจพหุดชั นีแบบจัดกลุ่ม การสารวจสุขภาพและประชากร และ
ระบบทะเบียนชีพระดับประเทศ

กระบวนการเก็บข้อมูล:
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติได้ดาเนินกระบวนการปรับข้อมูลในฐานข้อมูลให้ทนั สมัยทุกปี ซึ่งเรียกว่า การ
รายงานระดับประเทศของตัวชีว้ ดั ตามเป้ าหมาย (CRING) ซึง่ กระบวนการนี้จะกระทาโดยผ่านการประสานความร่วมมือ
กันอย่างแน่นแฟ้ นกับสานักงานองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในระดับประเทศด้วยวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความ
มั ่นใจว่าข้อมูลทีอ่ ยู่ในฐานข้อมูลระดับโลกขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติมคี วามทันสมัย และเปรียบเทียบ
กันได้ในระดับสากล สานักงานองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติระดับประเทศจะนาส่งข้อมูลอันเป็ นข้อมูลที่
ทันสมัยตามตัวชี้วดั ต่าง ๆ ในด้านความเป็ นอยู่ของสตรีและเด็กผ่านระบบออนไลน์ ข้อมูลที่ถูกส่งมาจากสานักงาน
องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในระดับประเทศจะถูกตรวจสอบโดยผู้เชีย่ วชาญเฉพาะด้านที่สานักงานใหญ่
องค์ก ารทุน เพื่อ เด็กแห่งสหประชาชาติ เพื่อ ตรวจสอบความถู กต้อ งตรงกันของข้อ มูลและคุ ณภาพของข้อมูลการ
ประมาณการที่ถูกส่งมาทัง้ หมด การตรวจสอบนี้อยู่บนฐานของเกณฑ์ตามตัวชี้วดั เพื่อสร้างความมั ่นใจว่าข้อมูลที่
ฐานข้อมูลมีความทันสมัยและน่ าเชื่อถือ เมื่อการตรวจสอบเสร็จสิน้ ผูเ้ ชีย่ วชาญจะลงความเห็นว่าข้อมูลทีถ่ ูกส่งมานัน้
ได้รบั การยอมรับหรือไม่ พร้อมทัง้ ให้เหตุผลในกรณีทข่ี อ้ มูลไม่ได้รบั การยอมรับ ข้อมูลทีไ่ ด้รบั การยอมรับจะถูกป้ อนไป
ยังฐานข้อมูลระดับโลกขององค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และเผยแพร่ในตารางเชิงสถิตเิ กี่ยวกับสถานการณ์
เด็กของโลก ตลอดจนเอกสารตีพมิ พ์และเครื่องมืออื่น ๆ ทีต่ อ้ งใช้ขอ้ มูลดังกล่าวเป็ นตัวขับเคลื่อน ฐานข้อมูลทีไ่ ด้รบั การ
ปรับให้ทนั สมัยแล้วจะนามาโพสต์ออนไลน์ไว้ท่ี data.unicef.org

องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติยงั แสวงหาแหล่งข้อมูลเพิม่ เติมตลอดปี ด้วย ซึ่งข้อมูลที่ได้มาจะต้องได้รบั การ


ตรวจสอบจากสานักงานองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติในระดับประเทศก่อนการนาข้อมูลไปรวมไว้ในฐานข้อมูล
ระดับโลก

166

You might also like