You are on page 1of 21

บทที่ 5
ลําดับ อนุกรม และอนุกรมกําลังของจํานวนจริง
5.1 ลําดับของจํานวนจริง
บทนิยาม 5.1.1 ลําดับของจํานวนจริง คือ ฟงกชันที่มีโดเมนเปน N และมีเรนจเปนเซตยอยของ R

ถา f :N → R เปนลําดับ เรานิยมเขียนบอกคาของ f ที่ n∈N ดวยสัญลักษณ an แทนการ


ใชสัญลักษณ f ( n) และเรียก an วาพจนที่ n ( nth term) หรือ พจนทั่วไป (general term) ของลําดับ
เพื่อความสะดวกในการเขียนสัญลักษณ เราจะเขียนแทนลําดับดวยสัญลักษณ
{a1 , a2 , a3 ,..., an ,...}
หรือ a1 , a2 , a3 ,..., an ,...

หรือ {an }

บทนิยาม 5.1.2 กําหนดให {an } เปนลําดับ และ L∈R เรากลาววา L เปน ลิมิต ของ {an } (limit of
{an } ) หรือ ลําดับ {an } ลูเขา (converge) สู L เขียนแทนดวยสัญลักษณ an → L หรือ lim an = L
n →∞

ถาสําหรับทุก ๆ จํานวนจริง ε > 0 จะมี n0 ∈ N ซึ่งทําให


| an − L | < ε สําหรับทุก ๆ จํานวนนับ n ≥ n0
ในกรณีนี้เรากลาววา {an } เปน ลําดับลูเขา (convergent sequence) และถา {an } ไมเปนลําดับลูเขา
เราเรียก {an } วา ลําดับลูออก (divergent sequence)

ตัวอยาง จงพิจารณาวาลําดับที่กําหนดใหตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก
1. {1}
n

2. {( −1)n }

 

ทฤษฎีบท 5.1.3 ลําดับของจํานวนจริงถามีลิมิต มีไดเพียงจํานวนเดียวเทานั้น

ทฤษฎีบท 5.1.4 กําหนดให r, s ∈ R เปนคาคงตัวใด ๆ


1. lim r n = 0
n →∞
เมื่อ | r | < 1
2. lim 1s = 0 เมื่อ s>0
n →∞ n

หมายเหตุ lim r n หาคาไมไดเมื่อ r ≤ −1 หรือ r > 1


n →∞

ตัวอยาง
n
1 ⎛ 2⎞
1. lim 2. lim ⎜ − ⎟
n→∞ 2n n→∞
⎝ 3⎠
1 1
3. lim 4. lim
n →∞ n2 n →∞ 3 n

บทนิยาม 5.1.9 กําหนดให {an } เปนลําดับ


1. เรากลาววา {an } เขาใกลอนันต (tends to +∞ ) และเขียนแทนดวยสัญลักษณ
lim an = +∞
n →∞
ถ าสําหรับทุก ๆ α ∈ R จะมี n0 ∈ N ที่ทําให an > α สําหรับทุก ๆ n ≥ n0
2. เรากลาววา {an } เขาใกลลบอนันต (tends to −∞ ) และเขียนแทนดวยสัญลักษณ

lim an = −∞
n →∞
ถาสําหรับทุก ๆ α ∈ R จะมี n0 ∈ N ที่ทําให an < α สําหรับทุก ๆ n ≥ n0

ทฤษฎีบท 5.1.11 กําหนดให r, s ∈ R เปนคาคงตัวใด ๆ


1. lim r n = +∞
n →∞
เมื่อ r > 1
2. lim n s = +∞
n →∞
เมื่อ s>0

ตัวอยาง
1. lim
n →∞
n = +∞

2. lim
n→∞
2n = +∞

ทฤษฎีบท 5.1.12 กําหนดให n0 เปนจํานวนนับ f เปนฟงกชันที่นิยามสําหรับทุก ๆ x ∈ [n0 , ∞) และ


{an } เปนลําดับจํานวนจริงซึ่ง an = f ( n) สําหรับทุก ๆ n ≥ n0 จะไดวา
ถา lim f ( x ) = L
x →∞
แลว lim an = L
n →∞

 

ตัวอยาง จงพิจารณาวา ลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก


1. {2n }
n

⎪⎧ n 2 ⎪⎫
2. ⎨ ⎬
⎪⎩ ln ( n + 1) ⎪⎭

3. {n }
1
n

 

ทฤษฎีบท 5.1.14 (การทดสอบอัตราสวน : Ratio Test)


an +1
กําหนดให {an } เปนลําดับของจํานวนจริงบวก และ lim
n →∞ an
=L โดยที่ L∈R

1. ถา L <1 แลว {an } เปนลําดับลูเขาและ lim


n →∞
an = 0

an +1
2. ถา L >1 หรือ lim
n →∞ a
= +∞ แลว {xn } เปนลําดับลูอ
 อก และ lim
n →∞
an = +∞
n

ตัวอยาง จงตรวจสอบวาลําดับ {2n!} เปนลําดับลูเขาหรือลูออก


n

วิธีทํา เห็นไดชัดวา { } เปนลําดับของจํานวนจริงบวกและ


2n
n!
an +1 ⎛ n +1 n ! ⎞
lim = lim ⎜ 2 ⋅ ⎟ = 0 <1
n →∞ a n →∞ ( n + 1) ! 2 n
n ⎝ ⎠

ดังนั้นโดยทฤษฎีบท 5.1.14 จะไดวา { } เปนลําดับลูเขา และ lim a = 0


2n
n! n →∞
n 

an +1
หมายเหตุ ลําดับของจํานวนจริงบวก {an } ที่มี lim
n →∞ an
=L และ L =1 อาจเปนลําดับลูเขาหรือลําดับ
ลูออกก็ได ตัวอยางเชน
an +1
- {1}
n
เปนลําดับของจํานวนจริงบวกที่ลูเขาและ lim
n →∞ a
=1
n

an +1
- {n} เปนลําดับของจํานวนจริงบวกที่ลูออกและ lim
n →∞ a
=1
n

ทฤษฎีบท 5.1.16 กําหนดให {an },{bn },{cn } เปนลําดับ และ L, M , k ∈ R โดยที่ lim an = L และ
n →∞

lim bn = M
n →∞
จะไดวา
1. lim k = k
n →∞

2. lim kan = k lim an = kL


n →∞ n →∞

3. lim(an + bn ) = lim an + lim bn = L + M


n →∞ n →∞ n →∞

4. lim(an − bn ) = lim an − lim bn = L − M


n →∞ n →∞ n →∞

5. lim(an bn ) = (lim an )(lim bn ) = LM


n →∞ n →∞ n →∞

an lim an
6. lim
n →∞ b
= n→∞ = L
lim bn M
เมื่อ bn ≠ 0 สําหรับทุก ๆ n ∈ N และ M ≠0
n
n →∞

7. lim m an = m lim an = m L
n →∞ n →∞
เมื่อ m
L , m am ∈ R และทุกจํานวนนับ m ≥ 2
8. ถามี n0 ∈ N ซึ่ง an ≤ cn ≤ bn สําหรับทุก ๆ n ≥ n0 และ L=M แลวจะไดวา lim cn = L
n →∞

 

9. ถา f เปนฟงกชันตอเนื่องที่จุด L และ {an } เปนลําดับในโดเมนของ f ซึ่งลูเขาสู L

แลว lim f (an ) = f (lim an ) = f ( L)


n →∞ n →∞

ตัวอยาง
1. lim 2n + 1
n →∞ n + 5

2. lim ⎛⎜ 2n − 3n ⎞⎟
n→∞ ⎝ 5 4 ⎠

lim 3n 2 − 2n
2
3. n →∞ n +1

4. lim cosn n
n →∞ 3

5. ()
lim sin 1
n →∞ n

 

แบบฝกหัด 5.1
1. จงหาคาลิมิตตอไปนี้
3n 2 − n + 1
lim 2n 2− n + 4
3 5 2
1.1 lim 1.2
n →∞ n2 + n n →∞ n +1
n
n ⎛3⎞
1.3 lim 2
n →∞ 2 n − n
1.4 lim ⎜ ⎟
⎝ ⎠
n→∞ 5

1
1.5 lim 1.6 lim nn
n →∞ n +1
3 n →∞ e

1.7 lim ln n
n →∞ n
1.8 lim ln(1 + 1 )
n →∞ n
1.9 lim sin n
n →∞ n
1.10 lim n!
n →∞ n n

2. จงพิจารณาวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลําดับลูออก
2.1 {3( −n1) {tan( 2nπ )}
n

!
} 2.2 1 + 8n
( −1) n n
2.3 x1 = 1, xn +1 = 2 xn − 1 2.4 { )
n2 + 1
2.5 {2,7,12,17,...} 2.6 {cos(π n / 2)}
−n
{ e 2+n e }
n
2.7 {1, − 23 , 94 , − 27
8 ,...} 2.8
e −1
2.9 {3 + 5n2 }
2
2.10 { cosn n}
2

n+n 2

 

5.2 อนุกรมของจํานวนจริง
บทนิยาม 5.2.1 กําหนดให {an } เปนลําดับของจํานวนจริง และ
S n = a1 + a2 + a3 + ... + an , n = 1, 2,...

เราเรียก Sn วา ผลบวกยอยของ n พจนแรก หรือ ผลบวกยอยที่ n (nth partial sum) เรียกลําดับของ
ผลบวกยอย (sequence of partial sums) {Sn } วา อนุกรมอนันตของจํานวนจริง (infinite series of real
numbers) (ตอไปจะเรียกสั้น ๆ วา อนุกรม (series)) และเรียก an วา พจนที่ n (nth term) ของอนุกรม

สําหรับอนุกรม {Sn } เราอาจเขียนแทนดวยสัญลักษณ


a1 + a2 + a3 + ... + an + ...

หรือ ∑a
n =1
n

เราอาจจะเริ่มตนดัชนีของอนุกรมดวยคา n ≠1 ก็ได ตัวอยางเชน อนุกรม 1 + 1 + 1 + 1 + ...


2 3 4
สามารถ
เขียนแทนดวยสัญลักษณ
∞ ∞ ∞

∑ n 1+ 1
n =0
หรือ ∑ n 1− 1
n =2
หรือ ∑ n −1 2
n =3

เปนตน

บทนิยาม 5.2.2 จะเรียกอนุกรม ∑ an วา อนุกรมลูเขา (convergent series) ถา {Sn } เปนลําดับลูเขา
n =1

และเรียก อนุกรมลูออก (divergent series) ถา {Sn } เปนลําดับลูออก



ถาอนุกรม ∑ an เปนอนุกรมลูเขาที่ซึ่ง lim
n →∞
S n = S เมื่อ S ∈R เราจะเรียก S วาผลบวก (sum)
n =1

ของอนุกรม และเขียนแทนดวยสัญลักษณ ∑ an = S
n =1

สูตรตอไปนี้เปนเครื่องมือที่ชวยอํานวยความสะดวกในการหาผลบวกยอยที่ n
1. ∑ k = n(n2+ 1)
n

k =1

2. ∑ k 2 = n(n + 1)(2 n + 1) n
n 3 2
= +n +n
k =1
6 3 2 6
2
⎛ n( n + 1) ⎞ = n 4 + n 3 + n 2 = ⎛ k ⎞
n 2 n
3. ∑
k =1
k =
3

⎝ 2 ⎠
⎟ 4 2 4 ⎜⎝ ∑ ⎟
k =1 ⎠

4. ∑ k 4 = n(n + 1)(2n +30 + 3n − 1)


n 2
1)(3n 5 4 3
=n +n +n − n
k =1
5 2 3 30

 

ตัวอยาง จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก

1. ∑ n(n1+ 1)
n =1

2. 2 + 5 + 8 + ...


3. ∑ (−1)n
n =1

 

ทฤษฎีบท 5.2.4 (การทดสอบพจนที่ n : The nth Term Test)



ถาอนุกรม ∑ an ลูเขา แลวจะไดวา lim
n →∞
an = 0
n =1

หมายเหตุ

1. ถา lim an ≠ 0
n →∞
แลว อนุกรม ∑ an ลูออก
n =1

2. บทกลับของทฤษฎีบท 5.2.4 นั้นไมเปนจริงเสมอไป กลาวคือ ถา lim an = 0
n →∞
แลวอนุกรม ∑ an อาจ
n =1
∞ ∞
เปนอนุกรมลูออก ตัวอยางเชน ∑ n1 เปนอนุกรมซึ่ง lim an = 0
n →∞
แต ∑ n1 เปนอนุกรมลูออก
n =1 n =1

ตัวอยาง จงตรวจสอบวาอนุกรมที่กาํ หนดใหตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก



1. ∑ n
n =1

2. ∑ ⎛⎜ 2n − 1 ⎞⎟

⎝ n +1 ⎠n =1

บทนิยาม 5.2.6 อนุกรมเรขาคณิต (geometric series) คือ อนุกรมที่เขียนไดในรูป


∑ ar
n =1
n −1
= a + ar + ar 2 + ... + ar n −1 + ...


ทฤษฎีบท 5.2.7 อนุกรมเรขาคณิต ∑ ar n −1 เมื่อ a ≠ 0 เปนอนุกรมลูเขาถา | r |< 1 และมีผลบวกเปน
n =1

a
1− r
และเปนอนุกรมลูออกถา | r | ≥ 1

ตัวอยาง จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
∞ ∞
1. ∑ 1
n
2. ∑ 1
n
n=0 2 n =1 2

3. ∑ ( ) ()
∞ n ∞ n

−1
2
4. ∑ 3
5
n =1 n =1

( ) ()
∞ n ∞ n

5. ∑ −2
3
6. ∑ 5
3
n =1 n =1
10 
 
∞ ∞
ทฤษฎีบท 5.2.9 ถา ∑ an และ ∑ bn เปนอนุกรมลูเขา และ α , β ∈ R เปนคาคงตัวใด ๆ แลวจะไดวา
n =1 n =1

∑ (α a
n =1
n + β bn ) เปนอนุกรมลูเขา และ
∞ ∞ ∞

∑ (α an + β bn ) = α ∑ an + β ∑ bn
n =1 n =1 n =1

ตัวอยาง
∞ ∞ ∞
⎛ 3 5 ⎞ ⎛ 1 ⎞ ⎛ 1 ⎞
∑ ⎜⎝ 2
n =1
n
+
7 ⎠
n ⎟ = 3∑ ⎜
n =1 ⎝ 2 ⎠
n ⎟ + 5∑ ⎜ n⎟
n =1 ⎝ 7 ⎠

∞ ∞ ∞
ทฤษฎีบท 5.2.10 ถา ∑ an เปนอนุกรมลูเขาและ ∑ bn เปนอนุกรมลูออก แลวจะไดวา ∑ (an + bn )
n =1 n =1 n =1

เปนอนุกรมลูออก

ตัวอยาง

∑ (( − 45 )
n =1
n
+ n)


บทนิยาม 5.2.12 อนุกรมพี (p-series) คือ อนุกรมทีเ่ ขียนไดในรูป ∑ 1
p
เมื่อ p∈R เปนคาคงตัว
n =1 n

ทฤษฎีบท 5.2.13 อนุกรมพีเปนอนุกรมลูเขา เมื่อ p >1 และเปนอนุกรมลูอ อก เมื่อ p ≤1

ตัวอยาง
∞ ∞
1. ∑ n1 2. ∑ 1
2
n =1 n =1 n

∞ ∞
3. ∑ 31 4. ∑ 15
n n =1 n n =1
11 
 

ทฤษฎีบท 5.2.15 (การทดสอบโดยการเปรียบเทียบ : Comparison Test)


∞ ∞
กําหนดให ∑ an และ ∑ bn เปนอนุกรมและมี n0 ∈ ` ที่ซึ่ง 0 ≤ an ≤ bn สําหรับทุกจํานวนนับ n ≥ n0
n =1 n =1
∞ ∞
1. ถา ∑ bn เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∑ an เปนอนุกรมลูเขา
n =1 n =1
∞ ∞
2. ถา ∑ an เปนอนุกรมลูออก แลวจะไดวา ∑ bn เปนอนุกรมลูออก
n =1 n =1

ตัวอยาง 5.2.16 จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก



1. ∑ 21
n +1n =1


2. ∑ ln n
nn =1

ทฤษฎีบท 5.2.17 (การทดสอบโดยการเปรียบเทียบดวยลิมิต : limit comparison test)


∞ ∞
กําหนดให ∑ an และ ∑ bn เปนอนุกรมที่ซึ่ง an ≥ 0 และ bn > 0 สําหรับทุก ๆ n ∈ N
n =1 n =1

an
1. ถา lim
n →∞ b
=c>0 แลวจะไดวาอนุกรมทั้งสองลูเขาดวยกันหรือไมก็ลูออกดวยกัน
n

∞ ∞
an
2. ถา lim
n →∞ b
=0 และ ∑ bn เปนอนุกรมลูเขา แลวจะไดวา ∑ an เปนอนุกรมลูเขา
n n =1 n =1

∞ ∞
an
3. ถา lim
n →∞ b
=∞ และ ∑ bn เปนอนุกรมลูออก แลวจะไดวา ∑ an เปนอนุกรมลูออก
n n =1 n =1
12 
 

ตัวอยาง

1. ∑ 1
n =1 2n 3 − 1


2. ∑ 3n1− 1
n =1

บทนิยาม 5.2.19 กําหนดให an > 0 สําหรับทุก ๆ n ∈ N เราเรียกอนุกรมที่เขียนอยูในรูป


∑ (−1)
n =1
n +1
an = a1 − a2 + a3 − a4 + ... + (−1) n +1 an + ...

หรือ

∑ (−1)
n =1
n
an = − a1 + a2 − a3 + ... + (−1) n an + ...

วา อนุกรมสลับ (alternating series)

ทฤษฎีบท 5.2.20 (การทดสอบอนุกรมสลับ : alternating series test)



ถา ∑ (−1)n an เปนอนุกรมสลับซึ่ง
n =1

1. มี n0 ∈ N ที่ทําให an+1 < an สําหรับทุก ๆ จํานวนนับ n ≥ n0


2. lim an = 0
n →∞

แลวจะไดวาอนุกรมสลับ ∑ (−1)n an เปนอนุกรมลูเขา
n =1

ตัวอยาง จงทดสอบวาอนุกรมสลับตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก

1. ∑ (−n1)
n

n =1


2. ∑ (−1)
n

n
n =1
13 
 

บทนิยาม 5.2.22 กําหนดให ∑ an เปนอนุกรม
n =1
∞ ∞
1. ∑ an เปน อนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ (absolutely convergent series) ถา ∑ | an | เปน
n =1 n =1

อนุกรมลูเขา
∞ ∞
2. ∑ an เปน อนุกรมลูเขาแบบมีเงื่อนไข (conditionally convergent series) ถา ∑ | an |
n =1 n =1

เปนอนุกรมลูออก แต ∑ an ลูเขา
n =1

∞ ∞
ทฤษฎีบท 5.2.24 ถา ∑ an เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ แลว ∑ an เปนอนุกรมลูเขา
n =1 n =1

สรุป
∞ ∞ ∞
ถา ∑ a เปน อนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ จะไดวา ∑ a ลูเ ขา และ ∑ | a | ลูเขา
n n n
n =1 n =1 n =1

∞ ∞ ∞
ถา ∑ a เปน อนุกรมลูเขาแบบมีเงื่อนไข จะไดวา ∑ a ลูเ ขา แต ∑ | a | ลูออก
n n n
n =1 n =1 n =1

ตัวอยาง จงพิจารณาวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณหรือแบบมีเงื่อนไข

1. ∑ (−n1)
n

n =1


2. ∑ (−1)2
n

n
n =1


3. ∑ (−1)n
n

3
n =1

ทฤษฎีบท 5.2.26 (การทดสอบโดยใชอัตราสวน : Ratio Test)



an +1 an +1
ให ∑ an เปนอนุกรมซึ่ง an ≠ 0 และ lim
n →∞ an
=∞ หรือ lim
n →∞ a
=L เมื่อ L∈R แลวจะไดวา
n =1 n


1. ถา L <1 แลวจะไดวา ∑ an เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
n =1


an +1
2. ถา L >1 หรือ lim
n →∞ a
=∞ แลวจะไดวา ∑ an เปนอนุกรมลูออก
n n =1

3. ถา L =1 แลวจะสรุปผลการทดสอบดวยวิธีการนี้ไมได
14 
 

ตัวอยาง จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก

1. ∑ (−1)n n
n 2

e
n =1


2. ∑ (−1)2 3
n n

n
n =1


ทฤษฎีบท 5.2.28 (การทดสอบโดยใชการถอดกรณฑ : Root Test) กําหนดให ∑ an เปนอนุกรม และ
n =1

lim n | an | = L
n →∞
เมื่อ L∈R แลวจะไดวา

1. ถา L <1 แลวจะไดวา ∑ an เปนอนุกรมลูเขาแบบสัมบูรณ
n =1

2. ถา L >1 หรือ lim
n →∞
n | a | = ∞ แลวจะไดวา
n ∑ an เปนอนุกรมลูออก
n =1

3. ถา L =1 แลวจะสรุปผลการทดสอบดวยวิธีการนี้ไมได

ตัวอยาง จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก

( )

2n + 3
n
1. ∑ 3n + 5
n =1

∞ n +1
2. ∑ ( −1)n
n
n =1

∞ n
3. ∑ ⎛⎜ 5n2 + 2 ⎞⎟
2

⎝ 3n + n ⎠
n =1
15 
 

แบบฝกหัด 5.2
1. จงหาผลบวกของอนุกรมตอไปนี้ (ถามี)

1.1 ∑ ( −1)n
n
1.2 1 + 23 + 94 + 278 + ...
3
n =0

1.3 4 − 1 + 14 − 161 + ... 1.4 1 + 1 + 1 + 1 + ...


1⋅ 3 2 ⋅ 4 3 ⋅ 5 4 ⋅ 6

1.5 11⋅ 3 + 31⋅ 5 + 51⋅ 7 + ... + (2n − 1)(2
1 ... 1.6 ∑ 1
n + 1) n ( n + 1)( n + 2)
n =1
∞ ∞
1.7 ∑ (4n − 3)(4 1.8 ∑ n +21
n
1
n =1
n + 1) 2 +1
n =1
∞ ∞
1.9 ∑ e − n 1.10 ∑ 2 +n 3
n

n =0 5n =1
∞ ∞
1.11 ∑ 1 1.12 ∑ ln n n+ 1
n =1 n + n −1 n =1

2. จงทดสอบวาอนุกรมตอไปนี้เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
∞ ∞
2.1 ∑ n 1 2.2 ∑ 3 1 1/4
2 −3
n =1 ( n + 10)
n =1
∞ ∞
2.3 ∑ 1 n 2.4 ∑ n4
3

n3n =1 2n + 1
n =2
∞ ∞
2.5 ∑ e 3 2.6 ∑ 1n
n

nn =1 nn =1
∞ ∞
2.7 ∑ nn 2.8 ∑ 31n
2

en =1 n =1
∞ n +1 ∞
2.9 ∑ ( −1)n !
n
2
2.10 ∑ (n − nn+ 1)
2

n =0 n =1
∞ ∞
2.13 ∑ n( 43 )n 2.14 ∑ nn
n
2
n =1 n =1 e
∞ ∞ n +1
2.15 ∑ n3
n
2.16 ∑ ( −1)n
n =1 (ln 2) n =1 n
∞ ∞
2.17 ∑ n 2.18 ∑ 1 n
n =1 ( n + 1) n (ln n )
n =2
∞ ∞
2.19 ∑ ( −1)n +1 1 2.20 ∑ ( −1)n +1 n(nn++12)
n =1 n 2 ( n + 1) n =1
∞ ∞
2.21 ∑ ( −1) n +1 n2 2.22 ∑ ( −1)n+1 1
n =1 n +1
3
n =1 n( n + 1)
∞ ∞
2.23 ∑ ( −3) (1 + n 2 )
n
2.24 ∑ 5n +1
n

n =1
n! n n =1
16 
 

5.3 อนุกรมกําลังของจํานวนจริง
บทนิยาม 5.3.1 กําหนดให x เปนจํานวนจริง และให an , c เปนคาคงตัวสําหรับทุก ๆ n = 0,1, 2,...
จะเรียกอนุกรมของจํานวนจริงที่เขียนอยูในรูป

∑ a ( x − c)
n =0
n
n
หรือ a0 + a1 ( x − c ) + a2 ( x − c ) 2 + ...

วา อนุกรมกําลัง (power series) ใน x−c เรียก an เมื่อ n = 0,1, 2,... วา สัมประสิทธิ์ (coefficients)
ของอนุกรมกําลัง และเรียก c วา ศูนยกลาง (center) ของอนุกรมกําลัง


ตัวอยาง ∑ x n = 1 + x + x 2 + x3 + ... เปนอนุกรมกําลังที่มีสัมประสิทธิ์ an = 1 สําหรับทุกจํานวนนับ n
n=0

และศูนยกลางของอนุกรมกําลัง คือ c=0 อนุกรมนี้จะลูเขาและมีผลบวกเปน 1


1− x
สําหรับทุก ๆ x ซึ่ง
| x | < 1 และลูออกสําหรับทุก ๆ x ซึ่ง | x | ≥ 1

ทฤษฎีบท 5.3.2 (1) ถาอนุกรมกําลัง ∑ an ( x − c)n ลูเขาที่ x = x1 ≠ c แลวอนุกรมนี้ลูเขาแบบสัมบูรณ
n =0

สําหรับทุก ๆ x ซึ่งทําให | x − c | < | x1 − c |



(2) ถาอนุกรมกําลัง ∑ an ( x − c)n ลูออกที่ x = x2 ≠ c แล ว อนุก รมนี้ ลูอ อกสํา หรับ
n =0

ทุ ก ๆ x ซึ่งทําให | x − c | >| x2 − c |

ทฤษฎีบท 5.3.3 การลูเขาของอนุกรมกําลัง ∑ an ( x − c)n จะเปนไปตามกรณีใดกรณีหนึ่งตอไปนี้
n =0

1. อนุกรมลูเขา เมื่อ x=c เทานั้น


2. อนุกรมลูเขาสําหรับทุก ๆ x∈R

3. มี จํ า นวนจริ ง R>0 ที่ ทํ า ให อ นุ ก รมลู เ ข า สํ า หรั บ ทุ ก ๆ x∈R ซึ่ ง | x − c |< R และ
ลูออกสําหรับทุก ๆ x∈R ซึ่ง | x − c | > R
บทนิยาม 5.3.4 1. เราจะเรียกจํานวนจริง R>0 ในทฤษฎีบท 5.3.3 (3) วา รัศมีการลูเขา (radius of
convergence) และเรียกเซตยอยของ R ที่นิยามโดย

{ x ∈ R | ∑ an ( x − c)n เปนอนุกรมลูเขา}
n =0

วา ชวงของการลูเขา (interval of convergence) ของอนุกรมกําลัง ∑ an ( x − c)n
n =0
17 
 

ดังนั้น ชวงของการลูเขาของอนุกรมกําลังนี้จึงเปนกรณีใดกรณีหนึ่งตอไปนี้
- ( c − R, c + R )
- [ c − R, c + R )
- ( c − R, c + R ]
- [ c − R, c + R ]
∞ ∞
2. ถาอนุกรมกําลัง ∑ an ( x − c)n ลูเขาที่ x=c เทานั้น แลว ∑ an ( x − c)n มีรัศมี
n =0 n =0

การลูเขาเปน 0 และชวงของการลูเขาของอนุกรมกําลัง คือ ชวงปด [c, c] = {c}


∞ ∞
3. ถา อนุก รมกํา ลัง ∑ an ( x − c)n ลูเ ขา ที่ทุก ๆ x∈R แลว ∑ an ( x − c)n มีรัศ มี
n =0 n =0

การลูเขาเปน ∞ และชวงของการลูเขาของอนุกรมกําลัง คือ ชวงเปดอนันต ( −∞, ∞) = R

ตั ว อย า ง 5.3.5 จงหารั ศ มี ก ารลู เ ข า และช ว งของการลู เ ข า ของอนุ ก รมกํ า ลั ง ที่ กํ า หนดให ต อ ไปนี้

1. ∑ xn
n

n =1
18 
 

2. ∑ xn !
n

n =1


3. ∑ n ! x n
n =1


4. ∑ n n x n
n =1
19 
 

บทนิยาม 5.3.6 กําหนดให ∑ an ( x − c)n เปนอนุกรมกําลังที่มี I เปนชวงของการลูเขา
n =0

เราจะเรียกฟงกชัน f ที่นิยามโดย

f ( x ) = ∑ an ( x − c) n สําหรับทุก ๆ x∈I
n =0

วา ฟงกชันผลบวก ของอนุกรมกําลัง ∑ an ( x − c)n
n =0

ตัวอยาง จงหาฟงกชนั ผลบวกและชวงของการลูเขาของอนุกรมกําลังตอไปนี้



1. ∑ x n
n =0


2. ∑ ( −1) n x 2 n
n =0

∞ n
3. ∑ x n
2n =0


4. ∑ 3n x n
n =0
20 
 

บทนิยาม 5.3.12 กําหนดให c∈R และ f เปนฟงกชันซึ่ง f และอนุพันธทุกอันดับของ f หาคาไดที่


จุด c จะเรียกอนุกรมกําลังที่เขียนในรูป
1 1 1
f (c) + f '(c )( x − c ) + f ''(c )( x − c ) 2 + f (3) (c)( x − c )3 + ... + f ( n ) (c )( x − c) n + ...
2! 3! n!
วา อนุกรมเทยเลอร (Taylor series) ของ f รอบจุด c หรือ อนุกรมเทยเลอรรอบจุด c ที่กอกําเนิด
โดย f (Taylor series about c generated by f ) และเมื่อ c = 0 จะเรียกอนุกรมนี้วา อนุกรมแมคล
อริน (Maclaurin series)

ในบางครั้งเรานิยมเขียนอนุกรมเทยเลอรของ f รอบจุด c ในรูปของ



f ( n ) (c )( x − c )n

n =0 n!
เมื่อ f (0)
(c) = f (c)

ตัวอยาง
1. จงเขียนอนุกรมแมคลอรินของ f ( x) = cos x
21 
 

2. จงเขียนอนุกรมเทยเลอรของ f ( x) = 1
x
รอบจุด c = 1

แบบฝกหัด 5.3
1. จงหาชวงของการลูเขาของอนุกรมกําลังตอไปนี้
∞ ∞
1.1 ∑ xn 1.2 ∑ x 2
n
n
n =1 2 n
n =1
∞ ∞
1.3 ∑ nx n 1.4 ∑ 3 xn
n n

n =1 n4
n =1
∞ ∞
1.5 ∑ x n 1.6 ∑ n( x − 1)n
n

n2
n =1 n =1
∞ ∞
1.7 ∑ (ax )n , a > 0 1.8 ∑ n2! x n
n =1 n =1

2. จงเขียนอนุกรมแมคลอรินของ f ( x) = sin x

3. จงเขียนอนุกรมแมคลอรินของ f ( x) = e x

4. จงเขียนอนุกรมเทยเลอรของ f ( x ) = sin x รอบจุด c = π4


5. จงเขียนอนุกรมเทยเลอรของ f ( x) = cos x รอบจุด c = π3
6. จงเขียนอนุกรมเทยเลอรของ f ( x) = e x รอบจุด c = 2

You might also like