You are on page 1of 70

คณิตศาสตร์ เล่ม 2

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn Charoen Tat ACT.Co.,Ltd: 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทร./แฟกซ์ : 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คู่สำย) webmaster@aksorn.com/www.aksorn.com
2
หน่วยการเรียนรู้ที่

การแจกแจงความน่าจะเป็น

ผลการเรียนรู้
หำควำมน่ำจะเป็นของเหตุกำรณ์ที่เกิดจำกตัวแปรสุ่มที่มีกำรแจกแจงเอกรูป กำรแจกแจงทวินำม และกำรแจกแจงปกติ และนำไปใช้ในกำรแก้ปัญหำ
ถ้าเราซื้อสลาก 1 ใบ
เพื่อลุ้นรางวัล
สลากกินแบ่งรัฐบาลราคาใบละ 80 บาท เลขท้าย 2 ตัว
มีเลขให้เลือกมากมาย ทางนี้เลยจ้า เฉลี่ยแล้วจะได้
หรือเสียเงินเท่าใดนะ
ตัวแปรสุ่ม

โดยปกติแล้ว เรำจะเขียน ปริภูมติ ัวอย่าง (sample space) ของกำรทอดลูกเต๋ำพร้อมกัน 2 ลูก 1 ครั้ง ได้เป็น

ሼ 𝟏, 𝟏 , 𝟏, 𝟐 , 𝟏, 𝟑 , 𝟏, 𝟒 , 𝟏, 𝟓 , 𝟏, 𝟔 ,
𝟐, 𝟏 , 𝟐, 𝟐 , 𝟐, 𝟑 , 𝟐, 𝟒 , 𝟐, 𝟓 , 𝟐, 𝟔 ,
𝟑, 𝟏 , 𝟑, 𝟐 , 𝟑, 𝟑 , 𝟑, 𝟒 , 𝟑, 𝟓 , 𝟑, 𝟔 ,
𝟒, 𝟏 , 𝟒, 𝟐 , 𝟒, 𝟑 , 𝟒, 𝟒 , 𝟒, 𝟓 , 𝟒, 𝟔 ,
𝟓, 𝟏 , 𝟓, 𝟐 , 𝟓, 𝟑 , 𝟓, 𝟒 , 𝟓, 𝟓 , 𝟓, 𝟔 ,
𝟔, 𝟏 , 𝟔, 𝟐 , 𝟔, 𝟑 , 𝟔, 𝟒 , 𝟔, 𝟓 , 𝟔, 𝟔 ሽ

จะเห็นว่ำ แต่ละสมำชิกเป็นคู่อันดับ และมีโอกำสเกิดขึ้นเท่ำ ๆ กัน


ตัวแปรสุ่ม

แต่ถ้ำเรำสนใจ ผลรวมของแต้มบนลูกเต๋ำที่เกิดจำกกำรทอดลูกเต๋ำพร้อมกัน 2 ลูก 1 ครั้ง เรำจะเขียนปริภูมิตัวอย่ำงได้เป็น

𝟐, 𝟑, 𝟒, 𝟓, 𝟔, 𝟕, 𝟖, 𝟗, 𝟏𝟎, 𝟏𝟏, 𝟏𝟐

จะเห็นว่ำ แต่ละสมำชิกเป็นจำนวนจริง และโอกำสเกิดขึ้นไม่เท่ำกัน


ตัวแปรสุ่ม

กำรที่สมำชิกในปริภูมิตัวอย่ำงเป็นจำนวนจริง จะสำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ง่ำย เช่น กำรวำดกรำฟ


เพื่อแสดงกำรแจกแจงควำมน่ำจะเป็นของเหตุกำรณ์ที่สนใจ จึงใช้ฟังก์ชัน X เพื่อปรับเปลี่ยนปริภูมิตัวอย่ำง ดังนี้

𝟏, 𝟏 𝟐

𝟏, 𝟐 , 𝟐, 𝟏 𝟑

⋮ ⋮

𝟓, 𝟔 , 𝟔, 𝟓 𝟏𝟏

𝟔, 𝟔 𝟏𝟐
𝐗
ตัวแปรสุ่ม

ต่อไปเรำจะเรียก X ว่ำตัวแปรสุ่ม เพื่อควำมสะดวกเรำจะเขียน X ด้วยเซตของค่ำที่เป็นไปได้ทั้งหมด เช่น

1) ถ้ำ X เป็นตัวแปรสุ่มแทนผลรวมแต้ม
จำกกำรทอดลูกเต๋ำ 2 ลูก 1 ครั้ง
จะได้ X = 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12

2) ถ้ำ X เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนเหรียญ
ที่ออกหัวจำกกำรโยนเหรียญเที่ยงตรง
4 เหรียญ 1 ครั้ง
จะได้ X = 0, 1, 2, 3, 4
ตัวแปรสุ่ม

3) ถ้ำ X เป็นตัวแปรสุ่มแทนส่วนสูง
เป็นเมตรของคนไทย
จะได้ X = 0, 3

4) ถ้ำ X เป็นตัวแปรสุ่มแทนเวลำ
ที่ใช้ในกำรรอรถเมล์เป็นนำที
จะได้ X = 0, ∞
ตัวแปรสุ่ม

จะเห็นว่ำ 𝟏) 𝐗 = 𝟐, 𝟑, 𝟒, 𝟓, 𝟔, 𝟕, 𝟖, 𝟗, 𝟏𝟎, 𝟏𝟏, 𝟏𝟐

2) 𝐗 = 𝟎, 𝟏, 𝟐, 𝟑, 𝟒

เป็นสับเซตของจำนวนเต็ม
ในกรณีนี้ เรำจะเรียก X ว่ำ ตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง (Discrete Random Variable)

ส่วน 𝟑) 𝐗 = 𝟎, 𝟑 และ 𝟒) 𝐗 = 𝟎, ∞

เป็นช่วงของจำนวนจริง
ในกรณีนี้ เรำจะเรียก X ว่ำ ตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง (Continuous Random Variable)
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

2.1) การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง
ให้ P(X = x) แทน ควำมน่ำจะเป็นที่ตัวแปรสุ่มจะมีค่ำเท่ำกับ x
เช่น ถ้ำ X = ሼ0, 1, 2ሽ เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนเหรียญที่ออกหัวจำกกำรโยนเหรียญเที่ยงตรง 2 เหรียญ 1 ครั้ง จะได้

1 1
P X=0 = , P X=1 =
4 2

1
P X=2 = , P X=5 = 0
4
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
หรือเขียนเป็นฟังก์ชัน f ได้ดังนี้
1
เมื่อ x=0
4
1
f x =P X=x = เมื่อ x=1
2
1
เมื่อ x=2
4

2
หรือ f x =P X=x = x เมื่อ x = 0, 1, 2
4

จะเห็นว่ำ f x ≥ 0, ෍
x∈X
f x =1

เรำจะกล่ำวว่ำ f เป็น ฟังก์ชันมวลความน่าจะเป็น (probability mass function, p.m.f.) ของตัวแปรสุ่ม X


การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

บทนิยาม

ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง X
ถ้ำสำหรับแต่ละค่ำ x ที่เป็นไปได้ของ X

1. f x ≥ 0


2. f x =1
x∈X

3. P X = x = f(x)
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง
และ x เป็นค่ำของตัวแปรสุ่ม X
x เมื่อ x = 1, 2, 3
โดยที่ f x = 6

0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ
1) ให้สร้ำงตำรำงแจกแจงควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X พร้อมทั้งเขียนกรำฟ
2) ให้พิจำรณำว่ำ f เป็นฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็นหรือไม่
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง
และ x เป็นค่ำของตัวแปรสุ่ม X
x เมื่อ x = 1, 2, 3
โดยที่ f x = 6

0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ
1) ให้สร้างตารางแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X พร้อมทั้งเขียนกราฟ
f(x)

1
𝐱 𝟏 𝟐 𝟑 2
1
𝟏 𝟏 𝟏 3
𝐟(𝐱) 1
𝟔 𝟑 𝟐 6

x
0 1 2 3
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง
และ x เป็นค่ำของตัวแปรสุ่ม X
x เมื่อ x = 1, 2, 3
โดยที่ f x = 6

0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ
2) ให้พิจารณาว่า f เป็นฟังก์ชันมวลความน่าจะเป็นหรือไม่
1. 0 ≤ f(x) ≤ 1 สำหรับ x เป็นค่ำของตัวแปรสุ่ม X

2. f x = f 1 + f 2 + f(3) 𝐱 𝟏 𝟐 𝟑
x∈X
1 1 1
= + + 𝟏 𝟏 𝟏
6 3 2 𝐟(𝐱)
=1 𝟔 𝟑 𝟐

ดังนั้น f เป็นฟังก์ชันมวลความน่าจะเป็น
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนลูกแก้วสีแดงที่ได้
จำกกำรหยิบลูกแก้ว 4 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง
จำกกล่องที่มีลูกแก้วสีแดง 5 ลูก และลูกแก้วสีฟ้ำ 7 ลูก
1) ให้สร้ำงตำรำงแจกแจงควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X
2) ให้หำฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X
3) ให้หำ P(2 < X ≤ 4)
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนลูกแก้วสีแดงที่ได้
5 7
จำกกำรหยิบลูกแก้ว 4 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง 0 4
จำกกล่องที่มีลูกแก้วสีแดง 5 ลูก และลูกแก้วสีฟ้ำ 7 ลูก 12
4
1) ให้สร้างตารางแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X
กรณีหยิบลูกแก้วแล้วได้ลูกแก้วสีแดง 0 ลูก ได้ลูกแก้วสีฟ้ำ 4 ลูก
จำกโจทย์ X = ሼ0, 1, 2, 3, 4ሽ

𝐱 𝟎 𝟏 𝟐 𝟑 𝟒
𝟕 𝟑𝟓 𝟒𝟐 𝟏𝟒 𝟏 5 7
𝐟(𝐱)
𝟗𝟗 𝟓𝟓 𝟗𝟗 𝟗𝟗 𝟗𝟗 3 1
12
4

กรณีหยิบลูกแก้วแล้วได้ลูกแก้วสีแดง 3 ลูก ได้ลูกแก้วสีฟ้ำ 1 ลูก


การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนลูกแก้วสีแดงที่ได้ จำกตำรำงแจกแจงควำมน่ำจะเป็น
จำกกำรหยิบลูกแก้ว 4 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง
จะเห็นว่ำ 0 ≤ f(x) ≤ 1 และ ෍ f x =1
จำกกล่องที่มีลูกแก้วสีแดง 5 ลูก และลูกแก้วสีฟ้ำ 7 ลูก x∈X

2) ให้หาฟังก์ชันมวลความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X
ดังนั้น f เป็นฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็น
5 7

𝐱 𝟎 𝟏 𝟐 𝟑 𝟒 และ f x =
x 4−x
495
เมื่อ x = 0, 1, 2, 3, 4

𝐟(𝐱)
𝟕 𝟑𝟓 𝟒𝟐 𝟏𝟒 𝟏 0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ
𝟗𝟗 𝟓𝟓 𝟗𝟗 𝟗𝟗 𝟗𝟗
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนลูกแก้วสีแดงที่ได้
จำกกำรหยิบลูกแก้ว 4 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง
จำกกล่องที่มีลูกแก้วสีแดง 5 ลูก และลูกแก้วสีฟ้ำ 7 ลูก
3) ให้หา 𝐏(𝟐 < 𝐗 ≤ 𝟒)

จำก P(2 < X ≤ 4) = P X = 3 + P(X = 4)


= f 3 + f(4)
14 1
= +
99 99
15
=
99
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

2.2) การแจกแจงของตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง
พิจำรณำตำรำงแจกแจงควำมถี่สัมพัทธ์ของน้ำหนักของนักเรียนโรงเรียนอักษรวิทยำ

น้าหนัก (x) ความถี่สัมพัทธ์


30 < x ≤ 45 0.1
45 < x ≤ 60 0.4
60 < x ≤ 75 0.3
75 < x ≤ 90 0.2
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

ให้ X เป็นตัวแปรสุ่มแทนน้ำหนักของนักเรียนโรงเรียนอักษรวิทยำ ซึ่งมีค่ำอยู่ระหว่ำง 30 กิโลกรัม ถึง 90 กิโลกรัม


ดังนั้น X = (30, 90ሿ เป็นตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง

ถ้าอยากทราบ ความน่าจะเป็นที่จะสุ่มนักเรียนแล้วได้นักเรียน
ที่มีน้าหนักอยู่บนช่วง (𝟒𝟎, 𝟕𝟎ሿ จะทาอย่างไร ?

เราสามารถทาได้โดยหาค่า 𝐏(𝟒𝟎 < 𝐗 ≤ 𝟕𝟎)


การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

นักเรียนสำมำรถสร้ำงฮิสโทแกรมจำกข้อมูลข้ำงต้นได้ ดังนี้
ความถี่สัมพัทธ์
“พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมแต่ละรูป
น้าหนัก (x) ความถี่สัมพัทธ์ 0.4 ของฮิสโทแกรมเป็นสัดส่วนกับความถี่”
30 < x ≤ 45 0.1 0.3

45 < x ≤ 60 0.4 0.2 𝟎. 𝟒


𝟎. 𝟑
60 < x ≤ 75 0.3 0.1 𝟎. 𝟐
𝟎. 𝟏
75 < x ≤ 90 0.2 น้าหนัก
0 30 45 60 75 90

จะได้ พื้นที่รวมเท่ากับ 1 ซึ่งแทนจานวนนักเรียนทั้งหมด


การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ควำมถี่สัมพัทธ์
𝟎. 𝟒
0.4
𝟎. 𝟐
0.3

𝟎. 𝟒
0.2 𝟎. 𝟏
𝟑
𝟎. 𝟑
0.1
𝟎. 𝟐
𝟎. 𝟏
น้ำหนัก
0 30 40 45 60 70 75 90

ถ้ำอยำกทรำบ ควำมน่ำจะเป็นที่สุ่มนักเรียนแล้วจะได้นักเรียนที่มีน้ำหนักอยู่ช่วง (40, 70ሿ สำมำรถหำได้จำกพื้นที่ของฮิสโทแกรม


0.1
นั่นคือ P(40 < X ≤ 70) = + 0.4 + 0.2
3
1.9
=
3
≈ 0.67
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง X อำจจะมีกำรแจกแจงเป็นกรำฟของฟังก์ชัน f
โดยพื้นที่ใต้กรำฟเท่ำกับ 1 ซึ่งแทนข้อมูลทั้งหมด
f

พื้นที่ = 𝟏

โดยจะเรียกฟังก์ชัน f ว่ำ ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น (probability density function, p.d.f.)


และหำควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X บนช่อง (a, b) ได้โดย
b

P a < X < b = න f x dx
a
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
บทนิยาม
ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันควำมหนำแน่นของควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง X
สำหรับแต่ละค่ำ x ที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่ม X
1. f(x) ≥ 0

2. න f x dx = 1
−∞ b

3. P a < X < b = න f x dx
a

นอกจำกนี้ จำกสมบัติของกำรหำปริพันธ์ จะได้ว่ำ


b

P a < X < b = P a ≤ X < b = P a < X ≤ b = P a ≤ X ≤ b = න f x dx


a
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

สำหรับตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง X ควำมน่ำจะเป็น ณ ที่จุดใด ๆ จะมีค่ำเท่ำกับศูนย์ กล่ำวคือ

P X = a = න f x dx = 0
a

เพรำะ ณ ที่จุด ๆ เดียว จะไม่เกิดพื้นที่ใต้กรำฟ


การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X = 0, 1 เป็นตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง โดยที่ 𝟐) จำก f x = 4x 3 เมื่อ x ∈ 0, 1
0.5
x ∈ 0, 1 จะได้ P(0.2 ≤ X < 0.5) = න 4x 3 dx
f x = ax 3 = ቐ
x เป็นจำนวนอื่น ๆ
0.2

= x 4 อ0.5
ให้หำ 𝟏) ค่า a 𝟐) 𝐏(𝟎. 𝟐 ≤ 𝐗 ≤ 𝟎. 𝟓) 0.2

∞ 1
= (0.5)4 −(0.2)4
𝟏) จำก නf x =1 จะได้ න ax 3 =1
−∞ 0 = 0.0609
ax 4 1
ቤ =1
4 0
a
=1
4
∴ a =4
ฟังก์ชันการแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม

เมื่อต้องกำรหำควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X ที่จะมีค่ำไม่เกิน x หรือ P(X ≤ x) จะหำได้ดังนี้

P X≤x = ෍
t≤x
f t (กรณี X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง)
x

P X≤x = න f t dt (กรณี X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง)


−∞

จำกนิยำมของฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็นสะสม (cumulative distribution function, c.d.f.)


ดังนั้น F x = P(X ≤ x)

จะเห็นว่ำ โดเมนของ F เป็น เซตของจำนวนจริง


ฟังก์ชันการแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X = 1, 2, 3 เป็นตัวแปรสุ่ม โดยที่
x2
f(x)
เมื่อ x = 1, 2, 3
= ൞ 14
0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ
1. ให้หำฟังก์ชันกำรแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม X
2. ให้หำค่ำของ F 0.7 , F 1.3 และ F 3.2
3. วำดกรำฟของฟังก์ชัน F
1. ให้หำฟังก์ชันกำรแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม X

จำก F(x) = ෍ f t t≤x

กรณี x < 1 จะได้ F x =0


12 1
กรณี 1 ≤ x < 2 จะได้ F x =f 1 = =
14 14
12 22 5
กรณี 2≤x<3 จะได้ F x =f 1 +f 2 = + =
14 14 14
12 22 32
กรณี x≥3 จะได้ F x =f 1 +f 2 +f 3 = + +
14 14 14
=1
ฟังก์ชันการแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
0 เมื่อ x<1
1
14
เมื่อ 1≤x<2
ดังนั้น F(x) =
5
14
เมื่อ 2≤x<3
1 เมื่อ x≥3

2. ให้หำค่ำของ F 0.7 , F(1.3) และ F 3.2

จำกข้อ 1. จะได้ F(0.7) = 0


1
F(1.3) =
14
F(3.2) = 1

จะเห็นว่ำ 0.7, 1.3 และ 3.2 ไม่ใช่ค่ำที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่ม X


ฟังก์ชันการแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
3. วำดกรำฟของฟังก์ชัน F
จำกข้อ 1. จะวำดกรำฟของฟังก์ชัน F ได้ ดังนี้
𝐅(𝐱)
𝐅
𝟏

𝟓
𝟏𝟒

𝟏
𝟏𝟒
𝐱
𝟎 𝟏 𝟐 𝟑

จะเห็นว่ำ F มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนจริง และกรำฟของ F มีลักษณะเป็นกรำฟขั้นบันได


ฟังก์ชันการแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง 1 x

กำหนด X = [1, ∞) เป็นตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง โดยที่ จะได้ F(x) = න f(t) dt + න f(t) dt


−∞ 1
1
เมื อ
่ x ∈ [1, ∞)
x
1
f(x) = ൞ x2 = 0 + න 2 dt
0 เมื่อ x ∈ (−∞, 1) t
1

ให้หำ 1. ฟังก์ชันกำรแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม X 1 t=x


= − ቤ
2. F 5 − F 2 t t=1
1
3. P(2 < X ≤ 5) = 1−
x

1. ให้หำฟังก์ชันกำรแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม X
x

จำก F(x) = න f(t) dt


−∞
ฟังก์ชันการแจกแจงสะสมของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
2. ให้หำ F 5 − F(2) 3. ให้หำ P(2 < X ≤ 5) 5
1 1
จำกข้อ 1. จะได้ F 5 − F(2) = 1 − − 1− จำก P(2 < X ≤ 5) = න f(x) dx
5 2
2
4 1 5
= − 1
5 2 =න dx
x2
2
3
= 1 5
10 =− อ
x 2
1 1
= −
2 5
3
=
10
จะเห็นว่ำ จำกข้อ 2. และ 3. จะได้
P a < X < b = P a ≤ X < b = P a < X ≤ b = P a ≤ X ≤ b = F b − F(a)
ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม

ค่ำคำดหมำยหรือค่ำเฉลี่ย เป็นค่ำกลำงของตัวแปรสุ่ม โดยแนวโน้มของผลลัพธ์จำกกำรทดลองจะมีค่ำใกล้เคียง


ค่ำกลำงนี้
ค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่ม X เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ E(X) หำได้จำกผลบวกของผลคูณของค่ำที่เป็นไปได้
กับควำมน่ำจะเป็นของค่ำนั้น
ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
ให้หำค่ำคำดหมำยของเงินที่ได้รับจำกรำงวัลเลขท้ำย 2 ตัว ของกำรซื้อสลำกกินแบ่งรัฐบำล 1 ใบ
วิธีทา
เนื่องจากการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาล 1 ใบ
ถ้าถูกรางวัลจะได้รับเงิน 2,000 บาท เมื่อหักค่าสลากที่ซื้อ 80 บาท
จะเหลือ 1,920 บาท
ถ้าไม่ถูกรางวัลจะเสียเงิน 80 บาท
ให้ X เป็นตัวแปรสุ่มแทนเงินที่จะได้รับจำกรำงวัลเลขท้ำย 2 ตัว ของกำรซื้อสลำกกินแบ่งรัฐบำล 1 ใบ
จะได้ X = ሼ−80, 1,920ሽ
โอกาสเสียเงิน โอกาสได้เงิน
99 1
และ E X = −80 + (1,920) = −60
100 100

นั่นคือ การซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลแต่ละใบ เฉลี่ยแล้วจะเสียเงิน 60 บาท


ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม
บทนิยาม ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่องที่มี f เป็นฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็น
ค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่ม X เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ E(X) หรือ μx คือ
E X = μx = ෍
xf(x)
x∈X

ตัวอย่าง
ให้ X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่องที่มี f เป็นฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็น
โดยที่ x 1 2 4 6 10

f(x) 0.1 0.5 0.1 0.2 0.1

ให้หำ E(X)
วิธีทา E X =

x∈X
xf(x) = 1 0.1 + 2 0.5 + 4 0.1 + 6 0.2 + 10(0.1) = 3.7
ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
ให้ X เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนครั้งที่เหรียญออกหัว เมื่อโยนเหรียญเที่ยงตรง 1 เหรียญ จำนวน 3 ครั้ง
ให้หำ 1) ตำรำงแจกแจงควำมน่ำจะเป็น
2) ค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่ม

วิธีทา 1) จำกโจทย์ จะได้ X = ሼ0, 1, 2, 3ሽ เป็นตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง และตำรำงแจกแจงควำมน่ำจะเป็น ดังนี้

𝐱 𝟎 𝟏 𝟐 𝟑

𝟏 𝟑 𝟑 𝟏
𝐟(𝐱)
𝟖 𝟖 𝟖 𝟖

2) ค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่ม
෍ 1 3 3 1
E X = xf(x) = 0 +1 +2 +3 = 1.5
x∈X 8 8 8 8
ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม

สำหรับตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่องก็สำมำรถนิยำมได้ในทำนองเดียวกัน ดังนี้

บทนิยาม ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่องที่มี f เป็นฟังก์ชันควำมหนำแน่นของควำมน่ำจะเป็น
ค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่ม X เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ E(X) หรือ μx คือ

E X = μx = න xf x dx
−∞
ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
ให้ X = [40, 80ሿ เป็นตัวแปรสุ่มแทนน้ำหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรียนในโรงเรียนเจริญทัศน์ โดยมีฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็น ดังนี้
x
เมื่อ x ∈ [40, 80ሿ
f x = ൞ 2,400
0 เมื่อ x ∈ −∞, 40 ∪ (80, ∞)

ให้หำค่ำคำดหมำยของน้ำหนักของนักเรียนในโรงเรียนเจริญทัศน์

x 3 80
วิธีทา จำก E X = න xf x dx E X = ቤ
7,200 40
−∞
𝟎 𝟎
40 80 ∞
803 403
= න xf x dx + න xf x dx + න xf x dx = −
7,200 7,200
−∞ 40 80
80 80
x x2 560
= නx dx = න dx =
2,400 2,400 9
40 40
≈ 62.22

ดังนั้น ค่าคาดหมายของน้าหนักของนักเรียนในโรงเรียนเจริญทัศน์ประมาณ 62.22 กิโลกรัม


ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม
บทนิยาม สมบัติของค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่องที่มี f เป็นฟังก์ชันควำมหนำแน่นของควำมน่ำจะเป็น จะได้

E[g X ሿ = න g x f x dx
−∞

จำกสมบัติของค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่ม ให้ a และ b แทนจำนวนจริงใด ๆ จะได้ว่ำ


𝟏. 𝐄 𝐚𝐗 ± 𝐛 = 𝐚𝐄(𝐗) ± 𝐛
เมื่อ a = 0 จะได้ E(b) = b
b = 0 จะได้ E(aX) = aE(X)

𝟐. 𝐄[𝐠(𝐗) ± 𝐡(𝐗)ሿ = 𝐄[𝐠 𝐗 ሿ ± 𝐄[𝐡(𝐗)ሿ


เมื่อ g(X) และ h(X) เป็นฟังก์ชันค่ำจริงของตัวแปรสุ่ม X
ค่าคาดหมายของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
กำหนด X = ሼ1, 2, 3, 4, 5, 6ሽ เป็นตัวแปรสุ่มแทนแต้มที่ได้จำกกำรทอดลูกเต๋ำปกติ 1 ลูก 1 ครั้ง
1. ให้หำค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่ม X
2. ถ้ำแต้มแต่ละหน้ำบนลูกเต๋ำเปลี่ยนเป็น 5, 8, 11, 14, 17 และ 20 ตำมลำดับ ให้หำค่ำคำดหมำยของตัวแปรสุ่มนี้
1
วิธีทา จำกโจทย์ จะได้ f x = เมื่อ x = 1, 2, 3, 4, 5, 6
6

1. E X = xf(x)
x∈X

1 1 1 1 1 1
= 1∙ +2∙ +3∙ +4∙ +5∙ +6∙
6 6 6 6 6 6
= 3.5

2. ให้ Y = ሼ5, 8, 11, 14, 17, 20ሽ เป็นตัวแปรสุ่ม


จะได้ Y = 3X + 2 และ Y มีฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็นเช่นเดียวกับ X
จำกสมบัติของค่ำคำดหมำย E Y = E 3X + 2 = 3E X + 2 = 3 3.5 + 2 = 12.5
ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม
ควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่มเป็นค่ำที่ใช้บ่งบอกว่ำผลลัพธ์ที่ได้จำกกำรทดลองสุ่มมีแนวโน้มว่ำห่ำงจำกค่ำคำดหมำย (ค่ำเฉลี่ย)
ประมำณเท่ำใด โดยมีบทนิยำม ดังนี้
บทนิยาม
กำหนด X เป็นตัวแปรสุ่ม
ควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม X เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ σx 2 หรือ V(X) คือ

σx 2 = V X = E X − E(X) 2
= E (X − μX )2

จำกควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม X และสมบัติของค่ำคำดหมำย สำมำรถจัดรูปควำมแปรปรวน


ของตัวแปรสุ่ม X ได้ ดังนี้

σx 2 = V X = E X 2 − E X 2
= E X 2 − μX
ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
ให้ X เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนครั้งที่เหรียญออกหัว เมื่อโยนเหรียญเที่ยงตรง 1 เหรียญ 3 ครั้ง

𝐱 𝟎 𝟏 𝟐 𝟑

𝟏 𝟑 𝟑 𝟏
𝐟(𝐱)
𝟖 𝟖 𝟖 𝟖

ซึ่งมี E X = 1.5 ให้หำควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม X


𝟐
วิธีที่ 1 𝐕 𝐗 =𝐄 𝐗−𝐄 𝐗
2
= ෍ x−E X f(x)
x∈X

2
1 2
3 2
3 2
1
= 0 − 1.5 + 1 − 1.5 + 2 − 1.5 + 3 − 1.5
8 8 8 8
= 0.75
ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง

วิธีที่ 2 𝐕 𝐗 = 𝐄(𝐗 𝟐 ) − 𝐄(𝐗) 𝟐

= ෍ 2 2
x f
x∈X
x − 1.5

1 3 3 1
= 02 + 12 + 22 + 32 − 2.25
8 8 8 8

= 0.75

ดังนั้น ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่มเท่ากับ 0.75 ครั้ง 𝟐


ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
ให้ X = 40, 80 เป็นตัวแปรสุ่มแทนน้ำหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรียนโรงเรียนเจริญทัศน์
x เมื่อ x ∈ 40, 80
โดยมีฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็น f x = ൞2,400
0 เมื่อ x ∈ −∞, 40 ∪ 80, ∞
เรำมำลองดูอีกวิธีกัน
560
ซึ่งมี E X =
9
ให้หำควำมแปรปรวนของน้ำหนักของนักเรียนโรงเรียนเจริญทัศน์
วิธีที่ 1 𝐕 𝐗 = 𝐄 𝐗 − 𝐄(𝐗) 𝟐

∞ 2
560 จะเห็นว่ำคำนวณค่อนข้ำงยำก
= න x− f x dx
9
−∞
80 2
560 x
= න x− dx
9 2,400
40
ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม
ตัวอย่าง
1 x4 80 313,600
วิธีที่ 2 𝟐
𝐕 𝐗 = 𝐄(𝐗 ) − 𝐄(𝐗) 𝟐 V X =
2,400 4

81
40
∞ 2
2
560
= න x f x dx − 1 804 404 313,600
9 = − −
−∞
2,400 4 4 81
80
2
x 313,600
= නx dx − 10,400
2,400 81 =
40 81
80
1 3
313,600
= න x dx − ≈ 128.40
2,400 81
40

ดังนั้น ความแปรปรวนของน้าหนักของนักเรียนในโรงเรียนเจริญทัศน์ประมาณ 128.40 กิโลกรัม 𝟐


ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม
สมบัติของความแปรปรวน
กาหนด X เป็นตัวแปรสุ่ม จะได้
𝐕 𝐚𝐗 ± 𝐛 = 𝐚𝟐 𝐕 𝐗 เมื่อ a และ b เป็นจานวนจริงใด ๆ

ตัวอย่าง
กำหนดให้ E X = 10 และ E X 2 = 200

ให้หำ 1) V(X) 2) V(X + 5) 3) V(3X − 4)

วิธีทา 1) จำก V X = E X2 − E X 2

ดังนั้น V X = 200 − 10 2
= 100

2) V X + 5 = V X = 100

3) V 3X − 4 = 32 V X = 900
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
𝟏. การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง
พิจำรณำตัวแปรสุ่มต่อไปนี้

1) X1 = 1, 2, 3, 4, 5, 6 แทนแต้มของลูกเต๋ำจำกกำรทอดลูกเต๋ำ 1 ลูก 1 ครั้ง

2) X2 = 0, 1 แทนผลลัพธ์จำกกำรโยนเหรียญ 1 เหรียญ 1 ครั้ง เมื่อ 0 แทนหัว


1 แทนก้อย

3) X3 = 0, 1, 2, 3 แทนจำนวนเหรียญที่ออกหัวจำกกำรโยนเหรียญพร้อมกัน 3 เหรียญ 1 ครั้ง

จะเห็นว่ำ แต่ละค่ำที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่ม X1 และ X2 มีโอกำสเกิดขึ้นเท่ำ ๆ กันทุกค่ำ


ในขณะที่แต่ละค่ำที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่ม X3 มีแตกต่ำงกันบ้ำง
ในกรณีนี้ จะเรียก X1 และ X2 ว่ำตัวแปรสุ่มที่มีกำรแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด

บทนิยาม การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง
ตัวแปรสุ่ม X = x1, x2, x3, … , xk เป็นตัวแปรสุ่มที่มีกำรแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง เขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ X ~ U(k) ถ้ำฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X คือ
1
เมื่อ x = x1, x2, x3, … , xk
f x ; k = P(X = x) = ൞ k
0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ

1
จำกนิยำม จะได้ X1 มีฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็น คือ f1 x ; 6 = 6
1
และ X2 มีฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็น คือ f2 x ; 2 = 2
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
จำกสูตร E X =

x∈X
xf(x) และ V X = E(X2 ) − E(X) 2

ในกรณี X เป็นตัวแปรสุ่มที่มีกำรแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง จะได้ E(X) และ V(X) ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท การแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง
ถ้ำตัวแปรสุ่ม X = x1, x2 , x3 , … , xk มีกำรแจกแจงเอกรูปไม่ต่อเนื่อง U(k) แล้วค่ำคำดหมำยและ
ควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม X คือ
k k
1෍ 1෍
E(X) = i=1 xi และ V(X) = i=1 xi − E(X) 2
k k

ในกรณีที่ x1, x2 , x3 , … , xk เป็นจำนวนเต็มที่เรียงกันจำก a ถึง b จะได้

b+a b − a + 12 − 1
E(X) =
2
และ V(X) = 12
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
ตัวอย่าง
กำหนด X = 1, 2, 3, … , k ~ U(k) ถ้ำ V X = 44

ให้หำ 1) ค่ำ k 2) P(4 ≤ X < 6)


2
k−1+1 −1 k2 − 1
วิธีทา 1) จำก X = 1, 2, 3, … , k ~ U(k) ทำให้ V X =
12
=
12
k2 − 1
จะได้ = 44
12
k 2 − 1 = 528
k 2 = 529

k = 23, −23
แต่ k > 0 ดังนั้น k = 23
1
2) จำก X ~ U(23) จะได้ P(X = x) = เมื่อ x = 1, 2, 3, … , 23
23
1 1 2
ดังนั้น P 4≤X<6 =P X=4 +P X=5 = + =
23 23 23
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
𝟐. การแจกแจงทวินาม
กำรทดลองทวินำม n ครั้ง เป็นกำรทดลองที่แต่ละครั้งมีควำมอิสระต่อกัน โดยแต่ละครั้งมีควำมน่ำจะเป็นที่จะเกิด
ควำมสำเร็จเท่ำกับ p และควำมน่ำจะเป็นที่จะเกิดควำมไม่สำเร็จเท่ำกับ 1 − p
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ⋯ ครั้งที่ n

สาเร็จ ไม่สาเร็จ สาเร็จ ไม่สาเร็จ สาเร็จ ไม่สาเร็จ สาเร็จ ไม่สาเร็จ


การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด

เมื่อให้ X = 0, 1, 2, … , n เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนครั้งที่เกิดควำมสำเร็จ จะได้ว่ำ X มีกำรแจกแจงแบบทวินำม


ในกำรหำฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่มทวินำม จะใช้ควำมรู้ว่ำ

ถ้ำ A และ B เป็นเหตุกำรณ์ที่อิสระต่อกัน แล้ว P A ∩ B = P A P(B)

เพรำะว่ำในกำรทดลองแต่ละครั้งของตัวแปรสุ่ม X นั้นอิสระต่อกัน
กำรคำนวณควำมน่ำจะเป็นของกำรทดลอง n ครั้ง จึงเกิดจำกกำรคูณกันของควำมน่ำจะเป็นในกำรทดลองแต่ละครั้ง
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
ตัวอย่าง
ในกำรทำข้อสอบปรนัย 5 ตัวเลือก จำนวน 4 ข้อ อย่ำงสุ่ม
ถ้ำให้ X = 0, 1, 2, 3, 4 เป็นตัวแปรสุ่มแทนจำนวนข้อสอบที่ตอบถูก (ที่มีกำรแจกแจงทวินำม)
ให้หำ P(X = i) เมื่อ i = 0, 1, 2, 3, 4
1
วิธีทา ควำมน่ำจะเป็นที่จะตอบข้อสอบปรนัย 5 ตัวเลือกถูก คือ p = 5
พิจำรณำ P(X = 3) หรือควำมน่ำจะเป็นที่จะทำข้อสอบถูก 3 ข้อ (จำก 4 ข้อ)
สำมำรถคำนวณได้ ดังนี้
P X=3 =P +P +P +P
1 1 1 1 1 1 1 1
= 1− + 1−
5 5 5 5 5 5 5 5
1 1 1 1 1 1 1 1
+ 1− + 1−
5 5 5 5 5 5 5 5
3
1 1 16
=4 1− =
5 5 625
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
สำหรับกรณีอื่น ๆ สำมำรถหำควำมน่ำจะเป็นได้จำก
x 4−x
4 1 1
P X=x =
x 5
1−
5
เมื่อ x = 0, 1, 2, 3, 4

ความน่าจะเป็นในการตอบถูก x ข้อ และตอบผิด 𝟒 − 𝐱 ข้อ


0 4
4 1 1 256
ดังนั้น P X=0 =
0 5
1−
5
=
625
1 3
4 1 1 256
P X=1 = 1− =
1 5 5 625
2 2
4 1 1 96
P X=2 = 1− = ผลรวมเท่ากับ 1 พอดี
2 5 5 625
3 1
4 1 1 16
P X=3 = 1− =
3 5 5 625
4 0
4 1 1 1
P X=4 = 1− =
4 5 5 625
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
บทนิยาม การแจกแจงทวินาม
ตัวแปรสุ่ม X = 0, 1, 2, … , n เป็นตัวแปรสุ่มที่มีกำรแจกแจงทวินำม เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
X ~ B(n, p) ถ้ำฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X คือ

n x n−x
b x ; n, p = P(X = x) = ൞ x
p q เมื่อ x = 0, 1, 2, … , n
0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ

เมื่อ 0 ≤ p ≤ 1 และ q = 1 − p
และสำมำรถหำค่ำคำดหมำยและควำมแปรปรวนได้ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท การแจกแจงทวินาม
ถ้ำตัวแปรสุ่ม X มีกำรแจกแจงทวินำม B(n, p) แล้วค่ำคำดหมำยและควำมแปรปรวน
ของตัวแปรสุ่ม X คือ
E(X) = np และ V(X) = npq
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
เพื่อควำมสะดวก กำหนด B(r ; n, p) แทนควำมน่ำจะเป็นของกำรทดลองสุ่มทวินำม n ครั้ง โดยเกิดควำมสำเร็จไม่เกิน r ครั้ง
และโอกำสที่จะเกิดควำมสำเร็จในแต่ละครั้ง คือ p สำหรับ r, n, p ต่ำง ๆ เรำสำมำรถหำ B(r ; n, p) ได้จำกตำรำงในหนังสือเรียน
รำยวิชำเพิ่มเติม คณิตศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 เล่ม 2 หน้ำ 213
ตัวอย่าง
ในกำรทดลองทวินำม 20 ครั้ง โดยโอกำสที่จะเกิดควำมสำเร็จแต่ละครั้ง คือ 0.2 ให้หำ
1) โอกำสที่จะเกิดควำมสำเร็จไม่เกิน 7 ครั้ง P X ≤ 7 = B 20 ; 7, 0.2 = 0.9679

2) โอกำสที่จะเกิดควำมสำเร็จ 7 ครั้ง P X = 7 = B 20 ; 7, 0.2 − B 20 ; 6, 0.2


= 0.9679 − 0.9133
= 0.0546
3) โอกำสที่จะเกิดควำมสำเร็จมำกกว่ำ 7 ครั้ง P X > 7 = 1 − P(X ≤ 7)
= 1 − 0.9679
= 0.0321
4) โอกำสที่จะเกิดควำมไม่สำเร็จอย่ำงน้อย 13 ครั้ง P X ≤ 7 = 0.9679

เกิดความสาเร็จไม่เกิน 7 ครั้ง
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดไม่ต่อเนื่องบางชนิด
ตัวอย่าง
กำหนด X ~ B(30, 0.05) ให้หำ
1) P(3 < X ≤ 7) 2) E(X) 3) V(X)
7

วิธีทา 1) P(3 < X ≤ 7) = ෍


r=3
b(30 ; r, 0.05)
7 2

෍ ෍
= b(30 ; r, 0.05) − b(30 ; r, 0.05)
r=0 r=0

= B 30 ; 7, 0.05 − B(30 ; 2, 0.05)


= 0.9999 − 0.8122
= 0.1877

2) E(X) = np = 30(0.05) = 1.5

3) V(X) = npq = 30(0.05)(0.95) = 1.425


การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด
𝟏. การแจกแจงเอกรูปต่อเนื่อง
บทนิยาม
ตัวแปรสุ่ม X = a, b เป็นตัวแปรสุ่มที่มีกำรแจกแจงเอกรูปต่อเนื่อง เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
X ~ U(a, b) ถ้ำฟังก์ชันควำมหนำแน่นของควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X คือ

1 เมื่อ a < x < b จะเห็นว่ำตัวแปรสุ่ม X อยู่ในช่วงใดช่วงหนึ่ง


f x ; a, b = ൞ b − a ด้วยควำมน่ำจะเป็นเท่ำกันเสมอ
0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ

𝐟(𝐱)

𝟏
กรำฟของฟังก์ชันมวลควำมน่ำจะเป็น
𝐛−𝐚 ของตัวแปรสุ่ม X ~ U(a, b)
𝐗
𝟎 𝐚 𝐛
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด
ตัวอย่าง
กำหนด X ~ U(a, b) ให้หำ
1) E(X) 2) V(X)
1 เมื่อ x ∈ (a, b)
วิธีทา จำก X ~ U(a, b) จะได้ f x =൞b−a
0 เมื่อ x เป็นจำนวนอื่น ๆ
∞ b ∞ b
x x2
1) E X = න xf x dx = න dx 2) พิจำรณำ E X2 = න x2f x dx = න dx
b−a b−a
−∞ a −∞ a
x2 b x3 b
= อ = อ
2(b − a) a 3(b − a) a

b2 − a2 b3 − a3
= =
2(b − a) 3(b − a)
b+a b2 + ba + a2
= =
2 3
𝟐
𝐛𝟐 + 𝐛𝐚 + 𝐚𝟐 𝐛+𝐚 𝐛−𝐚 𝟐
ดังนั้น 𝐕 𝐗 =𝐄 𝐗𝟐 − 𝐄 𝐗 𝟐 =
𝟑

𝟐
=
𝟏𝟐
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด

จำกตัวอย่ำงข้ำงต้น สำมำรถสรุปเกี่ยวกับค่ำคำดหมำยและควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่มเอกรูปชนิดต่อเนื่องได้ ดังนี้

ทฤษฎีบท
ถ้ำตัวแปรสุ่ม X = a, b มีกำรแจกแจงเอกรูปต่อเนื่อง U a, b แล้วค่ำคำดหมำยและ
ควำมแปรปรวนของตัวแปรสุ่ม X คือ
2
b+a b−a
E X =
2
และ V X =
12
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด
ตัวอย่าง
สุ่มจำนวนจำก [20, 100ሿ มำ 1 จำนวน ให้หำ
1) ควำมน่ำจะเป็นที่จำนวนที่ได้มีค่ำอยู่ระหว่ำง 40 กับ 41 แม้ในนิยำมของ X ~ U a, b
จะเป็นช่วงเปิด (a, b)
2) ค่ำคำดหมำยและควำมแปรปรวนของกำรสุ่มครั้งนี้ แต่เรำก็สำมำรถให้ X
1 1
นิยำมบนช่วงปิด [a, b]
วิธีทา ให้ X = [20, 100ሿ และ f x = = เมื่อ x ∈ [0, 100ሿ ได้ในทำนองเดียวกัน
100 − 20 80
จะได้ว่ำ X มีกำรแจกแจงเอกรูปต่อเนื่อง
41
1 x 41 1
1) P 40 < X < 41 = න dx = ቤ =
80 80 40 80
40

100 + 20
2) E X = = 60
2
100 − 20 2 6,400 1,600
V X = = =
12 12 3
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด
𝟐. การแจกแจงปกติ
ถ้ำตัวแปรสุ่ม X มีกำรแจกแจงแบบปกติ จะสำมำรถเขียนกรำฟของฟังก์ชันควำมหนำแน่นของควำมน่ำจะเป็นได้เป็นเส้นโค้งปกติ
𝛔𝟏 𝛔𝟐 𝛔𝟏

𝛔𝟐

𝛍𝟏 𝛍𝟏 𝛍𝟏 = 𝛍𝟐

เส้นโค้งปกติโดยที่ μ1 < μ2 และ σ1 = σ2 เส้นโค้งปกติโดยที่ μ1 = μ2 และ σ1 < σ2

จะเห็นว่ำ เส้นโค้งจะมีลักษณะต่ำงกันไปตำมพำรำมิเตอร์ μ และ σ เรำจึงกำหนดนิยำมของตัวแปรสุ่ม


ทีม่ ีกำรแจกแจงปกติได้ ดังนี้
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด
บทนิยาม การแจกแจงปกติ
ตัวแปรสุ่ม X = −∞, ∞ เป็นตัวแปรสุ่มที่มีกำรแจกแจงปกติ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ X ~ N μ, σ2
ถ้ำฟังก์ชันควำมหนำแน่นของควำมน่ำจะเป็นของตัวแปรสุ่ม X คือ
1 1 x−μ 2

f x ; μ, σ2 = e 2 σ
σ 2π

ทฤษฎีบท
ถ้ำตัวแปรสุ่ม X = −∞, ∞ มีกำรแจกแจงปกติ N μ, σ2 แล้วค่ำคำดหมำยและควำมแปรปรวน
ของตัวแปรสุ่ม X คือ

E X =μ และ V X = σ2
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด
b

นักเรียนทรำบมำแล้วว่ำ P a < X < b = න f x dx


a
1 1 x−μ 2
แต่เส้นโค้งปกติมีฟังก์ชันควำมหนำแน่นของควำมน่ำจะเป็น คือ f x =

e 2 σ
σ 2π

ทำให้หำผลลัพธ์จำกกำรอินทิเกรตยำก จึงมีวิธีกำรแก้ คือ ปรับเส้นโค้งปกติให้เป็นเส้นโค้งปกติมำตรฐำน

เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
เส้นโค้งปกติ เป็น เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
X − μx σ=1
X Z=
σx

μx μz = 0
a μ=0 b
σx 2 σz 2 = 1

แล้วจึงหำขนำดของพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมำตรฐำนโดยกำรเปิดตำรำง
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด
ตัวอย่าง
กำหนด Z ~ N(0, 1) ให้หำ
1) P(Z < 1.5) 2) P(Z > 2) 3) P(−1 < Z < 1)

จำกตำรำงที่ 2 ในหนังสือเรียนรำยวิชำเพิ่มเติม คณิตศำสตร์ ม.6 เล่ม 2 หน้ำ 217 จะได้ว่ำ


1) P Z < 1.5 = 0.9332 2) P Z > 2 = P(Z < −2) 3) P −1 < Z < 1 = P Z < 1 − P(Z < −1)
= 0.0228 = 0.8413 − 0.1587
= 0.6826

−3 −2 −1 0 1 1.5 2 3 −3 −2 −1 0 1 2 3 −3 −2 −1 0 1 2 3
การแจกแจงความน่าจะเป็นชนิดต่อเนื่องบางชนิด
ตัวอย่าง
กำหนด X ~ N(15, 100) ให้หำ
1) P(X < 30) 2) P(−15 < X ≤ 22.5)

จำก X ~ N(15, 100) จะได้ μ = 15 และ σ2 = 100 หรือ σ = 10

x − μ 30 − 15 −15 − 15 x − μ 22.5 − 15
1) P X < 30 = P < 2) P −15 < X ≤ 22.5 = P < ≤
σ 10 10 σ 10
= P Z < 1.5 = P −3 < Z ≤ 0.75
= 0.9332 = P Z ≤ 0.75 − P −3 < Z
= P Z ≤ 0.75 − 1 − P < 3
= 0.7734 − 0.0013
= 0.7721

−3 −2 −1 0 1 1.5 2 3 −3 −2 −1 0 0.75 1 2 3

You might also like