You are on page 1of 11

บทที่ 1 เลขยกกำลัง

1. ความหมายของเลขยกกำลัง
นิยาม ถ้ า a เป็ นจำนวนใด ๆ และ n เป็ นจำนวนเต็มบวก “ a ยกกำลัง n “ หรื อ “ a กำลัง n “
n n
เขียนแทนด้ วย a มีความหมายดังนี ้ a =a ¿ a ¿ a ¿ a ¿ a ….. ¿ a (a คูณกัน n
ตัว)
n
จากนิยาม จะเรี ยก a ว่าเลขยกกำลัง เรี ยก a ว่า ฐาน และเรี ยก n ว่า เลขชี ้กำลัง
4
ตัวอย่าง เช่น 1) 3 =3 ¿ 3 ¿ 3 ¿ 3 มี 3 เป็ น ฐาน และ มี 4 เป็ นเลขชี ้กำลัง
3
2) (-5) = -5 ¿ -5 ¿ -5 มี -5 เป็ น ฐาน และ มี 3 เป็ นเลขชี ้กำลัง
2
1
3) ( )
2 =
1
2 ¿
1
2 มี
1
2 เป็ น ฐาน และ มี 2 เป็ น
เลขชี ้กำลัง
ตัวอย่ างที่ 1 จงเขียนจำนวนต่อไปนี ้ให้ อยูใ่ นรูปของเลขยกกำลัง
วิธีทำ 1) 8 ¿ 16 = (2 ¿ 2 ¿ 2) ¿ (2 ¿ 2 ¿ 2 ¿ 2)
=2 ¿ 2 ¿ 2 ¿ 2 ¿ 2 ¿ 2 ¿ 2
7
=2
2) 75 ¿ 15 = (3 ¿ 5 ¿ 5) ¿ (3 ¿ 5)
=3 ¿ 5 ¿ 5 ¿ 3 ¿ 5
2 3
=3 ¿ 5

2. สมบัตขิ องเลขยกกำลัง
ถ้า a , b เป็ นจำนวนจริงใด ๆ และ m , n เป็ นจำนวนเต็มบวก
1) การคูณเลขยกกำลัง ถ้ าเลขยกกำลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อคูณกัน ให้ นำเลขชี ้กำลังของ
m n m+n
ตัวคูณแต่ละตัวมาบวกกัน โดยใช้ ฐานตัวเดิม นัน่ คือ a ¿ a =a
3 4 3+4 7
เช่น 2 ¿ 2 =2 =2
2) การหารเลขยกกำลัง ถ้ าเลขยกกำลังมีฐานเหมือนกัน เมื่อหารกัน ให้ นำ เลขชี ้กำลังของ
m n m−n
ตัวหารไปลบเลขชี ้กำลังของตัวตัง้ โดยใช้ ฐานตัวเดิม นัน่ คือ a ¿ a =a
7 4 7−4 3
เช่น 3 ¿ 3 =3 =3
3) เลขยกกำลังซ้ อน ให้ นำเลขชี ้กำลังมาคูณกัน
m n mn 4 2 8
นัน่ คือ (a ) =a เช่น (3 ) = 3
4) เลขยกกำลังของผลคูณ สามารถกระจายเป็ นผลคูณของเลขยกกำลังแต่ละตัว เมื่อมี
n n n 7 7 7
ฐานคงเดิม นัน่ คือ (ab) = a b เช่น (3p) = 3 p
5) เลขยกกำลังของผลหาร สามารถกระจายเป็ นผลหารของเลขยกกำลังแต่ละตัว เมื่อมี
an
n
a
5

3 3 5

ฐานคงเดิม นัน่ คือ b = b


( ) n
เช่น 4 = 4( ) 5
2
้ ลังเป็ นจำนวนลบ สามารถเขียนให้ เป็ นส่วนกลับของ
6) เลขยกกำลังที่มีเลขชีกำ
1

= a
n
−n −4
เลขยกกำลังที่มีเลขชี ้กำลังเป็ นจำนวนบวกได้ นัน่ คือ a เช่น x =
1

x
4

7) เลขยกกำลังที่มีเลขชีกำ ้ ลังเป็ นศูนย์ (0) เลขยกกำลังที่มีเลขชี ้กำลังเป็ นศูนย์ (0) มีคา่


0 0
เท่ากับ 1 เสมอ นัน่ คือ a = 1 เมื่อ a ¿ 0 เช่น 5 =1

ตัวอย่ างที่ 2 จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ


2 8 5 6 2+5 8+6
วิธีทำ 1) ( a b )(2a b )= 2a b
7 14
= 2a b
4 6
4x y
3 2
4−3 6−2
2) x y = 4x y
4
=4xy
2 7 4
( 6 x y )( 2 x ) ( 6×2) x
2+4−3
y
7−2

3 2

3) 14 x y = 14
3 5
6x y
= 7

ตัวอย่ างที่ 3 จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ


4 8 2 2 4 2 8 2
วิธีทำ 1) (2x y ) =2 (x ) (y )
8 16
= 4x y
4 5
2 x(y )
5 5
4 5
2x y
2)
( ) 3z
3

=
3
3(z ) 5

5
5

20
32 x y
15

= 243 z

ตัวอย่ างที่ 4 จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ


3n n−1 3n 3 n−1
วิธีทำ 1) 2 ¿ 8 =2 ¿ (2 )
3
3n 3( n−1)
=2 ¿ 2
3n 3 n−3
=2 ¿ 2
3 n+3 n−3
=2
6 n−3
=2
2n−3 2n 2n−3 4 2n
2) 3 ¿ 81 =3 ¿ (3 )
2n−3 8n
=3 ¿ 3
2n−3+8n
=3
10 n−3
=3

ตัวอย่ างที่ 5 จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ และให้ มีเลขชี ้กำลังเป็ นบวก


1
a
x
4

x
−4
a 1
2

วิธีทำ 1) y
−2

= y
a

x
4

1
2

= y
y
2
a

= (x ) ( ) 4

1
2
ay
4

= x

1
2a
b
6

b
−6
2a 1
7

2) c
−7

= c
2a

b
6

1
7

= c
4
7

(b ) (c )
2a
6

= 1
7
2a c
6

= b
ตัวอย่ างที่ 6 จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ
3 0
4ab
วิธีทำ 1) 5a
2 ( )
c
5

= 5a
2
(1)
2
=5a
4 0 0 2 2
(2 x y ) ( x y ) (1)( 1) y
2) 2x = 2x
2
y
= 2x
2 0 −5
(4 a b ) a (1 )
5 4

3) c4 = ac
1

= ac
5 4

3 −1 −2
7x y z
−1 −2 −3 −4 3+1 3+2
4) 7 x y z =7 x y
−1+3
z
−2+4

4 5 2 2
=7 x y z

ตัวอย่ างที่ 7 จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ

3 n+2 n−9 5−9 n 3 n+2 n−9


วิธีทำ 1) 5 ¿ 10 ¿ 2 = 5 ¿ (5 ¿2)
5−9 n
¿ 2
3 n+2 n−9 n−9
= 5 ¿ 5 ¿ 2 ¿ 2
5−9 n
3 n+2+n−9 n−9+5−9n
=5 ¿ 2
4 n−7 −8n−4
=5 ¿ 2
3m+2 3n+m ( 72 )3m +2× a3 n+m
49 × a 2m 2m

2) 2m
(7 a ) = 7 ×a
2 (3 m+2 ) 3 n+ m
7 × a
2m

= 7 ×a2 m
5

7 a
2 (3 m+ 2)−2 m 3 n+ m−2m

=
6m +4−2 m 3 n−m

= 7 a
4 m+ 4 3 n −m

= 7 a
2 n+ 1

2
n+ 1

÷
4
n+1
2
n+1

÷
(2 )
n−1 n+1 n( n−1)

= 2
n n−1 n−1 n+ 1

3) ( 2 ) (2 ) (2 )
n+ 1 2 n+ 2
2 ÷2 2 2
n n
2 2
−n −1

= 2
n
2 ×2
n+ 1 −1

2
n 2 2 n+ 2
2
−n

= 2 2
n −1)−( n −n)−( 2 n+ 2)
2
(n+ 1)+(

= 2 2
n n
2
n+ 1+ −1− + n−2 n−2

=
2
−2

=
1

= 2
2

แบบฝึ กหัดที่ 1.2

1. จงทำให้ อยูใ่ นรูปอย่างง่าย และมีเลขชีกำ


้ ลังเป็ นบวก เมื่อ a , b , c , x , y , z ¿ 0 และ m , n ,
p, q เป็ นจำนวนเต็ม
10 12
2 5 3 2 2
1.1 a a 1.8 (x y )(x y )
2 4 n 4 n+1
1.2 (-2) y 1.9 (a ) (a )
6

am +n
2 4 5 2m−3 n
1.3 (2x y ) 1.10 a
−2 4 5 p−q 3 p+3 q
1.4 (x yz ) 1.11 (5 )(5 )

( y−4 x 2 )0
m −n −m n
1.5 2−2 1.12 (a ) ¿ (b )
mn
¿ (ab)

5−1 x2 y−1 z 6 2 n×(2n−1 )n 1


×
1.6 5−2 x3 y−2 z−3 1.13 2n+1 ×2n−1 4−n

5 6
x y 2
n−1
6
−n+2
× n+1
1.7 ( xy)4 1.14 15 n−1
5

2. จงทำให้ อยูใ่ นรูปอย่างง่าย และมีเลขชี ้กำลังเป็ นบวก

(2 a−1 )2 (3 a2 )−1 49
2−n

5 −1 −2 2
2.1 (3 a ) (2 a )
2−n

2.4 7
a3 b−2 c 5 5 4 p+5×125 p−6
−2

2.2
( a2 b−1 c 3 ) 2.5 625 p+2
4 2
4 y3 243 x 2 yz 2
( )
2.3 243 yz ¿
( 16 y 5 ) 2.6
x 3 m−n ( xy )2 n+m
y 2m

3. การบวก ลบ เลขยกกำลัง
การบวก ลบ เลขยกกำลัง จะทำได้ ก็ตอ่ เมื่อ เลขยกกำลังนันมี
้ ฐานเท่ากันและมีเลขชี ้กำลังเท่ากัน
โดยการนำสัมประสิทธิ์ของเลขยกกำลังนันมาบวกหรื
้ อลบกัน ตัวอย่าง เช่น
2 2 2
1) จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ 2x + 5x = (2+5) x
2
= 7x
4 4 4 4
2) จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ a +9a -5a = ( 1+9-5) a
4
= 5a
7

ข้ อสังเกต ถ้ าเลขยกกำลังที่มีฐานเท่ากัน แต่เลขชี ้กำลังต่างกัน จะนำสัมประสิทธิ์ของเลขยก


กำลังมาบวกหรื อลบกันไม่ได้ จะต้ องใช้ วิธีแยกตัวประกอบ ตัวอย่าง เช่น
2 3 4 2 2 2
1) จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ 2x +5x - 10x = 2x +(5x)x -(10x )x
2
2 2
= (2 + 5x – 10x )x
4 7 9 4 4 3 4
2) จงทำให้ เป็ นผลสำเร็ จ 6a - 3a +7a = 6a - 3a a +7a
5
a
3 5 4
= (6 –3a +7a )a
2 4
3 +3
ตัวอย่ างที่ 8 จงทำ 35 ให้ เป็ นผลสำเร็ จ
2 4
3 +3 3 2 +32 3 2
วิธีทำ 35 = 32 33

3 2 (1+32 )
= 32 3 3

(1+32 )
= 33
10
= 27

2 x 4 +6 x 5
ตัวอย่ างที่ 9 จงทำ x4 ให้ เป็ นผลสำเร็ จ
4 5
2 x +6 x 2 x 4 +6 xx 4
วิธีทำ x4 = x4
4
x ( 2+6 x )
4

= x
= 2 + 6x

แบบฝึ กหัดที่ 1.2


8

จงทำให้ อยูใ่ นรูปอย่างง่าย


6 6 6
1. 4a - 14a +20a
3 2 3 3 2
2. c - b +4c +6c + 10b
2 3 2 3
3. 3x - 5x + 4x - 6x
2 2 2 2
4. 3ab - 6ab - 4ab + 5ab
3 2 3 2
5. (3x - 2x + 8x +9 ) – (2x + 5x +2x –1)
2 5
2 +2
6. 22
3−3 +3−4
7. 3−5
x 3 −x 2 y
8. xy 2 − y 4
3 2
x +x
9. x +1
9
10
11

You might also like