You are on page 1of 21

คณิตศาสตร์ (พื้นฐาน)

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทร./แฟกซ์ : 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คู่สำย) webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
3
หน่วยการเรียนรู้ที่

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น (2)

ตัวชี้วัด
• เข้ำใจและใช้ควำมรู้ทำงสถิติในกำรนำเสนอข้อมูล และแปลควำมหมำยของค่ำสถิติเพื่อประกอบกำรตัดสินใจ (ค 3.1 ม.6/1)
ในการสอบแข่งขันวิชาคณิตศาสตร์ระหว่างโรงเรียน A+ และโรงเรียนอักษรทอง ซึ่งมีกลุ่มตัวแทนของแต่ละโรงเรียน
ในการแข่งขันครั้งนี้ผลปรากฏว่า โรงเรียน A+ และโรงเรียนอักษรทอง มีคะแนนสอบเฉลี่ยเท่ากัน ดังนี้

จากคะแนนสอบเฉลี่ยทั้งสองห้อง นักเรียนสามารถบอกได้หรือไม่ว่า กลุ่มตัวแทน


จากโรงเรียนใดมีความสามารถในการสอบแข่งขันที่แตกต่างมากกว่ากัน
การวัดค่ากลางของข้อมูล
ค่ากลางของข้อมูล เป็นตัวแทนของข้อมูลในกำรสรุปผลและตีควำมหมำยเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ๆ มีด้วยกันหลำยวิธี
ขึ้นอยูก่ ับลักษณะของข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ข้อมูล ค่ำกลำงที่เป็นตัวแทนของข้อมูลที่นิยมใช้มี 3 ชนิด
คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม

ค่ากลางที่เป็นตัวแทนของข้อมูลที่นิยมใช้มี 3 ชนิด คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต

ค่ากลางของข้อมูล

มัธยฐาน ฐานนิยม
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็นค่ำที่ได้จำกกำรเฉลี่ยของข้อมูลทั้งหมด ข้อมูลที่เหมำะสมนำมำหำค่ำเฉลี่ยจะเป็นข้อมูลที่ไม่มีค่ำสังเกตค่ำใดค่ำหนึ่ง
หรือหลำย ๆ ค่ำ ที่สูงหรือต่ำกว่ำค่ำสังเกตอื่นอย่ำงผิดปกติ

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต แบ่งออกเป็น

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
ข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงควำมถี่ สำมำรถคำนวณค่ำเฉลี่ยได้จำกกำรนำข้อมูลทุกค่ำมำบวกกันแล้วหำรด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของตัวอย่าง

ให้ x1 , x2 , x3 , … , xN เป็นข้อมูลของประชากร และ N เป็นจานวน ให้ x1 , x2 , x3 , … , xn เป็นข้อมูลของประชากร และ n เป็นจานวน


ของประชากร ของประชากร
x1 + x2 + x3 + ⋯ + xN x1 + x2 + x3 + ⋯ + xn
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร คือ μ = ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของตัวอย่าง คือ xത =
N
N n
n
෍ ෍
xi xi
หรือ μ = i=1
หรือ xത = i=1

N n
ตัวอย่าง
ให้หาส่วนสูงเฉลี่ย (เซนติเมตร) ของนักเรียน 10 คน ที่เลือกมาเป็นตัวอย่างจากนักเรียนทั้งหมด 4 ห้อง

165 ซม. 156 ซม. 170 ซม. 160 ซม. 175 ซม.

164 ซม. 178 ซม. 155 ซม. 168 ซม. 151 ซม.

วิธีทา ส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้
n


xi 1,642
xത = i=1
xത =
n 10
165 + 156 + 170 + 160 + 175 + 164 + 178 + 155 + 168 + 151
xത = = 164.2
10
ดังนั้น ส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้ คือ 164.2 เซนติเมตร
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่
ให้ f1 , f2 , f3 , … , fk เป็นควำมถี่ของค่ำสังเกต x1 , x2 , x3 , … , xk และ n เป็นค่ำสังเกตทั้งหมด

ความถี่ ค่าสังเกต ความถี่ × ค่าสังเกต

f1 x1 f1 x1
f2 x2 f2 x 2
f3 x3 f3 x 3
⋮ ⋮ ⋮
fk xk fk x k
k

f1 x1 + f2 x2 + f3 x3 + ⋯ + fk xk fi x i

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร คือ xത = หรือ xത = i=1

f1 + f2 + f3 + ⋯ + fk n
k


i=1
fi x i
= k


i=1
fi
ตัวอย่าง
ให้หาส่วนสูงเฉลี่ย (เซนติเมตร) ของนักเรียนกลุ่มหนึ่งทีเ่ ลือกมาเป็นตัวอย่างจากนักเรียนทั้งหมด 4 ห้อง

ส่วนสูง (𝐱) ความถี่ (𝐟)


160 4
ข้อมูลชุดนี้มีการแจกแจงความถี่
ของข้อมูลแต่ละค่าดังตาราง
165 5
จึงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้จากสูตร
170 8 n

175 2

i=1
fi x i
xത =
180 1 n

วิธีทา ส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้
n


fi xi 3,355
xത = i=1
xത =
n 20
165 4 + 165 5 + 170 8 + 175 2 + (180)(1) = 167.75
xത =
20

ดังนั้น ส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้ คือ 167.75 เซนติเมตร


ข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่ของข้อมูลแบบจัดกลุ่ม หรือเป็นอันตรภาคชั้น เช่น

จานวนชั่วโมง จานวนพนักงาน (คน) ดังนั้น เราจะใช้จุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้น


1−5 8 เป็นตัวแทนของค่าสังเกตของแต่ละอันตรภาคชั้น
6 − 10 11 ในการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต โดยใช้สูตร
ข้อมูลแต่ละชั้น 11 − 15 14 𝐧


𝐟𝐢 𝐱 𝐢
มีค่าสังเกตหลายค่า 16 − 20 27 𝐱ത =
𝐢=𝟏

21 − 25 21 𝐧
26 − 30 19

จานวนชั่วโมง จุดกึ่งกลาง (𝐱𝐢 ) ความถี่ (𝐟𝐢) 𝐟𝐢 𝐱 𝐢 ෍


6

fi x i
1−5 3 8 24 จำก xത = i=1
6


6 − 10 8 11 88 i=1
fi
11 − 15 13 14 182
1,795
16 − 20 18 27 486 จะได้ xത =
100
21 − 25 23 21 483
= 17.95
26 − 30 28 19 532
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก ใช้สำหรับข้อมูลที่ค่ำสังเกตแต่ละค่ำมีควำมสำคัญหรือน้ำหนักไม่เท่ำกัน
ให้ w1 , w2 , w3 , … , wn เป็นควำมสำคัญหรือถ่วงน้ำหนักของค่ำสังเกต x1 , x2 , x3 , … , xn ตำมลำดับ

𝐰𝟏 𝐱𝟏 + 𝐰𝟐 𝐱𝟐 + 𝐰𝟑 𝐱 𝟑 + ⋯ + 𝐰𝐧 𝐱𝐧
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก คือ 𝐱ത =
𝐰𝟏 + 𝐰𝟐 + 𝐰𝟑 + ⋯ + 𝐰𝐧
𝐧


𝐢=𝟏
𝐰𝐢 𝐱𝐢
= 𝐧


𝐢=𝟏
𝐰𝐢
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตถ่วงน้าหนัก
ตัวอย่าง
นำยตะวัน ต้องกำรคิดเกรดเฉลี่ยของสี่วิชำตำมที่ปรำกฏในระเบียนแสดงผลกำรเรียนดังนี้
ระเบียนแสดงผลกำรเรียน วิธีทา ค่ำสังเกตมี 4 ค่ำ คือ x1 = 4, x2 = 3.5, x3 = 2.5 และ x4 = 3
รำยวิชำ หน่วยกิต ผลกำรเรียน ควำมสำคัญของแต่ละวิชำ คือ w1 = 1, w2 = 0.5, w3 = 2 และ w4 = 1.5
คณิตศำสตร์ 1.0 4 n

ประวัติศำสตร์ 0.5 3.5 ෍ wi xi


ฟิสิกส์ 2.0 2.5
เกรดเฉลี่ยทั้งสี่วิชำ = i=1
n

෍ wi
เคมี 1.5 3 i=1

1 4 + 0.5 3.5 + 2 2.5 + (1.5)(3)


=
1 + 0.5 + 2 + 1.5
15.25
=
5

= 3.05
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม ใช้หำค่ำเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลหลำย ๆ ชุด ที่หำค่ำเฉลี่ยไว้แล้ว
ให้ xത1 , xത 2 , xത 3 , … , xത k เป็นค่ำเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1, 2, 3, ..., k
และ n1 , n2 , n3 , … , nk เป็นจำนวนค่ำสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1, 2, 3, ..., k ตำมลำดับ

𝐧𝟏 𝐱ത 𝟏 + 𝐧𝟐 𝐱ത 𝟐 + 𝐧𝟑 𝐱ത 𝟑 + ⋯ + 𝐧𝐤 𝐱ത 𝐤
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม =
𝐧𝟏 + 𝐧𝟐 + 𝐧𝟑 + ⋯ + 𝐧𝐤
𝐤

෍ 𝐧𝐢 𝐱 𝐢
= 𝐢=𝟏
𝐤


𝐢=𝟏
𝐧𝐢
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม
ตัวอย่าง
วิธีทา ให้ xത1 = 178 และ xത 2 = 157
n1 = 7 และ n2 = 8
n1 xത1 + n2 xത 2
นักเรียนชาย ค่ำเฉลี่ยเลขคณิตรวม xത =
n1 + n2
7 178 + 8 (157)
=
7+8
2,502
นักเรียนหญิง =
15
นักเรียนกลุ่มหนึ่งที่เลือกมำเป็นตัวอย่ำง มีนักเรียนชำย 7 คน = 166.8
และนักเรียนหญิง 8 คน ถ้ำนักเรียนชำยมีส่วนสูงเฉลี่ย 178 เซนติเมตร
และนักเรียนหญิงมีส่วนสูงเฉลี่ย 157 เซนติเมตร ให้หำส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้ นักเรียนกลุ่มนี้
มีส่วนสูงเฉลี่ย 166.8 เซนติเมตร
มัธยฐาน
มัธยฐาน เป็นค่ำกลำงที่เหมำะสมกับข้อมูลชุดใดชุดหนึ่งที่มีค่ำบำงค่ำที่มำกกว่ำหรือน้อยกว่ำข้อมูลอื่นอย่ำงผิดปกติ

การหามัธยฐานของข้อมูลชุดหนึ่งจะต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก หรือเรียงข้อมูลจากมากไปน้อย
โดยทั่วไป ถ้าจานวนข้อมูลมีทั้งหมด N ค่า แล้วมัธยฐานจะอยู่ในตาแหน่งที่ 𝐍+𝟏
𝟐
ถ้ำจำนวนข้อมูลทั้งหมดเป็นจานวนคี่ แล้วมัธยฐำนจะเป็นค่าที่อยู่ตาแหน่งตรงกลางของข้อมูลทั้งหมด

มัธยฐาน คือ ข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งที่ 3


ถ้ำจำนวนข้อมูลทั้งหมดเป็นจานวนคู่ แล้วมัธยฐำนจะเป็นค่าเฉลี่ยของข้อมูลสองค่าที่อยู่ระหว่างกลางของข้อมูลทั้งหมด

3+4
มัธยฐาน คือ ข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งที่ = 3.5
2
ตัวอย่าง
ให้หามัธยฐานของส่วนสูงของนักเรียนกลุ่มหนึ่งที่เลือกสุ่มมาในโรงเรียน

185 ซม. 139 ซม. 148 ซม. 145 ซม. 157 ซม. 146 ซม. 157 ซม.

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก 139 ซม. 145 ซม. 146 ซม. 148 ซม. 157 ซม. 157 ซม. 185 ซม.

หาตาแหน่งตรงกลางของข้อมูล 1 2 3 4 5 6 7
N+1 7 + 1
= =4
2 2
มัธยฐาน = 𝟏𝟒𝟖 เซนติเมตร
มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้ คือ 148 เซนติเมตร
นักเรียนจะเห็นว่าข้อมูลชุดนี้มีจานวนข้อมูลทั้งหมดเป็นจานวนคี่
ดังนั้น มัธยฐานจะเป็นค่าที่อยู่ตาแหน่งตรงกลางของข้อมูลทั้งหมด
ตัวอย่าง
ถ้าต้องการสุ่มนักเรียนเพิ่มอีกหนึ่งคน ให้หามัธยฐานของนักเรียนกลุ่มนี้

185 ซม. 139 ซม. 148 ซม. 145 ซม. 157 ซม. 146 ซม. 157 ซม. 147 ซม.

เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก 139 ซม. 145 ซม. 146 ซม. 147 ซม. 148 ซม. 157 ซม. 157 ซม. 185 ซม.

หาตาแหน่งตรงกลางของข้อมูล 1 2 3 4 5 6 7 8
N+1 8 + 1
= = 4.5 𝟏𝟒𝟕 + 𝟏𝟒𝟖
2 2
มัธยฐาน = = 𝟏𝟒𝟕. 𝟓 เซนติเมตร
𝟐
มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้ คือ 147.5 เซนติเมตร
นักเรียนจะเห็นว่าข้อมูลชุดนี้มีจานวนข้อมูลทั้งหมดเป็นจานวนคู่
ดังนั้น มัธยฐานจะเป็นค่าเฉลี่ยของข้อมูลสองค่าที่อยู่ระหว่างกลางของข้อมูลทั้งหมด
ฐานนิยม
ฐานนิยม เป็นค่ำกลำงของข้อมูลที่มีจานวนซ้ากันมากที่สุดหรือมีความถี่สูงสุด ข้อมูลนั้นจะเป็นฐำนนิยมของข้อมูลชุดนั้น
ซึ่งใช้ได้ทั้งข้อมูลเชิงคุณภำพและข้อมูลเชิงปริมำณ

ตัวอย่างข้อมูลเชิงคุณภาพที่ใช้ฐานนิยม เช่น ขนาดของรองเท้า ยี่ห้อน้าอัดลม กลุ่มเลือด

40

36
39

ขนาดรองเท้า ยี่ห้อน้าอัดลม กลุ่มเลือด

ข้อมูลบำงชุดอำจมีฐำนนิยมมำกกว่ำ 1 ค่ำ หรือไม่มีฐำนนิยมเลย


ถ้ำข้อมูลชุดหนึ่งมีควำมถี่สูงสุดเท่ากัน 2 ค่า แล้วข้อมูลชุดนั้นจะมีฐานนิยม 2 ค่า
ถ้ำข้อมูลชุดหนึ่งมีควำมถี่สูงสุดเท่ำกันมากกว่า 2 ค่า แล้วข้อมูลชุดนั้นจะไม่มีฐานนิยม
ตัวอย่าง
ให้หาฐานนิยมของส่วนสูงของนักเรียนกลุ่มนี้

180 ซม. 169 ซม. 155 ซม. 145 ซม. 169 ซม. 155 ซม. 180 ซม. 147 ซม. 155 ซม. 166 ซม. 169 ซม. 180 ซม.

นับข้อมูลที่มจี านวนซ้ากันมากที่สุด
ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้ คือ 155 ซม.
ถ้ามีนักเรียนเพิ่มอีก 1 คน ที่มีส่วนสูง 169 ซม.
จะเห็นว่า มีข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดเท่ากัน 2 ค่า
ฐานนิยมของนักเรียนกลุ่มนี้ คือ 155 ซม. และ 169 ซม.

ถ้ามีนักเรียนเพิ่มอีก 1 คน ที่มีส่วนสูง 180 ซม. 145 ซม. 147 ซม. 155 ซม. 166 ซม. 169 ซม. 180 ซม.
จะเห็นว่า มีข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดเท่ากันมากกว่า 2 ค่า
ข้อมูลชุดนีไ้ ม่มีฐานนิยม
ข้อสังเกตและหลักเกณฑ์ที่สาคัญในการใช้ค่ากลางชนิดต่าง ๆ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
เป็นค่ำกลำงที่ใช้ได้กับข้อมูลเชิงปริมำณเท่ำนั้น ซึ่งเป็นที่นิยมใช้และน่ำเชื่อถือมำกกว่ำมัธยฐำน และฐำนนิยม
Mr.Mean
เนื่องจำกใช้ข้อมูลทุกตัวมำคำนวณหำค่ำ แต่ข้อมูลชุดนั้นจะต้องไม่มีข้อมูลที่ต่ำกว่ำ หรือสูงกว่ำข้อมูลอื่นอย่ำงผิดปกติ

มัธยฐาน
เป็นค่ำกลำงที่ใช้กับข้อมูลเชิงปริมำณเท่ำนั้น สำมำรถใช้กับข้อมูลที่มีค่ำต่ำกว่ำหรือสูงกว่ำข้อมูลอื่นอย่ำงผิดปกติ
ถ้ำข้อมูลเป็นจำนวนคี่ แล้วมัธยฐำนที่ได้จะเป็นค่ำใดค่ำหนึ่งของข้อมูลชุดนั้น แต่ถ้ำข้อมูลเป็นจำนวนคู่ แล้วมัธยฐำนที่ได้
Mr.Median อำจจะไม่ใช่ค่ำใดค่ำหนึ่งของข้อมูลชุดนั้น

ฐานนิยม
เป็นค่ำกลำงที่ใช้ได้กับข้อมูลเชิงปริมำณและข้อมูลเชิงคุณภำพ ซึ่งฐำนนิยมของข้อมูลบำงชุดอำจมีมำกกว่ำหนึ่งค่ำ
หรือข้อมูลบำงชุดอำจไม่มีฐำนนิยม
Mr.Mode
ปัญหาชวนคิด
นักเรียนคิดว่า Mr.Mean , Mr.Median และ Mr.Mode เหมาะสมกับสถานการณ์ใด

1
นำยตะวัน อยำกทรำบว่ำเงินเดือนเฉลี่ยของพนักงำน
บริษัทแห่งหนึ่งมีค่ำเป็นเท่ำใด ถ้ำอัตรำเงินเดือนของ
บริษัทมีค่ำที่แตกต่ำงกันมำก
Mr.Mean Mr.Median Mr.Mode

2
นำยอนันต์ อยำกทรำบว่ำคะแนนสอบเฉลี่ยของวิชำ
คณิตศำสตร์ของนักเรียน 10 คน มีค่ำเป็นเท่ำใด
ถ้ำนักเรียนกลุ่มนั้นมีคะแนนสอบใกล้เคียงกัน Mr.Mean Mr.Median Mr.Mode

3
นำงสำวใจดี อยำกทรำบว่ำเพื่อนร่วมชั้นส่วนใหญ่
ชอบรับประทำนไอศกรีมรสชำติใดมำกที่สุด
Mr.Mean Mr.Median Mr.Mode

You might also like