You are on page 1of 52

Circle (วงลกลม)

1
วงกลม

2
วงกลม

วงกลม เป็นรูปเรขาคณิตบนระนาบซึ่งแต่ละจุดบนรูปเรขาคณิตนี้ อยู่ห่าง


จากจุดที่จุดหนึ่งบนระนาบเดียวกันเป็นระยะห่างเท่ากัน
3
วงกลม จุดสัมผัส
เส้นรอบวง
A เส้นสัมผัสวงกลม
(circumference)
เซกเตอร์
รัศมี (radius)
B C
O
เส้นผ่านศูนย์กลาง
จุดศูนย์กลาง

เซกเมนต์
คอร์ด

4
วงกลม
A
การเรียกชื่อวงกลมวงหนึ่งที่มีจุดศูนย์กลางตามที่กาหนดให้
เรียกชื่อของจุดศูนย์กลางของวงกลมนั้น เช่น วงกลมที่มีจุด O
B C เป็ นศูนย์ กลาง อาจเรี ยกว่ า “วงกลม O”
O

5
วงกลม
D
ส่วนโค้งส่วนใหญ่

คอร์ด
O

B ส่วนโค้งน้อย
A

6
วงกลม
D จากรูป AB เป็นคอร์ดของวงกลม O
ส่วนโค้งใหญ่
เรียกส่วนโค้ง ADB ว่า ............................................... AB
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ … … …ADB
…………..
ส่วนโค้งน้อย AB
เรียกส่วนโค้ง ACB ว่า .......................................
O
ACB
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ..................... AB
หรือ ....................
B
A ADB
ความยาว ......................... m(ADB)
เขียนแทนด้วย ...........................
C ACB
ความยาว ......................... m(ACB) หรือ
เขียนแทนด้วย ......................
m(AB)
AB เขียนแทนด้วย .................
ความยาว ...............

7
วงกลม
C
ครึ่งวงกลม

A B
O
เส้นผ่านศูนย์กลาง

ครึ่งวงกลม
D

8
วงกลม
A
B

เส้นตัดวงกลม
O

เส้นสัมผัส

E
D
C จุดสัมผัส

9
วงกลม
X
มุมที่จุดศูนย์กลาง คือ มุมที่มีจุดศูนย์กลางของ
วงกลมเป็นจุดยอดมุมและแขนทั้งสองของมุมตัดวงกลม
O C

A B
O B

มุมในส่วนโค้งของวงกลม คือ มุมที่มีจุดยอด


A
มุมอยู่บนวงกลมและแขนทั้งสองของมุมตัด X

10
วงกลม
A

B C
O

มุมในครึ่งวงกลม คือ มุมที่มีจุดยอดมุมอยู่บนวงกลม และแขนทั้งสองของ


มุมผ่านจุดปลายทั้งสองของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นหนึ่ง

11
วงกลม
ตัวอย่างที่ 1 จากรูปให้ O เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลม จุด A,B,C,D และ E อยูบ่ น วงกลม
จงตอบคาถามต่อไปนี ้
1. เรียก AB และ DE ว่าอย่างไร
คอร์ด
2. คอร์ดที่ยาวที่สุดของวงกลมหนึ่งมีชื่อเรียกเฉพาะว่าอย่างไร
เส้นผ่านศูนย์กลาง
3. คอร์ดที่แบ่งส่วนโค้งของวงกลมออกเป็นสองส่วนเท่าๆกันคือเส้นใด
AB
4. เรียกส่วนโค้งของวงกลมที่ถูกแบ่งด้วยคอร์ดที่ไม่ใช่เส้นผ่าศูนย์กลางว่าอย่างไร
ส่วนโค้ง DE

12
วงกลม
ตัวอย่างที่ 2 จากรูปให้ O เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลม จุด A,B,C และ D อยูบ่ นวงกลม ให้ บอก
ชื่อของมุมตามลักษณะของมุมในส่วนต่าง ๆ ของวงกลม โดยเขียนคาตอบในช่องว่าง

13
วงกลม
มุมในครึ่งวงกลม
มุมในครึ่งวงกลม

มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลม
มุมในส่วนโค้งของวงกลม

14
มุมในครึ่งวงกลม
มุมในครึ่งวงกลม

ทฤษฎีบท มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา หรือ หนึ่งมุมฉาก

15
มุมในครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 3 กาหนดให้ O เป็ นจุดศูนย์ กลางของวงกลม 𝐀𝐁𝐂 เป็ นมุมในครึ่ง วงกลมต้ องพิสูจน์ ว่า 𝐀𝐁𝐂 เป็ นมุมฉาก
ข้อความ เหตุผล
1. 𝐀𝐎 = 𝐁𝐎 = 𝐂𝐎 1. รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเท่ากัน

2. 𝐎𝐀𝐁 = 𝐎𝐁𝐀และ 𝐎𝐁𝐂 = 𝐎𝐂𝐁 2. มีด้านประกอบมุมยอดของรูปสามเหลี่ยม


หน้าจั่วยาวเท่ากัน
3. 𝐎𝐀𝐁 + 𝐎𝐁𝐀 + 𝐎𝐁𝐂 + 𝐎𝐂𝐁 = 𝟏𝟖𝟎° 3. ขนาดของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ
𝟏𝟖𝟎°
4. 𝟐(𝐎𝐁𝐀) + 𝟐(𝐎𝐁𝐂) = 𝟏𝟖𝟎° 4. แทนมุมที่ขนาดเท่ากัน
5. 𝐎𝐁𝐀 + 𝐎𝐁𝐂 = 𝟗𝟎° 5. สมบัติการเท่ากัน
6. นั่นคือ 𝐀𝐁𝐂 = 𝟗𝟎°
16
มุมในครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 4 𝐀𝐂𝐁 เป็ นมุมในครึ่งวงกลมและ 𝐁𝐀𝐂 มีขนาดเป็นครึ่งหนึ่งของ 𝐀𝐁𝐂 จงพิสูจน์ ว่า 𝐁𝐀𝐂 = 𝟑𝟎°

กาหนดให้
𝐀𝐂𝐁 เป็ นมุมในครึ่งวงกลม 𝐀𝐁𝐂 = 𝟐(𝐁𝐀𝐂)

ต้ องพิสูจน์ ว่า 𝐁𝐀𝐂 = 𝟑𝟎°

17
มุมในครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 4 ข้อความ เหตุผล
1. 𝐀𝐂𝐁 = 𝟗𝟎° 1. 𝐀𝐂𝐁 = 𝟗𝟎°เป็นมุมครึ่งวงกลม
2. 𝐀𝐂𝐁 + 𝐁𝐀𝐂 + 𝐀𝐁𝐂 = 𝟏𝟖𝟎° 2. ผลบวกของขนาดมุมภายในรูป
สามเหลี่ยมเท่ากับ 𝟏𝟖𝟎°
3. 𝟗𝟎° + 𝐁𝐀𝐂 + 𝐀𝐁𝐂 = 𝟏𝟖𝟎° 3. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 1)
4. 𝐁𝐀𝐂 + 𝐀𝐁𝐂 = 𝟗𝟎° 4. จากข้อ 3
5. 𝐁𝐀𝐂 + 𝟐(𝐁𝑨𝐂) = 𝟗𝟎° 5. กาหนดให้
6. 𝟑(𝐁𝑨𝐂) = 𝟗𝟎° 6. จากข้อ 5
7. นั่นคือ 𝐁𝑨𝐂 = 𝟑𝟎° 7. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 5)

18
มุมในครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 5 𝐀𝐂 และ 𝐁𝐃 เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม จงพิสูจน์ว่าสี่เหลี่ยม ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

D
C

A
B

กาหนดให้
𝐀𝐂 และ 𝐁𝐃 เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม

ต้ องพิสูจน์ ว่า 𝐀𝐁𝐂 = 𝐀𝐃𝐂 = 𝐁𝐀𝐃 = 𝐁𝐂𝐃 = 𝟗𝟎°

19
มุมในครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 5 ข้อความ เหตุผล
1. 𝐀𝐂 เป็นเส้นผ่านศูนย์กลาง 1. กาหนดให้
D 2. 𝐀𝐁𝐂 = 𝐀𝐃𝐂 = 𝟗𝟎° 2. มุมในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก
C
3. 𝐁𝐃 เป็นเส้นผ่านศูนย์กลาง 3. กาหนดให้
4. 𝐁𝐀𝐃 = 𝐁𝐂𝐃 = 𝟗𝟎° 4. มุมในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก
A
B 5. นั้นคือ สี่เหลี่ยม ABCD เป็นสี่เหลี่ยม 5. จากข้อ 2 และ 4
มุมฉาก

20
มุมในครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 6 1 จากรูปที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้ จงหาค่า x และ y โดยกาหนดให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม
B
y

x
A O C

กาหนดให้
∆𝐀𝐁𝐂 เป็นสามเหลี่ยมแนบในวงกลม

21
มุมในครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 6 1 ข้อความ เหตุผล
1. 𝐀𝐁 = 𝑩𝑪 1. กาหนดให้
B
y 2. 𝒚 = 𝟗𝟎° 2. มุมในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก
x
3. . 𝐱 = 𝐀𝐂𝐁 3. มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
A O C ขนาดเท่ากัน
4. 𝒙 + 𝒚 + 𝑨𝑪𝑩 = 𝟏𝟖𝟎° 4. ผลบวกของขนาดมุมภายในรูปสามเหลี่ยม
เท่ากับ 𝟏𝟖𝟎°
5. 𝟗𝟎° + 𝟐𝒙 = 𝟏𝟖𝟎° 5. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 3 และ 4)
6. 𝒙 = 𝟒𝟓° 6. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 5)
7. นั้นคือ 𝒙 = 𝟒𝟓° และ 𝒚 = 𝟗𝟎°
22
มุมในครึ่งวงกลม
ตัวอย่างที่ 6 2 จากรูปที่กาหนดให้ในแต่ละข้อต่อไปนี้ จงหาค่า x และ y โดยกาหนดให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม
ข้อความ เหตุผล
y
1. 𝒚 = 𝟗𝟎° 1. มุมในครึ่งวงกลม
2. 𝒙 + 𝒚 + 𝟒𝟎° = 𝟏𝟖𝟎° 2. ผลบวกของขนาดมุมภายในรูป
40° x
O สามเหลี่ยมเท่ากับ 𝟏𝟖𝟎°
3. 𝒙 + 𝟗𝟎° + 𝟒𝟎° = 𝟏𝟖𝟎° 3. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 1)
4. 𝒙 = 𝟓𝟎° 4. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 3)
5. ดังนั้น 𝒙 = 𝟓𝟎° และ 𝒚 = 𝟗𝟎°

23
มุมในครึ่งวงกลม
จากรูป จุด O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม 𝐀𝐂𝐁 เป็นมุมในครึ่งวงกลมและ 𝐀𝐎𝐃 = 𝟑𝟎° จงหาขนาดของ 𝐁𝐂𝐎
ตัวอย่างที่ 7
ข้อความ เหตุผล
C
1. 𝑶𝑪 = 𝑶𝑩 1. เป็นรัศมีของวงกลม
2. ∆𝑩𝑶𝑪 2. เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว (จากข้อ 1)
A B
70° O 3. 𝐀𝑶𝑫 = 𝑩𝑶𝐂 = 𝟕𝟎° 3. มุมตรงกันข้าม
4. 𝐁𝑪𝐎 = 𝑪𝐁𝐎 4. เป็นมุมที่ฐานของสามเหลี่ยม BOC
D
5. 𝐁𝑪𝐎 + 𝑩𝑶𝐂 + 𝑪𝐁𝐎 = 𝟏𝟖𝟎° 5. ผลบวกของขนาดมุมภายในรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 𝟏𝟖𝟎°
6. 𝑩𝑶𝐂 + 𝟐(𝐁𝑪𝐎) = 𝟏𝟖𝟎° 6. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 4)
7. 𝟕𝟎° + 𝟐(𝐁𝑪𝐎) = 𝟏𝟖𝟎° 7. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 6)
8. นั้นคือ 𝐁𝑪𝐎 = 𝟓𝟓°
24
มุมทีจ่ ุดศูนย์ กลาง
ทฤษฎีบท ในวงกลมเดียวกัน มุมที่จุดศูนย์กลาง จะมีขนาดเป็นสองเท่าของขนาด
ของมุมในส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับด้วยส่วนโค้งเดียวกัน

25
มุมทีจ่ ุดศูนย์ กลาง
ตัวอย่ างที่ 8 กาหนดให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม มี 𝐀𝐎𝐁 เป็นมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมและ
𝐀𝐂𝐁 เป็นมุมในส่วนโค้ง รองรับด้วยส่วนโค้ง AB ต้องการพิสูจน์ว่า 𝐎𝐀𝐁 = 𝟐(𝐀𝑪𝐁)

26
มุมทีจ่ ุดศูนย์ กลาง
ตัวอย่ างที่ 9 ลาก 𝐂𝐃 ผ่านจุด O

ข้ อความ เหตุผล
1. 𝐀𝐎 = 𝐂𝐎 1. รัศมีของวงกลมเดียวกันมีขนาดเท่ากัน
2. 𝐀𝐂𝐎 = 𝐂𝐀𝐎 2. ถ้ารูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีด้านยาวเท่ากันสองด้าน
มุมตรงข้ามกับด้านที่ยาวเท่ากันจะมีขนาดเท่ากัน
3. 𝐃𝐎𝑨 = 𝐂𝑨𝑶 + 𝐀𝐂𝐎 3. ถ้าต่อด้านในด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยม
ออกไปมุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่ากับ
D ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิด

4. 𝐃𝐎𝐀 = 𝟐(𝐂𝐀𝐎) 4. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 2 และ 3) แทน 𝐀𝐂𝐎


ด้วย 𝐂𝐀𝐎

27
มุมทีจ่ ุดศูนย์ กลาง
ตัวอย่างที่ 9 (ต่อ) ลาก 𝐂𝐃 ผ่านจุด O

ข้ อความ เหตุผล
5.𝐃𝐎𝐁 = 𝟐(𝐁𝐂𝐎) 5. พิสูจน์ในทานองเดียวกับ ข้อ 4
6. 𝐃𝐎𝐀 + 𝐃𝐎𝐁 = 𝟐 𝐀𝐂𝐎 + 𝟐(𝐁𝐂𝐎) 6. จากข้อ 6 และสมบัติการแจกแจง

7. นั่นคือ 𝐀𝐎𝐁 = 𝟐 𝐀𝐂𝐁

28
มุมทีจ่ ุดศูนย์ กลาง
C
ตัวอย่ างที่ 9 50°

จากรูป จุด O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม 𝐀𝐂𝐁 เป็นมุมในส่วนโค้ง


ของวงกลมและมีขนาดเท่ากับ 𝟓𝟎° จงพิสูจน์ว่า 𝐎𝐀𝐁 = 𝟒𝟎°

29
มุมทีจ่ ุดศูนย์ กลาง
ตัวอย่ างที่ 9 ข้ อความ เหตุผล
C
1. 𝐀𝐎𝐁 = 𝟐 𝐀𝐂𝐁 1. มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมมีขนาด
50° เป็นสองเท่าของมุมในส่วนโค้งของวงกลม
O ที่รองรับด้วยส่วนโค้งเดียวกัน
2. 𝐀𝐂𝐁 = 𝟓𝟎° 2. กาหนดให้
A
3. 𝐀𝐎𝐁 = 𝟐 × 𝟓𝟎 = 𝟏𝟎𝟎° 3. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 1) และ 2) )
B
4. 𝐀𝐎𝐁 + 𝐎𝐀𝐁 + 𝐎𝐁𝐀 = 𝟏𝟖𝟎° 4. ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูป
สามเหลี่ยมเท่ากับ 𝟏𝟖𝟎° องศา
5. 𝐎𝐀𝐁 + 𝐎𝐁𝐀 = 𝟏𝟖𝟎° − 𝟏𝟎𝟎° = 𝟖𝟎° 5. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 3) และ 4) )
30
มุมทีจ่ ุดศูนย์ กลาง
ตัวอย่างที่ 9 (ต่อ) ข้ อความ เหตุผล
C
6. 𝐀𝐎 = 𝐁𝐎 6. รัศมีของวงกลมเดียวกันมีความยาวเท่ากัน
50°
7. 𝐀𝐎𝐁 เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว 7. ด้านประกอบมุมยอดสองด้านมีความยาว
O เท่ากัน
8. 𝐎𝐀𝐁 = 𝐎𝐁𝐀 8. ถ้ารูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีด้านยาวเท่ากัน
A
สองด้านแล้ว มุมตรงข้ามกับด้านที่ยาวเท่ากัน
B จะมีขนาดเท่ากัน
9. 𝟐(𝑶𝑨𝐁) = 𝟖𝟎° 9. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 5 และ 8)
10. นั่นคือ 𝐎𝐀𝐁 = 𝟒𝟎° 10. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 8)

31
มุมในส่วนโค้งของวงกลม

ทฤษฎีบท ในวงกลมเดียวกัน มุมในส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับด้วย


ส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับด้วยส่วนโค้งเดียวกันจะมีขนาดเท่ากัน
มุมในส่วนโค้งของวงกลม
B
ตัวอย่างที่ 9
50°
D

26°
A C

จากรูป 𝑨𝑩// 𝑪𝑫 𝐀𝑩𝑪 = 𝟓𝟎° และ 𝐂𝑨𝑫 = 𝟐𝟔° จงหาขนาดของ


𝐁𝑨𝑪 พร้อมแสดงเหตุผล
มุมในส่วนโค้งของวงกลม
ตัวอย่างที่ 9 ข้ อความ เหตุผล
B 1. 𝐀𝐁𝐂 = 𝟓𝟎° และ 𝐀𝐁𝐂 = 𝟐𝟔° 1. กาหนดให้
50° 2. 𝐁𝐂𝐃 = 𝐀𝐁𝐂 = 𝟓𝟎° 2. ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด
D แล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน
3. 𝐁𝐀𝐃 = 𝐁𝐂𝐃 = 𝟓𝟎° 3. มุมในส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับด้วย
ส่วนโค้งเดียวกันจะมีขนาดเท่ากัน
26°
A C
มุมในส่วนโค้งของวงกลม
ข้ อความ เหตุผล
ตัวอย่างที่ 9 (ต่อ)
B 4. เนื่องจาก 1. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 1 และ 2 )
𝐁𝐀𝐂 = 𝐁𝐀𝐃 + 𝐂𝐀𝐃
50°
D
𝐁𝐀𝐂 = 𝟓𝟎° + 𝟐𝟔°
∴ 𝐁𝐀𝐂 = 𝟕𝟔°

A
26°
C
5. นั่นคือ 𝐁𝐀𝐂 = 𝟕𝟔°
มุมในส่วนโค้งของวงกลม
จากรูป 𝑨𝑩 เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม O และ จงหาขนาดของ
ตัวอย่างที่ 10
𝐁𝑨𝑪 = 𝟐𝟖° จงหาขนาด 𝐀𝐃𝐂 พร้อมแสดงเหตุผล
A
เนื่องจาก 𝐁𝐃𝐂 = 𝐁𝐀𝐂 = 𝟐𝟖°
28°
และ 𝐁𝐃𝐂 + 𝐀𝐃𝐂 = 𝟗𝟎°
D
O จะได้ 𝟐𝟖° + 𝐀𝐃𝐂 = 𝟗𝟎°
𝐀𝐃𝐂 = 𝟗𝟎° − 𝟐𝟖° = 𝟔𝟐°
C
นั่นคือ
B
ขนาดของ 𝐀𝐃𝐂 เท่ากับ 𝟔𝟐°
มุมและส่วนโค้งที่รองรับมุม

ทฤษฎีบท ในวงกลมที่เท่ากันทุกประการหรือในวงกลมวงเดียวกัน ถ้าส่วน


โค้งยาวเท่ากัน แล้วมุมในส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับด้วยส่วนโค้งนั้นจะมี
ขนาดเท่ากัน
C
มุมและส่วนโค้งที่รองรับมุม 4

B
3

O
1
D 2
A
1 + 3 = 180° และ 2 + 4 = 180°

ทฤษฎีบท ถ้ารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มีผลบวกของขนาดของมุมตรงข้าม


เท่ากับสองมุมฉาก แล้วรูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมได้
มุมและส่วนโค้งที่รองรับมุม
ตัวอย่างที่ 11 ข้ อความ เหตุผล
C
1. เนื่องจาก 𝐀𝐃𝐂 + 𝐀𝐁𝐂 = 𝟏𝟖𝟎° 1. ผลบวกของขนาดของมุมตรงข้ามของ
1
รูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเท่ากับ 𝟏𝟖𝟎°
B
2
2. จะได้ 𝐀𝐁𝐂 = 𝟏𝟖𝟎° − 𝟖𝟓° = 𝟗𝟓° 2. 𝐀𝐃𝐂 = 𝟖𝟓°
O
85° 3. 𝐁𝑨𝑫 + 𝐁𝑪𝑫 = 𝟏𝟖𝟎° 3. ผลบวกของขนาดของมุมตรงข้ามของ
D 98° รูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเท่ากับ 𝟏𝟖𝟎°
A

4.𝟗𝟖° + 𝐁𝑪𝑫 = 𝟏𝟖𝟎° 3. 𝐁𝑨𝑫 = 𝟗𝟖°


5. นั่นคือ 𝟗𝟖° + 𝐁𝑪𝑫 = 𝟏𝟖𝟎° −𝟗𝟖° = 𝟖𝟐°
คอร์ ด คอร์ดและส่วนโค้งของวงกลม

C ทฤษฎีบท ในวงกลมที่เท่ากันทุกประการหรือในวงกลมเดียวกัน ถ้าคอร์ดสอง


คอร์ดยาวเท่ากัน แล้วคอร์ดทั้งสองจะตัดวงกลมทาให้ส่วนโค้งน้อยยาวเท่ากัน และ
D ส่วนโค้งใหญ่ยาวเท่ากัน

O C

A B D

O
ทฤษฎีบท ในวงกลมที่เท่ากันทุกประการหรือในวงกลม
เดียวกัน ถ้าคอร์ดสองคอร์ดตัดวงกลมทาให้ส่วนโค้งน้อยยาวเท่ากัน A B

แล้วคอร์ดทั้งสองนั้นจะยาวเท่ากัน
คอร์ ด คอร์ดกับจุดศูนย์กลางของวงกลม

ทฤษฎีบท ส่วนของเส้นตรงซึ่งผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมและตัดคอร์ดที่ไม่ใช่เส้นผ่านศูนย์กลาง จะมีสมบัติดังนี้

1. ถ้าส่วนของเส้นตรงคอร์ดแบ่งครึ่งคอร์ด แล้วส่วนของ
เส้นตรงนั้นจะตั้งฉากกับคอร์ด
O

2. ถ้าส่วนของเส้นตรงตั้งฉากกับคอร์ด แล้วส่วนของเส้นตรงนั้น
A X B
จะแบ่งครึ่งคอร์ด
คอร์ ด คอร์ดที่ยาวเท่ากัน

ทฤษฎีบท

1. ในวงกลมเดียวกัน ถ้าคอร์ดสองเส้นยาวเท่ากัน แล้ว คอร์ดทั้งสอง


นั้นจะอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของวงกลมเป็นระยะเท่ากัน

2. ในวงกลมเดียวกัน ถ้าคอร์ดสองเส้นอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางของ
วงกลมเป็นระยะเท่ากัน แล้วคอร์ดทั้งสองนั้นจะยาวเท่ากัน
คอร์ด
ตัวอย่างที่ 12 จากรูป จุด O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม 𝐀𝐂 = 𝟏𝟖 เซนติเมตร 𝐁𝐂 = 𝟔
เซนติเมตร จงหาว่า AB อยู่ห่างจากจุด O กี่เซนติเมตร
เนื่องจาก 𝐀𝐂 = 𝟏𝟖 ซม. 𝐁𝐂 = 𝟏𝟖 ซม.
A D B C
จะได้ 𝐀𝐁 = 𝟏𝟖 − 𝟔 = 𝟏𝟐 ซม.
O เมื่อลาก 𝐎𝐃 ตั้งฉาก 𝐀𝐁 ที่จุด D
ทาให้จุด D แบ่งครึ่ง 𝐀𝐁
จะได้ 𝐀𝐃 = 𝐃𝐁 = 𝟔 เซนติเมตร
ดังนั้น 𝐃𝐂 = 𝟔 + 𝟔 = 𝟏𝟐 เซนติเมตร
ดังนั้น 𝐎𝐂 = 𝟏𝟑 เซนติเมตร
คอร์ด
ตัวอย่างที่ 12 (ต่อ)

เนื่องจากทฤษฎีบทพีทาโกรัส
A D B C
จะได้ 𝑶𝑫𝟐 = 𝑶𝑪𝟐 − 𝑫𝑪𝟐
O ดังนั้น 𝑶𝑫𝟐 = (𝟏𝟑)𝟐 − 𝟏𝟐 𝟐
= 𝟏𝟔𝟗 − 𝟏𝟒𝟒
𝑶𝑫𝟐 = 𝟐𝟓

จะได้ 𝐎𝐃 = 𝟓 เซนติเมตร
นั่นคือ 𝐀𝐁 อยู่ห่างจากจุด 5 เซนติเมตร
เส้ นสั มผัสวงกลม เส้นสัมผัสวงกลมและรัศมี

A B

ทฤษฎีบท เส้นสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส

ทฤษฎีบท เส้นตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบนวงกลม จะเป็นเส้น


สัมผัสวงกลมที่จุดนั้น
เส้ นสั มผัสวงกลม เส้นสัมผัสวงกลมและรัศมี
B

O
A

ทฤษฎีบท ส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุด ๆ หนึ่งภายนอกวงกลมมา


สัมผัสวงกลมเดียวกัน จะยาวเท่ากันและมีได้สองเส้น
เส้นสัมผัสวงกลมและรัศมี
ตัวอย่างที่ 13
จากรูป 𝐀𝐁 สัมผัสวงกลม O ที่จุด A และ 𝐁𝐀𝐂 = 𝟓𝟐° จงหาขนาด 𝐀𝐎𝐂
เนื่องจาก 𝐎𝐀𝐁 = 𝟗𝟎°
และ 𝐎𝐀𝐂 + 𝐂𝐀𝐁 = 𝐎𝐀𝐁
C จะได้ 𝐎𝐀𝐂 + 𝟓𝟐° = 𝟗𝟎°
O 𝐎𝐀𝐂 = 𝟗𝟎° − 𝟓𝟐° = 𝟑𝟖°
เนื่องจาก 𝐎𝐀 = 𝐎𝐂
52° และ ∆𝐎𝐀𝐂 เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
A B
จะได้ 𝐎𝐀𝐂 = 𝐎𝐂𝐀 = 𝟑𝟖°
เส้นสัมผัสวงกลมและรัศมี
ตัวอย่างที่ 13 (ต่อ)
จากรูป 𝐀𝐁 สัมผัสวงกลม O ที่จุด A และ 𝐁𝐀𝐂 = 𝟓𝟐° จงหาขนาด 𝐀𝐎𝐂
และ ∆𝐎𝐀𝐂 เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
จะได้ 𝐎𝐀𝐂 = 𝐎𝐂𝐀 = 𝟑𝟖°
C และ 𝐀𝐎𝐂 + 𝐎𝐂𝐀 + 𝐎𝐀𝐂 = 𝟏𝟖𝟎°
O จะได้ 𝐀𝐎𝐂 + 𝟑𝟖° + 𝟑𝟖° = 𝟏𝟖𝟎°

52° ดังนั้น 𝐀𝐎𝐂 = 𝟏𝟖𝟎° − 𝟕𝟔° = 𝟏𝟎𝟒°


A B นั้นคือ 𝐀𝐎𝐂 มีขนาด 𝟏𝟎𝟒°
เส้นสัมผัสวงกลมและรัศมี
ตัวอย่างที่ 14
กาหนดให้ จุด O จุดศูนย์กลางของวงกลมที่มีรัศมี 8 เซนติเมตร 𝐀𝐁 สัมผัสวงกลมวง O ที่
จุด A และยาว 15 เซนติเมตร จุด B อยู่ห่างจากจุด O ที่เซนติเมตร
จากรูป OAB เป็นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก มี 𝑶𝑨𝑩 = 𝟗𝟎°
O
จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส
จะได้ 𝑶𝑩𝟐 = 𝑨𝑶𝟐 + 𝑨𝑩𝟐
A B ดังนั้น 𝑶𝑩𝟐 = 𝟖𝟐 + 𝟏𝟓𝟐
𝑶𝑩𝟐 = 𝟔𝟒 + 𝟐𝟐𝟓 = 𝟐𝟖𝟗
จะได้ 𝑶𝑩 = 𝟏𝟕
นั่นคือ จุด B อยู่ห่างจากจุด O 17 เซนติเมตร
เส้ นสั มผัสวงกลม เส้นสัมผัสและคอร์ด

กาหนดให้จุด O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม 𝐗𝐘 สัมผัสวงกลม O ที่จุด A


C 𝐀𝐁 เป็นคอร์ด และ 𝐀𝐂𝐁 เป็นมุมในส่วนโค้งของวงกลม
B จากรูป
มุมที่เกิดจากคอร์ดและเส้นสัมผัสที่จุดสัมผัส A
เรียก 𝐁𝑨𝒀ว่า ........................................................................
O

เรียก 𝑨𝑪𝑩 ว่า ......................................................................


มุมในส่วนโค้งของวงกลมที่อยู่ตรงข้ามกับคอร์ด AB
X A Y

ทฤษฎีบท มุมที่เกิดจากคอร์ดและเส้นสัมผัสของวงกลมที่จุดสัมผัสจะมี
ขนาดเท่ากับขนาดมุมในส่วนโค้งของวงกลมที่อยู่ตรงข้ามกับคอร์ดนั้น
เส้นสัมผัสวงกลมและรัศมี
ตัวอย่างที่ 15
จากรูป 𝐃𝐄 เป็นเส้นสัมผัสวงกลมที่จุด B 𝐂𝑩𝑬 = 𝟔𝟓° และ 𝐀𝑩𝑫 = 𝟖𝟎° จงหาขนาดของ 𝑩𝑨𝑪 และ 𝑨𝑪𝑩
A

เนื่องจาก 𝐂𝑩𝑬 = 𝟔𝟓° จะได้ 𝐂𝑩𝑬 = 𝟔𝟓°


C

D
เนื่องจาก 𝐀𝑩𝑫 = 𝟖𝟎° จะได้ 𝐀𝑪𝑩 = 𝟖𝟎°
80°
65°
B

You might also like