You are on page 1of 38

บทที่ 7

บทที่ 7 อนุกรมอนันต์
เอกสารบทนี้เป็นการทบทวนเกี่ยวกับแนวคิดและนิยามเกี่ยวกับลำดับและอนุกรมอนันต์
(sequences and finite series) โดยจะเริ่มจากความหมายและนิยามของลำดับ การหารูปแบบ
ทั่วไปของลำดับลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต นอกจากนั้นจะอธิบายถึงอนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
(convergence) หรือการลู่ออก (divergence) ของอนุกรมอนันต์โดยใช้ทฤษฏีลิมิต ผลบวกของ
อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต ตลอดจนอนุกรมสลับ อนุกรมกำลัง อนุกรมเทย์เลอร์และ
อนุกรมแมคคลอรีน

ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
ลำดับ (sequence) คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก เช่น ลำดับของ a
สามารถเขียนได้เป็น a(1), a(2), ...,a(n),... เรียก a(n) ว่า พจน์ที่ n ของลำดับ เมื่อ n คือ
จำนวนนับหรือจำนวนเต็มบวก( n ∈I + ) หรือเราจะนิยามลำดับว่าเป็นเซตของจำนวนที่เรียงกัน
a1 , a2 , a3 , a4 ,... an ,.... (7.1)
เมื่อเลข 1,2, 3,...,n ที่ห้อยอยู่คือเลขบอกตำแหน่งหรือลำดับของพจน์ของข้อมูล อาทิเช่น
3, 9, 19, 29,... นั่นคือ a1 = 3 : a2 = 9 : a3 = 19 : a4 = 29 และรูปแบบทั่วไปของ
ลำดับ คือ an = 2n 2 + 1 ทั้งนี้เราจะเห็นว่าลำดับเป็นเซตของจำนวนที่เรียงกันภายใต้กฎเกณฑ์
อย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน ในขณะเดียวกัน ถ้าเรารู้รูปแบบของพจน์ที่ n ของลำดับ แล้วเราก็จะหา
ค่าพจน์ต่างๆ ได้ โดยแทนค่า n =1,2, 3,..... ลงในรูปแบบทั่วไปนั้น ตัวอย่างเช่น an = n − 2
จะมี a1 = 1− 2 = − 1 a2 = 2 − 2 = 0 : a3 = 3− 2 = 1 : a4 = 4 − 2 = 2 นั่นคือ
-1, 0, 1, 2, 3,... ตัวอย่างลำดับอนันต์อื่นๆ ที่สามารถเขียนในรูปทั่วไป ได้ เช่น
ลำดับอนันต์ ลำดับอนันต์
1, 1, 1, 1,... an = 1
−2, − 4, − 6, − 8, − 10,... an = − 2n

1, − 1, 1, − 1, 1,... an = ( − 1)n−1
1 1 1 1 1
1, , , , ,... an =
2 3 4 5 n
194 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

1 ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
ลำดับจำกัด (Finite Sequence ) คือ ลำดับที่มีจำนวนพจน์ที่แน่นอนรู้ค่าของพจน์
สุดท้าย เช่น 1, 3, 5, 7, 9 เป็นลำดับจำกัด คือมี 5 พจน์ และพจน์สุดท้ายมีค่าเท่ากับ 9
( a5 = 9 ) และเรียกลำดับที่ไม่รู้จำนวนพจน์แน่นอน ว่า ลำดับอนันต์ ( Infinite Sequence )
อาทิเช่น 1, 1, 2, 3, 5, 8, ... ซึ่งจะรู้จักกันในนาม ลำดับฟีโบนัซซี (Fibonacci sequence) คือ
ลำดับที่เกิดจากการบวกกันของตัวเลขสองพจน์ที่อยู่ติดกัน เมื่อจำนวนพจน์เพิ่มขึ้นจะเห็นว่า
ตัวเลขมีค่าเพิ่มขึ้นอย่างไร้ขอบเขต และเรียกลำดับนี้ว่า ลำดับลู่ออก (divergence )

2 ลำดับลู่เข้าและลำดับลู่ออก
ถ้า an เป็นลำดับอนันต์ที่มีลิมิตเป็นจำนวนจริง : lim an = A
n→∞
แล้ว เราจะเรียก
ลำดับอนันต์นั้นว่า ลำดับลู่เข้า หรือคอนเวอร์เจนต์ (Convergence)

ถ้าลำดับอนันต์ an เป็นลำดับที่ไม่มีมีลิมิต นั่นคือ lim an = ∞


n→∞
แล้ว เราจะเรียก
ลำดับอนันต์นั้นว่า ลำดับลู่ออกหรือไดเวอร์เจนต์ (Divergence)

3 ทฤษฏีลิมิต

ถ้า lim an = A
n→∞
และ lim bn = B
n→∞
แล้ว จะได้

1. lim (an + bn ) = A+B


n→∞
2. lim (kbn ) = kB
n→∞

3. lim (anbn ) = AB 4. lim ( an bn ) = A B ; B ≠ 0


n→∞ n→∞

ln n
5. lim = 0 6. lim n1 n = 1
n→∞ n n→∞

7. lim x1 n = 1 ; x > 0
n→∞
8. lim x n = 0 ;
n→∞
x <1

n
⎛ x⎞ xn
9. lim ⎜ 1+ ⎟
n→∞ ⎝
= e x
10. lim = 0
n⎠ n→∞ n!

f (n) 0 ∞
11) ถ้า lim = หรือ แล้ว ควรใช้วิธีแยกตัวประกอบ
n→∞ g(n) 0 ∞
f (n) f ′(n)
หรือใช้กฎโลปิตาล lim = lim
n→∞ g ′ (n)
(อนุพันธ์เศษ/อนุพันธ์ส่วน)
n→∞ g(n)
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 195

ตัวอย่างที่ 7.1 จงหาพจน์ที่ n ของลำดับอนันต์ ต่อไปนี้ และหาลิมิตของลำดับ


ก) 2, 5, 10, 17, 26, 37,... ข) −1, 2, − 3, 4, − 5, 6, ...

1 1 1 1 1 2 3 4
ค) , , , ,... ง) , , , ,...
2 4 8 16 3 5 7 9

วิธีทำ ก) 2, 5, 10, 17, 26, 37,... = 1+ 1, 4 + 1, 9 + 1, 16 + 1, 25 + 1, 36 + 1 ,......


= 12 + 1, 2 2 + 1, 32 + 1, 4 2 + 1, 5 2 + 1, 6 2 + 1 ,......
ดังนั้นจะได้ an = n 2 +1

และ lim an =
n→∞
lim(n 2 +1) = lim n 2 + lim 1
n→∞ n→∞ n→∞

= ∞+ 1 = ∞ ลำดับลู่ออก (ไดเวอร์เจนต์)

ข) −1, 2, − 3, 4, − 5, ... = (−1)1 (1), ( − 1)2 (2), ( − 1)3 (3), ( − 1)4 (4), ( − 1)5 (5),...
ดังนั้นจะได้ an = ( − 1)n n

และ lim an = lim ( − 1)n n = lim ( − 1)n ⋅lim n


n→∞ x→∞ n→∞ x→∞

= ( ± 1)(∞) = ± ∞ ลำดับลู่ออก(ไดเวอร์เจนต์)

1 1 1 1 1 1 1 1
ค) , , , ,... = , , , ,......
2 4 8 16 21 2 2 2 3 2 4
1
ดังนั้นจะได้ an =
2n
n
⎛ 1⎞ ⎛ 1⎞
และ lim an = lim ⎜ n ⎟ = lim ⎜ ⎟
n→∞ n→∞ ⎝ 2 ⎠ n→∞ ⎝ 2 ⎠
= ∞ ลำดับลู่ออก (ไดเวอร์เจนต์)

1 2 3 4 1 2 3 4
ง) , , , ,... = , , , ,..
3 5 7 9 2(1) + 1 2(2) + 1 2(3) + 1 2(4) + 1
n
ดังนั้นจะได้ an =
2n + 1

⎛ n ⎞ ⎛ n ⎞ ⎛ 1 ⎞
และ lim an = lim ⎜ ⎟
x→∞ ⎝ 2n + 1 ⎠
= lim ⎜ ⎟
x→∞ ⎝ 2n + 1 ⎠
= lim ⎜
x→∞ ⎝ 2 + 1 n ⎟
n→∞ ⎠
1 1
= = ลำดับลู่เข้า (คอนเวอร์เจนต์)
2+0 2
196 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

ตัวอย่างที่ 7.2 จงหาว่าลำดับต่อไปนี้ เป็นลำดับลู่เข้าหรือไม่


n 2 +2n +3 ln n 2
ก) an = ข) an =
n3 + n n

⎛ n − 2⎞
1 n

ค) an = (n ) 2 n
ง) an = ⎜
⎝ n ⎟⎠

วิธีทำ
2 3
n 2 +2n +3 1+ + 2 1
ก) lim an = lim = lim n n = lim = 0
n→∞ n→∞ n3 + n n→∞
n+
1 n→∞ n
n
n 2 +2n +3 n2 1
หรือ lim an = lim = lim 3 = lim = 0 ลำดับลู่เข้า
n→∞ n→∞ n3 + n n→∞ n n→∞ n

ln n 2 ln n
ข) lim an = lim
n→∞ n→∞ n
= 2 lim
n→∞ n
= 2(0) = 0 ลำดับลู่เข้า

2

1 1

ค) lim an = lim (n ) = ⎜ lim (n) n ⎟ = 12 = 1
2 n
ลำดับลู่เข้า
n→∞ n→∞ ⎝ n→∞ ⎠

⎛ n − 2⎞
n n
⎛ (−2) ⎞
ง) lim an = lim ⎜
n→∞ ⎝
⎟⎠ = lim ⎜⎝ 1+ ⎟ = e−2 ลำดับลู่เข้า
n→∞ n n→∞ n ⎠

n 2 +2
ตัวอย่างที่ 7.3 จงหาว่า an = เป็นลำดับลู่เข้าหรือไม่
2n

n 2 +2 ∞
วิธีทำ lim an = lim
n→∞ 2n
=
n→∞ ∞

ดังนั้นต้องใช้วิธีแยกตัวประกอบ ดึงตัวร่วมหรือกฎของโลปิตาล
f (n) f ′(n)
จากกฎของโลปิตาล lim = lim จะได้
n→∞ g(n) n→∞ g ′(n)

n 2 +2 2n
lim an = lim = lim
n→∞ n→∞ 2n n→∞ 2

= lim n = ∞
n→∞
ลำดับลู่ออก
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 197

ลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต
หัวข้อนี้จะอธิบายถึงลำดับที่เขียนอยู่ในรูปทั่วไปเป็น a1, a2 , a3 ,..., an ,... และที่มีผลต่าง
หรืออัตราส่วนของพจน์ที่อยู่ติดกันมีค่าเท่ากันตัวเสมอ คือลำดับเลขคณิตและลำดับเรขาคณิต
เพราะลำดับทั้งสองมีความสำคัญและเป็นพื้นฐานของอนุกรมอนันต์และอนุกรมกำลัง
1 ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต (arithmetic sequences) คือลำดับที่มีผลต่างของพจน์สองพจน์ที่อยู่
ติดกันเท่ากันเสมอ และจะเรียกผลต่างนั้นว่า ผลต่างร่วม d (common different) นั่นคือ
a1 , a1 + d , a1 + 2d , a1 + 3d , ..., a1 + (n − 1)d ,... (7.2)
เมื่อผลต่างร่วม d = a2 − a1 = a3 − a2 = ... = an − an−1 (7.3)
ตัวอย่างลำดับเลขคณิต อาทิเช่น
1, 4, 7, 10, 13,... เป็นลำดับที่มีผลต่าง d = 7 − 4 = 10 − 7 = 3 และ a1 =1

ดังนั้นจะได้ an = 1+3(n − 1) หรือเขียนให้อยู่ในรูปทั่วไป ได้เป็น an = 3n − 2

3, 1, − 1, − 3,... เป็นลำดับที่มีผลต่าง d = 1− 3 = − 1− 1 = − 2 และ a1 = 3

ดังนั้นจะได้ an = 3 − 2(n − 1) หรือเขียนให้อยู่ในรูปทั่วไป ได้เป็น an = 5 − 2n

2 ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต(geometric sequences)คือลำดับที่มีอัตราส่วนร่วม(common ratio)
ของพจน์ที่อยู่ติดกันคงตัว นั่นคือ a1 , a1r, a2 r, a3r,... หรือ
a1 , a1r , a1r 2 , a1r 3 , ..., a1r n−1 ,... (7.4)
a2 a a an
เมื่ออัตราส่วนร่วม r = = 3 = 4 = ... = (7.5)
a1 a2 a3 an−1

ตัวอย่างลำดับเรขาคณิต อาทิเช่น
4 8 16
2, 4, 8, 16,... . เป็นลำดับที่มีอัตราส่วนร่วม r = = = = 2 และ a1 = 2
2 4 8
ดังนั้นจะได้ an = 2(2)n−1 หรือเขียนให้อยู่ในรูปทั่วไป ได้เป็น an = 2 n
1 1 1 1 3 1 9 1 27 1
1, , , ,... เป็นลำดับที่มีอัตราส่วนร่วม r = = = = และ a1 =1
3 9 27 1 13 19 3

1
ดังนั้นจะได้ an = 1(1 3) หรือเขียนให้อยู่ในรูปทั่วไป ได้เป็น
n−1
an =
3n−1
198 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

อนุกรมจำกัดและอนุกรมอนันต์
ผลบวกของลำดับจำกัด n พจน์ a1 ,a2 ,a3 ,...,an เขียนแทนด้วย a1 +a2 +a3 +...+an

จะเป็นจำนวนจริงเสมอ เช่น 1+3+5+7+9=25 หรือ 10+20+30+...+80 = 360 เป็นต้น โดยจะ


เรียกผลบวกของลำดับจำกัดหรือลำดับที่มีจำนวนพจน์ที่แน่นอนว่าอนุกรมจำกัด(infinite series)
และเรียกผลบวกของลำดับอนันต์หรือลำดับทีไ่ ม่ทราบจำนวนพจน์วา่ อนุกรมอนันต์(infinite series)
อนุกรมอนันต์ คือ อนุกรมที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป

a1 +a2 +a3 +...+an +... = ∑a n (7.6)
n=1

เนื่องจากเราไม่สามารถหาผลบวกของอนุกรมทั้งหมดได้เพราะมีพจน์จำนวนมากเข้าสู่อนันต์
แต่อย่างไรก็ตาม เราสามารถหาผลบวกของอนุกรมได้โดยใช้ทฤษฏีลิมิต นอกจากนี้แล้วเรายัง
n
สามารถหาผลบวกย่อย n พจน์แรกของอนุกรม ได้จาก Sn = ∑a i นั่นคือ
i=1

S1 = a1
S2 = S1 + a2 = a1 +a2
S3 = S2 + a3 = a1 +a2 + a3 (7.7)
:
Sn = Sn−1 + an = a1 +a2 + a3 +...+an

ตัวอย่างเช่น ค่าคงตัว π = 3.14159265358979... สามารถเขียนในรูปอนุกรมได้เป็น


1 4 1 5 9 2 6 5 3 5 8 9 7 9
π = 3+ + + + + + + + + + + + + + + ...
10 10 2 10 3 10 4 10 5 10 6 10 7 10 8 10 9 1010 1011 1012 1013 1014

1
แล้วจะได้ S1 = 3 : S2 = 3+ = 3.1
10
1 4
S3 = 3+ + = 3.14
10 100
1 4 1
S4 = 3+ + 2 + 3 = 3.141
10 10 10

ถ้าอนุกรมอนันต์มีลิมิต ( lim
n→∞
Sn = S จำนวนจริง) แล้วจะเรียกอนุกรมนั้นว่า อนุกรมลู่เข้า
หรืออนุกรมคอนเวอร์เจนต์ (convergent series) แต่ถ้าไม่สามารถหาลิมิตได้ ( lim
n→∞
Sn = ±∞ )

จะเรียกอนุกรมนั้นว่า อนุกรมลู่ออกหรืออนุกรมไดเวอร์เจนต์ (divergent series)


บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 199


2
ตัวอย่างที่ 7.4 จงหาผลบวก Sn ของ ∑ k(k + 1)
k=1


2 1 1 1 1
วิธีทำ ∑ k(k + 1) = 1+ + + + + ...
3 6 10 15
k=1

⎡1 1 1 1 1 ⎤
= 2⎢ + + + + + ...⎥
⎣ 2 6 12 20 30 ⎦

⎡⎛ 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ ⎛ 1 1 ⎞ ⎤
= 2 ⎢⎜ 1− ⎟ + ⎜ − ⎟ + ⎜ − ⎟ + ⎜ − ⎟ + ⎜ − ⎟ + ...⎥
⎣ ⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 3 ⎠ ⎝ 3 4 ⎠ ⎝ 4 5 ⎠ ⎝ 5 6 ⎠ ⎦

⎡ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 ⎤
= 2 ⎢1− + − + − + − + − + ...⎥ = 2 ลู่เข้า
⎣ 2 2 3 3 4 4 5 5 6 ⎦

ตัวอย่างที่ 7.5 จงหาผลบวกของอนุกรมอนันต์ 0.3+0.03 + 0.003 + 0.0003 + ...


วิธีทำ เนื่องจาก 1 3 = 0.33333..... ดังนั้นผลบวกของอนุกรมจึงน่าจะเท่ากับ 3
1) การหาผลบวกของอนุกรมโดยใช้ผลบวกย่อย Sn ของ 0.3+0.03 + 0.003 + 0.0003 + ...
จะได้ S1 = 0.3 : S2 = 0.3 + 0.03 = 0.33

S3 = 0.3 + 0.03 + 0.003 = 0.333

S4 = 0.3 + 0.03 + 0.003 + 0.0003 = 0.3333

เราจะเห็นว่า ลำดับ S1 S2 S3 S4 สามารถนำมาใช้ในการประมาณผลบวกของอนุกรมได้


และถ้าใช้จำนวนพจน์มากขึ้นแล้วการประมาณค่าจะใกล้เคียงกับค่าแท้จริงมากขึ้น

2) การหาผลบวกโดยใช้ทฤษฏีลิมิต lim Sn
n→∞

3 3 3 3 3
พจน์ทั่วไปของผลบวกย่อย Sn = + 2 + 3 + 4 + ...+ n + ... (A)
10 10 10 10 10
3 3 3 3
นำ 10 คูณ (A) ได้เป็น 10Sn = 3+ + 2 + 3 + ...+ n−1 + ... (ฺB)
10 10 10 10

นำ (B) - (A) จะได้ ⎛ 3 3 3 ⎞ ⎛ 3 3 3 ⎞


10Sn − Sn = ⎜ 3 + + 2 + ...+ n+1 + ...⎟ − ⎜ + 2 + ...+ n + ...⎟
⎝ 10 10 10 ⎠ ⎝ 10 10 10 ⎠

1
9Sn = 3 −
10 n
1⎛ 1 ⎞ 3 1
จะได้ lim Sn = lim ⎜ 3 − n ⎟ = = อนุกรมลู่เข้า
n→∞ n→∞ 9 ⎝ 10 ⎠ 9 3
200 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต (arithmetic series) คือ อนุกรมที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปทั่วไป ได้เป็น
a1 +(a1 +d)+(a2 +d) ...+(an−1 + d)+... และโดยทั่วไปมักจะเขียนอยู่ในรูป

a1 +(a1 + d)+(a1 + 2d)+(a1 + 3d) + ...+[a1 + (n − 1)d] (7.8)


เมื่อ d = a2 − a1 = a3 − a2 = ... = an − an−1 แล้วเราจะหาผลบวกของอนุกรมได้ดังนี้
1) ถ้าทราบจำนวนพจน์ n และผลต่างร่วม d แล้วจะหาผลบวกของอนุกรม Sn ได้จาก
n
Sn =
2
[ 2a1 + (n − 1)d ] (7.9)

2) ถ้าทราบจำนวนพจน์ n และพจน์ที่ n (an ) แล้วเราจะหาผลบวกของอนุกรมได้จาก


n
Sn =
2
[ a1 + an ] (7.10)

เมื่อ an = an−1 + d หรือ an = a1 + (n − 1)d (7.11)

3) อนุกรมเลขคณิตที่เป็นอนุกรมอนันต์ จะไม่สามารถหาผลบวกของอนุกรมได้ ( Sn = ∞ )

4) อนุกรมอื่นๆ ที่ช่วยในการคำนวณ
n
∑n = 1+ 2 + 3 + ...+ n =
2
(n + 1)

n
∑n 2
= 1+ 2 2 + 32 + ...+ n 2 =
6
(2n + 1)(n + 1)

∑n 3
= 1+ 2 3 + 33 + ...+ n 3 = [(n 2)(n + 1)]
2

ตัวอย่างที่ 7.6 จงหาผลรวม 30 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต 1+4+7+ …

วิธีทำ โจทย์กำหนดให้ n = 30 และ a1 =1

เมื่อผลต่างร่วม d = 4 −1 = 3 หรือ d = 7−4 = 3

n 30
และจาก Sn =
2
[ 2a1 + (n − 1)d ] จะได้ S30 =
2
[ 2(1) + (30 − 1)3]

= 15(89) = 1, 335

ผลรวมของ 30 พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต 1+4+7+… คือ 1,335


บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 201

ตัวอย่างที่ 7.7 จงหาผลรวมของอนุกรมเลขคณิต 1+5+9+…+117

วิธีทำ จากโจทย์ a1 =1 และ an = 117 และผลต่างร่วม d = 5 − 1 = 9 − 5 = 4


เราจะหา n ได้จาก an = a1 + (n − 1)d

จะได้ 117 = 1+ (n − 1)4

116 = 4n − 4
4n = 120
120
n = = 30
4
n
หาผลรวมอนุกรม จาก Sn =
2
[ 2a1 + (n − 1)d ]
30
จะได้ S30 =
2
[ 2(1) + (30 − 1)4 ] = 1, 770

ผลรวมของ 1+5+9+…+117 คือ 1,770

ตัวอย่างที่ 7.8 อนุกรมเลขคณิตหนึ่งมีพจน์ที่ 5 เท่ากับ -21 และพจน์ที่ 15 เท่ากับ -1 แล้ว


จงหาพจน์แรก ( a1 ) ของอนุกรมเลขคณิตดังกล่าว

วิธีทำ โจทย์กำหนด a5 = − 21 และ a15 = − 1

จาก an = a1 + (n − 1)d จะได้ a5 = a1 + (5 − 1)d

−21 = a1 + 4d (A)
และ a15 = a1 + (15 − 1)d

−1 = a1 + 14d (B)

นำ (B) – (A) จะได้ 20 = 10d นั่นคือ d = 2

เราสามารถหา a1 ได้จาก (A) : −21 = a1 + 4(2) จะได้ a1 = − 29

หรือจะหา a1 จาก (B) : −1 = a1 + 14(2) จะได้ a1 = − 29

พจน์แรกของของอนุกรมเลขคณิต คือ −29


202 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต (geometric series) คือ ผลรวามของลำดับเรขาคณิตที่เขียนอยู่ในรูป
a1 +a1r +a2 r +...+an−1r n หรือโดยทั่วไปจะนิยมเขียนอยู่ในรูป

a1 +a1r +a1r 2 +...+a1r n−1 + ... = ∑a r 1
n−1
(7.12)
n=1

เมื่อ r คือ อัตราส่วนร่วมของพจน์ที่อยู่ติดกัน


a2 a an
r = = 3 = (7.13)
a1 a2 an−1

และหาพจน์ที่ n ได้จาก an = ran−1 หรือ an = a1r n−1 (7.14)

เราสามารถหาผลบวกของอนุกรมเรขาคณิตได้ดังนี้
1) ถ้าทราบจำนวนพจน์ n และอัตราส่วนร่วม r แล้ว ผลบวกของอนุกรมจำกัด หาได้จาก
a1 (1− r n )
Sn = (7.15)
1− r

2) อนุกรมเรขาคณิตที่เป็นอนุกรมอนันต์ จะเป็นอนุกรมลู่เข้าก็ต่อเมื่ออัตราส่วนร่วม
r < 1 แต่ถ้า r ≥ 1 จะเป็นอนุกรมลู่ออก

⎧ a1
⎪ ; r <1
Sn = ⎨ 1− r (7.16)
⎪ ∞ ; r ≥1

ตัวอย่างที่ 7.9 จงหาผลรวมกของ 10 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 1+ 2 + 4 + 8 + ..

2 4
วิธีทำ จากโจทย์ a1 = 1 และ n = 10 เมื่อ r = = = 2
1 2

a1 (1− r n ) 1(1− 210 )


จาก Sn = จะได้ S10 =
1− r 1− 2
= − (1− 1024)
= 1,023

ดังนั้น ผลรวม 10 พจน์แรกของอนุกรม 1+ 2 + 4 + 8 + .. มีค่าเท่ากับ 1,023


บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 203

ตัวอย่างที่ 7.10 จงหาผลรวม 5 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมีพจน์ที่สองเท่ากับ 6


และมีอัตราส่วนร่วม 3
วิธีทำ โจทย์กำหนดให้ a2 = 6 ,n = 5 ; r = 3

a2 6
จาก an = ran−1 จะได้ a1 = = = 2
r 3
a1 (1− r n ) 2(1− 35 )
และจาก Sn = จะได้ S5 = = 242
1− r 1− 3

ดังนั้น ผลรวม 5 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตมีค่าเท่ากับ 242

1 1 1
ตัวอย่างที่ 7.11 จงหาผลรวมของอนุกรมเรขาคณิต + + + ...
8 4 2

14 12
วิธีทำ จากโจทย์จะได้อัตราส่วนร่วม r = = = 2 ( ≥ 1)
18 14

ดังนั้น จึงไม่สามารถหาผลรวมได้ เนื่องจากเป็นอนุกรมลู่ออก

ตัวอย่างที่ 7.12 จงหาว่าอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก


n−1 n−1

ก) ∑ 3⎛⎜⎝ 1 ⎞⎟⎠ ⎛ 1⎞

1 1 1
ข) 1− + − + ... + ⎜ − ⎟
⎝ 2⎠
+ ...
n=1 2 2 4 8

วิธีทำ ก) a1 = 3 , r = 12 เป็นอนุกรมลู่เข้า
a1 3
หาผลบวกของอนุกรม ได้จาก Sn = จะได้ S∞ = = 6
1− r 1− (1 2)

−1 2 14 1
ข) ก) a1 = 1 , r = = = − เป็นอนุกรมลู่เข้า
1 −1 2 2

a1 1 2
หาผลบวกของอนุกรม ได้จาก Sn = จะได้ S∞ = =
1− r 1− (−1 2) 3
204 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

การทดสอบการลู่เข้า - ลู่ออกของอนุกรม
การทดสอบว่าลำดับอนันต์หรืออนุกรมอนันต์ใจเป็นอนุกรมลู่เข้าหรือเป็นอนุกรมลู่ออกนั้น
สามารถทำได้ดังนี้ การหาลิมิต การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบลิมิต การเปรียบเทียบอัตราส่วน
การเปรียบเทียบโดยรากที่ n และการหาปริพันธ์

1 การทดสอบอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
ถ้าพจน์ทั่วไปของอนุกรมเลขคณิตอยู่ในรูป an = a1 + (n − 1)d แล้วอนุกรมนั้นจะเป็น

อนุกรมลู่ออกเสมอ ยกเว้น a1 = d = 0

ถ้าพจน์ทั่วไปของอนุกรมเรขาคณิตอยู่ในรูป an = a1r n−1 และ


ถ้า r ≥1 แล้วอนุกรมนั้นจะเป็นอนุกรมลู่ออก
a1
ถ้า r <1 แล้วอนุกรมนั้นจะเป็นอนุกรมลู่เข้า และหาลิมิต ได้จาก
1− r

ตัวอย่างที่ 7.13 จงทดสอบอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรือไม่ ถ้าลู่เข้าจงหาลิมิต


∞ n−1

∑ ⎛⎜⎝ − 3 ⎞⎟⎠
2
ก) 1+ 3 + 9 + 27 + 81+ ..... ข) 1+ 0.1+ 0.01+ 0.001+ ... ค)
n=1

3 9
วิธีทำ ก) จาก 1+ 3 + 9 + 27 + 81+ ..... จะได้ a1 = 1 และ r = = = 3 >1
1 3

ดังนั้น 1+ 3 + 9 + 27 + 81+ ..... จึงเป็นอนุกรมลู่ออก

0.1 0.01
ข) จาก 1+ 0.1+ 0.01+ 0.001+ ... จะได้ a1 = 1 และ r= = = 0.1 < 1
1 0.1
1 1
ดังนั้น 1+ 0.1+ 0.01+ 0.001+ ... จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า มีลิมิตเป็น = 1
1− 0.1 9


−2
n−1

∑ ⎛⎜⎝ − 3 ⎞⎟⎠
2 2
ค) จาก จะได้ a1 =1 และ r= = <1
n=1 3 3
∞ n−1

ดังนั้น ∑ ⎛⎜⎝ − 2 ⎞⎟⎠ จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า มีลิมิต เป็น 1


=
3
3
n=1 1− (−2 3) 5
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 205

2 การทดสอบแบบเปรียบเทียบ
∞ ∞
กำหนดให้ ∑ an และ ∑ bn เป็นอนุกรมที่ an > 0 , bn > 0 และค่าคงตัว c > 0
n=1 n=1

และ an ≤ cbn สำหรับทุกๆ n แล้ว


∞ ∞
ถ้า ∑ bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1 n=1

∞ ∞
ถ้า ∑ an เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว ∑ bn จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1 n=1


6n
ตัวอย่างที่ 7.14 จงทดสอบการลู่เข้าของอนุกรม ∑ 7n − 5n
n=1

วิธีทำ เนื่องจาก 7 n มากกว่า −5 n ดังนั้นเราจึงเลือกที่จะเปรียบเทียบกับ 6 n 7 n นั่นคือ


n
6n 6n 6n 7 ⎛ 6⎞
= ≤ = ⎜ ⎟
7 −5
n n
7 (1− (5 / 7) )
n n
7 (2 / 7)
n
2 ⎝ 7⎠
∞ ∞
6n
เนื่องจากอนุกรมเรขาคณิต ∑ ( 6 7 )n เป็นอนุกรมลู่เข้า ดังนั้น ∑ จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1 7 − 5
n n
n=1


n2
ตัวอย่างที่ 7.15 จงทดสอบการลู่เข้าของอนุกรม ∑ n3 + 1
n=1

n2 n2 1 ⎛ 1⎞
วิธีทำ เนื่องจาก n + 1 ≤ 2n3 3
ดังนั้น ≥ = ⎜ ⎟
n +1
3
2n 3
2 ⎝ n⎠
∞ ∞ 2
เนื่องจากอนุกรมฮาร์มอนิก ∑ 1 เป็นอนุกรมลู่ออก ดังนั้น ∑ 3n จึงเป็นอนุกรมลู่ออก
n n=1 n +1 n=1


n5 2 + 1
ตัวอย่างที่ 7.16 จงทดสอบการลู่เข้าของอนุกรม ∑ n3
n=1

n5 2 + 1 n5 2 1 1 1 1
วิธีทำ เนื่องจาก = + = + 3 ≥
n3 n3 n3 n n n

1
เนื่องจากอนุกรมฮาร์มอนิก ∑ เป็นอนุกรมลู่ออก เพราะเป็นอนุกรมพี ที่ p = 12
n=1 n

ดังนั้น ∑ n 3+ 1 จึงเป็นอนุกรมลู่ออก
∞ 52

n=1n
206 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

3 การทดสอบโดยการเปรียบเทียบลิมิต
∞ ∞
กำหนดให้ ∑ an และ ∑ bn เป็นอนุกรม ที่ an > 0 , bn > 0 สำหรับทุกๆ n แล้ว
n=1 n=1

an
ถ้า lim =L >0 แล้วอนุกรมทั้งสองจะเป็นอนุกรมลู่เข้าทั้งคู่หรือลู่ออกทั้งคู่
n→∞ bn
∞ ∞
an
ถ้า lim = 0 และ ∑ bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
n→∞ b
n n=1 n=1

∞ ∞
an
ถ้า lim = ∞ และ ∑ bn เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่ออก
n→∞ bn n=1 n=1

ตัวอย่างที่ 7.17 จงทดสอบอนุกรมต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก



2n 3 + 3 ∞
5n
ก) ∑ 3n 5 − 2 ข) ∑ 1+ en
n=1 n=1


2n 3 + 3 2n 3 + 3 1
วิธีทำ ก) จาก ∑ 3n 5 − 2 กำหนดให้ an =
3n 5 − 2
และ bn =
n2
n=1

an ⎛ 2n 3 + 3 1 ⎞ ⎛ 2n 5 + 3n 2 ⎞ 2
จะได้ lim = lim ⎜ 5
n→∞ ⎝ 3n − 2 ⎟ = lim ⎜ ⎟ = > 0
n→∞ b
n n ⎠
2 n→∞ ⎝ 3n − 2 ⎠
5
3

1
เนื่องจาก ∑ 2
เป็นอนุกรมลู่เข้า เพราะเป็นอนุกรมพี p = 2 >1
n=1 n

2n 3 + 3

ดังนั้น ∑ 3n 5 − 2 จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1


5n 5n 5n
ข) จาก ∑ 1+ en กำหนดให้ an =
1+ en
และ bn = n
e
n=1

an ⎛ 5n 5n ⎞ en
จะได้ lim = lim ⎜ = lim = 1 > 0
n→∞ b
n
n→∞ ⎝ 1+ e n en ⎟⎠ n→∞ 1+ e n


5n 5
เนื่องจาก ∑ en เป็นอนุกรมลู่ออก เพราะเป็นอนุกรมเรขาคณิต ที่ r=
e
>1
n=1

∞ n
ดังนั้น ∑ 5 n จึงเป็นอนุกรมลู่ออก
1+ e n=1
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 207

4 การทดสอบด้วยอัตราส่วน

กำหนดให้ ∑ an เป็นอนุกรม ที่ an ≥ 0 แล้ว
n=1


an+1
ถ้า lim
n→∞ a
< 1 แล้ว ∑ an เป็นอนุกรมลู่เข้า
n n=1


an+1
ถ้า lim
n→∞ a
> 1 แล้ว ∑ an เป็นอนุกรมลู่ออก
n n=1

an+1
ถ้า lim = 1 แล้ว สรุปไม่ได้ ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n→∞ an


4 2n (n + 1)
ตัวอย่างที่ 7.18 จงทดสอบอนุกรม ∑ n! ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1


4 2n (n + 1) 4 2n (n + 1)
วิธีทำ จาก ∑ n! กำหนดให้ an =
n!
n=1

4 2(n+1) [(n + 1) + 1)] 4 2n ⋅ 4 2 (n + 2)


จะได้ an+1 = =
(n + 1)! (n + 1)⋅ n!

an+1 ⎛ 4 2n ⋅ 4 2 (n + 2) 4 2n (n + 1) ⎞
ดังนั้น lim = lim ⎜ ⎟⎠
n→∞ a
n
n→∞ ⎝ (n + 1)⋅ n! n!

⎛ 4 2n ⋅ 4 2 (n + 2) n! ⎞
= lim ⎜ ⋅ 2n
n→∞ ⎝ (n + 1)⋅ n! 4 (n + 1) ⎟⎠

⎛ 16n + 32 ⎞
= lim ⎜ 2 ⎟
n→∞ ⎝ n + 2n + 1 ⎠

⎛ 16 ⎞
= lim ⎜ ⎟ = 0
n→∞ ⎝ n ⎠

∞ 2n
(n + 1)
ดังนั้น ∑ 4 จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1 n!
208 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

5 การทดสอบโดยรากที่ n

กำหนดให้ ∑ an เป็นอนุกรม ที่ an ≥ 0 และ lim
n→∞
n a
n = R แล้ว
n=1


ถ้า R< 1 แล้ว ∑ an เป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1


ถ้า R> 1 แล้ว ∑ an เป็นอนุกรมลู่ออก
n=1

ถ้า R =1 แล้ว สรุปไม่ได้ ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก

ตัวอย่างที่ 7.19 จงทดสอบอนุกรมต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก


2 + 3n
2n n

∑ ⎛⎜⎝ n ⎞⎟⎠ ∑ ⎛⎜⎝ 2n + 1 ⎞⎟⎠


∞ ∞
3
ก) ข)
n=1 n=1

2n 2n
⎛ 3⎞ ⎛ 3⎞ 3
วิธีทำ ก) กำหนดให้ an = ⎜ ⎟ จะได้ 2n an = 2n
⎜⎝ ⎟⎠ =
⎝ n⎠ n n

⎛ 3⎞
นั่นคือ R = lim n an = lim ⎜ ⎟ = 0 < 1
n→∞ n→∞ ⎝ n ⎠

2n

ดังนั้น ∑ ⎛⎜⎝ 3 ⎞⎟⎠



จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1 n

⎛ 2 + 3n ⎞ ⎛ 2 + 3n ⎞ 2 + 3n
n n

ข) กำหนดให้ an = ⎜
⎝ 2n + 1 ⎟⎠
จะได้ n an = n
⎜⎝ ⎟⎠ =
2n + 1 2n + 1

⎛ 2 + 3n ⎞ 3
นั่นคือ R = lim n an = lim ⎜ ⎟ =
n→∞ ⎝ 2n + 1 ⎠
>1
n→∞ 2

2 + 3n
n

∑ ⎛⎜⎝ 2n + 1 ⎞⎟⎠

ดังนั้น จึงเป็นอนุกรมลู่ออก
n=1
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 209

6 การทดสอบโดยการหาปริพันธ์

กำหนดให้ ∑ an เป็นอนุกรมที่ an ≥ 0 ทุกๆ ค่า n ถ้ามีฟังก์ชันซึ่งเป็นฟังก์ชันลด
n=1

และมีความต่อเนื่องบน [a,∞) โดยที่ f (x) ≥ 0 ทุกค่า x > a และ f (n) = an ทุกๆ ค่า n
∞ ∞
ถ้า ∫ f (x)dx หาค่าได้ แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
a n=1

∞ ∞
ถ้า ∫ f (x)dx หาค่าไม่ได้ แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่ออก
a n=1

ตัวอย่างที่ 7.20 จงทดสอบอนุกรมต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก


∞ ∞
1 1
ก) ∑ n2 ข) ∑
n
n=1 n=1


1 1 1
วิธีทำ ก) จาก ∑n 2
กำหนดให้ an =
n2
และ f (x) =
x2
n=1

∞ b b
1 ⎡ 1⎤
ดังนั้นจะได้ ∫ f (x)dx = lim ∫ 2 dx = lim ⎢ − ⎥
b→∞ x b→∞ ⎣ x ⎦
1 1 1

⎡ 1 ⎤
= lim ⎢ − − (−1) ⎥ = 1
b→∞ ⎣ b ⎦
∞ ∞
เนื่องจาก ∫ f (x)dx =1 หาค่าได้ ดังนั้น ∑ 12 จึงเป็นอนุกรมลู่เข้า
1 n=1 n


1 1 1
ข) จาก ∑ กำหนดให้ an = และ f (x) = = x −1 2
n=1 n n x
∞ b
b
ดังนั้นจะได ้ ∫ f (x)dx = lim ∫ x −1 2 dx = lim ⎡⎣ 2 x ⎤⎦
b→∞ b→∞ 1
1 1

= lim ⎡⎣ 2 b − 2 ⎤⎦ = ∞
b→∞

∞ ∞
1
เนื่องจาก ∫ f (x)dx = ∞ หาค่าได้ ดังนั้น ∑ จึงเป็นอนุกรมลู่ออก
1 n=1 n
210 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

อนุกรมพีและอนุกรมสลับ

1. อนุกรมพี

1 1 1 1 1
อนุกรมพี (P-series) คืออนุกรมที่อยู่ในรูป p
1 2
+ p
+
3 p
+ ...+
n p
+ ... = ∑ p
n=1 n

เมื่อ p คือจำนวนจริงใดๆ และถ้า p = 1 จะเรียกว่า อนุกรมฮาร์มอนิก (harmonic series)



ถ้า p >1 แล้ว ∑ 1p จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
n n=1


ถ้า p ≤1 แล้ว ∑ 1p จะเป็นอนุกรมลู่ออก
n n=1

ตัวอย่างที่ 7.21 จงทดสอบอนุกรมต่อไปนี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก


1 1 1 1 1 1
ก) 1+ + + + .... ข) 1+ + + + ....
2 3 33 4 3 23 5 33 5 43 5

1 1 1
วิธีทำ ก) 1+ + + + .... เป็นอนุกรมพี ที่มี p=3 ดังนั้นจึงเป็นอนุกรมลู่ออก
2 3 33 4 3
1 1 1 4
ข) 1+ 3
+ 3
+ 3
+ .... เป็นอนุกรมพีที่มี p= ดังนั้นจึงเป็นอนุกรมลู่เข้า
2 5 3 5 4 5 3

2 อนุกรมสลับ
อนุกรมสลับ (alternative series) คืออนุกรมที่มีพจน์เป็นจำนวนบวกและลบสลับกัน

สามารถเขียนได้เป็น a1 − a2 +a3 − a4 + .... = ∑ (−1)n+1 an ซึ่งจะเป็นอนุกรมลู่เข้า ก็ต่อเมื่อ
n=1

an+1 ≤ an สำหรับทุก n และ lim an = 0


n→∞

1 2 3 4
ตัวอย่างที่ 7.22 จงทดสอบอนุกรม − + − + .... ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรือไม่
3 7 11 15
n n +1
วิธีทำ จาก โจทย์ จะได้ an = และ an+1 =
4n − 1 (4n + 1) − 1

n +1 n
ซึ่งจะได้ว่า < นั่นคือ an+1 ≤ an
4n 4n − 1
⎛ n ⎞ 1
และ lim an = lim ⎜ ⎟
n→∞ ⎝ 4n − 1 ⎠
= ≠0 ดังนั้น จึงเป็นอนุกรมลู่ออก
n→∞ 4
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 211

อนุกรมกำลัง
1 นิยามของอนุกรมกำลัง
อนุกรมกำลัง (power series) คืออนุกรมของฟังก์ชันพหุนาม(polynomial function)
ที่มีเลขชี้กำลังเข้าสู่อนันต์ ( n → ∞ ) โดยสามารถเขียนในรูปทั่วไป ได้เป็น

∑ a (x − x )
n 0
n
= a0 + a1 (x − x0 ) + a2 (x − x0 )2 + ...+ an (x − x0 )n + ... (7.17)
n=0

เรียกว่า สมการ (8.17) ว่า อนุกรมกำลังของ x − x0 รอบจุด x0


เมื่อ a0 , a1 , a2 , ...,an คือ ค่าคงตัว เรียกว่า สัมประสิทธิ์ของอนุกรม
และ x0 คือ จุดศูนย์กลาง ถ้าจุดศูนย์กลางของอนุกรมกำลังอยู่ที่ 0 ( x0 = 0 ) จะได้

∑a x n
n
= a0 + a1 x + a2 x 2 + ...+ an x n + ... (7.18)
n=0

โดยจะเรียก ผลบวกย่อยจำนวน n พจน์แรกของอนุกรมกำลัง ว่า ฟังก์ชันพหุนามกำลัง n

2 การลู่เข้า รัศมีและช่วงของการลู่เข้า

การลู่เข้าของอนุกรมกำลัง ∑ an (x − x0 )n ซึ่งขึ้นอยู่กับค่าของ x นั้นเป็นไปได้ดังนี้
n=0

1 อนุกรมลู่เข้าที่ x = x0 ช่วงของการลู่เข้า คือ 0


2 อนุกรมลู่เข้าในทุกๆ ค่า x ช่วงของการลู่เข้าไม่จำกัดเขต ( R = ∞ )
3 จำนวนจริงบวก ( R > 0 ) จะทำให้อนุกรมลู่เข้า ในทุกค่าของ x เมื่อ x − x0 < R

และเป็นอนุกรมลู่ออก เมื่อ x − x0 > R แต่ที่ x − x0 = R อนุกรมอาจลู่เข้า


หรือลู่ออกก็ได้ เรียก R ว่า รัศมีของการลู่เข้า (radius of convergence) และเรียกเซตของ x
ที่ทำให้อนุกรมลู่เข้าว่า ช่วงของการลู่เข้า (interval of convergence) ซึ่งอาจเป็นช่วงเปิด ( , )
ช่วงปิด [ , ] หรือช่วงคริึ่งเปิด ( , ] [,) โดยเราสามารถทดสอบการลู่เข้าของอนุกรมได้ดังนี้
หาช่วงของการลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ของอนุกรมกำลังด้วยการทดสอบอัตราส่วน หรือ การ
ทดสอบโดยรากที่ n โดยปกติจะเป็นช่วงเปิด x − x0 < R
ถ้าช่วงของการลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ของอนุกรมกำลังเป็นช่วงจำกัด ให้ทดสอบการลู่เข้า ณ จุด
ที่อยู่ปลายช่วงด้วยซึ่งจะต้องทำการทดสอบด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การเปรียบเทียบ ปริพันธ์ หรือลิมิต
212 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

xn x2 x3 x4
ตัวอย่างที่ 7.23 จงหาช่วงของการลู่เข้าของอนุกรม ∑ n = x + 2 + 3 + 4 + ...
n=1

a xn x n+1
วิธีทำ ทดสอบโดยอัตราส่วน lim n+1 เมื่อ an = และ an+1 =
n→∞ a
n n n +1

an+1 x n+1 (n + 1) x n+1 n


จะได้ lim = lim = lim ⋅
n→∞ n + 1 x n
= x
n→∞ an n→∞ xn n

ถ้า x< 1 ( −1 < x < 1 แล้วจะเป็นอนุกรมลู่เข้า แต่ถ้า x> 1 จะเป็นอนุกรมลู่ออก



1n 12 13 14
และที่ x= 1 จะได้ ∑n = 1+ + + + ...
2 3 4
ซึ่งเป็นอนุกรมลู่ออก
n=1


(−1)n 12 13 14
ที่ x = −1 จะได้ ∑ n = − 1+ 2 − 3 + 4 − ... ซึ่งเป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1

ดังนั้นช่วงของการลู่เข้าของอนุกรม จึงเป็น −1 ≤ x < 1 หรือ [−1,1)


ตัวอย่างที่ 7.24 จงหาช่วงของการลู่เข้าของอนุกรมกำลัง ∑ b x เมื่อ
n n
b>0
n=0

an+1
วิธีทำ ทดสอบโดยอัตราส่วน lim เมื่อ an = (bx)n และ an+1 = (bx)n+1
n→∞ an

an+1 (bx)n+1
ดังนั้น lim
n→∞ a
= lim
n→∞ (bx)n
= bx
n

1
นั่นคือ ถ้า bx < 1 หรือ x< แล้วจะเป็นอนุกรมลู่เข้า
b
1
และถ้า bx >1 หรือ x> แล้วจะเป็นอนุกรมลู่ออก
b
ดังนั้นรัศมีของการลู่เข้า R จึงเท่ากับ 1 b

1
เมื่อพิจารณาที่ x= จะได้ ∑ b n x n = 1+ 1+ 1+ 1+ ... เป็นอนุกรมลู่ออก
b n=0


1
และที่ x=− จะได้ ∑ b n x n = 1− 1+ 1− 1+ ... เป็นอนุกรมลู่ออก
b n=0

ดังนั้นช่วงของการลู่เข้าของอนุกรม จึงเป็น −1 b < x < 1 b หรือ (−1,1)


บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 213

xn

x2 x3 xn
ตัวอย่างที่ 7.25 จงหาช่วงของการลู่เข้าของ ∑ n! = 1+ x + 2 + 6 + ...+ n! + ...
n=0

xn x n+1 an+1
วิธีทำ กำหนดให้ an = และ an+1 = ทดสอบโดยอัตราส่วน lim
n! (n + 1)! n→∞ an

an+1 x n+1 (n + 1)! x n+1 n!


สำหรับทุกๆ x จะได้ lim = lim = lim ⋅
n→∞ (n + 1)! x n
n→∞ a
n
n→∞ x n n!

x
= lim = 0
n→∞ (n + 1)

จากลิมิตจะได้ว่า เป็นอนุกรมลู่เข้า ในทุกๆ x ดังนั้นรัศมีของการลู่เข้าจึงเป็น ∞


และช่วงของการลู่เข้าของอนุกรม คือ x = R หรือ (−∞,∞)


ตัวอย่างที่ 7.26 จงหาช่วงของการลู่เข้าของ ∑ n!x n
= 1+ x + 2x 2 + 6x 3 + ...
n=0

an+1
วิธีทำ กำหนดให้ an = n!x n และ an+1 = (n + 1)!x n+1 ทดสอบโดยอัตราส่วน lim
n→∞ an

an+1 (n + 1)!x n+1 (n + 1)xn!x n


เมื่อ x≠0 จะได้ lim = lim = lim
n→∞ an n→∞ n!x n n→∞ n!x n

= lim (n + 1)x = ∞
n→∞

จากลิมิตจะได้ว่า เป็นอนุกรมลู่ออก เมื่อ x≠0 ดังนั้นรัศมีของการลู่เข้าจึงเป็น 0


(x − 1)2n
ตัวอย่างที่ 7.27 จงหาช่วงของการลู่เข้าของอนุกรมกำลัง ∑ 4n
n=0

วิธีทำ ทดสอบการลู่เข้าโดยใช้การทดสอบรากที่ n
(x − 1) 2n (x − 1) 2
กำหนดให้ an = จะได้ n an =
4n 4

x −1 x −1
2 2

ดังนั้น lim an n = lim =


n→∞ n→∞ 4 4

x −1
2

จากลิมิตจะได้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้า เมื่อ < 1 หรือ x −1 < 2 หรือ −1 < x < 3


4
214 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

x −1
2

และเป็นอนุกรมลู่ออก เมื่อ > 1 หรือ x −1 > 2


4
เมื่อพิจารณาที่ ( x = − 1, 3 )

(x − 1)2n ∞
2 2n ∞
จะได้ ∑ 4n = ∑ 4n = ∑1
n=0 n=0 n=0

ที่ x = − 1, 3 จึงทำให้เป็นอนุกรมลู่ออก เพราะ lim 1 = 1


x→∞
(1 ≠ 0)

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า รัศมีของการลู่เข้า คือ 2 และช่วงของการลู่เข้า คือ (−1, 3)

(−1)n 3n (x + 2)n

ตัวอย่างที่ 7.28 จงหาช่วงของการลู่เข้าของอนุกรมกำลัง ∑ n
n=1

an+1
วิธีทำ ทดสอบโดยอัตราส่วน lim
n→∞ an

(−1)n 3n (x + 2)n (−1)n+1 3n+1 (x + 2)n+1


เมื่อ an = และ an+1 =
n n +1

และ (−1)n = (−1)n+1 = 1

an+1 (−1)n+1 3n+1 (x + 2)n+1 (−1)n 3n (x + 2)n


จะได ้ lim = lim
n→∞ a
n
n→∞ n +1 n

3(x + 2)[3n (x + 2)n ] n


= lim
n→∞ n +1 3 (x + 2)n
n

(x + 2)n
= 3lim
n→∞ n +1

(x + 2)
= 3lim
n→∞ 1+ 1 n

= 3 (x + 2)

7 5
นั่นคือ อนุกรมลู่เข้า เมื่อ 3 (x + 2) < 1 หรือ − < x< −
3 3
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 215

พิจารณาที่ 3 (x + 2) = 1 จะได้ x= −7 3 และ x= −5 3

7 ∞
(−1)n 3n (−1 3)n ∞
(−1)2n 1 1 1 1
เมื่อ x=−
3
จะได้ ∑ n
=∑
n
= 1+ + + + ....+ + ...
2 3 4 n
n=1 n=1

อนุกรมพี ( p = 1 ) หรืออนุกรมฮาร์มอนิก ดังนั้นจึงเป็น อนุกรมลู่ออก

n
5 ∞
3n (1 3)n ∞
(−1)n (1)n (−1)n
เมื่อ x = − จะได้ ∑ (−1) =∑
1 1
= −1+ − + ....+ +
3 n=1 n n=1 n 2 3 n

อนุกรมฮาร์มอนิกสลับ ดังนั้นจึงเป็นอนุกรมลู่เข้า

7 5 ⎛ 7 5⎤
ดังนั้นช่วงของการลู่เข้า จึงเป็น − < x ≤− หรือ ⎜⎝ − 3 ,− 3 ⎥
3 3 ⎦

3 การประมาณค่าด้วยอนุกรมกำลัง
อนุกรมกำลังเป็นหนึ่งในหลายๆ วิธีทางคณิตศาสตรที่ใช้ประมาณค่าของฟังก์ชันต่างๆ
เช่นอนุกรมกรมกำลังที่อยู่ในรูป
f (x) = a0 + a1 x + a2 x 2 + ...+ an x n + ... (7.19)
แล้วเราจะสามารถประมาณค่าของผลบวกย่อยของฟังก์ชันได้จาก
f (x) ∼ a0 + a1 x + a2 x 2 + ...+ an x n (7.20)

และถ้าค่าผิดพลาดของการประมาณเป็น En แล้วเราจะได้
f (x) = a0 + a1 x + a2 x 2 + ...+ an x n +En (7.21)
อนุกรมกำลังที่สำคัญ
1
= 1+ x + x 2 + x 3 + ...+ x n + .. ; r =1
1− x

x2 x3 xn
e x = 1+ x + + + ...+ + .. ; r=∞
2! 3! n!
x2 x3 xn
e− x = 1− x + − + ...+ (−1)n + .. ; r=∞
2! 3! n!
x2 x3 xn
ln(1− x) = − x − − − ...− + .. ; r =1
2 3 n
216 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

x3 x5 n x
2n+1
−1
tan (x) = x − + − ...+ (−1) + .. ; r =1
3 5 2n + 1
x2 x4 x6 x3 x5 x7
cos(x) = 1− + − + .. : sin(x) = x − + − + ...
2! 4! 6! 3! 5! 7!

e x + e− x e x − e− x
cos(x) = : sin(x) =
2 2

x2 x4 x6 x3 x5 x7
cosh(x) = 1+ + + + .. : sin(x) = x + + + + ...
2! 4! 6! 3! 5! 7!

ในหัวข้อนี้เราจะแสดงตัวอย่างการประมาณของฟังก์ชันด้วยอนุกรมสลับซึ่งเป็นอนุกรม
กำลังแบบหนึ่ง อย่างไรก็ตามการประมาณค่าฟังก์ชันโดยทั่วไปแล้วจะนิยมใช้อนุกรมเทย์เลอร์และ
อนุกรมแมคคลอรีน ซึ่งเราจะได้กล่าวถึงอย่างละเอียดในหัวข้อถัดไป

ตัวอย่างที่ 7.29 จงประมาณค่า ln ⎛⎜ 1 ⎞⎟ ภายใต้ค่าผิดพลาด 0.01


1
⎝ 2⎠

x2 x3 x4 x5
วิธีทำ เราจะใช้อนุกรมกำลัง ln(1− x) = − x − − − − − .... , R =1
2 3 4 5
1 1
กำหนดให้ 1− x = 1 จะได้ x = −
2 2
2 3 4 5
⎛ 1⎞ ⎛ 1⎞ 1 ⎛ 1⎞ 1 ⎛ 1⎞ 1 ⎛ 1⎞ 1 ⎛ 1⎞
ln ⎜ 1 ⎟ = − ⎜ − ⎟ − ⎜ − ⎟ − ⎜ − ⎟ − ⎜ − ⎟ − ⎜ − ⎟ − ....
⎝ 2⎠ ⎝ 2⎠ 2 ⎝ 2⎠ 3⎝ 2⎠ 4 ⎝ 2⎠ 5 ⎝ 2⎠

1 1 1 1 1
= − + − + − .... อนุกรมสลับ
2 2 ⋅ 4 3⋅ 8 4 ⋅16 5 ⋅ 32

1 1 1
พจน์สุดท้ายของอนุกรมสลับ มีค่าน้อยกว่า 0.01 : = ∼ 0.006
5 ⋅ 32 5 ⋅ 32 160

⎛ 1⎞ 1 1 1 1
ดังนั้น เราจึงประมาณค่า ได้เป็น ln ⎜ 1 ⎟ ∼
⎝ 2⎠
− + − ∼ 0.401
2 2 ⋅ 4 3⋅ 8 4 ⋅16

ค่าที่แท้จริงของ ( )
ln 1 12 คือ 0.405
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 217

ตัวอย่างที่ 7.30 จงประมาณค่า e−1 ภายใต้ค่าผิดพลาด 0.001


x2 x3 x4 x5
วิธีทำ เราจะใช้อนุกรมกำลัง e x = 1+ x + + + + + .... , R=∞
2! 3! 4! 5!

กำหนดให้ x = −1

−1 (−1)2 (−1)3 (−1)4 (−1)5


e = 1+ (−1) + + + + + ....
2! 3! 4! 5!

1 1 1 1 1 1
= 1− 1+ − + − + − + ... อนุกรมสลับ
2 6 24 120 720 5040

1
พจน์สุดท้ายของอนุกรมสลับ มีค่าน้อยกว่า 0.001 : ∼ 0.0002
5040

1 1 1 1 1
ดังนั้น เราจึงประมาณค่า ได้เป็น e−1 ∼ 1− 1+ − + − + ∼ 0.36806
2 6 24 120 720
ค่าที่แท้จริงของ e−1 คือ 0.36788

อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคคลอริน
สำหรับหัวข้อนี้ เราจะอธิบายถึงการประยุกต์ใช้อนุกรมเทย์เลอร์และอนุกรมแมคคลอริน
ในการประมาณค่าของฟังก์ต่างๆ

1 อนุกรมเทย์เลอร์

เทย์เลอร์ (Brook Taylor , 1685 - 1731) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้คิดค้นอนุกรม


เพื่อใช้ในการประมาณค่าของฟังก์ชันต่างึ้นมา เรียกว่า อนุกรมกรมเทย์เลอร์ (Taylor series)
กำหนดให้ f (x) เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ทุกอันดับ ณ จุด x = x0 แล้ว
อนุกรมเทย์เลอร์ จะเขียนอยู่ในรูป

f (n) (x0 ) f ′(x0 ) f ′′(x0 ) f (n) (x0 )
∑ n!
(x − x0 )n = f (x0 ) +
1!
(x − x0 ) +
2!
(x − x0 )2 + ...+
n!
(x − x0 )n + ..
n=0

(7.22)
เมื่อ f (n) (x) คือ อนุพันธ์อันดับที่ n ของฟังก์ชัน
218 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

ตัวอย่างที่ 7.31 จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ ของ f (x) = cos x รอบจุด x0 = π 2

วิธีทำ จาก f (x) = cos x : f (π 2) = cos(π 2) = 0

d
f ′(x) = cos x = − sin x : f ′(π 2) = − sin(π 2) = − 1
dx
d
f ′′(x) = (− sin x) = − cos x : f ′′(π 2) = − cos(π 2) = 0
dx
d
f ′′′(x) = (− cos x) = sinx : f ′′′(π 2) = sin(π 2) = 1
dx
d
f (4 ) (x) = sin x = cos x : f (4 ) (π 2) = cos(π 2) = 0
dx

ดังนั้นจะได้ อนุกรมเทย์เลอร์ ของ f (x) = cos x รอบจุด x0 = π 2 เป็น


π⎞ π⎞ 0 ⎛ π⎞ π⎞ π ⎞ (−1) 1 ⎛ π⎞
2 3 4 5
⎛ ⎛ 1⎛ 0⎛
cos x = 0 ⎜ x − ⎟ + (−1) ⎜ x − ⎟ + ⎜ x − ⎟ + ⎜ x − ⎟ + ⎜ x − ⎟ + + ⎜ x − ⎟ + ...
⎝ 2 ⎠ ⎝ 2 ⎠ 2! ⎝ 2 ⎠ 3! ⎝ 2 ⎠ 4! ⎝ 2 ⎠ ! 5! ⎝ 2⎠

π⎞
2n−1
⎛ π⎞ 1 ⎛ π⎞ 1⎛ π⎞
3 5
(−1)n ⎛

นั่นคือ cos x = − 1⎜ x − ⎟ + ⎜ x − ⎟ − ⎜ x − ⎟ + .. =∑ ⎜⎝ x − ⎟⎠
⎝ 2 ⎠ 3! ⎝ 2 ⎠ 5! ⎝ 2⎠ n-1 (2n − 1)! 2

ตัวอย่างที่ 7.32 จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ ของ f (x) = ln x รอบจุด x0 = 2

วิธีทำ f (x) = ln x : f (2) = ln 2

d 1 1
f ′(x) = ln x = : f ′(2) =
dx x 2

d ⎛ 1⎞ 1 1
f ′′(x) = ⎜⎝ ⎟⎠ = − 2 : f ′(2) = −
dx x x 4

!
(−1)n+1 (−1)n+1
f (n) (x) = : f (n) (2) =
xn 2n

จะได้อนุกรมเทย์เลอร์ของ ln x รอบจุด x0 = 2 เป็น


1 1 (−1)n+1
ln(2) + (x − 2) − (x − 2)2 + ...+ n (x − 2)n + ..
2! 4 ⋅ 2! 2 n!
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 219

ตัวอย่างที่ 7.33 จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ ของ f (x) = x รอบจุด x0 = 4

วิธีทำ f (x) = x = x1 2 : f (4) = 4= 2

d 12 1 1 1
f ′(x) = x = : f ′(4) = =
dx 2x1 2 2 4 4

1 d −1 2 1 1 1
f ′′(x) = x = − 32 : f ′′(4) = − = −
2 dx 4x 4( 4 )3 32

1 d −3 2 3 3 3
f ′′′(x) = − x = : f ′′′(4) = =
4 dx 8x 5 2 8( 4 )5 256

3 d −5 2 15 15 15
f (4 ) (x) = − x =− : f (4 ) (4) = − =−
8 dx 16x 7 2 16( 4 ) 7
2048

จะได้อนุกรมเทย์เลอร์ ของ x รอบจุด x0 = 4 เป็น


1 1 3 3⋅ 5
2+ (x − 4) − (x − 4)2 + (x − 4)3 − (x − 4)4 + ...
4 ⋅1! 32 ⋅ 2! 256 ⋅ 3! 2048 ⋅ 5!

1 1 1 1
หรือ 2 + (x − 4) − (x − 4)2 + (x − 4)3 − (x − 4)4 + ...
4 64 512 16384

2 อนุกรมแมคคลอริน
คอลิน แมคคลอริน (Colin Maclaurin , 1698-1746) นักคณิตศาสตร์ชาวสอตแลนด์
ได้ดัดแปลงอนุกรมเทย์เลอร์เพื่อใช้ในการประมาณค่าของฟังก์ชัน โดยกำหนดให้ x = 0 ดังนั้น
อนุกรมแมคคลอริน (Macluarin series) จะเขียนอยู่ในรูป

f (n) (x0 ) n f ′(x0 ) f ′′(x0 ) 2 f (n) (x0 ) n
∑ x = f (x0 ) + x+ x + ...+ x + .. (7.23)
n=0 n! 1! 2! n!
220 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

ตัวอย่างที่ 7.34 จงหาอนุกรมแมคคลอรีนของ e x

วิธีทำ ให้ f (x) = e x : f (0) = e0 = 1

d x
f ′(x) = e = ex : f ′(0) = e0 = 1
dx

d x
f ′′(x) = e = ex : f ′′(0) = e0 = 1
dx

f (n) (x) = e x : f (n) (0) = e0 = 1

x2 x3 xn xn

จะได้ e x
= 1+ x + + ...+ + ... =
2! 3! n!
∑ n!
n=0

ตัวอย่างที่ 7.35 จงหาอนุกรมแมคคลอรีนของ sin(x)

วิธีทำ ให้ f (x) = sin(x) : f (0) = sin(0) = 0

d
f ′(x) = sin(x) = cos(x) : f ′(0) = cos(0) = 1
dx

d
f ′′(x) = cos(x) = − sin(x) : f ′′(0) = − sin(0) = 0
dx

d
f ′′′(x) = − sin(x) = − cos(x) : f ′′′(0) = − cos(0) = − 1
dx

x3 x5 x7 x9 ∞
x 2n+1
จะได้ sin x = x − + − + − ... =
3! 5! 7! 9!
∑ (−1)n (2n + 1)!
n=0
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 221

สรุป

ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
ลำดับ (sequence) คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนเต็มบวก
a1 , a2 , a3 , a4 ,... an ,....

ลำดับจำกัด ( Finite Sequence ) คือ ลำดับที่มีจำนวนพจน์ที่แน่นอนรู้ค่าของพจน์สุดท้าย


ลำดับอนันต์ ( Infinite Sequence ) คือ ลำดับที่ไม่รู้จำนวนพจน์แน่นอน

ลำดับลู่เข้าและลำดับลู่ออก
ถ้า lim an = A
n→∞
แล้ว ลำดับลู่เข้า หรือคอนเวอร์เจนต์ (Convergence)
ถ้า lim
n→∞
an = ∞ แล้ว เ ลำดับลู่ออกหรือไดเวอร์เจนต์ (Divergence)

ลำดับเลขคณิต
a1 , a1 +d, a2 +d, a3 +d,... หรือ a1 , a1 + d, a1 + 2d, a1 + 3d, ...,a1 + (n − 1)d ,...

ผลต่างร่วม d = a2 − a1 = a3 − a2 = ... = an − an−1

ลำดับเรขาคณิต
a1 , a1r, a2 r, a3r,... หรือ a1 , a1r , a1r 2 , a1r 3 , ..., a1r n−1 ,...
a2 a a an
อัตราส่วนร่วม r = = 3 = 4 = ... =
a1 a2 a3 an−1

อนุกรมเลขคณิต
a1 +(a1 +d)+(a2 +d) ...+(an−1 + d)+... หรือ
a1 +(a1 + d)+(a1 + 2d)+(a1 + 3d) + ...+[a1 + (n − 1)d]

เมื่อ d = a2 − a1 = a3 − a2 = ... = an − an−1


n n
ผลบวกของอนุกรมจำกัด Sn =
2
[ 2a1 + (n − 1)d ] หรือ Sn =
2
[ a1 + an ]
และ an = an−1 + d หรือ an = a1 + (n − 1)d

อนุกรมอนันต์ ไม่สามารถหาผลบวกของอนุกรมได้ ( Sn = ∞)
222 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

อนุกรมเรขาคณิต

a1 +a1r +a2 r +...+an−1r n
หรือ 2
a1 +a1r +a1r +...+a1r n−1
+ ... = ∑a r 1
n−1

n=1

a2 a an
อัตราส่วนร่วม r = = 3 =
a1 a2 an−1

และ an = ran−1 หรือ an = a1r n−1

a1 (1− r n )
ผลบวกของอนุกรมจำกัด Sn =
1− r

⎧ a1
⎪ ; r <1
ผลบวกอนุกรมอนันต์ Sn = ⎨ 1− r
⎪ ∞ ; r ≥1

จะเป็นอนุกรมลู่เข้าก็ต่อเมื่ออัตราส่วนร่วม r < 1 แต่ถ้า r ≥ 1 จะเป็นอนุกรมลู่ออก

การทดสอบการลู่เข้า-ลู่ออกของอนุกรม
1 การทดสอบอนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเลขคณิต an = a1 + (n − 1)d เป็นอนุกรมลู่ออกเสมอ
ยกเว้น a1 = d = 0

อนุกรมเรขาณิตอยู่ในรูป an = a1r n−1 และ


ถ้า r ≥1 แล้วอนุกรมนั้นจะเป็นอนุกรมลู่ออก
a1
ถ้า r <1 แล้วอนุกรมนั้นจะเป็นอนุกรมลู่เข้า : ผลบวกได้จาก S∞ =
1− r

2 การทดสอบแบบเปรียบเทียบ
∞ ∞
ถ้า ∑ an และ ∑ bn เป็นอนุกรมที่ an > 0 , bn > 0 และค่าคงตัว c > 0
n=1 n=1

และ an ≤ cbn สำหรับทุกๆ n แล้ว


∞ ∞

∑ b เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว ∑ a จะเป็นอนุกรมลู่เข้า


n n
n=1 n=1

∞ ∞

∑ a เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว ∑ b จะเป็นอนุกรมลู่เข้า


n n
n=1 n=1
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 223

3 การทดสอบโดยการเปรียบเทียบลิมิต
an
ถ้า lim
n→∞ b
= L >0 แล้วอนุกรมทั้งสองจะเป็นอนุกรมลู่เข้าทั้งคู่หรือลู่ออกทั้งคู่
n

∞ ∞
an
ถ้า lim = 0 และ ∑ bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
n→∞ bn n=1 n=1

∞ ∞
an
ถ้า lim =∞ และ ∑ bn เป็นอนุกรมลู่ออก แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่ออก
n→∞ bn n=1 n=1

4 การทดสอบด้วยอัตราส่วน

กำหนดให้ ∑ an เป็นอนุกรม ที่ an ≥ 0 แล้ว
n=1


a
ถ้า lim n+1 < 1
n→∞ a
แล้ว ∑ an เป็นอนุกรมลู่เข้า
n n=1


an+1
ถ้า lim
n→∞ a
> 1 แล้ว ∑ an เป็นอนุกรมลู่ออก
n n=1

an+1
ถ้า lim = 1 แล้ว สรุปไม่ได้ ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n→∞ an

5 การทดสอบโดยรากที่ n

กำหนดให้ ∑ an เป็นอนุกรม ที่ an ≥ 0 และ lim
n→∞
n a
n = R แล้ว
n=1

ถ้า R< 1 แล้ว ∑ an เป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1

ถ้า R> 1 แล้ว ∑ an เป็นอนุกรมลู่ออก
n=1

ถ้า R =1 แล้ว สรุปไม่ได้ ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก

6 การทดสอบโดยการหาปริพันธ์

กำหนดให้ ∑ an เป็นอนุกรม ที่ an ≥ 0 ทุกๆ ค่า n
n=1
∞ ∞
ถ้า ∫ f (x)dx หาค่าได้ แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
a n=1

∞ ∞
ถ้า ∫ f (x)dx หาค่าไม่ได้ แล้ว ∑ an จะเป็นอนุกรมลู่ออก
a n=1
224 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

อนุกรมพี

1 1 1 1 1
p
+ p + p + ...+ p + ... = ∑ p
1 2 3 n n=1 n

เมื่อ p คือจำนวนจริงใดๆ และถ้า p = 1 จะเรียกว่า อนุกรมฮาร์มอนิก (harmonic series)



ถ้า p >1 แล้ว ∑ 1p จะเป็นอนุกรมลู่เข้า
nn=1

ถ้า p ≤1 แล้ว ∑ 1p จะเป็นอนุกรมลู่ออก
nn=1

อนุกรมสลับ

a1 − a2 +a3 − a4 + .... = ∑ (−1)n+1 an เป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1

ก็ต่อเมื่อ an+1 ≤ an สำหรับทุก n และ lim an = 0


n→∞

อนุกรมเทย์เลอร์
กำหนดให้ f (x) เป็นฟังก์ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ได้ทุกอันดับ ณ จุด x = x0 แล้ว
อนุกรมเทย์เลอร์

f (n) (x0 ) f ′(x0 ) f ′′(x0 ) f (n) (x0 )
∑ n!
(x − x0 )n = f (x0 ) +
1!
(x − x0 ) +
2!
(x − x0 )2 + ...+
n!
(x − x0 )n + ..
n=0

เมื่อ f (n) (x) คือ อนุพันธ์อันดับที่ n ของฟังก์ชัน

อนุกรมแมคคลอริน


f (n) (x0 ) n f ′(x0 ) f ′′(x0 ) 2 f (n) (x0 ) n
∑ n!
x = f (x0 ) +
1!
x+
2!
x + ...+
n!
x + ..
n=0
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 225

แบบฝึกหัดบทที่ 7

1) จงเขียน 5 พจน์ของลำดับต่อไปนี้
3(2 − n 2 ) n2
1.1) 1.2) (−1)n
(n − 1)! n +1

2n − 3 (2n + 1)2
1.3) 1.4)
(n + 1)n n!

n!− 3n
1.5) 1.6) 2n + n2
n+2
2 n + 3n n2
1.7) 1.8) n−
2 n − 3n n +1

2) จงเขียนรูปทั่วไปของลำดับต่อไปนี้
3 3 3 3 3 4 5
2.1) 3, − , , − , , ... 2.2) 2, , , , ...
2 4 8 16 2 3 4

5 ⋅ 2 −7 ⋅ 4 9 ⋅ 8 −11⋅16
2.3) , , , , .... 2.4) −9 ⋅ 3, − 4 ⋅ 9, 1⋅ 27, 6 ⋅ 81, ...
3 4 5 6

3 5 7 9 1 2 3 4
2.5) , 2 2 , 2 2 , 2 2 , .... 2.6) , − , , − , ...
1 ⋅2 2 ⋅3
2 2
3 ⋅4 4 ⋅5 3 5 7 9

1 2 6 24 1 2 3 4
2.7) , , , , .... 2.8) ln , ln , ln , ln , ...
1⋅ 3 3⋅ 5 5 ⋅ 7 7 ⋅ 9 2 3 4 5

3) ถ้าพจน์แรกของลำดับเรขาคณิตเท่ากับ 4 และมีอัตราส่วนร่วม 1 แล้ว 1


เป็นพจน์ที่เท่าใด
2 256

4) จงหาผลรวมของอนุกรม ต่อไปนี้
4.1) 5 + 9 + 13 + ..+ 201 4.2) 1+ 4 + 9 + 16 + ...+ 144
1 1 1 1 1 2
4.3) 1+ + + + ... 4.4) + + + ...
10 100 1000 10 5 5
4 4 4 1 1 2
4.5) 4+ + + + ... 4.6) 3− 7 + 3
+ 4 + 5 + ...
5 25 125 5 5 5

3 4 5 6 1 1 1
4.7) 2− + − + − ... 4.8) 9 + 3 + 1+ + + ...+
2 3 4 5 3 9 2187
226 บทที่ 7 อนุกรมอนันต์

5) อนุกรมเลขคณิตหนึ่งมีผลรวมของพจน์ที่ 7 กับพจน์ที่ 9 เท่ากับ 21 และมีผลรวมของพจน์ที่ 2


กับพจน์ที่ 4 เท่ากับ 3 จงหาอนุกรมดังกล่าว

6) จงทดสอบว่าอนุกรมต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก ถ้าเป็นอนุกรมลู่เข้า แล้วจงหาลิมิต



3 3 3
6.1) 3+ + + + ... 6.2) ∑ sin(1 n)
5 25 125 n=1

6.4) ∑ ⎛⎜ 1+n 3 ⎞⎟
2n−1

6.3) ∑ 7 ⎛⎜⎝ 2 ⎞⎟⎠


∞ ∞ n

n=1 3 ⎝ 2 + 1⎠
n=1

∞ n ∞ n
6.5) ∑ 5 6.6) ∑ (−1)n 4
n!
n=1 2
n=1


2 n−1 + 1 ∞
6.7) ∑ 8 n−1 6.8) ∑ 32
n=1 n
n=1

7) จงหาช่วงของการลู่เข้าของอนุกรมกำลังต่อไปนี้

7.2) ∑ (x + 1)
∞ 2n ∞ 2n
7.1) ∑ (−1)n+1 x
n=1 2n 9n
n=0

∞ n ∞
7.3) ∑ (10x) 7.4) ∑ n!(x + 1)n
n!
n=0 n=0

∞ ∞
x 2n+1
7.5) ∑ n!(x − 4) n
7.6) ∑ n!
n=0 n=0

7.8) ∑ n(x +n 3)
n
∞ ∞
xn
7.8) ∑
5
n=0 nn=1 n 3n

8) จงประมาณค่า ของฟังก์ชันต่อไปนี้
8.1 tan −1 (1 2 ) ภายใต้ค่าผิดพลาด 0.0001
8.2 ln (1.4 ) ภายใต้ค่าผิดพลาด 0.0001
1
8.3 ภายใต้ค่าผิดพลาด 0.00001
1− 0.003
8.4 cos (π 6 ) ภายใต้ค่าผิดพลาด 0.0001
บทที่ 7 อนุกรมอนันต์ 227

9) จงเขียนอนุกรมเทย์เลอร์ ณ x = x0 ของฟังก์ชันต่อไปนี้
9.1) f (x) = ln(x) ; x0 = 1

9.2) f (x) = x ; x0 = 4

9.3) f (x) = cosx ; x0 = π 2

9.4) f (x) = x 2 + 2x + 1 ; x0 = 1

10) จงเขียนอนุกรมแมคคลอริน ของฟังก์ชันต่อไปนี้


10.1) f (x) = cos(2x)

10.2) f (x) = (1- x)−2

10.3) f (x) = e2 x sin x

10.4) f (x) = x 2 + ln(x + 1)


238 วิทยาศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์ 1

C + x + 17 + 2x + x 2 5 2x + 4x 2 − 25
5) 5.1) ln 5.2) ln +C
4 2 4

⎛ x2 ⎞ ⎛ x3 ⎞
5.3) −1
sin ⎜ ⎟ + C 5.4) −1
2sin ⎜ ⎟ + C
⎝ 9⎠ ⎝ 3⎠

3 + 2x 1 2x 3 + 4x 2 − 9
5.5) 5.6) ln +C
2 2 3

(x 2 − 4) 1 x−2
5.7) 4 − x2 + C 5.8) ln +C
3 3 x +1
x2 1 x−2
5.9) ln +C 5.10) ln +C
2 − x2 5 x+3

6) 6.1) 21 6.2) 10.5 6.3) −5 3 6.4) 9π 2

6.5) −11 3 6.6) 3π 2 2 6.7) 4 6.8) 0

6.9) 34 6.10) 14

7) 7.1) 4 7.2) 32 7.3) 2π 7.4.)


(e y − 1)2 2

7.5) 18 7.6) 32 7.7) 64 3 7.8) −3

7.9) 2π r 27.10) 2
8) 0.707 ตารางหน่วย
9) 8.1) 55 เมตรต่อวินาที 8.2) 195 เมตร
10) 40.0 นิวตัน-เมตร

บทที่ 7 อนุกรมอนันต์
21 23 1 4 9 16 25
1) 1.1) 3, − 6, − , − 7, − 1.2) − , , − , , −
2 8 2 3 4 5 6
1 1 3 5 7 25 49 81 121
1.3) − , , , , − 1.4) 9, , , ,
2 9 64 625 776 2 6 24 120
2 7 21 57 5
1.5) − , − , − , − , − 1.6) 3, 8, 17, 32, 57
3 4 5 6 7
13 35 97 275
1.7) −5, − , − , − , − 1.8) 1 , 2 3 4 5
, , ,
5 19 65 211 2 3 4 5 6
วิทยาศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์ 1 239

n +1
n−1
⎛ 1⎞
2) 2.1) 3⎜ − ⎟
⎝ 2⎠
2.2)
n

(−1)n+1 2 n (2n + 3)
2.3) 2.4) (5n − 14)3n
n+2

1 1 (−1)n−1 n
2.5) − 2.6)
n (n + 1)2
2
2n + 1

n! n
2.7) 2.8) ln
(2n − 1)(2n + 1) n +1

3 11
4) 4.1) 5150 4.2) 650 4.3) 10 9 4.4) ∞

4.5) 5 4.6) −3.99 4.7) 1 4.8) 13.5



5) ∑ [ −2.1+ (n − 1)d ]
n=1

6) 6.1) ลู่เข้า 3.75 6.2) ลู่ออก


6.3) ลู่เข้า 13.8 6.4) ลู่ออก
6.5) ลู่เข้า 0 6.6) ลู่เข้า −4 3

6.7) ลู่เข้า 52 21 6.8) ลู่ออก


7) 7.1) [−1, 1] 7.2) (−4, 2)

7.3) (-∞, ∞) 7.4) −1

7.5) 4 7.6) (-∞, ∞)

7.8) (−8, 2) 7.8) [−3, 3]

8) 8.1) 0.4636 8.2) 0.3364

8.3) 1.00300 8.4) 0.8660

1 1 1
9) 9.1) (x − 1) − (x − 1)2 + (x − 1)3 − (x − 1)4 + ...
2 3 4
240 วิทยาศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์ 1
1 1 1
9.2) 2 + (x − 4) − (x − 4)2 + (x − 4)3 + ...
4 64 512

π⎞ 1⎛ π⎞ π⎞
3 5
⎛ 1 ⎛
9.3) −⎜ x − ⎟ + ⎜ x − ⎟ −
⎝ ⎜ x − ⎟ + ...
2⎠ 6⎝ 2 ⎠ 120 ⎝ 2⎠

1 1
9.4) 4 + (x − 1) − (x − 1)2 + (x − 1)3
4 3

2 4
10) 10.1) 1− 2x 2 + x − ...
3
10.2) 1+ 2x + 3x 2 + 4x 3 + 5x 4 + ...
11 3
10.3) x + 2x 2 + x + x 4 + ...
6
1 2 1 3 1 4
10.4) x+ x + x − x + ...
2 3 4

You might also like