You are on page 1of 4

ชวกร บุญฤทธิ์ภักดี

ชื่อ...........................................................................
สรุป เรือ่ งวัฒนธรรม 4/4 4
ชั้น............................เลขที ่....................

ความเจริญงอกงามทางวิชาความรู้
1.วัฒนธรรม คือ..........................................................................................................................................................
2.วัฒนธรรมมีลักษณะที่สำคัญ 6 ลักษณะ ได้แก่
เกิดจากการเรียนรู้ของมนุษย์
1………………………………………………………………………….. เป็นมรดกของสังคม
2…………………………………………………………………
แบบแผนในการดำเนินชีวิต สิ่งที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
3…………………………………………………………………………... 4…………………………………………………………………
แสดงถึงรูปแบบความคิดร่วมกันของสมาชิกในสังคม
5………………………………………………………………………………………………….. เป็นของส่วนรวม
6…………………………………………..
3.ควำมสำคัญของวัฒนธรรม เป็นแบบแผนในกำรกำรดำเนินชีวิตของคนในสังคม วัฒนธรรมจึงเป็นตัวกำหนด
พฤติกรรม หรือควำมประพฤติของมนุษย์ในแต่ละสังคม ทำให้วัฒนธรรมมีควำมสำคัญต่อทุกสังคม ดังนี้

วัฒนธรรมเป็นเครื่องสร้าง วัฒนธรรมทำให้เกิด กำหนดรูปแบบของสถาบัน


................................................... .................................................. ......................................................
ระเบียบแก่สังคม
ความเป็นเอกภาพ
................................................... .................................................. ......................................................

เป็น...................................................
เครื่องมือช่วยแก้ปัญหา ช่วยให้ประเทศชาติ
.................................................. เป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์
......................................................
และสนองความต้องการของมนุษย์ เจริญก้าวหน้า ของชาติ
................................................... .................................................. ......................................................
ก่อนสุโขทัย ชนชำติไทยมีวัฒนธรรมเป็นของตนเองมำตั้งแต่สมัยก่อนสุโขทัย
4.วัฒนธรรมไทย มีมำตั้งแต่สมัย..........................
มีความรัก ความสามัคคี ความสงบสุข
ซึ่งแสดงถึงควำมเป็นชนชำติที่ ............................ .............................. และ.............................. และมีละกษณะของ
ผสมผสาน
วัฒนธรรมแบบ...........................
5.วัฒนธรรมตำมเอกลักษณ์ไทย 5 ประเภท
วัฒนธรรมทาง
ภาษาและวรรณคดี วัฒนธรรมทางวัตถุ วัฒนธรรมทางจิตใจ

วัฒนธรรมทางจารีต วัฒนธรรมทางสุนทรียะ
ขนบธรรมเนียมประเพณี

6.กำรเปลี่ยนแปลงและกำรอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมมีกำรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลำเป็นวิถีชีวิตที่ที่
ในโรงเรียน ..................
เคลื่อนไหวร่วมกับคนในบ้ำน ....................... ในวัด ในชุมชน
....................... ในองค์ กร ในสั
......................... งคม
................... และ
ในชาติ
....................... สิ่งเหล่ำนี้คือปัจจัยต่ำงๆที่มำกระทบโครงสร้ำงของวัฒนธรรมไทย หรือควำมเป็นไทย ดังนั้นจึงมีกำร
เปลี่ยนตำมช่วงต่ำงๆ ดังนี้
6.1 วัฒนธรรมไทยก่อนกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง พ.ศ. 2475
สถาบันพระมหากษัตริย์
ในอดีตสังคมไทยยึดสถำบันเป็นหลัก โดยมีสถำบันที่สำคัญ คือ....................................................................
สถาบันศาสนา , สถาบันครอบครัว , สถาบันชุมชนท้องถิ่น
........................................................................................................................... เกษตรกรรม
มีวิถีชีวิแบบ.....................................
ไม่สลับซับซ้อน วัฒนธรรม
ชุมชนไทยมีควำม.........................
เรียบง่าย ...................................... และอยู่ภำยใต้ปัจจัยที่สร้ำงวิถีชีวิตหรือ..........................
6.2 วัฒนธรรมไทยหลังกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง พ.ศ. 2475
สถาบันพระมหากษัตริย์ลดลง
หลังจำกเปลี่ยนแปลงกำรปกครองทำให้ บทบำทของ.........................................................เปลี ่ยนแปลงไป
ศาสนา สถำบัน......................
แต่สถำบัน................... ครอบครัว และสถำบันชุมชนท้องถิ่นยังมีบทบำทเหมือนเดิม หลังจำก พ.ศ.
สังคมเมือง
2500 สังคมไทยเปลี่ยนแปลงเป็น............................มำกขึ ้น เป็นช่วงที่มีกำรเสริมสร้ำง ฟื้นฟูวัฒนธรรมไทย และ
มี ก ารรั บ วั ฒ นธรรมตะวั น ตก วิถีชีวิต
................................................................เข้ำมำกขึ้นและรวดเร็ว ทำให้..................... ค่านิยม ..........................
.................... เครื่องมือ

เครื่องใช้
.........................แตกต่ ำงไปจำกเดิม กลำยเป็นวัฒนธรรมตำมแบบสังคมตะวันตกมำกขึ้น
6.3 วัฒนธรรมหลังสงครำมเย็น
ขัดแย้งทางอุดมการทางการเมือง
สงครำมเย็นเป็นช่วงเวลำของสถำนกำรณ์ควำม......................................................ของประเทศมหำอ ำนำจ
สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียด
คือ ............................................ และ ................................... โดยเริ่มมำตั้งแต่สมัยสงครำมโลกครั้งที่ 2 ต่อมำได้ลด
พ.ศ. 2533
ควำมเข้มขนและยุติลงเมื่อ............................... ซึ่งปัจจัยภำนนอกมีผลกระทบอย่ำงมำกต่อทุกประเทศ รวมทั้ง
ประเทศไยด้วย โดยเฉพำะปัจจัย 2 ประกำรคือ ลั.................................................
ทธิเศรษฐกิจทุนนิยมเสรี ที่ทำให้เกิดกำรแข่งขัน เอำรัดเอำ
เศรษฐกิจชุมชน และ .............................................
เปรียบเข้ำมำแทนที่................................ เศรษฐกิจพอเพียง ทำให้เกิดลัทธิบูชำควำมร่ำรวยที่ทำให้
กระบวนการค้ายาเสพติดข้ามชาติ
มีผลกระทบด้ำนลบต่ำงๆตำมมำ เช่น ............................................................................. ซึง่ แต่เดิมมีเพียงแค่กำรค้ำ
ฝิ่นในท้องถิ่นเท่ำนั้น

7. ให้นักเรียนเขียนสรุปตำมหัวข้อต่อไปนี้
การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

ศึกษา ค้นคว้า และการวิจัยวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น ส่งเสริมให้ทุกคนเห็นคุณค่า


ร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติและของท้องถิ่น รณรงค์ให้ประชาชนและภาค
เอกชน ตระหนักในความสำคัญ ของวัฒนธรรม ว่าเป็นเรื่องที่ทุกคนต้องให้การรับผิดชอบร่วมกันใน
การส่งเสริมสนับสนุน

ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

วัฒนธรรมไทยให้ความสำคัญกับจิตใจเป็นสำคัญโดยมุ่งจุดหมายสำคัญ เพื่อขัดเกลาจิตใจของ
สมาชิกในสังคมให้เป็นคนดี แต่วัฒนธรรมสากลให้ความสำคัญกับการสะสมทางด้านวัตถุหรือความ
ร่ำรวยเป็นสำคัญ โดยไม่สนวิธี
วัฒนธรรมทางครอบครัว

สิ่งดีงามที่คนในครอบครัวปฏิบัติสืบทอดกันต่อมา ตั้งแต่สมัย ปู่ ย่า ตา ยาย เพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง


มีความสุข ซึ่งแต่ละครอบครัวนั้นก็จะมีความเหมือนและแตกต่างกันไป เช่นประเพณีการโกน
ผมไฟ การทำบุญวันเกิด การทำบุญขึ้นบ้านใหม่ การแสดงความเคารพต่อผู้ใหญ่ในครอบครัว

การเลือกรับวัฒนธรรมสากล

เลือกรับวัฒนธรรมสากลที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์


โทรศัพท์มือถือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนระบบระเบียบการค้าขายระหว่าง
ประเทศ มีความสำคัญในการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างคนไทยและคนต่างชาติอย่างมาก จึงจำเป็น
ต้องศึกษาหาความรู้ให้ถ่องแท้

การยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม

การปรับแนวคิดของตนตามบริบททาง วัฒนธรรมได้ มองเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมอื่นๆ และ


ความพร้อมจะรับค่านิยมใหม่ๆที่ไม่ขัดแย้งกับค่านิยมไทย

You might also like