You are on page 1of 80

ยุทธศาสตรชาติ

สารบัญ
Contents
สารบัญ ........................................................................................................................................................................................................... 1
สถานการณ แนวโนม วิสยั ทัศน และเปาหมายในการพัฒนาประเทศ............................................................................................................ 9
1. บทนำ 9
2. ปจจัยและแนวโนมที่คาดวาจะสงผลตอการพัฒนาประเทศ..................................................................................................................... 10
3. วิสัยทัศนประเทศไทย .............................................................................................................................................................................. 13
4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติ .......................................................................................................................................................................... 16
4.1 ยุทธศาสตรชาติดา นความมั่นคง .................................................................................................................................................... 17
4.2 ยุทธศาสตรชาติดา นการสรางความสามารถในการแขงขัน ............................................................................................................ 17
4.3 ยุทธศาสตรชาติดา นการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ...................................................................................... 17
4.4 ยุทธศาสตรชาติดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม............................................................................................... 18
4.5 ยุทธศาสตรชาติดา นการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ....................................................................... 18
4.6 ยุทธศาสตรชาติดา นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ............................................................................. 18
ยุทธศาสตรชาติดา นความมั่นคง ................................................................................................................................................................... 19
1. บทนำ 19
2. เปาหมาย ................................................................................................................................................................................................. 20
3. ตัวชี้วดั ..................................................................................................................................................................................................... 20
4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง ................................................................................................................................................. 21
4.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ ............................................................................................................................................... 21
4.1.1 การพัฒนาและเสริมสรางคนในทุกภาคสวนใหมีความเขมแข็ง มีความพรอมตระหนักในเรื่องความมัน่ คง และมีสวนรวมใน
การแกไขปญหา ............................................................................................................................................................................ 21
4.1.2 การพัฒนาและเสริมสรางความจงรักภักดีตอสถาบันหลักของชาติ ..................................................................................... 21
4.1.3 การพัฒนาและเสริมสรางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขทีม่ ีเสถียรภาพและมีธรร
มาภิบาล เห็นแกประโยชนของประเทศชาติมากกวาประโยชนสวนตน ........................................................................................ 22
4.1.4 การพัฒนาและเสริมสรางกลไกที่สามารถปองกันและขจัดสาเหตุของประเด็นปญหาความมั่นคงที่สำคัญ .......................... 22
4.2 การปองกันและแกไขปญหาที่มผี ลกระทบตอความมั่นคง.............................................................................................................. 22
4.2.1 การแกไขปญหาความมัน่ คงในปจจุบัน ............................................................................................................................... 23
4.2.2 การติดตาม เฝาระวัง ปองกัน และแกไขปญหาที่อาจอุบตั ิขึ้นใหม ...................................................................................... 23

1
4.2.3 การสรางความปลอดภัยและความสันติสุขอยางถาวรในพื้นที่จงั หวัดชายแดนภาคใต ........................................................ 23
4.2.4 การรักษาความมั่นคงและผลประโยชนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งทางบกและทางทะเล ......................... 24
4.3 การพัฒนาศักยภาพของประเทศใหพรอมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ ......................................................... 24
4.3.1 การพัฒนาระบบงานขาวกรองแหงชาติแบบบูรณาการอยางมีประสิทธิภาพ ...................................................................... 24
4.3.2 การพัฒนาและผนึกพลังอำนาจแหงชาติ กองทัพและหนวยงานความมั่นคง รวมทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ใหพรอม
ปองกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ และเผชิญกับภัยคุกคามไดทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ ............................................. 25
4.3.3 การพัฒนาระบบเตรียมพรอมแหงชาติและการบริหารจัดการภัยคุกคามใหมปี ระสิทธิภาพ................................................ 25
4.4 การบูรณาการความรวมมือดานความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองคกรภาครัฐและที่มิใชภาครัฐ ............................ 26
4.4.1 การเสริมสรางและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดลอมระหวางประเทศ.................................................................................... 26
4.4.2 การเสริมสรางและธำรงไวซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค .................................................................................... 26
4.4.3 การรวมมือทางการพัฒนากับประเทศเพื่อนบาน ภูมิภาค โลก รวมถึงองคกรภาครัฐและที่มิใชภาครัฐ .............................. 27
4.5 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองครวม.................................................................................................. 27
ยุทธศาสตรชาติดา นการสรางความสามารถในการแขงขัน........................................................................................................................... 29
1. บทนำ 29
2. เปาหมาย ................................................................................................................................................................................................. 30
3. ตัวชี้วดั ..................................................................................................................................................................................................... 30
4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน ......................................................................................................... 30
4.1 การเกษตรสรางมูลคา .................................................................................................................................................................... 30
4.1.1 เกษตรอัตลักษณพื้นถิ่น ....................................................................................................................................................... 30
4.1.2 เกษตรปลอดภัย .................................................................................................................................................................. 31
4.1.3 เกษตรชีวภาพ ..................................................................................................................................................................... 31
4.1.4 เกษตรแปรรูป ..................................................................................................................................................................... 32
4.1.5 เกษตรอัจฉริยะ ................................................................................................................................................................... 32
4.2 อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต ............................................................................................................................................. 33
4.2.1 อุตสาหกรรมชีวภาพ ........................................................................................................................................................... 33
4.2.2 อุตสาหกรรมและบริการการแพทยครบวงจร...................................................................................................................... 33
4.2.3 อุตสาหกรรมและบริการดิจิทลั ขอมูล และปญญาประดิษฐ ............................................................................................... 33
4.2.4 อุตสาหกรรมและบริการขนสงและโลจิสติกส...................................................................................................................... 34
4.2.5 อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ ................................................................................................................................. 34
4.3 สรางความหลากหลายดานการทองเที่ยว ...................................................................................................................................... 35
4.3.1 ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและวัฒนธรรม............................................................................................................................... 35
4.3.2 ทองเที่ยวเชิงธุรกิจ .............................................................................................................................................................. 36

2
4.3.3 ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแผนไทย ........................................................................................................... 36
4.3.4 ทองเที่ยวสำราญทางน้ำ ...................................................................................................................................................... 37
4.3.5 ทองเที่ยวเชือ่ มโยงภูมิภาค .................................................................................................................................................. 37
4.4 โครงสรางพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก .......................................................................................................................................... 38
4.4.1 เชื่อมโยงโครงขายคมนาคมไรรอยตอ .................................................................................................................................. 38
4.4.2 สรางและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ.................................................................................................................................... 38
4.4.3 เพิ่มพื้นทีแ่ ละเมืองเศรษฐกิจ ............................................................................................................................................... 39
4.4.4 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม ....................................................................................................................... 39
4.4.5รักษาและเสริมสรางเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค ......................................................................................................... 40
4.5พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผูประกอบการยุคใหม .......................................................................................................................... 40
4.5.1 สรางผูประกอบการอัจฉริยะ ............................................................................................................................................... 40
4.5.2 สรางโอกาสเขาถึงบริการทางการเงิน .................................................................................................................................. 41
4.5.3 สรางโอกาสเขาถึงตลาด ...................................................................................................................................................... 41
4.5.4 สรางโอกาสเขาถึงขอมูล...................................................................................................................................................... 42
4.5.5 ปรับบทบาทและโอกาสการเขาถึงบริการภาครัฐ ................................................................................................................ 42
ยุทธศาสตรชาติดา นการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย .................................................................................................... 43
1. บทนำ 43
2. เปาหมาย ................................................................................................................................................................................................. 44
3. ตัวชี้วดั ..................................................................................................................................................................................................... 44
4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย................................................................................... 44
4.1 การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม .......................................................................................................................................... 44
4.1.1 การปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมผานการเลี้ยงดูในครอบครัว ........................................................................................... 44
4.1.2 การบูรณาการเรื่องความซือ่ สัตย วินัย คุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ............................. 44
4.1.3 การสรางความเขมแข็งในสถาบันทางศาสนา ...................................................................................................................... 44
4.1.4 การปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมโดยใชชุมชนเปนฐาน...................................................................................................... 45
4.1.5 การสรางคานิยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงคจากภาคธุรกิจ ............................................................................................... 45
4.1.6 การใชสอื่ และสื่อสารมวลชนในการปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมของคนในสังคม ............................................................. 45
4.1.7 การสงเสริมใหคนไทยมีจติ สาธารณะและมีความรับผิดชอบตอสวนรวม ............................................................................. 45
4.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ........................................................................................................................................... 45
4.2.1 ชวงการตั้งครรภ/ปฐมวัย .................................................................................................................................................... 45
4.2.2 ชวงวัยเรียน/วัยรุน .............................................................................................................................................................. 45

3
4.2.3 ชวงวัยแรงงาน .................................................................................................................................................................... 46
4.2.4 ชวงวัยผูสงู อายุ .................................................................................................................................................................... 46
4.3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรูทตี่ อบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ................................................................................. 46
4.3.1 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรูใหเอือ้ ตอการพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 ............................................................. 46
4.3.2 การเปลี่ยนโฉมบทบาท ‘ครู’ใหเปนครูยุคใหม .................................................................................................................... 46
4.3.3 การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท .......................................................................... 47
4.3.4 การพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต ................................................................................................................................ 47
4.3.5 การสรางความตื่นตัวใหคนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางตำแหนงของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชีย
อาคเนยและประชาคมโลก............................................................................................................................................................ 47
4.3.6 การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรูโดยใชดจิ ิทัลแพลตฟอรม ....................................................................................... 47
4.3.7 การสรางระบบการศึกษาเพื่อเปนเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ..................................................................................... 47
4.4 การตระหนักถึงพหุปญ
 ญาของมนุษยที่หลากหลาย ....................................................................................................................... 48
4.4.1 การพัฒนาและสงเสริมพหุปญ
 ญาผานครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดลอม รวมทัง้ สื่อ ........................................ 48
4.4.2 การสรางเสนทางอาชีพ สภาพแวดลอมการทำงาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสมสำหรับผูม ีความสามารถพิเศษผานกลไก
ตาง ๆ 48
4.4.3 การดึงดูดกลุมผูเชี่ยวชาญตางชาติและคนไทยที่มีความสามารถในตางประเทศใหมาสรางและพัฒนาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมใหกบั ประเทศ ............................................................................................................................................................... 48
4.5 การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี ........................................................................................................................................... 48
4.5.1 การสรางความรอบรูดา นสุขภาวะ....................................................................................................................................... 48
4.5.2 การปองกันและควบคุมปจจัยเสี่ยงทีค่ ุกคามสุขภาวะ ......................................................................................................... 49
4.5.3 การสรางสภาพแวดลอมที่เอือ้ ตอการมีสุขภาวะที่ดี ............................................................................................................ 49
4.5.4 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทันสมัยสนับสนุนการสรางสุขภาวะที่ดี ........................................................................... 49
4.5.5 การสงเสริมใหชุมชนเปนฐานในการสรางสุขภาวะที่ดีในทุกพื้นที่........................................................................................ 49
4.6 การสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย .................................................................. 49
4.6.1 การสรางความอยูดีมสี ุขของครอบครัวไทย ......................................................................................................................... 49
4.6.2 การสงเสริมบทบาทการมีสวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย 50
4.6.3 การปลูกฝงและพัฒนาทักษะนอกหองเรียน ........................................................................................................................ 50
4.6.4 การพัฒนาระบบฐานขอมูลเพือ่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย ............................................................................................... 50
4.7 การเสริมสรางศักยภาพการกีฬาในการสรางคุณคาทางสังคมและพัฒนาประเทศ ......................................................................... 50
4.7.1 การสงเสริมการออกกำลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานใหกลายเปนวิถชี ีวิต ............................................................................. 51
4.7.2 การสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในกิจกรรมออกกำลังกาย กีฬาและนันทนาการ........................................................... 51

4
4.7.3 การสงเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสูระดับอาชีพ ..................................................................................................................... 51
4.7.4 การพัฒนาบุคลากรดานการกีฬาและนันทนาการเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมกีฬา........................................... 51
ยุทธศาสตรชาติดา นการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ............................................................................................................. 52
1. บทนำ 52
2. เปาหมาย ................................................................................................................................................................................................. 52
3. ตัวชี้วดั ..................................................................................................................................................................................................... 53
4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ........................................................................................... 53
4.1 การลดความเหลือ่ มล้ำ สรางความเปนธรรมในทุกมิติ ................................................................................................................... 53
4.1.1 ปรับโครงสรางเศรษฐกิจฐานราก ........................................................................................................................................ 53
4.1.2 ปฏิรูประบบภาษีและการคุม ครองผูบริโภค......................................................................................................................... 53
4.1.3 กระจายการถือครองที่ดินและการเขาถึงทรัพยากร ............................................................................................................ 53
4.1.4 เพิม่ ผลิตภาพและคุมครองแรงงานไทย ใหเปนแรงงานฝมือทีม่ ีคุณภาพและความริเริม่ สรางสรรค มีความปลอดภัยในการ
ทำงาน 54
4.1.5 สรางหลักประกันทางสังคมทีค่ รอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกชวงวัย ทุกเพศภาวะและทุกกลุม .................................... 54
4.1.6 ลงทุนทางสังคมแบบมุงเปาเพือ่ ชวยเหลือกลุมคนยากจนและกลุม ผูดอยโอกาสโดยตรง..................................................... 54
4.1.7 สรางความเปนธรรมในการเขาถึงบริการสาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะสำหรับผูม ีรายไดนอยและกลุมผูดอยโอกาส
54
4.1.8 สรางความเปนธรรมในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมอยางทัว่ ถึง .................................................................................... 54
4.2 การกระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี......................................................................................... 55
4.2.1 พัฒนาศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีในภูมิภาค ...................................................................... 55
4.2.2 กำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแตละกลุมจังหวัดในมิติตาง ๆ ......................................................................... 55
4.2.3 จัดระบบเมืองที่เอื้อตอการสรางชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัย ใหสามารถตอบสนองตอสังคมสูงวัยและแนวโนม
ของการขยายตัวของเมืองในอนาคต ............................................................................................................................................. 55
4.2.4 ปรับโครงสรางและแกไขกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผนดิน เพือ่ วางระบบและกลไกการบริหารงานในระดับภาค
กลุมจังหวัด 55
4.2.5 สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่บนฐานขอมูลความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม .......................................................................... 56
4.2.6 การพัฒนากำลังแรงงานในพืน้ ที่.......................................................................................................................................... 56
4.3 การเสริมสรางพลังทางสังคม ......................................................................................................................................................... 56
4.3.1 สรางสังคมเขมแข็งที่แบงปน ไมทอดทิ้งกัน และมีคุณธรรม ................................................................................................ 56
4.3.2 การรองรับสังคมสูงวัยอยางมีคุณภาพ................................................................................................................................. 56
4.3.3 สนับสนุนความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน ............................. 57
4.3.4 สงเสริมความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรีในการสรางสรรคสังคม ..................................................................... 57

5
4.3.5 สนับสนุนการพัฒนาบนฐานทุนทางสังคมและวัฒนธรรม ................................................................................................... 57
4.3.6 สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ สรางสรรค เพื่อรองรับสังคมยุคดิจทิ ัล................................................... 57
4.4 การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนทองถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการตนเอง .................................................... 58
4.4.1 สงเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ใหมีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงิน
และอาชีพ 58
4.4.2 เสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึง่ พากันเอง .................................................................................. 58
4.4.3 สรางการมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ เพื่อสรางประชาธิปไตยชุมชน ............................................................................... 58
4.4.4 สรางภูมิคุมกันทางปญญาใหกบั ชุมชน ................................................................................................................................ 58
ยุทธศาสตรชาติ ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม .................................................................................... 60
1. บทนำ 60
2. เปาหมาย ................................................................................................................................................................................................. 60
3. ตัวชี้วดั ..................................................................................................................................................................................................... 61
4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม .................................................................... 61
4.1 สรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว .................................................................................................................... 61
4.1.1 เพิม่ มูลคาของเศรษฐกิจฐานชีวภาพใหสอดคลองกับยุทธศาสตรดา นการสรางความสามารถในการแขงขัน ....................... 61
4.1.2 อนุรกั ษและฟนฟูความหลากหลายทางชีวภาพในและนอกถิ่นกำเนิด ................................................................................. 61
4.1.3 อนุรกั ษและฟนฟูแมนำ้ ลำคลองและแหลงน้ำธรรมชาติทั่วประเทศ .................................................................................... 62
4.1.4 รักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ........................................................................................................... 62
4.1.5 สงเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน .............................................................................................................................. 62
4.2 สรางการเติบโตอยางยัง่ ยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล ............................................................................................................... 63
4.2.1 เพิ่มมูลคาของเศรษฐกิจฐานชีวภาพทางทะเล ..................................................................................................................... 63
4.2.2 ปรับปรุง ฟน ฟู และสรางใหมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ทั้งระบบ ............................................................................... 64
4.2.3 ฟนฟูชายหาดที่เปนแหลงทองเที่ยว ชายฝง ทะเลไดรับการปองกันและแกไขทัง้ ระบบ และมีนโยบายการจัดการชายฝงแบบ
บูรณาการอยางเปนองครวม ......................................................................................................................................................... 64
4.2.4 พัฒนาและเพิ่มสัดสวนกิจกรรมทางทะเลที่เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม .................................................................................... 64
4.3 สรางการเติบโตอยางยัง่ ยืนบนสังคมที่เปนมิตรตอสภาพภูมิอากาศ ............................................................................................... 65
4.3.1 ลดการปลอยกาซเรือนกระจก............................................................................................................................................. 65
4.3.2 มีการปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ 65
4.3.3 มุงเปาสูการลงทุนที่เปนมิตรตอสภาพภูมอิ ากาศในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของภาครัฐและภาคเอกชน ..................... 65
4.3.4 พัฒนาและสรางระบบรับมือปรับตัวตอโรคอุบตั ิใหมและโรคอุบตั ิซ้ำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ........................ 66
4.4 พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุงเนนความเปนเมืองที่เติบโตอยางตอเนื่อง ............................ 66

6
4.4.1 จัดทำแผนผังภูมินิเวศเพื่อการพัฒนาเมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่อนุรักษตามศักยภาพ
และความเหมาะสมทางภูมินิเวศอยางเปนเอกภาพ ...................................................................................................................... 66
4.4.2 พัฒนาพื้นทีเ่ มือง ชนบท เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการบริหารจัดการตามแผนผังภูมินิเวศอยางยั่งยืน
66
4.4.3 จัดการมลพิษที่มผี ลกระทบตอสิ่งแวดลอม และสารเคมีในภาคเกษตรทั้งระบบใหเปนไปตามมาตรฐานสากลและคา
มาตรฐานสากล 67
4.4.4 สงวนรักษา อนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางสถาปตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ และวิถี
ชีวิตพื้นถิ่นบนฐานธรรมชาติ และฐานวัฒนธรรมอยางยั่งยืน ........................................................................................................ 67
4.4.5 พัฒนาเครือขายองคกรพัฒนาเมืองและชุมชน รวมทั้งกลุมอาสาสมัคร ดวยกลไกการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในทองถิ่น
67
4.4.6 เสริมสรางระบบสาธารณสุขและอนามัยสิง่ แวดลอม และยกระดับความสามารถในการปองกันโรคอุบตั ิใหมและอุบัติซ้ำ . 67
4.5 พัฒนาความมัน่ คงน้ำ พลังงาน และเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ............................................................................................ 68
4.5.1 พัฒนาการจัดการน้ำเชิงลุมน้ำทั้งระบบเพื่อเพิ่มความมั่นคงดานน้ำของประเทศ ................................................................ 68
4.5.2 เพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบในการใชนำ้ อยางประหยัด รูคุณคา และสรางมูลคาเพิม่ จากการใชน้ำ ใหทัดเทียมกับระดับ
สากล 68
4.5.3 พัฒนาความมั่นคงพลังงานของประเทศและสงเสริมการใชพลังงานที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ............................................ 69
4.5.4 เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานโดยลดความเขมขนของการใชพลังงาน ........................................................................... 69
4.5.5 พัฒนาความมั่นคงดานการเกษตรและอาหารของประเทศและชุมชนในมิติปริมาณ คุณภาพ ราคาและการเขาถึงอาหาร . 69
4.6 ยกระดับกระบวนทัศนเพื่อกำหนดอนาคตประเทศ ....................................................................................................................... 69
4.6.1 สงเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงคดานสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวติ ที่ดีของคนไทย ..................................... 70
4.6.2 พัฒนาเครื่องมือ กลไกและระบบยุติธรรม และระบบประชาธิปไตยสิ่งแวดลอม ................................................................ 70
4.6.3 จัดโครงสรางเชิงสถาบันเพื่อจัดการประเด็นรวม ดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมทีส่ ำคัญ....... 71
4.6.4 พัฒนาและดำเนินโครงการทีย่ กระดับกระบวนทัศน เพื่อกำหนดอนาคตประเทศดานทรัพยากร ธรรมชาติ สิง่ แวดลอมและ
วัฒนธรรม บนหลักของการมีสวนรวมและธรรมาภิบาล ............................................................................................................... 71
ยุทธศาสตรชาติดา นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ........................................................................................... 72
1. บทนำ 72
2. เปาหมาย ................................................................................................................................................................................................. 73
3. ตัวชี้วดั ..................................................................................................................................................................................................... 73
4. ประเด็นยุทธศาสตรดา นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ................................................................................ 73
4.1 ภาครัฐที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง ตอบสนองความตองการ และใหบริการอยางสะดวกรวดเร็ว โปรงใส .................................. 73
4.1.1 การใหบริการสาธารณะของภาครัฐไดมาตรฐานสากลและเปนระดับแนวหนาของภูมภิ าค ................................................ 73
4.1.2 ภาครัฐมีความเชื่อมโยงในการใหบริการสาธารณะตาง ๆ ผานการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใช ................................ 73

7
4.2 ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายและเชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ
และทุกพื้นที่ ......................................................................................................................................................................................... 73
4.2.1 ใหยุทธศาสตรชาติเปนกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ................................................................................................. 74
4.2.2 ระบบการเงินการคลังประเทศสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ.............................................................................. 74
4.2.3 ระบบติดตามประเมินผลที่สะทอนการบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติในทุกระดับ ............................................................ 74
4.3 ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ สงเสริมใหประชาชนและทุกภาคสวนมีสว นรวมในการพัฒนาประเทศ ...................... 74
4.3.1 ภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสม................................................................................................................................................... 75
4.3.2 ทุกภาคสวนมีสว นรวมในการพัฒนาประเทศ ...................................................................................................................... 75
4.3.3 สงเสริมการกระจายอำนาจและสนับสนุนบทบาทชุมชนทองถิ่นใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนหนวยงานที่มีสมรรถนะ
สูง ตัง้ อยูบนหลักธรรมาภิบาล....................................................................................................................................................... 75
4.4 ภาครัฐมีความทันสมัย.................................................................................................................................................................... 75
4.4.1 องคกรภาครัฐมีความยืดหยุนเหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ ................................................................................. 75
4.4.2 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย ....................................................................................................... 75
4.5 บุคลากรภาครัฐเปนคนดีและเกง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจติ สำนึก มีความสามารถสูง มุงมั่น และเปนมืออาชีพ ............... 76
4.5.1 ภาครัฐมีการบริหารกำลังคนที่มีความคลองตัว ยึดระบบคุณธรรม ..................................................................................... 76
4.5.2 บุคลากรภาครัฐยึดคานิยมในการทำงานเพื่อประชาชน มีคุณธรรม และมีการพัฒนาตามเสนทางความกาวหนาในอาชีพ . 76
4.6 ภาครัฐมีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ .......................................................................................................... 76
4.6.1 ประชาชนและภาคีตาง ๆ ในสังคมรวมมือกันในการปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ................................................ 77
4.6.2 บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความซื่อสัตยสุจริต .......................................................................... 77
4.6.3 การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบมีประสิทธิภาพมีความเด็ดขาด เปนธรรม และตรวจสอบได .............................. 77
4.6.4 การบริหารจัดการการปองกันและปราบปรามการทุจริตอยางเปนระบบแบบบูรณาการ.................................................... 77
4.7 กฎหมายมีความสอดคลองเหมาะสมกับบริบทตาง ๆ และมีเทาที่จำเปน ...................................................................................... 77
4.7.1 ภาครัฐจัดใหมีกฎหมายทีส่ อดคลองและเหมาะสมกับบริบทตาง ๆ ทีเ่ ปลี่ยนแปลง ............................................................ 77
4.7.2 มีกฎหมายเทาที่จำเปน ....................................................................................................................................................... 78
4.7.3 การบังคับใชกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ ......................................................................................................................... 78
4.8 กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติตอประชาชนโดยเสมอภาค ........................................................................ 78
4.8.1 บุคลากรและหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมเคารพและยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษยที่พึง
ไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียม ..................................................................................................................................................... 79
4.8.2 ทุกหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม มีบทบาทเชิงรุกรวมกันในทุกขั้นตอนของการคนหาความจริง ................................ 79
4.8.3 หนวยงานในกระบวนการยุตธิ รรมทั้งทางแพง อาญา และปกครองมีเปาหมายและยุทธศาสตรรวมกัน ............................. 79
4.8.4 สงเสริมระบบยุติธรรมทางเลือก ระบบยุติธรรมชุมชน และการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม ............... 79
4.8.5 พัฒนามาตรการอื่นแทนโทษทางอาญา .............................................................................................................................. 80

8
สถานการณ แนวโนม วิสัยทัศน และเปาหมายในการพัฒนาประเทศ
1. บทนำ
การพัฒนาประเทศไทยนับตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 เปนตนมา ไดสงผล
ใหประเทศมีการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในดานเศรษฐกิจที่ประเทศไทยไดรับการยกระดับเปนประเทศในกลุมบนของ
กลุมประเทศระดับรายไดปานกลาง ในดานสังคมที่มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนสงผลใหประเทศไทย
หลุดพนจากการเปนประเทศยากจน และในดานสิ่งแวดลอมทีป่ ระเทศไทยมีขอไดเปรียบในความหลากหลายเชิง
นิเวศ อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีความทาทายตอการพัฒนาที่สำคัญ อาทิ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจใน
ป 2560 ที่รอยละ 3.9 ถือวาอยูในระดับต่ำกวาศักยภาพ เมื่อเทียบกับรอยละ 6.0 ตอป ในชวงเวลาเกือบ 6
ทศวรรษที่ผานมา โดยมีสาเหตุหลักจากการชะลอตัวของการลงทุนภายในประเทศและสถานการณเศรษฐกิจโลก
ที่ยังไมฟนตัวไดเต็มที่ โครงสรางเศรษฐกิจไทยที่ยังไมสามารถขับเคลื่อนดวยนวัตกรรมไดอยางเต็มประสิทธิภาพ
ภาคบริการและภาคเกษตรมีผลิตภาพการผลิตในระดับต่ำ ขาดการนำเทคโนโลยีเขามาเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ผลิต ประกอบกับแรงงานไทยยังมีปญหาเรื่องคุณภาพและสมรรถนะที่ไมสอดคลองกับความตองการในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศ
นอกจากนั้น ศักยภาพและคุณภาพของประชากรไทยทุกชวงวัยยังคงเปนปจจัยทาทายสำคัญตอการ
พัฒนาประเทศ แมวาการเขาถึงระบบบริการสาธารณะ การศึกษา บริการสาธารณสุข โครงสรางพื้นฐานตาง ๆ
และการคุมครองทางสังคมอื่น ๆ ของคนไทยมีความครอบคลุมเพิ่มมากขึ้น แตยังคงมีปญหาเรื่องคุณภาพการ
ใหบริการที่มีมาตรฐานแตกตางกันระหวางพื้นที่ ซึ่งเปนหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำใหประเทศไทยยังคงมีปญหาความ
เหลื่อมล้ำในหลายมิติ ขณะที่ปญหาดานความยากจนยังคงเปนประเด็นทาทายในการยกระดับการพัฒนา
ประเทศใหประชาชนมีรายไดสูงขึ้นและแกปญหาความเหลื่อมล้ำอยางยั่งยืน ขณะเดียวกันการวางกลยุทธระยะ
ยาวในการฟนฟู การใช และการรักษาทรัพยากรอยางบูรณาการเพื่อการพัฒนาประเทศที่ผานมายังขาดความ
ชัดเจน สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศยังมีปญหาการใชอยางสิ้นเปลืองและเสื่อมโทรม
ลงอยางรวดเร็ว
ทั้งนี้ ปญหาดังกลาวขางตนมีสาเหตุสวนหนึ่งมาจากประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนา
ประเทศขาดความตอเนื่องและความยืดหยุนในการตอบสนองตอความตองการและปญหาของประชาชน ขณะที่
ความมั่นคงภายในประเทศยังมีหลายประเด็นที่ตองเสริมสรางใหเกิดความเขมแข็ง ลดความขัดแยงทางความคิด
และอุดมการณที่มีรากฐานมาจากความเหลื่อมล้ำ ความไมเสมอภาค การขาดความเชื่อมั่นในกระบวนการ

9
ยุติธรรม และปญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมือง ตลอดจนสงเสริมคนในชาติใหยึดมั่นสถาบันหลักเปนศูนย
รวมจิตใจใหเกิดความรักความสามัคคี
ในขณะเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรที่มีสัดสวนประชากรวัยแรงงานและวัยเด็กที่ลดลง
และประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จะเปนปจจัยเสี่ยงสำคัญที่จะทำใหการพัฒนาประเทศในมิติตาง ๆ มี
ความทาทายมากขึ้น ทั้งในสวนของเสถียรภาพทางการเงินการคลังของประเทศในการจัดสวัสดิการเพื่อดูแล
ผูสูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น การลงทุนและการออม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ความมั่นคงทางสังคม
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ซึ่งจะเปนประเด็นทาทายตอการขับเคลื่อนประเทศไปสูการ
เปนประเทศพัฒนาแลว

2. ปจจัยและแนวโนมที่คาดวาจะสงผลตอการพัฒนาประเทศ
แมวาประเทศไทยจะมีตำแหนงที่ตั้งที่สามารถเปนศูนยกลางในการเชื่อมโยงในภูมิภาคและเปนประตูสู
เอเชีย แตการที่มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบานหลายประเทศ ทำใหปญหาดานเขตแดนกับประเทศเพื่อน
บานยังคงเปนความทาทายดานความมั่นคงในอนาคต นอกจากนี้ ประเทศไทยยังคงตองใหความสำคัญกับปญหา
ดานความมั่นคงอื่น ๆ ที่มีความซับซอน ละเอียดออน และมีความเชื่อมโยงกันหลายมิติ ที่อาจเปนประเด็นทา
ทายตอการสรางบรรยากาศความไววางใจระหวางรัฐกับประชาชนและระหวางประชาชนกับประชาชน ซึ่งรวมถึง
การสรางความสามัคคีของคนในชาติที่จะนำไปสูการแกปญหาความขัดแยงระหวางกลุมประชากรไทยที่มีแนวคิด
และความเชื่อที่แตกตางกันอยางยั่งยืน
นอกจากนี้ การขยายอิทธิพลและการเพิ่มบทบาทของประเทศมหาอำนาจที่อาจกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
ไปสูระบบหลายขั ้ วอำนาจ หรื อเกิ ดการยายขั้ว อำนาจทางเศรษฐกิจ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอเสถี ย รภาพ
ทางเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต ขณะที่องคกรที่ไมใชรัฐ อาทิ องคการระหวางประเทศ และบรรษัทขามชาติ
จะมีบทบาทมากขึ้นในการกำหนดกฎ ระเบียบ ทิศทางความสัมพันธ และมาตรฐานสากลตาง ๆ ทั้งในดาน
ความมั่นคง และเศรษฐกิจ รวมทั้งการรวมกลุมเศรษฐกิจ และการเปดเสรีในภูมิภาคที่นำไปสูความเชื่อมโยง
ในทุกระบบ อาจกอใหเกิดความเสี่ยงดานอาชญากรรมขามชาติและเศรษฐกิจนอกระบบ รวมทั้งปญหายาเสพติด
การคามนุษย และการลักลอบเขาเมือง
ในทางกลับกัน ความเปลี่ยนแปลงจากโลกาภิวัตนและความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ที่ไดรับการพัฒนาอยางกาวกระโดดจะกอใหเกิดนวัตกรรมอยางพลิกผัน อาทิ เทคโนโลยีปญญาประดิษฐ
อิ น เทอร เ น็ ต ในทุ ก สิ ่ ง การวิ เ คราะห ข  อ มู ล ขนาดใหญ หุ  น ยนต แ ละโดรน เทคโนโลยี พ ั น ธุ ก รรมสมั ย ใหม
และเทคโนโลยีทางการเงิน ซึ่งตัวอยางแนวโนมการพัฒนาเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดเหลานี้ คาดวาจะเปนปจจัย
สนับสนุนหลักที่ชวยทำใหเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยมีแนวโนมที่จะกลับมาขยายตัวไดเขมแข็งขึ้น แนวโนม
สำคัญที่จำเปนตองมีการติดตามอยางใกลชิด อาทิ การรวมกลุมทางการคาและการลงทุนที่จะมีความหลากหลาย
เพิ่ม มากขึ้น การแข งขั นที ่ ค าดว าจะรุ นแรงขึ้นในการเพิ่ม ผลิต ภาพและสรา งความหลากหลายของสิ น ค า
และบริการที่ตอบโจทยรูปแบบชีวิตใหม ๆ
นอกจากนั้น ประเทศไทยคาดวาจะเขาสูการเปนสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในป 2574 จะกอใหเกิดโอกาส
ใหม ๆ ในการตอบสนองความตองการของกลุมผูบริโภคสูงอายุที่จะมีสัดสวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง รวมทั้งการ
คาดการณวาครอบครัวไทยจะมีขนาดเล็กลงและมีรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น ประชากรในประเทศไทยจะมี
ชวงอายุที่แตกตางกันและจะมีกลุมคนชวงอายุใหม ๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งจะสงผลตอทัศนคติและพฤติกรรมที่แตกตางกัน

10
ดังนั้น การเตรียมความพรอมของประชากรใหมีคุณภาพและการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใชในการผลิตและ
การบริการของประเทศจะเปนความทาทายสำคัญในระยะตอไป
ในขณะเดียวกัน โครงสรางประชากรที่เขาสูสังคมสูงวัย อาจทำใหเกิดความตองการแรงงานตางชาติเพิ่ม
มากขึ้นเพื่อทดแทนจำนวนแรงงานไทยที่ลดลง ซึ่งปจจัยดานการเปดเสรีในภูมิภาคและความกาวหนาของการ
พัฒนาระบบคมนาคมขนสงในภูมิภาคจะทำใหการเคลื่อนยายแรงงานและการยายถิ่นมีความสะดวกมากขึ้น และ
เปนปจจัยสำคัญที่จะทำใหเกิดการเคลื่อนยายประชากรเขาออกประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุมประชากร
ที่มีศักยภาพซึ่งมีแนวโนมในการเคลื่อนยายไปเรียนหรือทำงานในทั่วทุกมุมโลกสูงขึ้น ทั้งนี้ การยายถิ่นสวนใหญมี
วัตถุประสงคเพื่อแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น จึงอาจจะเปนไปไดที่ประเทศไทยจะยังคงเปนประเทศผูรับ
ของประชากรจากประเทศเพื่อนบาน ขณะที่ประชากรไทยโดยเฉพาะแรงงานทักษะอาจมีแรงจูงใจในการยายถิ่น
ไปยังประเทศที่มีระดับการพัฒนาที่ดีกวา อาจทำใหการแยงชิงแรงงานมีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งจะยิ่งทำใหเกิด
ความเสี่ยงตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคมไทย
นอกจากนี้ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคาดวาจะมีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งในเชิง
ความผันผวน ความถี่ และขอบเขตที่กวางขวางมากขึ้น ซึ่งจะสรางความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสิน ระบบ
โครงสรางพื้นฐานที่จำเปน ตลอดจนระบบผลิตทางการเกษตรที่สัมพันธตอเนื่องกับความมั่นคงดานอาหารและ
น้ ำ ขณะที ่ ร ะบบนิ เ วศต า ง ๆ มี แ นวโน ม เสื ่ อ มโทรมลง และมี ค วามเป น ไปได ค  อ นข า งสู ง ในการสู ญ เสี ย
ความสามารถในการรองรับความตองการของมนุษยไดอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ดี ระดับความรุนแรงของ
ผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกและความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศตาง ๆ ดังกลาวที่แตละ
ประเทศจะต อ งเผชิ ญ จะมี ค วามแตกต า งกั น ทำให ก ารเป น สั ง คมสี เ ขี ย ว การรั ก ษาและบริ ห ารจั ด การ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางบูรณาการจะไดรับความสำคัญและความสนใจจากนานาประเทศ
รวมทั้งประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก รวมถึงการสรางสมดุลความมั่นคงดาน
พลังงานและอาหารมีแนวโนมที่จะมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้น กฎระเบียบและขอตกลงดานสิ่งแวดลอมจะมีความ
เขมขนและเขมงวดขึ้น โดยกรอบการพัฒนาตามขอตกลงระหวางประเทศตาง ๆ ที่สำคัญ เชน เปาหมายการ
พัฒนาที่ยั่งยืน และบันทึกความตกลงปารีส จะไดรับการนำไปปฏิบัติอยางจริงจังมากยิ่งขึ้น
แนวโนมเหลานี้จะกอใหเกิดความทาทายตอการพัฒนาประเทศในหลายมิติ ทั้งในสวนของการจางงาน
และอาชีพ สาขาการผลิตและบริการใหม ๆ ความมั่นคงของประเทศอันเกิดจากภัยคุกคามและความเสี่ยงดานอื่น
ๆ ที่ซับซอนขึ้น อาชญากรรมไซเบอร รูปแบบการกอสงครามที่ใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือ การเคลื่อนยายอยาง
เสรีและรวดเร็วของผูคน เงินทุน ขอมูลขาวสาร องคความรู เทคโนโลยี และสินคาและบริการ การปรับตัวตอการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รวดเร็วและคาดการณไดยาก การเกิดขึ้นของโรคระบาด และโรคอุบัติใหมที่จะ
สงผลใหการเฝาระวังดานการสาธารณสุขในประเทศมีความสำคัญมากขึ้น อาจนำไปสูปญหาความเหลื่อมล้ำที่ทวี
ความรุนแรงมากขึ้นได หากไมมีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการปองกันและรองรับผลกระทบตาง ๆ ที่คาดวา
จะเกิดขึ้น ซึ่งรวมถึงการเตรียมความพรอมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมแบบพลิกผัน
ที่จะเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่งหากการเขาถึงเทคโนโลยี โครงสรางพื้นฐาน และองคความรูสมัยใหม
มีระดับความแตกตางกันระหวางกลุมประชากรตาง ๆ โดยการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมดังกลาว
จะสงผลตอทั้งการจางงานและอาชีพที่จะมีรูปแบบและลักษณะงานที่เปลี่ยนไป มีความตองการแรงงานที่มี

11
สมรรถนะสูงเพิ่มมากขึ้น หลายอาชีพอาจหายไปจากตลาดงานในปจจุบันและบางอาชีพจะถูกทดแทนดวยระบบ
อัตโนมัติโดยเฉพาะอาชีพที่ตองการทักษะระดับต่ำ กอใหเกิดความเสี่ยงตอความมั่นคงและคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนที่ปรับตัวไมทันหรือขาดความรูและทักษะที่ทันกับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป กระแสโลกาภิวัตนที่จะทำ
ใหเกิดการพัฒนาขยายความเปนเมือง วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางสภาพ
ภูมิอากาศที่อาจจะมีความแปรปรวนมากยิ่งขึ้น ซึ่งปจจัยทั้งหมดดังกลาวจะสงผลใหปญหาความยากจนและความ
เหลื่อมล้ำของประเทศมีความซับซอนมากยิ่งขึ้น
จากปจจัยและแนวโนมที่คาดวาจะสงผลตอการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศในมิติตาง ๆ ขางตน เห็น
ไดวาบริบทและสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกประเทศมีแนวโนมที่จะเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว มีพลวัตสูง
และมีความซับซอนหลากหลายมิติ ซึ่งจะสงผลตออนาคตการพัฒนาประเทศอยางมาก ดังนั้น การพัฒนาประเทศ
จึงจำเปนตองมียุทธศาสตรการพัฒนาที่ครอบคลุมทุกมิติและทุกดานการพัฒนาที่เกี่ยวของ มีความรวมมือใน
ลักษณะประชารัฐจากภาคสวนตาง ๆ ในรูปแบบของหุนสวนการพัฒนาที่เปนการดำเนินงานอยางบูรณาการ
เนื่องจากทุกมิติการพัฒนามีความเกี่ยวของซึ่งกันและกัน โดยประเทศไทยจำเปนตองมีทรัพยากรมนุษยที่มี
คุณภาพ มีความรู สมรรถนะ และทักษะที่สอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ สามารถรูเทาทันและปรับตัวให
สามารถดำเนินชีวิตไดอยางมีความสุข มีอาชีพที่มั่นคง สรางรายได ทามกลางความเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑและ
กติกาใหม ๆ และมาตรฐานที่สูงขึ้น โดยเฉพาะในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ซึ่งจำเปนตองมีการ
พัฒนาระบบและปจจัยสงเสริมตาง ๆ ที่เกี่ยวของไปพรอมกัน ทั้งในสวนของระบบการเรียนการสอน และการ
พัฒนาทักษะฝมือที่สอดคลองกันกับการพัฒนาของคนในแตละชวงวัย ระบบบริการสาธารณะ โครงสรางพื้นฐาน
รวมทั้งการใหความสำคัญกับการสงเสริมเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อใหประเทศไทยสามารถยกระดับเปน
เจาของเทคโนโลยีและนวัตกรรมกาวทันโลก จากการตอยอดการพัฒนาบนพื้นฐานนโยบายไทยแลนด 4.0 สงผล
ใหเกิดการสร างห วงโซ ม ู ลคาทางเศรษฐกิจในทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตร และภาคบริการ กระจาย
ผลประโยชนจากการพัฒนา ลดปญหาความเหลื่อมล้ำ และนำไปสูการเสริมสรางคุณภาพชีวิตของประชาชนทุก
ภาคสวน
นอกจากนี้ ประเทศไทยตองใหความสำคัญกับการสรางสมดุลความมั่นคงดานพลังงานและอาหาร รักษา
ไวซึ่งความหลากหลายเชิงนิเวศ การสงเสริมการดำเนินชีวิตและธุรกิจ และการพัฒนาและขยายความเปนเมืองที่
เติบโตอยางตอเนื่องที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พรอมกับการมีขอกำหนดของรูปแบบและกฎเกณฑที่เกี่ยวเนื่องกับ
ลักษณะการใชพื้นที่ที่ชัดเจน ขณะที่การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจิสติกส กฎหมาย ระบบภาษีตองมี
กลยุทธการพัฒนาที่สามารถอำนวยความสะดวกและสงเสริมใหประเทศมีศักยภาพการแขงขันที่สูงขึ้น และ
สามารถใชจุดแข็งในเรื่องตำแหนงที่ตั้งทางภูมิศาสตรของประเทศใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาประเทศมากขึ้น
รวมทั้งใหความสำคัญของการรวมกลุมความรวมมือกับนานาประเทศในระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อกระชับ
และสรางสัมพันธไมตรี เสริมสรางความสัมพันธทางการทูต ซึ่งจะกอใหเกิดการสรางพลังทางเศรษฐกิจและรักษา
ความมั่นคงของประเทศ โดยจำเปนตองสรางความพรอมในการที่จะยกระดับมาตรฐานและมีการปฏิบัติใหเปนไป
ตามระเบียบกติกาสากลในดานตาง ๆ ขณะเดียวกันประเทศไทยจำเปนตองเรงใหมีการปฏิรูประบบราชการและ
การเมืองเพื่อใหเกิดการบริหารราชการที่ดีและเสถียรภาพทางการเมือง มีการสงเสริมคนในชาติใหยึดมั่นสถาบัน

12
หลักเปนศูนยรวมจิตใจเพื่อใหเกิดความรักความสามัคคี และลดความขัดแยงภายในประเทศ โดยที่นโยบายการ
พัฒนาตาง ๆ จำเปนตองคำนึงถึงความสอดคลองกับโครงสรางและลักษณะพฤติกรรมของประชากรที่อาจจะมี
ความแตกตางจากปจจุบันมากขึ้น
ดังนั้น ภายใตเงื่อนไขโครงสรางประชากร โครงสรางเศรษฐกิจ สภาพสังคม สภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดลอม
และปจจัยการพัฒนาตาง ๆ ที่เกี่ยวของ สงผลใหประเทศไทยจำเปนตองมีการวางแผนการพัฒนาที่รอบคอบและ
ครอบคลุม อยางไรก็ตาม หลายประเด็นพัฒนาเปนเรื่องที่ตองใชระยะเวลาในการดำเนินงานเพื่อใหเกิดการ
ปรับตัวซึ่งจะตองหยั่งรากลึกลงไปถึงการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสราง การขับเคลื่อนการพัฒนาใหประเทศ
เจริญกาวหนาไปในอนาคตจึงจำเปนตองกำหนดวิสัยทัศนในระยะยาวที่ตองบรรลุ พรอมทั้งแนวยุทธศาสตรหลัก
ในดานตาง ๆ เพื่อเปนกรอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาอยางเปนบูรณาการบนพื้นฐานประชารัฐเพื่อยกระดับจุด
แข็งและจุดเดนของประเทศ และปรับปรุงแกไขจุดออนและจุดดอยตาง ๆ อยางเปนระบบ โดยยุทธศาสตรชาติ
จะเปนเปาหมายใหญในการขับเคลื่อนประเทศ และถายทอดไปสูแผนในระดับอื่น ๆ เพื่อนำไปสูการปฏิบัติทั้งใน
ระดับยุทธศาสตร ภารกิจ และพื้นที่ ซึ่งรวมถึงพื้นที่พิเศษตาง ๆ อาทิ เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก เพื่อใหการพัฒนาประเทศสามารถดำเนินการไดอยางมั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน

3. วิสัยทัศนประเทศไทย
“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเปนคติพจนประจำชาติวา “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อสนองตอบ
ตอผลประโยชนแหงชาติ อันไดแก การมีเอกราช อธิปไตย การดำรงอยูอยางมั่นคง และยั่งยืนของสถาบันหลัก
ของชาติและประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอยูรวมกันในชาติอยางสันติสุขเปนปกแผน มีความมั่นคง
ทางสังคมทามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย ความเจริญเติบโตของชาติ
ความเป น ธรรมและความอยู  ด ี ม ี ส ุ ข ของประชาชน ความยั ่ ง ยื น ของฐานทรั พ ยากรธรรมชาติ ส ิ ่ ง แวดล อ ม
ความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชนของชาติภายใตการเปลี่ยนแปลง
ของสภาวะแวดลอมระหวางประเทศ และการอยูรวมกันอยางสันติประสานสอดคลองกันดานความมั่นคง
ในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกอยางมีเกียรติและศักดิ์ศรี
ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและ
ภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปจเจกบุคคล และมีความมั่นคง
ในทุกมิติ ทั้งมิติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม และการเมือง เชน ประเทศมีความมั่นคงในเอกราช
และอธิปไตย มีการปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริยมีความเขมแข็งเปนศูนยกลางและเปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมืองที่มั่นคง
เปนกลไกที่นำไปสูการบริหารประเทศที่ตอเนื่องและโปรงใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคมมีความปรองดองและ
ความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเขมแข็ง ครอบครัวมีความอบอุน ประชาชน

13
มีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายไดที่มั่นคงพอเพียงกับการดำรงชีวิต มีการออมสำหรับวัยเกษียณ ความมั่นคง
ของอาหาร พลังงาน และน้ำ มีที่อยูอาศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรัพยสิน
ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอเนื่องและมีความยั่งยืนจนเขาสู
กลุมประเทศรายไดสูง ความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยูดีมีสุขไดรับผลประโยชนจากการ
พัฒ นาอยางเท าเที ยมกั นมากขึ ้ น และมีการพัฒนาอยางทั่วถึงทุ กภาคสวน มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐาน
ขององคการสหประชาชาติ ไมมีประชาชนที่อยูในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเขมแข็ง
ขณะเดียวกันตองมีความสามารถในการแขงขันกับประเทศตาง ๆ ทั้งในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศ
เพื่อใหสามารถสรางรายไดทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสรางฐานเศรษฐกิจและสังคมแหง
อนาคตเพื่อใหสอดรับกับบริบทการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทที่สำคัญในเวทีโลก และมี
ความสั ม พั น ธ ท างเศรษฐกิ จ และการค า อย า งแน น แฟ น กั บ ประเทศในภู ม ิ ภ าคเอเชี ย เป น จุ ด สำคั ญ ของ
การเชื่อมโยงในภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนสง การผลิต การคา การลงทุน และการทำธุรกิจ เพื่อใหเปนพลัง
ในการพัฒนา นอกจากนี้ ยังมีความสมบูรณในทุนที่จะสามารถสรางการพัฒนาตอเนื่องไปได ไดแก ทุนมนุษย ทุน
ทางปญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เปนเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒนาที่สามารถสรางความเจริญ รายได และคุณภาพชีวิตของประชาชน
ใหเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่อยูบนหลักการใช การรักษาและการฟนฟูฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ไมใชทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไมสรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอมจนเกิน
ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิ เวศ การผลิ ตและการบริโภคเปนมิตรกั บสิ่ งแวดลอม
และสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณมากขึ้นและสิ่งแวดลอม
มีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบตอสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชนสวนรวม รัฐบาล
มีนโยบายที่มุงประโยชนสวนรวมอยางยั่งยืน และใหความสำคัญกับการมีสวนรวมของประชาชน และทุกภาค
สวนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาอยางสมดุล มีเสถียรภาพ
และยั่งยืน

14
๑๕
โดยมีเปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา
อยางตอเนื่อง สังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลาย
มิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ สรางโอกาสและความเสมอภาคทาง
สังคม สรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและ
ประโยชนสวนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตรชาติ ประกอบดวย
1) ความอยูดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย
2) ขีดความสามารถในการแขงขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได
3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ
4) ความเทาเทียมและความเสมอภาคของสังคม
5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดลอม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเขาถึงการใหบริการของภาครัฐ

4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติ
เพื่อใหประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาใหบรรลุตามวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่ง
คั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเปาหมาย
การพัฒนาประเทศขางตน จึงจำเปนตองกำหนดยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศระยะยาวที่จะทำใหประเทศไทย
มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยภายในและภายนอกประเทศใน
ทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของประเทศไดรับการพัฒนา
ยกระดับไปสูการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสรางมูลคาเพิ่ม และพัฒนากลไกที่สำคัญในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจใหมที่จะสรางและเพิ่มศักยภาพในการแขงขันของประเทศ เพื่อยกระดับฐานรายไดของประชาชนใน
ภาพรวมและกระจายผลประโยชนไปสูภาคสวนตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม คนไทยไดรับการพัฒนาใหเปนคนดี เกง
มีวินัย คำนึงถึงผลประโยชนสวนรวม และมีศักยภาพในการคิดวิเคราะห สามารถ “รู รับ ปรับใช” เทคโนโลยีใหม
ไดอยางตอเนื่อง สามารถเขาถึงบริการพื้นฐาน ระบบสวัสดิการ และกระบวนการยุติธรรมไดอยางเทาเทียมกัน
โดยไมมีใครถูกทิ้งไวขางหลัง
การพัฒนาประเทศในชวงระยะเวลาของยุทธศาสตรชาติ จะมุงเนนการสรางสมดุลระหวางการพัฒนา
ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในรูปแบบ“ประชารัฐ” โดย
ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถ
ในการแขงขัน ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ยุทธศาสตรชาติดานการ
สรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอม และยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยแตละ
ยุทธศาสตรมีเปาหมายและประเด็นการพัฒนา ดังนี้

16
4.1 ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง
มีเปาหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เนนการบริหารจัดการสภาวะ
แวดลอมของประเทศใหมีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบรอยในทุกระดับ ตั้งแต
ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุงเนนการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานขอมูลขนาดใหญใหมีความ
พรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติไดทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคูไปกับการปองกัน
และแกไขปญหาดานความมั่นคงที่มีอยูในปจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใชกลไกการแกไขปญหาแบบ
บูรณาการทั้งกับสวนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองคกรที่ไมใชรัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบานและมิตร
ประเทศทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล เพื่อเอื้ออำนวยประโยชนตอการดำเนินการของยุทธศาสตรชาติ
ดานอื่น ๆ ใหสามารถขับเคลื่อนไปไดตามทิศทางและเปาหมายที่กำหนด

4.2 ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน
มีเปาหมายการพัฒนาที่มุงเนนการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด
3 ประการ ไดแก (1) “ตอยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหงาทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ วัฒนธรรม ประเพณี
วิถีชีวิต และจุดเดนทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศใน
ดานอื่น ๆ นำมาประยุกตผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อใหสอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคม
โลกสมัยใหม (2) “ปรับปจจุบัน” เพื่อปูทางสูอนาคต ผานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศในมิติตาง ๆ
ทั้งโครงขายระบบคมนาคมและขนสง โครงสรางพื้นฐานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับ
สภาพแวดลอมใหเอื้อตอการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) “สรางคุณคาใหมในอนาคต” ดวย
การเพิ่มศักยภาพของผูประกอบการ พัฒนาคนรุนใหม รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองตอความตองการ
ของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตรที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการตอยอดอดีตและปรับปจจุบัน พรอมทั้ง
การสงเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐใหประเทศไทยสามารถสรางฐานรายไดและการจางงานใหม ขยายโอกาส
ทางการคาและการลงทุนในเวทีโลก ควบคูไปกับการยกระดับรายไดและการกินดีอยูดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของคน
ชั้นกลาง และลดความเหลื่อมล้ำของคนในประเทศไดในคราวเดียวกัน

4.3 ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
มีเปาหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ
โดยคนไทยมีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิต
สาธารณะรับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น มัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดี
ของชาติ มีหลักคิดที่ถูกตอง มีทักษะที่จำเปนในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่สามและ
อนุรักษภาษาทองถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยที่มี
ทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง

17
4.4 ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
มีเปาหมายการพัฒนาที่สำคัญที่ใหความสำคัญกับการดึงเอาพลังของภาคสวนตาง ๆ ทั้งภาคเอกชน
ประชาสังคม ชุมชนทองถิ่น มารวมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการรวมคิดรวมทำ
เพื่อสวนรวม การกระจายอำนาจและความรับผิดชอบไปสูกลไกบริหารราชการแผนดินในระดับทองถิ่น การ
เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพรอมของประชากรไทยทั้งในมิติ
สุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอมใหเปนประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทำประโยชน
แกครอบครัว ชุมชน และสังคมใหนานที่สุด โดยรัฐใหหลักประกันการเขาถึงบริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพ
อยางเปนธรรมและทั่วถึง
4.5 ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
มีเปาหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อนำไปสูการบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งดานสังคม
เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม ธรรมาภิบาล และความเปนหุนสวนความรวมมือระหวางกันทั้งภายในและภายนอก
ประเทศอยางบูรณาการ ใชพื้นที่เปนตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธและแผนงาน และการใหทุกฝายที่เกี่ยวของได
เขามามีสวนรวมในแบบทางตรงใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได โดยเปนการดำเนินการบนพื้นฐานการเติบโต
รวมกัน ไมวาจะเปนทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และคุณภาพชีวิต โดยใหความสำคัญกับการสรางสมดุลทัง้ 3 ดาน
อันจะนำไปสูความยั่งยืนเพื่อคนรุนตอไปอยางแทจริง
4.6 ยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
มีเปาหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน
และประโยชนสวนรวม” โดยภาครัฐตองมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหนวยงานของรัฐ
ที่ทำหนาที่ในการกำกับหรือในการใหบริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแขงขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิ
บาล ปรับวัฒนธรรมการทำงานใหมุงผลสัมฤทธิ์และผลประโยชนสวนรวม มีความทันสมัย และพรอมที่จะปรับตัว
ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกอยูตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีขอมูลขนาดใหญ
ระบบการทำงานที่เปนดิจิทัลเขามาประยุกตใชอยางคุมคา และปฏิบัติงานเทียบไดกับมาตรฐานสากล รวมทั้งมี
ลักษณะเปดกวาง เชื่อมโยงถึงกันและเปดโอกาสใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมเพื่อตอบสนองความตองการของ
ประชาชนไดอยางสะดวก รวดเร็ว และโปรงใส โดยทุกภาคสวนในสังคมตองรวมกันปลูกฝงคานิยมความซื่อสัตย
สุจริต ความมัธยัสถ และสรางจิตสำนึกในการปฏิเสธไมยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอยางสิ้นเชิง นอกจากนั้น
กฎหมายตองมีความชัดเจน มีเพียงเทาที่จำเปน มีความทันสมัย มีความเปนสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู
การลดความเหลื่อมล้ำและเอื้อตอการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เปนธรรม
ไมเลือกปฏิบัติ และการอำนวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม

18
ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง
1. บทนำ
ความมั่นคงถือเปนเปาหมายสำคัญสูงสุดของทุกสังคมในทุกยุคทุกสมัย โดยกรอบแนวคิดความมั่นคงให
น้ำหนักความสำคัญกับมิติที่เกี่ยวของ ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหาร แตกตางกันไปตามบริบท
แวดลอมของแตละหวงเวลา ปจจุบันในโลกยุคโลกาภิวัตน ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่สี งผล
ใหสังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางกาวกระโดดและพลิกผัน ไดทำใหมิติทั้งปวงถูกเชื่อมโยงเขาดวยกันอยางไม
อาจแบงแยกได ดวยเหตุนี้ กรอบแนวคิดความมั่นคงแบบเดิมจึงถูกปรับเปลี่ยนใหเหมาะสม เปนกรอบแนวคิด
ใหมที่เรียกวา “ความมั่นคงแบบองครวม” ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคงจึงมีเปาหมายสำคัญเพื่อบริหาร
จัดการสภาวะแวดลอมของประเทศใหมีความมั่นคง ปลอดภัย และมีความสงบเรียบรอยในทุกระดับ ตั้งแต
ระดับชาติ สังคม ชุมชน ไปจนถึงระดับความมั่นคงของมนุษย และทุกมิติ ใหมีความพรอมสามารถรับมือกับภัย
คุกคามและภัยพิบัติไดทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคูไปกับการปองกันและแกไขปญหาดานความ
มั่นคงที่มีอยูในปจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใชกลไกการแกไขปญหาแบบบูรณาการทั้งกับสวนราชการ
ภาคเอกชน ประชาสังคม และองคกรที่ไมใชรัฐ รวมถึงประเทศเพื่อนบานและมิตรประเทศทั่วโลก บนพื้นฐาน
ของหลักธรรมาภิบาล เพื่อมุงที่จะเอื้ออำนวยประโยชนตอการดำเนินการของยุทธศาสตรชาติดานอื่น ๆ ให
สามารถขับเคลื่อนไปไดตามทิศทางและเปาหมายที่กำหนด
เพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาวขางตน ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคงจึงไดกำหนดประเด็นยุทธศาสตร
ที่ใหความสำคัญกับการรักษาความสงบภายในประเทศ เพื่อปรับสภาพแวดลอมดานความมั่นคงใหประเทศ
มีความสงบเรียบรอยและสันติสุข ในขณะเดียวกันก็จะตองมีการปองกันและแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอ
ความมั่นคงที่มีอยูในปจจุบัน เชน ปญหายาเสพติด ปญหาการคามนุษย ปญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมือง
ปญ หาความไมสงบในบางพื้นที ่ รวมทั้ งปองกั นไม ให เกิดปญหาใหม เช น ปญ หาที่เกิดจากความกาวหนา
ทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมแบบพลิกผั น ปญ หาการแข งขันทางการคาและการยายถิ่นของทุนขามชาติ
นอกจากนี้ เพื่อใหการดำเนินการดังกลาวสามารถบรรลุผลที่เปนรูปธรรมทั้งปจจุบันและในอนาคต จึงมี
ความจำเปนที่จะตองพัฒนาศักยภาพของประเทศใหพรอมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ
ดวยการยกระดับขีดความสามารถของกองทัพ หนวยงานดานความมั่นคง รวมทั้งภาครัฐและภาคประชาชน
ใหมีความพรอมและเพียงพอในการปองกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ รวมทั้งสามารถติดตาม ปองกัน แกไข
และรับมือกับปญหาความมั่นคงและภัยพิบัติทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับ อยางบูรณาการทั้งภายในประเทศ
ตลอดจนบูรณาการความรวมมือดานความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองคกรภาครัฐและที่มิใช
ภาครัฐ เพื่อเสริมสรางความสงบ สันติสุข ความมั่นคง และความเจริญกาวหนา ใหกับประเทศชาติ ภูมิภาค และ
โลก อยางยั่งยืน ทั้งนี้ การดำเนินการดังกลาวจะประสบผลสำเร็จไดจะตองมีการพัฒนาปรับปรุงกลไกการบริหาร
จัดการความมั่นคงแบบองครวม ใหสามารถทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสำเร็จอยางเปนรูปธรรม

19
เปนประโยชนตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติดานตาง ๆ ใหสามารถขับเคลื่อนไปไดตามทิศทางและเปาหมาย
ที่กำหนดอยางแทจริง
ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคงมีเปาหมายสำคัญในภาพรวมระยะ 20 ปที่เปนรูปธรรมชัดเจน คือ
“ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข” โดยเรงเสริมสรางความเขมแข็งและความรักความสามัคคีปรองดอง
ของคนในชาติ ตลอดถึงการปลุกจิตสำนึกดานความมั่นคงใหเกิดขึ้นในประชาชนทุกระดับ การพัฒนาระบบงาน
ดานการขาวใหมุงเนนการบูรณาการขอมูลขาวสารดานความมั่นคงอยางเปนระบบ การพัฒนาปรับปรุงกลไก
การขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง และกลไกในการปองกันและแกไขปญหาความมั่นคงใหมเี อกภาพ
มีประสิท ธิภาพ และมี การบู รณาการการดำเนินงานอยางแทจ ริ ง โดยปญ หาความมั่นคงเรงดวนที่จะตอง
ดำเนินการแกไข ประกอบดวย ปญหาความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ปญหายาเสพติด ปญหาความ
ไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ปญหาอาชญากรรมทางไซเบอร และปญหาการทุจริตในระบบราชการ

2. เปาหมาย
2.1 ประชาชนอยูดี กินดี และมีความสุข
2.2 บานเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
2.3 กองทัพ หนวยงานดานความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความพรอมในการ
ปองกันและแกไขปญหาความมั่นคง
2.4 ประเทศไทยมีบทบาทดานความมั่นคงเปนที่ชื่นชมและไดรับการยอมรับโดยประชาคมระหวาง
ประเทศ
2.5 การบริหารจัดการความมั่นคงมีผลสำเร็จที่เปนรูปธรรมอยางมีประสิทธิภาพ

3. ตัวชี้วัด
3.1 ความสุขของประชากรไทย
3.2 ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ
3.3 ความพรอมของกองทัพ หนวยงานดานความมั่นคง และการมีสวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชนในการปองกันและแกไขปญหาความมั่นคง
3.4 บทบาทและการยอมรับในดานความมั่นคงของไทยในประชาคมระหวางประเทศ
3.5 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองครวม

20
4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง
4.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ
เพื่อสรางเสริมความสงบเรียบรอยและสันติสุขใหเกิดขึ้นกับประเทศชาติบานเมือง ใหสถาบันหลักมี
ความมั่นคง เปนจุดศูนยรวมจิตใจอยางยั่งยืน ประชาชนอยูดีมีสุข มีความมั่นคงปลอดภัยทั้งในชีวติ และทรัพยสิน
สังคมมีความเขมแข็ง สามัคคีปรองดอง และเอื้อเฟอเผื่อแผกันพรอมที่จะรวมแกไขปญหาของชาติ
4.1.1 การพัฒนาและเสริมสรางคนในทุกภาคสวนใหมีความเขมแข็ง มีความพรอมตระหนักในเรื่องความ
มั่นคง และมีสว นรวมในการแกไขปญหา
เพื่อใหคนไทยทุกคนในทุกภาคสวน มีความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน มีอาชีพการงาน
และรายไดที่เพียงพอ ไดรับโอกาสและความเสมอภาคอยางเทาเทียม มีความพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลงในทุก
มิติ มีจิตสาธารณะ เห็นแกประโยชนสวนรวม เขาใจปญหาสำคัญของสังคม มีความรักความสามัคคี ตระหนัก
และใหความสำคัญกับความมั่นคงของชาติ และพรอมเขามีสวนรวมแกไขปญหาและพัฒนาประเทศ ตลอดจน
ชวยเหลือประชาชน โดยการอำนวยความปลอดภั ยอยางกวางขวางและครอบคลุม ปลูกฝงจิตสำนึกและ
คุณสมบัติพื้นฐานคนไทยที่ดีใหบังเกิดผลเปนรูปธรรม สรางเสริมความรักความสามัคคี ความตระหนักถึงหนาที่
รับผิดชอบตอสังคมและประเทศชาติ ตลอดจนการมีสวนในการแกไขปญหาความมั่นคงและพัฒนาประเทศ
ใหกับทุกภาคสวนทั้งประชาชน ตำรวจ ทหาร และหนวยงานดานความมั่นคงอื่น ๆ ผานทางโครงการ กิจกรรม
และการรณรงคตาง ๆ ตลอดไปจนถึงการดำเนินการอื่นทุกวิถีทางที่เหมาะสม อยางตอเนื่องและจริงจังจน
ประสบผลสำเร็จเปนที่ยอมรับอยางชัดเจน
4.1.2 การพัฒนาและเสริมสรางความจงรักภักดีตอสถาบันหลักของชาติ
เพื่อใหคนในชาติมีจิตสำนึกรักและหวงแหน มุงจงรักภักดี พรอมธำรงรักษาไวซึ่งสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริยใหเปนสิ่งยึดเหนี่ยวและศูนยรวมจิตใจหนึ่งเดียวกันของคนทั้งชาติ โดยปลูกฝงและสราง
ความตระหนักรูถึงความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเสริมสรางความรักและภาคภูมิใจในความเปนคน
ไทยและชาติไทย ผานทางกลไกตาง ๆ รวมถึงการศึกษาประวัติศาสตรในเชิงสรางสรรค นอมนำและเผยแพร
ศาสตรพระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดำริตาง ๆ ใหเกิดความเขาใจอยาง
ถองแท และนำไปประยุกตปฏิบัติใชอยางกวางขวาง จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติและพระราชกรณียกิจอยาง
สม่ำเสมอ ตลอดจนสงเสริมใหยึดถือหลักคำสอนซึ่งเปนแกนแทหรือคำสอนที่ถูกตองของศาสนามาเปนแนวทาง
ในการดำเนินชีวิต อุปถัมภและคุมครองพระพุทธศาสนาอันเปนศาสนาที่ประชาชนชาวไทยสวนใหญนับถือมาชา
นาน โดยการสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผหลักธรรมของพระพุทธศาสนาที่จะชวยพัฒนาทั้ง
จิตใจและปญญา รวมทั้งตองจัดใหมีมาตรการและกลไกในการปองกันมิใหมีการบอนทำลายพระพุทธศาสนาไม
วาในรูปแบบใด การสงเสริมใหพุทธศาสนิกชนมีสวนรวมในการดำเนินมาตรการหรือกลไกดังกลาวดวย ตลอดจน
อุปถัมภค้ำจุนศาสนาอื่นใหมุงเนนการสั่งสอนคนใหเปนคนดี รักความสงบสันติสุข พรอมทั้งมีสวนรวมในการสราง
ความมั่นคงใหกับประเทศชาติบานเมือง และชวยเสริมสรางการอยูรวมกันของคนตางศาสนาอยางปรองดอง
ไมใหเกิดการแบงแยกแตกตาง

21
4.1.3 การพัฒนาและเสริมสรางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขทีม่ ี
เสถียรภาพและมีธรรมาภิบาล เห็นแกประโยชนของประเทศชาติมากกวาประโยชนสว นตน
เพื่อใหการบริหารจัดการบานเมืองและการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขที่สอดคลองกับบริบทของไทย เอื้ออำนวยตอการพัฒนาประเทศใหเจริญ
กาวหนาไดอยางยั่งยืนตามเปาหมายที่กำหนด รวมทั้งไดผูนำและนักการเมืองที่เปนคนดี คนเกง มีความรู
ความสามารถ มีคุณธรรมสูง และกลาตัดสินใจ โดยปลูกฝงใหประชาชนมีความรู ความเขาใจ และมีสวนรวม
อยางถูกตองกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขในบริบทของไทย สงเสริม
ใหนักการเมืองมีคุณภาพ เปนคนดีมีคุณธรรม มีความรูความสามารถ เห็นประโยชนของประเทศชาติมากกวา
ประโยชนสวนตัวและของพรรคพวกเพื่อนพอง เสริมสรางพรรคการเมืองและสถาบันตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ใหมี
นโยบาย แนวคิด และการบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาลสากล ไปจนถึงพัฒนาปรับปรุง
ระบบการเลือกตั้งใหมีประสิทธิภาพ สามารถจัดการเลือกตั้งไดอยางสุจริตและเที่ยงธรรม มีกลไกแกไขปญหา
ความขัดแยงและสรางความสามัคคีปรองดอง จนสามารถคัดกรองคนดี คนเกง มีความรูความสามารถ และกลา
ตัดสินใจ เขามาบริหารประเทศใหมุงไปสูการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข ที่ประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริงและสอดคลองเหมาะสมกับสังคมไทย

4.1.4 การพัฒนาและเสริมสรางกลไกที่สามารถปองกันและขจัดสาเหตุของประเด็นปญหาความมั่นคงที่
สำคัญ
เพื่อใหประเทศชาติมีกลไกเฉพาะเจาะจงที่มีประสิทธิภาพ สามารถแกไขตนเหตุที่เปนรากเหงา
ของปญหาภายในประเทศทั้งปวงใหหมดไป มีการปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบอยางจริงจัง
และทำใหเกิดความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม โดยพัฒนาปรับปรุงกลไกและหนวยงานดานความมั่นคงที่มี
อยูเดิม เชน กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ศูนยประสานการปฏิบัติในการรักษา
ผลประโยชนของชาติทางทะเล เปนตน หรือที่ตองออกแบบใหมใหมีประสิทธิภาพ พรอมรองรับปญหาความ
มั่นคงทั้งรูปแบบเดิมและรูปแบบใหมไดทุกมิติ กำหนดและเสริมสรางบทบาทของหนวยงาน องคกร หรือ
คณะกรรมการที่รับผิดชอบอยางชัดเจน สามารถตรวจสอบวิธีการดำเนินงาน การบูรณาการการปฏิบัติให
สอดคลอง เกื้อกูล และตอเนื่องกัน ตลอดไปจนถึงสามารถวิเคราะหและแกไขปญหาที่สาเหตุไดอยางแทจริง

4.2 การปองกันและแกไขปญหาที่มีผลกระทบตอความมั่นคง
เพื่อแกไขปญหาเดิมที่มีอยูอยางตรงประเด็นจนหมดไปอยางรวดเร็ว และปองกันไมใหปญหาใหมเกิดขึ้น
อันจะสงผลใหการบริหารจัดการและการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ดาน ดำเนินการไปไดอยางตอเนื่องและราบรื่น
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเปนกุญแจสำคัญที่จะนำไปสูการบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

22
4.2.1 การแกไขปญหาความมัน่ คงในปจจุบัน
เพื่อใหปญ
 หาเดิมที่มีอยูไดรับการแกไขอยางจริงจัง จนยุติลง หรือไมสงผลกระทบตอประเทศชาติ
รวมทั้งใหการบริหารและการพัฒนาบานเมืองเดินหนาไปไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ โดยผลักดันการ
วิเคราะหหาสาเหตุที่แทจริงของปญหาของทุกภาคสวนในทุกประเด็นอยางเปนระบบ สงเสริมการหารือ วางแผน
และยกระดับวิธีการแกไขปญหาที่อาศัยการผนึกกำลังคนและทรัพยากรใหมีสวนรวมแบบบูรณาการอยางแทจริง
เสริมสรางความรวมมือกันระหวางหนวยงานหลักและรองในการปองกัน แกไขปญหา และชวยเหลือประชาชน
ทั้งจากภัยคุกคามและปญหาที่สงผลตอความมั่นคงตาง ๆ เชน การกอการราย อาชญากรรมทางไซเบอร การ
ฟอกเงิน การคามนุษย การหลบหนีเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย การลักลอบคาสินคาเถื่อน การคาและการแพร
ระบาดของยาเสพติด การขยายอำนาจหรือแขงขันกันทางเศรษฐกิจอยางรุนแรง รวมไปถึงปญหาการรุกเขามา
อยางรวดเร็วของทุนขนาดใหญ เทคโนโลยียุคใหม การยายถิ่นของทุนและแรงงานขามชาติ ที่จะสงผลกระทบตอ
ความมั่นคงของชาติและความมั่นคงของมนุษย ปญหาภัยพิบัติสำคัญ ที่ทำใหจำเปนตองมีการบริหารจัดการ
ความมั่นคง รวมไปถึงการสงเสริมผลักดันหลักการ นโยบาย ยุทธศาสตร ตลอดถึงโครงการสำคัญของประเทศให
บรรลุผลสำเร็จตามเปาหมายที่กำหนด
4.2.2 การติดตาม เฝาระวัง ปองกัน และแกไขปญหาที่อาจอุบัติขึ้นใหม
เพื่อใหทราบสถานการณลวงหนา และสามารถแกไขปญหาและภัยคุกคามในอนาคตไดทันทวงที
กอนที่จะลุกลามตอไป รวมทั้งปองกันไมใหสงผลกระทบตอการบริหารและพัฒนาประเทศ โดยเสริมสราง
ศักยภาพและความพรอมในทุกดาน ทั้งคน เครื่องมือ ยุทโธปกรณ แผน งบประมาณ ระบบควบคุมบังคับบัญชา
ระบบงานดานการขาวกรอง เทคโนโลยี ขอมูลขนาดใหญ ระบบเฝาตรวจและแจงเตือนตาง ๆ ของหนวยงานหลัก
และหนวยงานรอง ตั้งแตขั้นการติดตาม เฝาระวัง แจงเตือน วิเคราะห กำหนดแนวทางปองกัน ไปจนถึงขั้นการ
ลงมือแกไขปญหาความมั่นคงที่สำคัญตาง ๆ รวมทั้งการติดตามและประเมินผลอยางมีประสิทธิภาพในทุก
ขั้นตอน เสริมสรางพลังของประชาชนและชุมชนใหรวมกับกำลังตำรวจ ทหาร และหนวยงานดานความมั่นคงอื่น
ๆ ในการเฝาระวัง ปองกัน และแกไขปญหาสำคัญตาง ๆ อาทิ ภัยคุกคามทางไซเบอร การกอการรายและ
อาชญากรรมขามชาติ การแผอิทธิพลทางเศรษฐกิจของมหาอำนาจ และการยายถิ่นของทุนขามชาติที่อาจ
กระทบตอความมั่นคง ไปจนถึงติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของสวนราชการตาง ๆ ใหดำเนินการไปตาม
เปาหมายการบริหารจัดการและพัฒนาประเทศที่กำหนดอยางราบรื่น
4.2.3 การสรางความปลอดภัยและความสันติสขุ อยางถาวรในพืน้ ที่จังหวัดชายแดนภาคใต
เพื่อใหปญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตไดรับการแกไขจนเกิดความสงบและสันติ
สุขอยางยั่งยืน ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยทั้งในชีวิตและทรัพยสิน อยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมพหุ
วัฒนธรรม รวมทั้งไดรับการพัฒนาอยางเทาเทียมกันกับภาคอื่น ๆ โดยยกระดับการแกไขปญหาที่สงผลกระทบ
ตอความมั่นคงอยางมีเอกภาพ ครอบคลุมทุกพื้นที่และทุกกลุมเปาหมาย มีการบูรณาการ ความเชื่อมโยงระหวาง
ประเด็นเชิงยุทธศาสตรและเชิงพื้นที่ แผนการดำเนินงาน การลงมือปฏิบัติ ตลอดถึงการติดตาม ประเมิน และ
รายงานผลอยางสอดคลองตอเนื่องกันทุกระดับ สงเสริมและอำนวยความยุติธรรม ประสิทธิภาพในการเขาแกไข
ปญหา สภาวะแวดลอมที่เอื้อตอการลดความรุนแรง รวมทั้งการมีสวนรวมของประชาชนและภาคประชาสังคมใน

23
พื้นที่อยางเหมาะสม มุงเนนการขจัดปญหาความขัดแยงและความไมเปนธรรมใหไดอยางจริงจังและถาวร
สงเสริมสังคมพหุวัฒนธรรมในพื้นที่ใหเขมแข็งจนเปนพลังสำคัญในการปกปองและแกไขปญหาตาง ๆ ที่จะ
เกิดขึ้นตอไป พรอมเสริมสรางความเขาใจกับกลุมเห็นตางตามแนวทางสันติวิธี ผานกลไกตาง ๆ รวมไปถึงการ
พูดคุยกันอยางเปนมิตร ผลักดันใหมีการยึดถือคำสอนที่ถูกตองของศาสนามาเปนแนวทางในการดำเนินชีวิต
พรอมดูแลและปองกันมิใหมีการบิดเบือนคำสอนของศาสนาไปในทางที่ไมถูกตอง อันจะนำไปสูการปฏิบัติที่สงผล
กระทบตอความปลอดภัยในชีวิตทรัพยสินของประชาชน และความมั่นคงของประเทศ มีการสงเสริมใหภาค
ประชาสังคมรวมมือกับภาครัฐในการพัฒนาพื้นที่อยางเขมแข็ง ตอเนื่อง และสอดคลองกับความตองการของทุก
กลุมประชาชนโดยเฉพาะเยาวชน ตามยุทธศาสตรพระราชทาน “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งศาสตรพระราชา รวมถึงการสรางเสริมโอกาสในการเขาถึงการบริการตาง ๆ ของรัฐให
ทัดเทียมกับภูมิภาคอื่น ๆ
4.2.4 การรักษาความมั่นคงและผลประโยชนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ทั้งทางบกและทางทะเล
เพื่อใหผลประโยชนที่เกี่ยวของกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทั้งทางบกและทางทะเล
สามารถดำรงอยูได มีความอุดมสมบูรณ และเปนประโยชนตอประชาชน สังคม รวมถึงประเทศชาติอยางยั่งยืน
โดยสงเสริมศักยภาพและความเขมแข็งของกองทัพ หนวยงานเกี่ยวของ และภาคประชาชน ใหสามารถพัฒนาส
มุททานุภาพของประเทศ ควบคูไปกับการมีสวนรวมในกระบวนการสมุทราภิบาลในการบริหารจัดการ ปกปอง
และดูแลรักษาผลประโยชนทั้งมวลของชาติ เสริมสรางและบริหารจัดการความมั่นคงทั้งชายแดนทางบก ทะเล
อาณาเขต และเขตเศรษฐกิจจำเพาะของไทยอยางบูรณาการและเปนระบบ รวมไปถึงการพัฒนาระบบเฝาตรวจ
ติดตาม ระบบตรวจคนเขาเมือง การสำรวจและจัดทำหลักเขตแดนทางบก และการเจรจาเพื่อแกไขปญหาเขต
แดนทางทะเล สรางเสริมใหเจาหนาที่รัฐมีบทบาทและขีดความสามารถที่เหมาะสม มีการดำเนินการตาง ๆ และ
สอดสองดูแลอยางตอเนื่อง กำหนดพื้นที่อนุรักษอยางถูกตองและเปนระบบ สรางความตระหนักรูใหแ ก
ประชาชนในเรื่องการใหความสำคัญ กับฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของประเทศ การจัดสรร
ทรัพยากรอยางเปนธรรม ตลอดถึงแนวพระราชดำริใ นการอนุร ั กษ พั ฒนา ฟนฟู ปองกัน และดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติ จนเกิดความรัก หวงแหน และมีสวนรวมในการดำเนินการตาง ๆ อยางเขมแข็งยั่งยืน
4.3 การพัฒนาศักยภาพของประเทศใหพรอมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบตอความมั่นคงของชาติ
เพื่อยกระดับขีดความสามารถของกองทัพและหนวยงานดานความมั่นคงทั้งระบบของประเทศ ใหมี
ความพรอมในการปองกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ รวมทั้งสามารถติดตาม ปองกัน แกไข และรับมือกับ
ปญหาความมั่นคงทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับแบบบูรณาการใหมีความพรอมและเพียงพอตอการปองกันภัย
คุกคามทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง
4.3.1 การพัฒนาระบบงานขาวกรองแหงชาติแบบบูรณาการอยางมีประสิทธิภาพ
เพื่อใหสามารถติดตาม แจงเตือน ระงับยับยั้ง และปองกันปญหาและภัยคุกคามไดอยางมี
ประสิทธิภาพ สามารถประเมินสถานการณไดถูกตอง แมนยำ และทันเวลา โดยเสริมสราง พัฒนา และบูรณาการ

24
ขีดความสามารถของระบบงานขาวกรอง หนวยงานขาวกรอง และประชาคมขาวกรองในประเทศใหทันสมัย ทัน
สถานการณ ทั้งดานศักยภาพของบุคลากร ยุทโธปกรณ เทคโนโลยี และระบบขอมูลขนาดใหญ สามารถ
ครอบคลุมการใชงานไดอยางครบถวนและตอเนื่อง มีการบูรณาการขอมูลและนำผลผลิตดานขาวกรองไปใชใน
การบริหารจัดการปญหาและความมั่นคงของชาติในทุกมิติและทุกดาน รวมทั้งใหมีการเสริมสรางความรวมมือกับ
ภาคประชาชนในรูปแบบประชารัฐ และประชาคมขาวกรองตางประเทศอยางแนนแฟน
4.3.2 การพัฒนาและผนึกพลังอำนาจแหงชาติ กองทัพและหนวยงานความมั่นคง รวมทั้งภาครัฐและภาค
ประชาชน ใหพรอมปองกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ และเผชิญกับภัยคุกคามไดทุกมิติทุกรูปแบบและ
ทุกระดับ
เพื่อใหทรัพยากรที่สำคัญและจำเปนทั้งปวงของกองทัพและหนวยงานความมั่นคง ไดรับการ
พัฒนา เสริมสรางศักยภาพ ใหมีความพรอม เพียงพอ และเปนรูปธรรม ทั้งคน เครื่องมือ ยุทโธปกรณ รวมทั้ง
ระบบบริหารจัดการในการปองกันประเทศ และการปองกันภัยคุกคามทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความ
รุนแรง ตลอดจนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย สามารถระดมทรัพยากรไดอยางเปนระบบและมีขั้นตอน
ชัดเจน สงผลใหสามารถปกปองอธิปไตยและแกไขปญหาความมั่นคงไดทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ โดยการ
จัดทำแผนพัฒนาและผนึกกำลังทรัพยากรรวมถึงขีดความสามารถทั้งปวงของกองทัพ หนวยงานดานความมั่นคง
ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่มีประสิทธิภาพเปนรูปธรรมชัดเจน มีการประเมินขีดความสามารถ
ของแตละหนวยงานที่เกี่ยวของอยางจริงจัง พรอมพัฒนาคน โครงสรางกำลังรบและยุทโธปกรณใหเหมาะสม
เพียงพอและเปนรูปธรรม สามารถรับมือกับภัยคุกคามไดทุกมิติ ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ยกระดับ
การฝกรวมใหเปนแบบบูรณาการที่ทันสมัย มีความสมบูรณ พรอมนำไปปฏิบัติไดกับสถานการณจริง เสริมสราง
ความสัมพันธในการปฏิบัติการรวมและการปองกันภัยคุกคามดานความมั่นคงกับเพื่อนบานและมิตรประเทศ มิ
ใหเกิดขอขัดแยงหรือปญหาเกี่ยวกับเขตแดนทางบกและอาณาเขตทางทะเล พรอมทั้งมีกลไกแกไขปญหา
ความเห็นตางหรือความขัดแยง ผานทางการเจรจาและมาตรการทางการทูต ตลอดไปจนถึงการสงเสริมการวิจัย
และพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีปองกันประเทศ การพลังงานทหาร กิจการอวกาศ เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารอยางตอเนื่อง เพื่อสรางหลักประกันใหประเทศไทยกาวไปสูการมีอุตสาหกรรมปองกันประเทศ
แบบอั จ ฉริ ย ะในอนาคต มี เ ทคโนโลยี เ ป น ของตนเอง สามารถแข ง ขั น และลดการพึ่ ง พาหรื อ นำเข า จาก
ตางประเทศไดอยางเหมาะสม รวมทั้งสามารถสนับสนุนนโยบายและยุทธศาสตรสำคัญของประเทศได
4.3.3 การพัฒนาระบบเตรียมพรอมแหงชาติและการบริหารจัดการภัยคุกคามใหมีประสิทธิภาพ
เพื่อใหมีความพรอมเผชิญกับสภาวะไมปกติ ภัยคุกคามทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ รวมทั้งภัย
พิบัติและภัยคุกคามรูปแบบตาง ๆ ไดอยางแทจริง โดยพัฒนาปรับปรุงนโยบาย แนวทาง ระบบ กลไกการบริหาร
จัดการ ตลอดถึงแผนการปฏิบัติที่เกี่ยวของทั้งปวงใหชัดเจน มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม และพรอมรองรับภัยทุก
ประเภททั้งในปจจุบันและอนาคต ผลักดันใหทุกภาคสวนมีการฝกรวมกันในทุกขั้นตอนอยางตอเนื่องจริงจังจน
สามารถปฏิบัติไดจริง เสริมสรางความรวมมือกันอยางบูรณาการของทุกภาคสวนทั้งภายในและภายนอกประเทศ
ใหมีประสิทธิภาพชัดเจนเปนรูปธรรม ยกระดับการแบงปนขอมูล ทรัพยากร การพัฒนาเทคโนโลยี และการ
ฝกอบรมใหทุกสวนรูจักและเขาใจขั้นตอนการปฏิบัติตาง ๆ อยางแทจริง สามารถสนับสนุนการบริหารจัดการได

25
ทุกรูปแบบตั้งแตในระดับชาติไปจนถึงระดับทองถิ่น ตลอดถึงพัฒนาปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการที่
เกี่ยวของใหมีความทันสมัยสอดคลองกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป

4.4 การบูรณาการความรวมมือดานความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองคกรภาครัฐและที่


มิใชภาครัฐ
เพื่อสรางเสริมความสงบ สันติสุข ความมั่นคง และความเจริญกาวหนาใหกับประเทศชาติ ภูมิภาค และ
โลก อยางยั่งยืน รวมทั้งสงเสริมใหเกิดความรวมมือระหวางประเทศที่จะรองรับปญหารวมกันได
4.4.1 การเสริมสรางและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดลอมระหวางประเทศ
เพื่อใหเกิดความสันติสุข มั่นคง และสมดุลสำหรับทุกฝาย ใหทุกประเทศพรอมเขามีสวนรวมใน
การประสานและปฏิบัติภารกิจตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมุงแบงปนและใชประโยชนจากขอมูลขาวสาร
ดานความมั่นคงรวมกัน อันจะนำไปสูความรวมมือในการแกไขปญหาตาง ๆ อยางราบรื่นและยั่งยืน โดยสงเสริม
ปฏิสัมพันธในทุกระดับและทุกดานกับนานาประเทศ โดยเฉพาะประเทศมหาอำนาจและประเทศที่มีความสำคัญ
ทางยุทธศาสตรในมิติตาง ๆ อยางสมดุล พัฒนาและเสริมสรางระบบ กลไก มาตรการ ตลอดถึงความรวมมือ
ระหวางประเทศที่เปนประโยชนกับประเทศไทยใหสามารถดำเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการ
แลกเปลี่ยน แบงปน และใชประโยชนจากขอมูลขาวสารดานความมั่นคงรวมกันอยางกวางขวางและตอเนื่อง
ผลักดันการหารือทั้งแบบทวิภาคีและพหุภาคีในทุกระดับอยางสรางสรรค รวมทั้งเสริมสรางความสัมพันธ ความ
ไวเนื้อเชื่อใจ ไปจนถึงความตระหนักรูในการแกไขปญหาตาง ๆ พรอมทั้งลดความหวาดระแวงระหวางกัน โดย
อาศัยการแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับตาง ๆ และการจัดเวทีสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จนทำให
บรรยากาศการดำเนินการระหวางประเทศในทุกเรื่องทุกขั้นตอน ดำเนินไปไดอยางราบรื่น ตอเนื่อง และมี
เสถียรภาพอยางแทจริง
4.4.2 การเสริมสรางและธำรงไวซงึ่ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
เพื่อใหประเทศในภูมิภาคอยูรวมกันอยางสันติสุข สามารถแกไขปญหารวมกันไดอยางสันติวิธี
และรวมมือกันเพื่อการพัฒนาใหเปนไปตามเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยสงเสริมความเปนปกแผนของ
ประชาคมอาเซียน และความเปนแกนกลางของอาเซียนอยางจริงจังและตอเนื่อง สรางความสัมพันธที่ดีใน
ระหวางประชาชนในทุกมิติและทุกระดับ ทำการแลกเปลี่ยนและสงเสริมความรวมมือระหวางกันอยางแนนแฟน
ในทุก ๆ ดาน ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การเมืองและความมั่นคง วิทยาศาสตรเทคโนโลยี รวมถึง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกับมิตรประเทศ ซึ่งไดแก ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมด ประเทศสำคัญใน
ภูมิภาค และนานาประเทศทั่วโลก รวมทั้งกรอบความรวมมือดานความมั่นคงระดับภูมิภาคอื่น ๆ ที่จะชวยสราง
เสริมเสถียรภาพในภูมิภาค ตลอดจนผลักดันและเผยแพรการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
ศาสตรพระราชาใหเปนที่เขาใจและมีการนำไปประยุกตใชอยางกวางขวางและตอเนื่องในภูมิภาค อันจะนำไปสู
การบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืนรวมกันตอไป

26
4.4.3 การรวมมือทางการพัฒนากับประเทศเพือ่ นบาน ภูมิภาค โลก รวมถึงองคกรภาครัฐและที่มิใช
ภาครัฐ
เพื่อใหความมั่นคงในภาพรวมทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และโลก มีการพัฒนาไปสูสันติสุข
อยางแทจริง เปนรูปธรรม และยั่งยืน โดยผลักดันสงเสริมใหการดำเนินการและความรวมมือระหวางประเทศ
เปนไปตามหลักการปฏิบัติสากล กฎหมาย และความตกลงระหวางประเทศ พรอมคำนึงถึงความสัมพันธที่ดี
ระหวางรัฐตอรัฐ เอกชนตอเอกชน และประชาชนตอประชาชน สรางเสริมความรวมมือกับนานาชาติในการ
ปองกันและระวังภัยคุกคามทุกรูปแบบ พรอมพัฒนาความรวมมือและชวยเหลือซึ่งกันและกันในทุกระดับ
ของอนุภูมิภาคแมน้ำโขง อาเซียน รวมถึงระหวางมิตรประเทศในกรณีเกิดวิกฤตการณสำคัญ อาทิ ความอดอยาก
ภัยพิบัติขนาดใหญ ฯลฯ สงเสริมบทบาทของไทยในเวทีความมั่นคงระหวางประเทศและการรักษาสันติภาพ
ของสหประชาชาติใหนานาประเทศตระหนักและใหการยอมรับถึงความสำคัญ รวมไปถึงการเสริมสรางพลังบวก
หรืออำนาจแบบนุมนวลของไทย โดยอาศัยการสงเสริมและเผยแพรภาพลักษณที่ดีและวัฒนธรรมประเพณีไทย
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศาสตรพระราชา ความนิยมวิถีไทย สินคาไทย ฯลฯ ผานความสัมพันธทุกรูปแบบ
ทุกระดับและทุกชองทาง
4.5 การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมัน่ คงแบบองครวม
เพื่อใหกลไกสำคัญตาง ๆ ทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถสงเสริมและสนับสนุนการบริหารและ
พัฒนาประเทศไดอยางแทจริงเปนรูปธรรม มีการใชหลักธรรมาภิบาล และการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด
และมีประสิทธิภาพ สามารถขจัดปญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบอยางจริงจัง เกิดความมั่นใจไดวาหนวยงาน
รับผิดชอบทั้งหลักและรองพรอมรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบทั้งในปจจุบันและอนาคต
4.5.1 การพัฒนากลไกใหพรอมสำหรับการติดตาม เฝาระวัง แจงเตือน ปองกัน และแกไขปญหาความ
มั่นคงแบบองครวมอยางเปนรูปธรรม
เพื่อใหเกิดความพรอมรองรับปญหาไดทุกรูปแบบทุกระดับและทุกชวงเวลาอยางครบถวน
สมบูรณและมีเอกภาพ โดยเสริมสรางพรอมทั้งยกระดับกลไก หนวยงาน เชน กองทัพไทย กองอำนวยการรักษา
ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ศูนยประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล เปนตน
และกฎหมายที่มีอยูเดิมหรือที่พัฒนาขึ้นใหม ผานทางการบูรณาการความรวมมือและการปฏิบัติกับทุกภาคสวน
มีเปาหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจนเปนรูปธรรม พัฒนาการวางแผนและเตรียมความพรอมในทุก ๆ ดาน กำหนด
หนวยงานและตัวผูรับผิดชอบในทุกระดับ พรอมฝกรองรับปญหา สัมมนาระดมความคิดเห็น ตลอดจนใหการ
สนับสนุนในทุกดาน อยางตอเนื่องจริงจังตั้งแตยามปกติหรือยามสงบ มีการตรวจสอบและประเมินผลอยาง
ตอเนื่องตามหลักธรรมาภิบาลที่สอดคลองกับบริบทและความกาวหนาของยุคสมัย พรอมทั้งสามารถสรางความ
เชื่อมโยงกันทั้งระบบ รวมไปถึงความเชื่อมโยงกับทุกภาคีเครือขาย
ที่เกี่ยวของ และใหความสำคัญกับการมีสวนรวมของทุกภาคสวนอยางจริงจังและมีประสิทธิภาพ

27
4.5.2 การบริหารจัดการความมั่นคงใหเอื้ออำนวยตอการพัฒนาประเทศในมิติอื่น ๆ
เพื ่ อ ให ก ารพั ฒ นาประเทศตามยุ ท ธศาสตร ช าติ ส ามารถขั บ เคลื ่ อ นไปได ต ามแผน อย า งมี
ประสิทธิภาพ เปนรูปธรรม และไมสงผลกระทบใด ๆ ตอความมั่นคงของชาติ โดยพัฒนาสงเสริมการวางแผน
คูขนานแบบบูรณาการใหสอดคลองรองรับยุทธศาสตรชาติในทุก ๆ ดาน รวมไปถึงการพัฒนาประเทศที่เกี่ยวของ
ในทุกมิติอยางครบถวนสมบูรณและมีประสิทธิภาพ เสริมสรางผลักดันการบริหารจัดการตลอดถึงการบูรณาการ
การดำเนินการในทุกดานใหประสานสอดคลองและสามารถปฏิบัติรวมกันไดอยางใกลชิดระหวางหนวยงานดาน
ความมั ่ น คง ด า นเศรษฐกิ จ และด า นอื ่ น ๆ ที ่ เ กี ่ ย วข อ ง พร อ มทั ้ ง ครอบคลุ ม การสร า งความมั ่ น คงให กั บ
ประเทศชาติในทุกมิติอยางยั่งยืน
4.5.3 การพัฒนากลไกและองคกรขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติดา นความมั่นคง
เพื่อใหการดำเนินการของยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคงบรรลุผลสำเร็จอยางมีประสิทธิภาพ
เอกภาพ และเป นรู ปธรรมตามเปาหมายที่ ก ำหนด โดยใหส ำนั กงานสภาความมั่ นคงแห งชาติพัฒ นาและ
เสริมสรางหนวยงาน บุคลากร เครื่องมือ ระบบการบริหาร และการจัดสรรงบประมาณในการขับเคลื ่อน
ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคงที่มีอยู ใหเกิดประสิทธิภาพและเกิดการบูรณาการความรวมมือของทุกภาคสวน
รวมทั้งมีความพรอม มีขีดความสามารถที่ทันสมัย เหมาะสม เพียงพอ และคลองตัว มีเอกภาพในการบริหาร
จัดการที่ชัดเจน ตลอดถึงมีบทบาทสำคัญในการรับผิดชอบดูแลปญหาความมั่นคงทุกมิติในระดับนโยบาย พรอม
รองรับบริบทที่จะเปลี่ยนแปลงตอไปในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ จนสามารถบรรลุผ ลสำเร็จไดตาม
ยุทธศาสตรที่กำหนดอยางแทจริง

28
ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน
1. บทนำ
ในชวง 2 ทศวรรษที่ผานมา ประเทศไทยเผชิญกับความทาทายในการพัฒนาเพื่อเสริมสรางความสามารถ
ทางเศรษฐกิจของประเทศอยางตอเนื่อง อาทิ ปจจัยดานความผันผวนของเศรษฐกิจโลก กฎ ระเบียบระหวาง
ประเทศที่เกี่ยวของกับการแขงขันทางการคา ทักษะความสามารถของแรงงาน โครงสรางประชากรที่เขาสูสังคม
สูงวัย และเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอยางรวดเร็วที่สงผลใหภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และภาคบริการตอง
ปรับตัวใหสอดรับกับความตองการของผูบริโภค รูปแบบการคาที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงเชิง
นโยบายการพัฒนาของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคที่ท ำใหเกิดการลงทุนจากนักลงทุนตางประเทศมากขึ้น
โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งจากสถานการณการเปลี่ยนแปลงในอนาคต อาทิ
เศรษฐกิจโลก โครงสรางประชากร เทคโนโลยี จะทำใหประเทศไทยเผชิญความทาทายมากขึ้นในการเสริมสราง
ความสามารถในการแขงขันของประเทศในระยะตอไป
ในการพัฒนาเพื่อเสริมสรางความสามารถของประเทศในระยะตอไปโดยยึดเปาหมายในการยกระดับ
ประเทศไทยใหมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยจำเปนตองปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจทั้งระบบเพื่อสรางภูมิคุมกันและสงผลใหเกิดการยกระดับ
รายได และในขณะเดียวกันการพัฒนาดังกลาวจะตองสงผลใหความเหลื่อมล้ำลดลง ดังนั้น การพัฒนาประเทศ
ในระยะตอไป จำเป นอยางยิ่ งที ่ประเทศไทยจะตองสรางเครื่องยนตท างเศรษฐกิจใหมท ี่จะชวยยกระดับ
การพัฒนาประเทศไปสูเปาหมายที่ตั้งไว ซึ่งการพัฒนาในชวง 20 ปขางหนา จะมุงเนนการวิจัย พัฒนานวัตกรรม
และนำเทคโนโลยีใหมมาปรับใชและตอยอดภาคการผลิตและบริการในปจจุบัน เพื่อเพิ่มผลิตภาพ และสราง
มูลคาเพิ่ม รวมทั้งการปรับโครงสรางภาคการผลิตและบริการในปจจุบันไปสูภาคการผลิตและบริการใหม
ที่มีศักยภาพ การพัฒนารูปแบบการคาใหสอดรับกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป การสงเสริมใหเกิดสังคม
ผูประกอบการ การพัฒนาทักษะและความสามารถของแรงงาน
ดังนั้น เพื่อยกระดับการพัฒนาประเทศใหเปนประเทศที่มีรายไดสูงไดอยางประสบความสำเร็จใน 20 ป
ประเทศไทยจึงจำเปนตองมีการขยายตัวและการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ตอเนื่อง รวมทั้งมีขีดความสามารถ
ทางการแขงขันที่เพิ่มขึ้นในเวทีสากล ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขันสำหรับประเทศ
ไทยจึงไดมุงพัฒนาบนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ไดแก (1) “ตอยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหงาทาง
เศรษฐกิ จ อั ต ลั ก ษณ วั ฒ นธรรม ประเพณี วิ ถ ี ช ี ว ิ ต และจุ ด เด น ทางทรั พ ยากรธรรมชาติ ท ี ่ ห ลากหลาย
รวมทั้งความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในดานอื่น ๆ นำมาประยุกตผสมผสานกับเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม เพื่อใหสอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม (2) “ปรับปจจุบัน” เพื่อปูทางสูอนาคต
ผานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศในมิติตาง ๆ ทั้งโครงขายระบบคมนาคมและขนสง โครงสราง
พื้นฐานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
และบริการอนาคต และ (3) “สรางคุณคาใหมในอนาคต” ดวยการเพิ่มศักยภาพของผูประกอบการ พัฒนา
คนรุนใหม รวมถึงปรับโมเดลธุรกิจ เพื่อตอบสนองตอความตองการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตรที่รองรับ
อนาคต บนพื้นฐานของการตอยอดอดีตและปรับปจจุบัน พรอมทั้งการสงเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ จะทำให
ประเทศไทยสามารถสรางฐานรายไดและการจางงานใหม ขยายโอกาสทางการคาและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู
ไปกับการยกระดับรายไดและการกินดีอยูดี รวมถึงการเพิ่มขึน้ ของคนชัน้ กลางในประเทศไดในคราวเดียวกัน
ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขันจึงกำหนดแนวทางการพัฒนาที่ใหความสำคัญ
กับการพัฒนากลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคตที่สามารถสรางมูลคาเพิ่มไดทั้งในภาคเกษตร อุตสาหกรรม

29
และบริการและการทองเที่ยว โดยใหประเทศสามารถยกระดับการผลิตทางการเกษตรเพื่อสรางมูลคาใหสูงขึ้น
ขณะที่มีอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคตที่จะเปนกลไกขับเคลื่อนประเทศไทยไปสูประเทศพัฒนาแล ว
ดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีแหงอนาคต รวมทั้งรักษาการเปนจุดหมายปลายทางของการทองเที่ยวระดับโลก
ในขณะเดียวกันจำเปนตองพัฒนาปจจัยสนับสนุนตาง ๆ ทั้งในสวนของโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพในดาน
โครงขายคมนาคม พื้นที่และเมือง รวมถึงเทคโนโลยี และโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่ออำนวยความสะดวก
และลดตนทุนในการเคลื่อนยายสินคา บริการ เงินทุน บุคลากร และเชื่อมโยงประเทศไทยกับประชาคมโลก
และรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสูอนาคต

2. เปาหมาย
2.1 ประเทศไทยเปนประเทศที่พัฒนาแลว เศรษฐกิจเติบโตอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืน
2.2 ประเทศไทยมีขดี ความสามารถในการแขงขันสูงขึ้น

3. ตัวชี้วัด
3.1 รายไดประชาชาติ การขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ และการกระจายรายได
3.2 ผลิตภาพการผลิตของประเทศ ทั้งในปจจัยการผลิตและแรงงาน
3.3 การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
3.4 ความสามารถในการแขงขันของประเทศ

4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน
4.1 การเกษตรสรางมูลคา
ประเทศไทยเปนหนึ่งในผูเลนสำคัญดานการผลิตและการคาสินคาเกษตรในเวทีโลกดวยพื้นฐานทางพืช
เกษตรเขตรอน และมีขอไดเปรียบดานความหลากหลายทางชีวภาพที่สามารถพัฒนาตอยอดโครงสรางธุรกิจ
การเกษตรดวยการสรางมูลคาเพิ่ม เนนเกษตรคุณภาพสูงและขับเคลื่อนการเกษตรดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ที่ใหความสำคัญกับการเพิ่มผลิตภาพการผลิตทั้งเชิงปริมาณและมูลคา และความหลากหลายของสินคาเกษตร
เพื่อรักษาฐานรายไดเดิมและสรางฐานอนาคตใหมที่สรางรายไดสูง ทั้งเกษตรอัตลักษณพื้นถิ่น เกษตรปลอดภัย
เกษตรชีวภาพ เกษตรแปรรูป และเกษตรอัจฉริยะ เพื่อใหเกษตรกรมีรายไดสูงขึ้น
4.1.1 เกษตรอัตลักษณพื้นถิน่
สงเสริมการนำอัตลักษณพื้นถิ่นและภูมิปญญาทองถิ่นของไทยมาเปนผลิตภัณฑการเกษตร
รวมทั้งสินคาที่ไดรับการรับรองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร โดยสงเสริมการนำอัตลักษณพื้นถิ่นและภูมิปญญาทองถิ่น
ของไทยมาใชในการผลิตสินคาและผลิตภัณฑการเกษตรที่มีมูลคาเพิ่มสูง เปนสินคาเกษตรชนิดใหม ใหรองรับ
ความตองการของตลาดยุคใหม เพื่อสงเสริมเศรษฐกิจของทองถิ่น และสรางจุดเดน ความแตกตางของสินคา
เกษตรไทยในตลาดโลกเพื่อตอบโจทยความตองการของผูบริโภคที่แตกตางกันในประเทศตาง ๆ ได พรอมทั้ง

30
สงเสริมการประยุกตใชภูมิปญญาและเทคโนโลยีในการพัฒนากระบวนการผลิตและบรรจุภัณฑ เพื่อใหมี
สินคาอัตลักษณพื้นถิ่นออกสูตลาดสม่ำเสมอ รวมถึงสินคาเกษตรนอกฤดูกาล การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ
เกษตรอัตลักษณพื้นถิ่นใหไดรับการรับรองมาตรฐานทั้งระดับในประเทศและตางประเทศ การสงเสริมการขึ้น
ทะเบียนรับรองสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร การสงเสริมการสรางแบรนดสินคาของเกษตรอัตลักษณพื้นถิ่น และการ
สรางความตองการของสินคาดวยการสรางเรื่องราวของสินคาใหเปนที่รูจักและยอมรับในคุณภาพทั้งในประเทศ
และตางประเทศ รวมทั้งการผลักดันการสงออกสินคาเกษตรอัตลักษณไทยและสินคาที่ไดรับการรับรองสิ่งบงชี้
ทางภูมิศาสตร และพืชผลเกษตรและผลไมเขตรอนอื่น ๆ สูตลาดโลก
4.1.2 เกษตรปลอดภัย
สรางความตระหนักแกผูผลิตและผูบริโภคทั่วโลกในเรื่องความสำคัญของมาตรฐานระบบการ
จัดการความปลอดภัยของอาหาร จูงใจและวางกรอบใหเกษตรกรและผูผลิตทำการผลิตสินคาที่สอดคลองกับ
มาตรฐาน และเขาสูระบบมาตรฐานการจัดการคุณภาพทางการเกษตรที่ไดรับการรับรองจากสถาบันที่มีความ
นาเชื่อถือ พรอมทั้งใหความรูเกษตรกรดานกระบวนการผลิตตามมาตรฐานสากลเพื่อมุงสูการเลิกใชสารเคมีใน
ภาคเกษตร การเพิ่มพื้นที่และปริมาณการผลิตเกษตรอินทรียในระยะตอไป โดยสงเสริมการถายทอดองคความรู
แกเกษตรกรในการทำเกษตรปลอดสาร และเปลี่ยนผานไปสูการทำเกษตรอินทรีย ตลอดจนสนับสนุนกลไกทาง
การตลาดแกเกษตรกรที่ตองการทำการเกษตรอินทรีย การพัฒนาระบบการตรวจรับรองคุณภาพและมาตรฐาน
สินคาเกษตรอินทรียของไทย รวมถึงระบบตรวจสอบยอนกลับ สำหรับการตรวจสอบที่มาของสินคาในทุกขั้นตอน
ใหเปนไปตามมาตรฐานอันเปนที่ยอมรับของตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศ
4.1.3 เกษตรชีวภาพ
สงเสริมการใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศในการสรางมูลคาเพิ่มของ
ภาคการผลิต และนำไปสูการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑมูลคาสูงจากฐานเกษตรกรรมและฐานทรัพยากรชีวภาพ
และสรางความมั่นคงของประเทศทั้งดานอาหารและสุขภาพ โดยเฉพาะพืชสมุนไพร ที่ประเทศไทยมีศักยภาพใน
การผลิตและสงออกผลิตภัณฑจากสมุนไพรในระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยการสงเสริมการทำเกษตรกรรม
แบบยั่งยืน รวมถึงการสงเสริมการปลูกสมุนไพรเปนพืชเศรษฐกิจตามความเหมาะสมของสภาพแวดลอมในพื้นที่
เพื่อการผลิตและแปรรูปสำหรับอุตสาหกรรมการแพทย การสรางเสริมสุขภาพ และพัฒนาตอยอดสูอุตสาหกรรม
อื่น ๆ โดยคำนึงถึงปริมาณและคุณภาพมาตรฐานตามความตองการของตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศ
และการสงเสริมการวิจัย พัฒนา และประยุกตใชนวัตกรรมจากภูมิปญญาทองถิ่น เทคโนโลยีสะอาด เทคโนโลยี
วั สดุ และนาโนเทคโนโลยี เพื ่อการเกษตรและการแปรรูปสินค าจากความหลากหลายทางชีว ภาพ รวมทั้ง
ผลิตภัณฑจากสมุนไพร โดยสรางความรวมมือที่ใกลชิดระหวางภาครัฐ เอกชน และชุมชนที่มีองคความรู ภูมิ
ปญญาดั้งเดิม พัฒนาตอยอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู พรอมทั้งสงเสริมใหมีการนำวัตถุดิบเหลือทิ้งทางการเกษตร
มาใชประโยชนในอุตสาหกรรมและพลังงานที่เกี่ยวเนื่องกับชีวภาพไดอยางมีประสิทธิภาพ

31
4.1.4 เกษตรแปรรูป
ปรับใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยอยูตลอดเวลา รวมทั้งนวัตกรรมจากภูมิปญญาในการ
แปรรูป สรางความแตกตาง และเพิ่มมูลคาในผลิตภัณฑและสินคาเกษตร รวมทั้งสงเสริมผลิตภัณฑเกษตร
คุณภาพสูงของไทยสูตลาดภายในประเทศและตางประเทศ โดยสงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตรขั้นสูงที่มีคุณคา
เฉพาะ สอดคลองกับความตองการของตลาดที่มีความหลากหลาย ดวยการตอยอดผลงานจากสถาบันวิจัยสูการ
ผลิตเชิงพาณิชย การสงเสริมใหนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม ๆ มาพัฒนาตอยอดสินคาเกษตรขั้นตนใหเปน
ผลิตภัณฑใหมที่มีมูลคาสูง การสงเสริมการใชวัตถุดิบและผลิตผลทางการเกษตรเพื่อแปรรูปเปนผลิตภัณฑใหม
รวมทั้งการสนับสนุนการนำเทคโนโลยี นวัตกรรมสมัยใหมมาใชในการสรางสรรคบรรจุภัณฑอัจฉริยะ เพื่อปองกัน
การปลอมปน การควบคุมคุณภาพและความปลอดภัย การติดตามผลิตภัณฑในระหวางการขนสง รวมถึงยืดอายุ
ของอาหารและสินคาเกษตรในบรรจุภัณฑ ซึ่งชวยเพิ่มมูลคาทางการตลาดใหแกสินคา พรอมทั้งสงเสริมการสราง
แบรนด และขยายช องทางการตลาดด วยระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศ รวมทั้งใหความสำคัญ ในการสราง
เครื่องหมายการคาและปกปองสิทธิในทรัพยสินทางปญญา
4.1.5 เกษตรอัจฉริยะ
นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกตใชในการพัฒนาเปนฟารมอัจฉริยะ เพื่อเพิ่มผลผลิต
การเกษตรในเชิงมูลคาและปริมาณตอพื้นที่สูงสุด และเตรียมพรอมรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ มีการคำนึงถึงการใชทรัพยากรอยางยั่งยืนและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ตลอดจนสรางสมดุลเกษตร
อาหารและเกษตรพลังงาน โดยสรางและนำเทคโนโลยี นวัตกรรม และวิทยาการสมัยใหมมาใชในการเกษตร ใช
เทคโนโลยีเกษตรดานความแมนยำ เทคโนโลยีการผลิตพืชในโรงเรือนเพาะปลูกดวยการใชระบบอัตโนมัติและ
เซ็นเซอรอัจฉริยะ ติดตามการเปลี่ยนแปลง ทั้งความชื้น แสง และอุณหภูมิภายในฟารม เพื่อใหไดผลผลิตตรง
ตามความตองการ คุณภาพคงที่ และสามารถวางแผนระบบการตลาดดีขึ้น รวมทั้งเทคโนโลยีการชวยบันทึก
ขอมูลสำคัญและติดตามการบริหารจัดการภายในโรงเรือนและฟารม การปรับเปลี่ยนการทำเกษตรกรรมให
เหมาะสมกับศักยภาพพื้นที่ ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งสงเสริมการถายทอดความรูแกเกษตรกรให
เขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตร การจัดการภาคเกษตรที่เปนมิ ตรกับ
สิ่งแวดลอม ระบบการผลิตทางการเกษตรใหปลอดวัสดุเหลือใช ตลอดจนพัฒนาระบบประกันภัยทางการเกษตร
ที่ยั่งยืน เพื่อสนับสนุนและจูงใจใหเกษตรกรใชเครื่องมือดังกลาวบริหารจัดการความเสี่ยงในการทำเกษตรกรรม
รวมถึง การสงเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุพืช พันธุสัตว ปจจัยการผลิต เทคโนโลยีการเกษตรใหม ๆ และการใช
วิทยาการดานเทคโนโลยีชีวภาพ พันธุวิศวกรรม ตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่สามารถนำมาใช
ประโยชนทั้งในเรื่องการปรับสภาพดิน การตรวจจับสารเคมีตกคาง การตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคสัตว และการ
พัฒนาบรรจุภัณฑ เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิต เพิ่มมูลคาผลิตภัณฑและคุณคาทางโภชนาการ ลดการใชสารเคมีใน
การเกษตร รวมทั้งยืดอายุการเก็บเกี่ยวและการเก็บรักษาเพื่อยืดระยะเวลาการจำหนายผลผลิตและการสงออก
พรอมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตดวยเครื่องจักรกลและอุปกรณการเกษตรสำหรับระบบฟารมอัจฉริยะใน
ประเทศ โดยยกระดับเทคโนโลยีการผลิตและเครื่องจักรกลการเกษตรใหสูงขึ้นดวยการวิจัยและพัฒนา การสราง
และกำหนดคุณภาพมาตรฐานของสินคาเครื่องจักรกลและอุปกรณการเกษตร รวมทั้งการสงเสริมการวิจัยและ
พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ การประยุกตใชขอ มูลจากดาวเทียม และเชื่อมโยงฐานขอมูลจากการ
ประยุกตใชระหวางหนวยงานตาง ๆ เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางยั่งยืนใหกับภาคเกษตร การ
สรางฐานขอมูลการเพาะปลูกระดับประเทศ การจัดการดานชลประทาน ทะเล และชายฝง รวมทั้งการติดตาม
การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ

32
4.2 อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต
อุตสาหกรรมและบริการไทยตองพรอมรับมือและสรางโอกาสจากความทาทายที่เกิดขึ้นจากการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ที่เปนผลของการหลอหลอมเทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีทาง
กายภาพเขาดวยกัน กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมอยางรวดเร็วเปนวงกวางและลึกซึ้งทั้ง
ระบบอยางที่ไมเคยปรากฏมากอน ประเทศไทยจึงจำเปนตองเปลี่ยนแปลงพื้นฐานโครงสรางอุตสาหกรรมและ
บริการ โดยสรางอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคตที่ขับเคลื่อนประเทศไทยไปสูประเทศพัฒนาแลวดวย
นวัตกรรมและเทคโนโลยีแหงอนาคต เพิ่มบุคลากรที่มีทักษะและความรูตามความตองการของตลาด สรางระบบ
นิเวศอุตสาหกรรมและบริการที่เหมาะสม และสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอยางยั่งยืน
4.2.1 อุตสาหกรรมชีวภาพ
สร างประโยชน จากความหลากหลายทางชี ว ภาพเพื ่ อต อยอดจากภาคเกษตรไทยและมุ  ง สู
อุตสาหกรรมบนฐานชีวภาพที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รวมถึงพลังงานชีวมวล โดยการเพิ่มสัดสวนอุตสาหกรรม
ชีวภาพที่มีมูลคาเพิ่มสูง ไดแก ชีวเคมีภัณฑ วัสดุชีวภาพ อาหารเสริม เวชสำอาง วัคซีน ชีวเภสัชภัณฑ และสาร
สกัดจากสมุนไพร การเพิ่มการผลิตและสงเสริมการใชพลาสติกชีวภาพ แปลงของเหลือทิ้งจากเกษตรและ
อุตสาหกรรม ใหเปนสารเคมีและพลังงานชีวภาพที่มีมูลคา โดยใชประโยชนจากวัตถุชีวมวล ในการผลิตพลังงาน
ไฟฟาอยางคุมคา เพื่อลดปญหาโลกรอน และสรางรายไดแกเกษตรกรเพิ่มมากขึ้น การเนนการวิจัยและพัฒนา
และนำผลงานวิจัยมาใชในเชิงพาณิชยมากยิ่งขึ้น ตลอดจนใหความสำคัญกับระบบนวัตกรรมแบบเปด เพื่อพัฒนา
อุตสาหกรรมชีวภาพไดเร็วขึ้น
4.2.2 อุตสาหกรรมและบริการการแพทยครบวงจร
อาศัยความเชี่ยวชาญดานบริการการแพทยของไทยเพื่อสรางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องในประเทศ
เพื่อรองรับความตองการใชบริการการแพทยที่จะเพิ่มมากขึ้นทั้งจากสังคมผูสูงอายุ และความตองการการแพทย
ที่เพิ่มขึ้นจากทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อนำไปสูศูนยกลางอุตสาหกรรมและบริการการแพทย โดยการ
พัฒนาอุตสาหกรรมและบริการการแพทยครอบคลุมการผลิตเครื่องมือและอุปกรณการแพทย การผลิตอวัยวะ
เทียม การผลิตเวชภัณฑและครุภัณฑการแพทย การผลิตเภสัชภัณฑซึ่งรวมถึงชีวเภสัชภัณฑ และการใหบริการ
การแพทยที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง รวมถึงการสงเสริมการพัฒนาและการใชเทคโนโลยีการแพทยใหม ๆ เพื่อเพิ่ม
คุณภาพชีวิตใหกับคนไทย การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในบริการการแพทย เพื่อลดตนทุนการรักษาพยาบาล
ยกระดับการใหบริการการแพทยอยางมีคุณภาพในระดับสากล และสรางความมั่นคงใหกับระบบสาธารณสุขของ
ไทย พรอมทั้งการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมทางการแพทยและบริการทองเที่ยวเพื่อสุขภาพ เพื่อเปนศูนยกลางการ
สงเสริมและดูแลสุขภาพและรักษาผูปวยทั้งดานรางกายและจิตใจ
4.2.3 อุตสาหกรรมและบริการดิจิทลั ขอมูล และปญญาประดิษฐ
ใชเทคโนโลยีดิจิทัล ขอมูลและปญญาประดิษฐในการเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการ
แขงขันของอุตสาหกรรมและบริการ ครอบคลุมระบบอัตโนมัติและหุนยนต อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ และ
อินเทอรเน็ตในทุกสิ่ง เพื่อยกระดับประสิทธิภาพของภาคเศรษฐกิจไทยทั้งระบบ สรางแพลตฟอรมสำหรับ
เศรษฐกิจในอนาคต และเพิ่มคุณภาพชีวิตใหกับประชาชน โดยการสรางอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ขอมูล
และปญญาประดิษฐ เพื่อเปนแรงขับเคลื่อนประเทศไทย และสงเสริมการลงทุนระหวางภาครัฐ ภาคเอกชนไทย

33
และบริษัทชั้นนำของโลกในอุตสาหกรรมเหลานี้ เพื่อใหไทยเปนศูนยกลางการผลิตและการวิจัยและพัฒนา การ
สรางความตระหนักและใหความรูแกประชาชน และประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล ขอมูล และปญญาประดิษฐ
สำหรับภาคการผลิตและบริการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สรางนวัตกรรม และดำเนินธุรกิจใหม ๆ การผลักดันให
ผูประกอบการไดรับการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมในระดับสากล และสรางคลัสเตอรอุตสาหกรรมเพื่อขยาย
ธุ ร กิ จ ไทยในอุ ต สาหกรรมและบริ ก ารดิ จ ิ ท ั ล ข อ มู ล ป ญ ญาประดิ ษ ฐ ระบบอั ต โนมั ต ิ แ ละหุ  น ยนต และ
อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะใหครอบคลุมตลอดทั้งหวงโซมูลคาระดับโลก การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
ของผูประกอบการที่สามารถนำไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยได สรางความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน และ
สถาบันการศึกษาตาง ๆ และสนับสนุนการใชขอมูลเปดที่ไมกระทบตอสิทธิสวนบุคคลเพื่อประโยชนในการศึกษา
การวิจัยและพัฒนา และการตอยอดทางธุรกิจ พรอมทั้งการสรางและพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะความรูเพื่อรองรับ
การเติบโตของอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ขอมูล และปญญาประดิษฐ รวมทั้งอุตสาหกรรมและบริการที่ใช
เทคโนโลยีเหลานี้ และสรางแรงจูงใจใหบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญจากทั่วโลกใหมาทำงานในไทย ตลอดจนให
ความชวยเหลือและเยียวยาผูไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงและรวดเร็วของเทคโนโลยี
4.2.4 อุตสาหกรรมและบริการขนสงและโลจิสติกส
ใชตำแหนงที่ตั้งทางภูมิศาสตรของประเทศไทยในการสงเสริมการคมนาคม ขนสง และโลจิสติกส
ใหเปนฐานการผลิตของภูมิภาคเพื่อการสงออกสูตลาดโลก และศูนยกลางการทองเที่ยวในภูมิภาค ลดตนทุน
ทางดานโลจิสติกสและเพิ่มมูลคาจากการเปนศูนยกลางทางภูมิศาสตร สงเสริมอุตสาหกรรมและบริการที่
เกี่ยวของ โดยการสงเสริมการสรางศูนยกลางดานโลจิสติกสระดับภูมิภาคและเชื่อมตอกับเครือขายโลจิสติกสของ
โลก การผลักดันการเปลี่ยนผานของอุตสาหกรรมยานยนตทั้งระบบไปสูอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟาอัจฉริยะ
สงเสริมเทคโนโลยีและพัฒนาอุตสาหกรรมระบบกักเก็บพลังงาน รวมทั้งสงเสริมการลงทุนที่เนนการวิจัยและ
พัฒนาและการถายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาอุตสาหกรรมการบินและอวกาศเพื่อรองรับการเติบโตของ
อุตสาหกรรมและบริการที่เกี่ยวของโดยยกระดับบริการซอมบำรุงอากาศยาน และการผลิตชิ้นสวนอากาศยาน
ซึ่งจะตอยอดไปยังชิ้นสวนยานอวกาศในที่สุด และสนับสนุนการลงทุนดานบริการดูแลรักษาและซอมแซมอากาศ
ยานเพื่อขยายตลาดบริการดูแลรักษาและซอมแซมอากาศยาน ตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับการบินและ
อวกาศ การส ง เสริ ม และพั ฒ นาการขนส ง รู ป แบบใหม ท ี ่ ส อดคล อ งกั บ บริ บ ทของไทยในอนาคต รวมทั้ ง
อุตสาหกรรมและบริการที่เกี่ยวเนื่อง พรอมทั้งการพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะความเชี่ยวชาญตรงกับความตองการ
ของอุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ และบริการโลจิสติกส การอำนวยความสะดวก
สำหรับบุคลากรผูเชี่ยวชาญตางชาติใหเขามาทำงานในไทย และจัดตั้งศูนยใหคำปรึกษา ตลอดจนการสนับสนุน
ให อ ุ ต สาหกรรมยานยนต การบิ น และอวกาศ และโลจิ ส ติ ก ส ตลอดจนหน ว ยงานกำกั บ ดู แ ล ให ไ ด รั บ
มาตรฐานสากลและสรางความรวมมือในการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมระหวางประเทศ
4.2.5 อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
พัฒนาอุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศที่ไทยมีศักยภาพ เพื่อลดการพึ่งพาจากตางประเทศ
และพัฒนาตอยอดเปนอุตสาหกรรมสงออกตอไป โดยการตอยอดพัฒนาอุตสาหกรรมความมั่นคงดานตาง ๆ จาก
อุตสาหกรรมของประเทศที่ไทยมีความเขมแข็งอยูแลว รวมทั้งสงเสริมการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมที่

34
เกี่ยวของกับความมั่นคงดานตาง ๆ และเทคโนโลยีที่มีประโยชนในบริบทดานความมั่นคงและเชิงพาณิชย
ตลอดจนพั ฒ นาบุ ค ลากรทางด า นวิ จั ย และพั ฒนา การออกแบบ และการผลิ ต เพื ่ อ รองรั บ การเติ บ โตของ
อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ การพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการภัยพิบัติ ซึ่งรวมถึงระบบ
การเตือนภัย การเตรียมตัวรับภัยพิบัติ และการใหความชวยเหลือระหวางและหลังเกิดภัยพิบัติ พรอมทั้งการ
สรางอุตสาหกรรมที่สงเสริมความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร เพื่อลดผลกระทบจากภัยคุกคามไซเบอร ตอ
เศรษฐกิจและสังคม และปกปองอธิปไตยทางไซเบอร เพื่อรักษาผลประโยชนของชาติจากการทำธุรกิจดิจิทัล
สงเสริมการจัดหาพลังงานใหเพียงพอ เพื่อเปนฐานความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ พรอมไปกับการเพิ่ม
สัดสวนการใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ใหมีความสมดุลและเกิดความมั่นคง สามารถพึ่งพาตนเอง
ทางดานพลังงาน ตลอดจนพัฒนาอุตสาหกรรมดานพลังงานที่มีมูลคาเพิ่ม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีพลังงานใหม
และอุตสาหกรรมและบริการที่เกี่ยวเนื่อง การพัฒนาอุตสาหกรรมปองกันประเทศ รวมทั้งการผลิตยุทโธปกรณ
และยุทธภัณฑทางการทหาร ไปพรอมกับอุตสาหกรรมที่เปนเทคโนโลยีสองทาง และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับ
ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน

4.3 สรางความหลากหลายดานการทองเที่ยว
โดยรักษาการเปนจุดหมายปลายทางที่สำคัญของการทองเที่ยวระดับโลกที่ดึงดูดนักทองเที่ยวทุกระดับ
และเพิ่มสัดสวนของนักทองเที่ยวที่มีคุณภาพสูง มุงพัฒนาธุรกิจดานการทองเที่ยวใหมีมูลคาสูงเพิ่มมากยิ่งขึ้น
ดวยอัตลักษณและวัฒนธรรมไทย และใชประโยชนจากขอมูลและภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อสรางสรรคคุณคาทาง
เศรษฐกิจและความหลากหลายของการทองเที่ยวใหสอดรับกับทิศทางและแนวโนมของตลาดยุคใหม โดยการ
สรางและใชประโยชนจากขอมูลขนาดใหญ รวมทั้งเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสงเสริมการตลาด การดูแล
ความปลอดภัยและอำนวยความสะดวกแกนักทองเที่ยวทุกกลุม รวมถึงคนพิการและผูสูงอายุ การใชประโยชน
จากการทองเที่ยวใหเอื้อตอผลิตภัณฑชุมชนและเศรษฐกิจตอเนื่อง พัฒนาแหลงทองเที่ยวเดิมและสรางแหลง
ทองเที่ยวใหมที่มีเอกลักษณเฉพาะโดยคำนึงถึงศักยภาพของแตละพื้นที่ การสงเสริมการทองเที่ยวพำนักระยะ
ยาว ตลอดจนสงเสริมการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ระบบนิเวศ และทรัพยากรที่เอื้อตอการเติบโตของการ
ทองเที่ยวที่มีคุณภาพ เพื่อกระจายโอกาสในการสรางรายไดไปสูชุมชนและเมืองอยางทั่วถึงและยั่งยืน และ
พัฒนาการเชื่อมโยงการทองเที่ยวไทยกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค เพื่อการเปนแมเหล็กดึงดูดนักทองเที่ยวอยาง
ประทับใจตลอดการทองเที่ยวจนเกิดการทองเที่ยวซ้ำและแนะนำตอ

4.3.1 ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและวัฒนธรรม
สงเสริมธุรกิจการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและวัฒนธรรม โดยการสงเสริมการทองเที่ยวผานการ
สรางและพัฒนาสินคาและบริการดวยภูมิปญญาทองถิ่น ความคิดสรางสรรค และทุนทางวัฒนธรรม พรอมทั้ง
การสนับสนุนการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพัฒนาธุรกิจการทองเที่ยว การทำการตลาด และการบริหาร
จัดการสถานที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร วิถีชีวิต และวัฒนธรรม เพื่อใหการทองเที่ยวไทยมีเรื่องราวที่

35
เปนเอกลักษณ มีการคุมครองและปกปองดานทรัพยสินทางปญญาเพื่อการปองกันการลอกเลียนแบบ ซึ่งรวมถึง
การผลักดันใหเมืองประวัติศาสตร วัฒนธรรม และศิลปะ ไดรับการขึ้นทะเบียนดานการอนุรักษ และสงเสริมให
กาวสูเมืองที่ไดรับการยอมรับในเวทีสากล อันนำไปสูการสรางภาพลักษณและการจัดทำแผนพัฒนาเมืองและ
แหลงทองเที่ยวที่โดดเดน พรอมทั้งการสงเสริมการทองเที่ยวตามฤดูกาลและตามศักยภาพของพื้นที่ ทั้งการ
ทองเที่ยววิถีชุมชน การทองเที่ยวเชิงเกษตร การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ รวมทั้งการสงเสริมการทองเที่ยววิถีพุทธ
เพือ่ ใหประเทศไทยเปนจุดหมายปลายทางการทองเที่ยววิถีพุทธของโลก

4.3.2 ทองเที่ยวเชิงธุรกิจ
สรางแรงดึงดูดและสิ่งจูงใจใหไทยเปนจุดหมายปลายทางของการทองเที่ยวเชิงธุรกิจ โดยสงเสริม
การเปนศูนยกลางการจัดประชุมและนิทรรศการนานาชาติของโลก เนื่องจากไทยมีความไดเปรียบเชิงภูมิศาสตรที่
เหมาะแกการเดินทางเพื่อประกอบธุรกิจและการทองเที่ยว ทั้งยังมีความพรอมดานการบริการที่เปนเอกลักษณ
โดยพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ระบบขนสง ระบบดิจิทัลเพื่อการติดตอสื่อสาร
เพื่ออำนวยความสะดวกทั้งในการเดินทางเขามาเพื่อการประชุมและการสรางความรวมมือทางธุรกิจระหวางกัน
พรอมทั้งสงเสริมการขยายพื้นที่จุดหมายปลายทางของการจัดประชุมและนิทรรศการ และการพักผอนระหวาง
ประชุมจากเมืองหลักสูเมืองอื่นที่มีศักยภาพของไทย รวมถึงสรางพื้นที่หรือชองทางการจัดแสดงผลงานรูปแบบ
ตาง ๆ ทั้งการจัดแสดงผลงานจริงและในรูปแบบเสมือนจริง รวมถึงการสงเสริมใหการพักผอนระหวางการประชุม
เปนการจูงใจและตอยอดการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและวัฒนธรรมที่เนนรูปแบบการทองเที่ยวที่
ยั่งยืนและสงเสริมเศรษฐกิจชุมชน ตลอดจนการสนับสนุนการทองเที่ยวรูปแบบอื่นที่ไทยมีศักยภาพและเชื่อมโยง
เสนทางการทองเที่ยวในพื้นที่อื่น เพื่อใหเกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจรวมกัน ซึ่งรวมถึงการสรางรูปแบบและจูงใจ
การเดินทางเขามาประกอบธุรกิจและการทองเที่ยวดวยการอำนวยความสะดวกและมาตรการสนับสนุนตาง ๆ
พรอมทั้งการสรางความพรอมของธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่องในหวงโซธุรกิจ
4.3.3 ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแผนไทย
ผสาน “ศาสตร” และความชำนาญของการดูแลรักษาดวยภูมิปญญาไทย กับ “ศิลป” และความ
ละเอียดออนในการใหบริการแบบไทย เพื่อดึงดูดการทองเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย โดยยกระดับมาตรฐาน
ธุรกิจบริการดานการสงเสริมสุขภาพและการเสริมความงามสูตลาดระดับสูง โดยใชความคิดสรางสรรคและ
นวัตกรรม เพื่อใหเกิดเปนเอกลักษณการใหบริการตามแบบความเปนไทยที่โดดเดนในระดับสากล พรอมทั้งการ
สรางความหลากหลายของกิจกรรมสงเสริมสุขภาพที่ไดมาตรฐานเปนที่ยอมรับและเชื่อมโยงกับกิจกรรมการ
ทองเที่ยวอื่น ๆ รวมถึงการยกระดับมาตรฐานธุรกิจบริการดานการแพทยทางเลือก โดยผสานองคความรูจาก
เทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหมเขากับองคความรูและภูมิปญญาดั้งเดิมของไทย ผลิตบุคลากรดานแพทยแผน
ไทยและบริการเชิงสุขภาพอื่นที่มีทักษะภาษา และไดรับการรับรองมาตรฐานวิชาชีพใหเพียงพอตอทิศทางของ
การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ และการสงเสริมการจัดกิจกรรมทางการตลาดของการทองเที่ยวเชิงสุขภาพและ

36
การแพทยของไทยใหเปนที่รับรูในระดับโลก รวมทั้งการสงเสริมการจัดการนำเที่ยวเชิงสุขภาพครบวงจรที่
เชื่อมโยงกับการแพทยแผนปจจุบัน
4.3.4 ทองเที่ยวสำราญทางน้ำ
สงเสริมใหไทยเปนศูนยกลางการทองเที่ยวเชิงสำราญทางทะเลและชายฝง และเปนแหลง
ทองเที่ยววัฒนธรรมลุมน้ำที่มีเอกลักษณที่โดดเดน เนื่องจากไทยมีจุดเดนดานแหลงทองเที่ยวทางน้ำที่สวยงาม
และกิจกรรมการทองเที่ยวที่หลากหลาย ที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวผานการชื่นชมธรรมชาติ การรอยเรียง
เรื่องราวประวัติศาสตร วิถีชีวิต วัฒนธรรมไทย ตามเสนทางทองเที่ยวทางน้ำ ทั้งเรือสำราญและเรือยอรช ตาม
ชายฝงทะเลทั้งอันดามันและอาวไทย เกาะ แกง ที่สวยงาม รวมทั้งการทองเที่ยวตามแมน้ำลำคลอง นำไปสู
ศูนยกลางทองเที่ยวสำราญทางน้ำ โดยการปรับบทบาทของทาเรือในประเทศที่มีศักยภาพใหเปนทาเรือหลัก การ
มุงพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสาธารณูปโภคของทาเรือ มารีนา และทาเทียบเรือใหไดมาตรฐาน และการ
บริ ห ารจั ด การท า เรื อ ทั ้ ง ในเรื ่ อ งความสะอาด และการจั ด การความปลอดภั ย ของท า เรื อ และมารี น  า ที ่ได
มาตรฐานสากล รวมทั้งพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกในการทองเที่ยวตามแมน้ำลำคลองที่
สำคัญ และมีมาตรการกำกับดูแลความปลอดภัยในการเดินทาง รวมถึงการสงเสริมการเชื่อมโยงระบบเดินทาง
ทองเที่ยวภายในประเทศ ทั้งการเชื่อมโยงเสนทางทองเที่ยวทางน้ำใหเชื่อมตอกับการเดินทางทางบกและทาง
อากาศใหมีความสะดวกรวดเร็ว รวมทั้งสรางใหเกิดเสนทางและแหลงทองเที่ยวใหม และการจัดทำระบบ
ฐานขอมูลดานการทองเที่ยวทางน้ำ นำเทคโนโลยีมาใชอำนวยความสะดวกในการดำเนินธุรกิจกับกระบวนการ
ตรวจคนเขาเมืองที่มีประสิทธิภาพ และพัฒนาบุคลากรทุกภาคสวนใหมีความพรอม รวมถึงการใหความสำคัญกับ
การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติแหลงทองเที่ยว โดยคำนึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่การทองเที่ยว
4.3.5 ทองเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
ใชประโยชนจากที่ตั้งทางภูมิศาสตรในการเชื่อมโยงการทองเที่ยวกับตางประเทศ เพื่อขยายการ
ทองเที่ยวของไทยและภูมิภาคไปพรอมกัน ผานการเชื่อมโยงโครงสรางพื้นฐานและโลจิสติกสจากเมืองหลักสูเมือง
รอง เพื่อรองรับการเชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวไทยกับอาเซียนและอนุภูมิภาคลุมแมน้ำโขง ทั้งทางบก ทางน้ำ
และทางอากาศ โดยการจัดทำเสนทางทองเที่ยวเชื่อมโยงระหวางประเทศ ดังเชน เสนทางจุดรวมทางวัฒนธรรม
และประวัติศาสตร ที่เนนการพัฒนาการทองเที่ยวเชื่อมโยงและสงเสริมการทองเที่ยวรวมกับประเทศเพื่อนบาน
โดยใชประโยชนจากการพัฒนาเสนทางทางบก ทางราง ทางน้ำ และทางอากาศระหวางกันในภูมิภาค และ
สงเสริมความสัมพันธอันดีที่จะทำใหเกิดการทองเที่ยวที่ยั่งยืนรวมกัน พรอมทั้งการสงเสริมการทำการตลาด
รวมกันในเสนทางการทองเที่ยวระหวางประเทศใหสอดรับกับทิศทางและแนวโนมของตลาดยุคใหม ซึ่งรวมถึง
การพัฒนาแหลงทองเที่ยวเดิมและสรางแหลงทองเที่ยวใหมในประเทศ ใหเหมาะสมกับศักยภาพและบริบทของ
แตละพื้นที่ เพื่อรองรับการเชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวกับตางประเทศ และพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกใหมี
ความปลอดภัยและไดมาตรฐาน รวมทั้งปองกันและแกไขปญหาความเสื่อมโทรมของแหลงทองเที่ยว ทั้งแหลง
ทองเที่ยวตามธรรมชาติและทางประวัติศาสตรวัฒนธรรม พรอมทั้งการใชประโยชนจากการทองเที่ยวใหเอื้อตอ
ผลิตภัณฑชุมชน รวมทั้งอุตสาหกรรมและบริการตอเนื่อง เพื่อขยายโอกาสในการสรางรายไดไปสูเมืองและชุมชน

37
เพิ่มจากการทองเที่ยวของประเทศ และการสงเสริมการขยายธุรกิจและการทำตลาดทองเที่ยวของไทยใน
ตางประเทศ โดยใชประโยชนจากเทคโนโลยีตาง ๆ ที่สอดรับกับพฤติกรรมการทองเที่ยวรูปแบบใหม

4.4 โครงสรางพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก


โครงสรางพื้นฐานเปนสิ่งจำเปนสำหรับประเทศไทยในการกาวสูการเปนศูนยกลางเศรษฐกิจอาเซียน
และเปนจุดเชื่อมตอที่สำคัญของภูมิภาคเอเชีย ในยุคของการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีอยางรวดเร็วและ
รุนแรง โครงสรางพื้นฐานจะครอบคลุมถึงโครงสรางพื้นฐานทางกายภาพในดานโครงขายคมนาคม พื้นที่และ
เมือง รวมถึงเทคโนโลยี ตลอดจนโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่ออำนวยความสะดวกและลดตนทุนในการ
เคลื่อนยายสินคา บริการ เงินทุน บุคลากร และเชื่อมโยงประเทศไทยกับประชาคมโลก
4.4.1 เชื่อมโยงโครงขายคมนาคมไรรอยตอ
เชื่อมโยงโครงขายคมนาคมระดับภูมิภาคจากเอเชียตะวันออกถึงเอเชียใตอยางไรรอยตอ โดยมี
ไทยเปนจุดเชื่อมโยงหลักของการคมนาคมใหเปนระเบียงเศรษฐกิจแหงเอเชีย เพื่อเปนศูนยกลางการคมนาคม
การขนสง การกระจายสินคา การคา การลงทุน และการทองเที่ยว สอดรับกับการพัฒนาการเชื่อมโยงกับกลุม
เศรษฐกิจในระดับภูมิภาค โดยการพัฒนาโครงขายคมนาคมและโครงสรางพื้นฐานทั้งทางบก ทางน้ำ และทาง
อากาศ เพื่อรองรับการขนสงและโลจิสติกสตลอดหวงโซอุปทานของภูมิภาค โดยใหความสำคัญกับการขนสงทาง
น้ำและระบบรางมากขึ้น รวมถึงการพัฒนาและบูรณาการการใชทาอากาศยานหลักในสวนกลางและทาอากาศ
ยานในสวนภูมิภาคใหสอดคลองกับการเชื่อมโยงโครงขายทั้งในประเทศและตางประเทศมากขึ้น พรอมทั้งการ
วางโครงขายเสนทางการคมนาคมเชื่อมโยงสูเมืองหลักของภูมิภาคอยางไรรอยตอ เพื่อรองรับการเพิ่มจำนวนของ
เมืองและการขยายเมือง และเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบานและการพัฒนาระบบขนสงสาธารณะสมัยใหมและ
สิ่งอำนวยความสะดวกภายในเมืองใหมีความเชื่อมโยงกัน สงเสริมระบบขนสงสมัยใหม และพัฒนาพื้นที่โดยรอบ
สถานีระบบขนสงสาธารณะใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการสงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
เชื่อมโยงโครงขายคมนาคมและระบบโลจิสติกสใหมีมาตรฐานเดียวกัน และสรางความรวมมือในการอำนวยความ
สะดวกทางการคาระหวางกันในภูมิภาคใหงายและสะดวกมากที่สุด
4.4.2 สรางและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ใหเปนเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจและกระจายความเจริญสูภูมิภาค ยกระดับรายไดและ
คุณภาพชีวิตของประชาชน และแกปญหาความมั่นคงบริเวณชายแดน โดยการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออกใหมีความพรอมทางโครงสรางพื้นฐานที่จะทำใหไทยเปนศูนยกลางทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ
รวมทั้งเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมและนวัตกรรม พัฒนาเมืองและสงเสริมการทองเที่ยว รวมถึงการพัฒนาเขต
เศรษฐกิจตะวันตก เพื่อเชื่อมตอกับการพัฒนาภาคตะวันออก และภาคอื่น ๆ ตลอดจนเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ชายแดน ทั้งทางดานการคา การลงทุน และการทองเที่ยว โดยคำนึงถึงจุดเดนของแตละพื้นที่และการเสริมซึ่งกัน
และกันกับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจของประเทศเพื่อนบาน พรอมทั้งการจัดผังเมือง ระบบสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ การอำนวยความสะดวกทางการคาการลงทุน ทั้งในดานขอมูล แรงงาน และกฎระเบียบตาง ๆ

38
รวมทั้งมีมาตรการสนับสนุนใหเกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการเปาหมายที่มีการใชเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม และมีมูลคาเพิ่มสูง โดยตระหนักถึงความยั่งยืน
4.4.3 เพิ่มพืน้ ที่และเมืองเศรษฐกิจ
สร างศู นย ก ลางเศรษฐกิ จ และนวัตกรรมแหงใหมใ นสวนภูม ิภาคคูขนานกับการเติบ โตของ
กรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยยกระดับจังหวัดสำคัญของไทย สงเสริมการพัฒนาในเชิงพื้นที่ พัฒนาเศรษฐกิจ
ควบคูไปกับการพัฒนาเมือง และสรางเมืองเศรษฐกิจเฉพาะดานเพื่อสงเสริมการสรางคลัสเตอรของเกษตร
อุตสาหกรรม และบริการ ภายใตระบบนิเวศที่เอื้อตอการสรางนวัตกรรมซึ่งมีมหาวิทยาลัยแตละภูมิภาค
สถาบันการศึกษาทองถิ่น และทุกภาคสวนมีสวนรวมเปนแรงขับเคลื่อน การยกระดับจังหวัดสำคัญเปนเมือง
เศรษฐกิจประจำภาค เพื่อเปนศูนยกลางเศรษฐกิจในแตละภาคที่เชื่อมตอกับเมืองเศรษฐกิจอื่นและเศรษฐกิจ
ประเทศเพื่อนบาน และกระจายศูนยกลางการพัฒนาเศรษฐกิจไปสูภาคตาง ๆ ของไทย การสรางเมืองเศรษฐกิจ
เฉพาะดานโดยอาศัยความไดเปรียบที่แตกตางกันของแตละจังหวัด ซึ่งชวยสงเสริมการพัฒนาคลัสเตอรของ
เกษตรอุตสาหกรรม และบริการ พรอมทั้งการสงเสริมและพัฒนาเมืองสรางสรรค เพื่อใหเมืองเปนเครื่องมือใน
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดึงดูดการลงทุนใหม โดยการสงเสริมใหเมืองเปนเจาภาพจัดเทศกาลความคิดสรางสรรค
และวัฒนธรรมระดับสากล โดยใหความสำคัญกับการใชมหาวิทยาลัยในแตละภูมิภาค และสถาบันการศึกษา
ทองถิ่น ขับเคลื่อนองคความรูดานนวัตกรรม เพื่อใหเปนศูนยกลางเศรษฐกิจในแตละภาค
4.4.4 พัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานเทคโนโลยีสมัยใหม
สนับสนุนใหเกิดระบบนิเวศในการรวมสรางงานวิจัยและนวัตกรรมจากภาคเอกชน มหาวิทยาลัย
และหนวยงานวิจัยหรือมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก เพื่อสรางและถายทอดเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานและเทคโนโลยี
ขั้นสูง เพื่อการใชประโยชนในเชิงพาณิชยไดจริง ตอบสนองความตองการของผูใชทั้งในภาครัฐและเอกชน พรอม
ทั้งการสรางระเบียงทางดวนดิจิทัล และเสริมสรางความรูและโอกาสในการเขาถึงโครงขายบรอดแบนดหลาก
รูปแบบตามความเหมาะสมของพื้นที่ โดยมีรูปแบบการเชื่อมโยงดานดิจิทัลที่เปนมาตรฐานเดียวกันในระดับสากล
ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงการวางกรอบในการจัดการทรัพยากรคลื่นความถี่ใหเพียงพอรองรับบริการที่มี
คุณภาพในราคาที่ประชาชนทั่วไปเขาถึงได มีการสนับสนุนธุรกิจแบบแพลตฟอรม ที่ทำใหเกิดการสรางงาน
บริการในโลกดิจิทัลใหม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงานบริการและบริหารของภาครัฐและเอกชน และสรางความ
มั่นคงในการเชื่อมโยงเครือขายดิจิทัลเชื่อมตอกับโลก และการสนับสนุนและเรงรัดการนำวิทยาศาสตรขอมูล
ปญญาประดิษฐและหุนยนต การออกแบบที่คำนึงถึงผูใชเปนศูนยกลาง มาใชในภาคการผลิตและบริการ เพื่อเพิ่ม
ความสามารถในการแขงขันในรูปแบบที่ทุกคนสามารถเขาถึงและใชประโยชนจากขอมูลหลากหลายแหลงใหเกิด
ประโยชนสูงสุดในการเพิ่มศักยภาพคนในสังคมดวยการเขาถึงความรู เครื่องมือบนพื้นฐานของธรรมาภิบาลขอมูล
ซึ่งครอบคลุมความปลอดภัยไซเบอร ความมีจริยธรรม และการไมละเมิดสิทธิสวนบุคคล รวมทั้งการเสริมสราง
ความมั่นคงดานพลังงาน โดยการจัดหาและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานพลังงาน บริหารจัดการพลังงานใหมี
ประสิทธิภาพและมีการแขงขันอยางเปนธรรม มีราคาที่เหมาะสม และการสรางโครงสรางพื้นฐานที่รองรับการใช
พลังงานในรูปแบบตาง ๆ เพื่อสนับสนุนภาคการผลิต บริการ และการขนสง รวมทั้งสงเสริมการใชพลังงาน
ทดแทนและพลังงานทางเลือกในสัดสวนที่มากขึ้น ตลอดจนพัฒนาระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ สรางและ
รวบรวมผูเชี ่ยวชาญทั้งในและตางประเทศ ทางดานวิ ท ยาศาสตร และเทคโนโลยีท ั้งในมหาวิทยาลั ย และ
หนวยงานวิจัยผานการสรางแรงจูงใจตาง ๆ เพื่อใหมีความพรอมกับการประยุกตใชเทคโนโลยีชั้นสูงในอนาคต

39
รวมทั้งการสรางผลงานที่ชวยใหผูประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถนำไปพัฒนาตอยอดในการสราง
ความสามารถในการแขงขันของประเทศอยางเต็มที่
4.4.5 รักษาและเสริมสรางเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
ดำเนินกรอบนโยบายการเงินและการคลังที่ยืดหยุนที่พรอมรองรับความผันผวนทางเศรษฐกิจจาก
ปจจัยภายในและภายนอก และพัฒนานโยบายใหสอดคลองกับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของสถานการณโลก
และการดำเนินธุรกิจในอนาคต เพื่อใหเศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพเหมาะสำหรับการดำเนินและลงทุนทางธุรกิจ
เชื่อมโยงการคาการลงทุนของไทยกับตางประเทศ เพื่อพัฒนาไปสูการเปนชาติการคาในอนาคต และสนับสนุน
การเขาถึงบริการทางการเงินอยางสมดุล โดยการสรางภูมิคุมกันใหเศรษฐกิจไทยทามกลางความผันผวนของ
เศรษฐกิจโลก โดยสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจและการเงินชุมชน ขยายความรวมมือทางการคาและการ
ลงทุนเพื่อเปดตลาดใหมที่มีศักยภาพ เพื่อรวมมือกันในการพัฒนาจากการผลิตไปสูตลาดเพื่อสงเสริมการเปนชาติ
การคาอยางครบวงจร พรอมทั้งการรักษาความยั่งยืนทางการคลัง เพื่อสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจอยาง
มั่นคงและยั่งยืน ดวยการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดสรรงบประมาณเชิงรุก เชิงยุทธศาสตร และเชิงพื้นที่ การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจัดเก็บรายไดภาครัฐ ขยายฐานภาษี และดำเนินการจัดเก็บภาษีรายการใหมใหครอบคลุมบริบท
ทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว การรักษาเสถียรภาพการเงิน เพื่อสรางภาวะแวดลอมที่เอื้อตอการ
ลงทุนและการดำเนินธุรกิจ โดยดูแลเสถียรภาพระบบการเงินและเสถียรภาพราคา โดยมีกรอบการดำเนิน
นโยบายการเงินที่โปรงใสและยืดหยุน สงเสริมใหกลไกตลาดการเงินทำงานอยางมีประสิทธิภาพ ภาครัฐและ
เอกชนมีเครื่องมือพรอมปองกันความเสี่ยง และมีกลไกเชิงสถาบันในการดูแลเสถียรภาพระบบการเงินใน
ภาพรวมไดอยางครอบคลุมและการสงเสริมประสิทธิภาพของระบบการเงิน สงเสริมการแขงขันระหวางผู
ใหบริการทางการเงินดานตาง ๆ สรางบรรยากาศที่เอื้อตอการนำเทคโนโลยีมาใชในการใหบริการทางการเงิน
พัฒนาโครงสรางพื้นฐานกลางทางการเงิน ปรับปรุงกฎเกณฑที่เปนอุปสรรคตอการสรางนวัตกรรมในภาคการเงิน
และการประกอบธุรกิจของภาคเอกชน

4.5 พัฒนาเศรษฐกิจบนพืน้ ฐานผูประกอบการยุคใหม


สรางและพัฒนาผูประกอบการยุคใหม ไมวาจะเปนผูประกอบการรายใหญ กลาง เล็ก วิสาหกิจเริ่มตน
วิสาหกิจชุมชน หรือวิสาหกิจเพื่อสังคม รวมทั้งเกษตรกร ใหเปนผูประกอบการยุคใหมที่มีทักษะและจิตวิญญาณ
ของการเปนผูประกอบการที่มีความสามารถในการแขงขันและมีอัตลักษณชัดเจน โดยมีนวัตกรรมใน 3 ดาน คือ
นวัตกรรมในการสรางโมเดลธุรกิจ นวัตกรรมในเชิงสินคาและบริการ และนวัตกรรมในเชิงกระบวนการผลิตและ
บริการ พรอมทั้งเปนนักการคาที่เขมแข็งที่จะนำไปสูการสนับสนุนการเปนชาติการคา มีความสามารถในการ
เขาถึงตลาดทั้งในและตางประเทศ เปนผูประกอบการที่ “ผลิตเกง ขายเกง” หรือ “ซื้อเปน ขายเปน” บริการ
เปนเลิศ สามารถขยายการคาและการลงทุนไปตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมใหผูประกอบการมีธรรมาภิบาล
4.5.1 สรางผูประกอบการอัจฉริยะ
สรางและพัฒนาผูประกอบการที่มีความสามารถในการสรางและใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ตลอดกระบวนการการผลิตและบริการ การจัดการ และการตลาด สามารถบริหารจัดการธุรกิจและบริการไดอยาง
มีประสิทธิภาพและโปรงใส โดยการสรางและพัฒนาทักษะ องคความรูรอบดานที่จำเปนตอการประกอบธุรกิจใน
ยุคใหมที่มีการแขงขันสูง รวมทั้งทักษะในการวิเคราะหและใชประโยชนจากขอมูลเพื่อการวางแผนธุรกิจและ
สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงทางธุรกิจได ไปพรอมกับการวางรากฐานการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ

40
ใหกับเยาวชนรุนใหมใหมีทักษะและจิตวิญญาณในการประกอบการ พรอมทั้งการสงเสริมผูประกอบการในการ
สรางนวัตกรรม เพื่อสรางความแตกตางของสินคาและบริการ และนำไปสูการพัฒนาตอยอดดานเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมที่สนับสนุนการสรางมูลคาเพิ่มทางธุรกิจหรืออุตสาหกรรมอนาคต ตลอดจนการผลิตที่เปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม รวมถึงการสรางทักษะพื้นฐานที่จำเปนและความถนัดที่แตกตางและหลากหลายของแรงงาน โดย
เฉพาะที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีและธุรกิจรูปแบบใหมในอนาคต และการสนับสนุนผูประกอบการในการสราง
และพัฒนาสินคาและบริการใหมีคุณภาพมาตรฐานสอดคลองกับความตองการของผูบริโภคและสามารถเชื่อมโยง
การผลิตกับผูประกอบการรายใหญ โดยสรางระบบและกลไกที่ทำใหเกิดความเชื่อมโยงของหวงโซมูลคาเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการผลิต การขนสงและโลจิสติกสเพื่อลดตนทุนและใหผลผลิตออกสูตลาด
อยางสม่ำเสมอ และการสงเสริมการรวมกลุมใหเกิดคลัสเตอรที่เขมแข็ง ผูประกอบการสามารถเกื้อหนุนและ
เชื่อมโยงกันทั้งในแนวตั้งและแนวนอน เพื่อเพิ่มอำนาจการตอรองในตลาดที่สูงขึ้น และลดตนทุนการผลิตลง โดย
การพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะดานในกลุมของตน
4.5.2 สรางโอกาสเขาถึงบริการทางการเงิน
สงเสริมการเขาถึงบริการทางการเงินของผูประกอบการ โดยการจัดหาแหลงเงินทุนและสนับสนุน
ใหมีชองทางทางการเงินที่หลากหลายและนาเชื่อถือ การพัฒนาผลิตภัณฑทางการเงินและการบริหารความเสี่ยง
เพื่อตอบสนองความตองการที่เหมาะสมกับแตละกลุม การที่ทุกภาคสวนสามารถเขาถึงบริการทางการเงินดวย
ตนทุนที่เหมาะสม โดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาชวยเพิ่มความสะดวกในการเขาถึงแหลงเงินทุน การพัฒนา
ระบบประเมิ น มู ล ค า ทรั พ ย ส ิ น ในรู ป แบบต า ง ๆ เพื ่ อ ใช เ ป น หลั ก ประกั น ทางธุ ร กิ จ ในการขอสิ น เชื่ อ ของ
ผูประกอบการ และการมีระบบการประเมินความนาเชื่อถือทางเครดิต และระบบการรูจักลูกคาที่สะดวกมากขึ้น
โดยใชประโยชนจากขอมูลทั้งดานการเงินและที่มิใชการเงิน เพื่อเปนขอมูลบงชี้สถานะและประวัติดานเครดิต
ประกอบการพิจารณาของสถาบันการเงินหรือตลาดทุน
4.5.3 สรางโอกาสเขาถึงตลาด
สนับสนุนและสรางโอกาสใหผูประกอบการสามารถเขาสูตลาดทั้งในและตางประเทศตามระดับ
ศักยภาพการประกอบการ โดยการสนับสนุนผูประกอบการใหมีอัตลักษณและแบรนดที่เดนชัด รวมทั้งพัฒนา
บรรจุภัณฑสินคาที่มีคุณภาพและมีความแตกตาง เพื่อสงเสริมการเขาถึงตลาดตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในตลาด
ตางประเทศ รวมทั้งแพลตฟอรมในการแสดงผลงานของธุรกิจสรางสรรค การใหความสำคัญกับการผลิตโดยใช
ตลาดนำที่คำนึงถึงความตองการของตลาดโดยเฉพาะตลาดที่มีมูลคาสูง การสนับสนุนชองทางการตลาดและการ
ชำระเงินรูปแบบใหม โดยการสรางตลาดออนไลน แอพพลิเคชันและชองทางใหมรองรับไลฟสไตลของคนใน
อนาคต การสรางโอกาสใหผูประกอบการสามารถเขาถึงตลาดจัดซื้อจัดจางภาครัฐไดมากขึ้น และการพัฒนาศูนย
กระจายสินคาที่มีมาตรฐานในทุกภูมิภาคของไทย และพัฒนานวัตกรรมการกระจายสินคาโดยการพัฒนา
กระบวนการใหทันสมัยดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมและธุรกิจใน
อนาคต

41
4.5.4 สรางโอกาสเขาถึงขอมูล
อนาคตของโลกไรพรมแดนคือการแขงขันบนฐานขอมูล จึงตองสรางโอกาสใหผูประกอบการ
สามารถเขาถึงขอมูลขาวสารที่จำเปนและเปนขอมูลที่ทันสมัยเพื่อการวางแผนธุรกิจ โดยการสรางโอกาสให
ผูประกอบการสามารถเขาถึงและใชประโยชนจากเทคโนโลยีและฐานขอมูลขนาดใหญผานระบบออนไลน เพื่อ
ตอยอดพัฒนาธุรกิจเดิมและสรางธุรกิจใหม การสรางและพัฒนาศูนยบริการขอมูลผูประกอบการ เพื่อเปน
ชองทางหลักในการใหขอมูลและคำปรึกษาแกผูประกอบการ และเปนแหลงรวมที่ปรึกษาทางธุรกิจ การพัฒนา
ระบบฐานขอมูลและสรางระบบเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐใหมีมาตรฐานเดียวกัน รวมถึงฐานขอมูล
ความรูวิจัยและนวัตกรรม โดยเปนขอมูลที่มีความทันสมัย บูรณาการ และตอเนื่อง เพื่อประโยชนในการสืบคน
ตอยอดในทุก ๆ ดาน และการกำหนดนโยบายที่เหมาะสมตอการพัฒนาผูประกอบการ การสนับสนุนการสราง
และพัฒนาแพลตฟอรมกลาง ทั้งในดานการผลิต การบริหารจัดการ การตลาด ที่ผูประกอบการสามารถเขาถึง
และใชประโยชนรวมกันในการวางแผนธุรกิจในอนาคต เพื่อลดตนทุนของทั้งภาครัฐและเอกชน และการ
สนับสนุนใหเกิดพื้นที่ทำงานรวม สำหรับผูประกอบการ เพื่อลดตนทุนและเปนแหลงแลกเปลี่ยนนวัตกรรมและ
เชื่อมตอธุรกิจระหวางกันอีกทางหนึ่ง
4.5.5 ปรับบทบาทและโอกาสการเขาถึงบริการภาครัฐ
ในการพั ฒ นาและบู ร ณาการกลไกภาครั ฐ เพื่ อ เพิ ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการสง เสริม และพัฒนา
ผูประกอบการใหสามารถแขงขันไดอยางยั่งยืน โดยเนนประเด็นการเริ่มตนธุรกิจ การขออนุญาตตาง ๆ การจด
ทะเบียนทรัพยสิน กระบวนการขอและไดรับสินเชื่อ การคุมครองผูลงทุน การชำระภาษี และการคาระหวาง
ประเทศ รวมทั้งการพัฒนาระบบคุณภาพของชาติ ทั้งระบบมาตรฐานผลิตภัณฑ ระบบมาตรวิทยา ระบบทดสอบ
และระบบรับรองคุณภาพ ใหมีประสิทธิภาพ รองรับภาคการผลิตและบริการ รวมทั้งการสรางและพัฒนา
โครงสรางพื้นฐานดานมาตรฐาน เชน ศูนยทดสอบกลางสำหรับสินคาเกษตรและอุตสาหกรรม และศูนยตรวจ
รับรองคุณภาพมาตรฐานสินคาและบริการในระดับสากล โดยใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทในการดำเนินการ
มากขึ้น พรอมทั้งการสรางระบบและศูนยบมเพาะผูประกอบการใหมีความเปนอัจฉริยะ โดยบูรณาการการทำงาน
รวมกันระหว างภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา และสถาบันวิชาการ และพั ฒนาศู นย การเรียนรูและให
คำปรึกษาทางดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของภาคการผลิตและบริการทั้งในระดับสวนกลางและชุมชน พรอม
ทั้งการสงเสริมการจัดการพัฒนาบุคลากรทางเทคโนโลยีชั้นสูงใหมีประสิทธิภาพและมีความคลองตัวในการ
ปฏิบัติงาน และการสงเสริมและสนับสนุนใหผูประกอบการทำธุรกิจอยางเกื้อหนุนกันระหวางผูประกอบการที่มี
ขนาดและศักยภาพตางกัน โดยมีระบบจูงใจใหเกิดการถายทอดเทคโนโลยีและการพัฒนารวมกัน ตลอดจน
ผลักดันการเจรจาจัดทำความตกลงทางการคาและความรวมมือระหวางประเทศ เพื่อสรางโอกาสทางเศรษฐกิจ

42
ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
1. บทนำ
ทรัพยากรมนุษยเปนปจจัยขับเคลื่อนสำคัญในการยกระดับการพัฒนาประเทศในทุกมิติไปสูเปาหมาย
การเปนประเทศที่พัฒนาแลวที่ขับเคลื่อนโดยภูมิปญญาและนวัตกรรมในอีก 20 ปขางหนา ดังนั้น จึงจำเปนตองมี
การวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศอยางเปนระบบ โดยจำเปนตองมุงเนนการพัฒนาและ
ยกระดับคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนทรัพยากรมนุษยที่ดี เกง และมีคุณภาพพรอมขับเคลื่อนการพัฒนา
ประเทศไปข างหน าได อย างเต็มศั กยภาพ ซึ่ง “คนไทยในอนาคตจะตองมีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญญา
มีพัฒนาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น มัธยัสถ
อดออม โอบออมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกตอง มีทักษะที่จำเปน
ในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษภาษาทองถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู
และการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคนไทย ที่มีทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ
เกษตรกรยุคใหมและอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง”
ดังนั้น เพื่อใหทรัพยากรมนุษยในทุกมิติและในทุกชวงวัยสามารถไดรับการพัฒนาและยกระดับไดเต็ม
ศักยภาพและเหมาะสม ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษยจึงไดกำหนด
ประเด็นยุทธศาสตรที่เนนทั้งการแกไขปญหาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในปจจุบัน และการเสริมสรางและ
ยกระดั บ การพั ฒ นา ที ่ ใ ห ค วามสำคั ญ ที ่ ค รอบคลุ ม ทั ้ ง ในส ว นของการพั ฒ นาทุ น มนุ ษ ย และป จ จั ย และ
สภาพแวดลอมที่เกี่ยวของเพื่อสรางระบบนิเวศที่เอื้อตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยางครอบคลุม ประกอบดวย
การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ควบคูกับการปฏิรูปที่สำคัญทั้งในสวนของการปรับเปลี่ยนคานิยมและ
วัฒนธรรม เพื่อใหคนมีความดีอยูใน ‘วิถี’ การดำเนินชีวิตและมีจิตสำนึกรวมในการสรางสังคมที่นาอยู และมี
การปฏิรูปการเรียนรูแบบพลิกโฉม ในทุกระดับตั้งแตระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรูตลอดชีวิต โดยการพัฒนาระบบ
การเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีการออกแบบระบบการเรียนรูใหม การเปลี่ยน
บทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิตเพื่อพัฒนา
ผูเรียนใหสามารถกำกับการเรียนรูที่เหมาะสมกับตนเองไดอยางตอเนื่องแมจะออกจากระบบการศึกษาแลว รวมถึง
ความตระหนักถึงพหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย ตลอดจนพัฒนาและรักษากลุมผูมีความสามารถพิเศษของ
พหุปญญาแตละประเภท และการปฏิรูประบบเสริมสรางความรอบรูและจิตสำนึกทางสุขภาพ เพื่อใหคนไทย
มี ศ ั กยภาพในการจัดการสุ ขภาวะที่ ดีได ด วยตนเอง พรอมกับการสรางสภาพแวดลอมที่เอื้ อต อการพั ฒนา
และเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ทั้งการเสริมสรางครอบครัวที่เขมแข็งอบอุนซึ่งเปนการวางรากฐาน
การสงตอเด็กและเยาวชนที่มีคุณภาพสูการพัฒนาในชวงอายุถัดไป โดยการสงเสริมการเกิดที่มีคุณภาพ การสราง
ครอบครัวที่เหมาะสมกับคนรุนใหม การสงเสริมบทบาทในการมีสวนรวมพัฒนาคน การพัฒนาระบบฐานขอมูล
เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีความเชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยระหวาง
กระทรวง/หนวยงานที่เกี่ยวของ และการเสริมสรางศักยภาพการกีฬาในการสรางคุณคาทางสังคมและพัฒนา

43
ประเทศในการใชกิจกรรมนันทนาการและกีฬาเปนเครื่องมือในการเสริมสรางสุขภาวะของประชาชนอยาง
ครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน รวมถึงการพัฒนาทักษะดานกีฬาสูความเปนเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพ

2. เปาหมาย
2.1 คนไทยเปนคนดี คนเกง มีคุณภาพ พรอมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21
2.2 สังคมไทยมีสภาพแวดลอมที่เอื้อและสนับสนุนตอการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต

3. ตัวชี้วัด
3.1 การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเปนอยูที่ดีของคนไทย
3.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต
3.3 การพัฒนาสังคมและครอบครัวไทย

4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
4.1 การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม
มุงเนนใหสถาบันทางสังคมรวมปลูกฝงคานิยมวัฒนธรรมที่พึงประสงค โดยบูรณาการรวมระหวาง
“ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา และสื่อ” ในการหลอหลอมคนไทยใหมีคุณธรรม จริยธรรม ในลักษณะที่
เปน ‘วิถี’ การดำเนินชีวิต
4.1.1 การปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมผานการเลี้ยงดูในครอบครัว
โดยสงเสริมใหครอบครัวมีความอบอุน ดำเนินชีวิตโดยยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม มัธยัสถ อด
ออม ซื่อสัตย และแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดกิจกรรมที่ชวยเสริมสรางคุณลักษณะดังกลาว
รวมทั้งการพัฒนาพอแมใหเปนแบบอยางที่ดีในการดำเนินชีวิต
4.1.2 การบูรณาการเรื่องความซื่อสัตย วินัย คุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอนใน
สถานศึกษา
โดยให ส ถานศึ ก ษาสอดแทรกการปลู ก ฝ ง คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และการมี จ ิ ต สาธารณะ
เขาไปในทุกสาระวิชาและในทุกกิจกรรม รวมทั้งปรับสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาใหเอื้อตอ
การมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมถึงการรักษาขนบธรรมเนียมและประเพณีอันดีงาม
4.1.3 การสรางความเขมแข็งในสถาบันทางศาสนา
เพื่อเผยแผหลักคำสอนที่ดีงามใหแกประชาชน โดยพัฒนา ผูเผยแผศาสนาใหประพฤติปฏิบัติตัว
เปนแบบอยางตาม คำสอนที่ถูกตองของแตละศาสนา รวมทั้งมีการเผยแผหลักธรรมคำสอนทางศาสนาที่
สอดคลองกับการดำเนินชีวิตที่เขาใจงาย และสามารถนำไปปฏิบัติไดจริง

44
4.1.4 การปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมโดยใชชมุ ชนเปนฐาน
โดยการพัฒนาผูนำชุมชนใหเปนตนแบบของการมีคุณธรรมจริยธรรม การสรางความเขมแข็งให
ชุมชนในการจัดกิจกรรมสาธารณประโยชน การจัดระเบียบสังคม และการนำเยาวชนเขามามีสวนรวมในการทำ
กิจกรรม รวมถึงการลงโทษผูละเมิดบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม
4.1.5 การสรางคานิยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงคจากภาคธุรกิจ
โดยกระตุนใหภาคธุรกิจมีการบริหารจัดการอยางมีธรรมาภิบาล พัฒนาสรางความรูสึกรับผิดชอบ
ตอสังคมของคนทุกคนในบริษัททั้งพนักงานและลูกคา ปรับเปลี่ยนทัศนคติการคำนวณผลตอบแทนใหคำนึงถึง
ตนทุนทางสังคม สงเสริมการจัดกิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม รวมทั้งกระตุนใหเกิดการประกอบธุรกิจเพื่อสังคม
4.1.6 การใชสื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝงคานิยมและวัฒนธรรมของคนในสังคม
โดยสงเสริมใหสื่อและสื่อสารมวลชนปฏิบัติตามจรรยาบรรณสื่ออยางเครงครัด การจัดเวลาและ
พื้นที่ออกอากาศใหแกสื่อสรางสรรค ในชวงเวลาที่มีผูชมมากที่สุด รวมทั้งการสงเสริมการใชสื่อออนไลนและ
เครือขายสังคมออนไลนอยางสรางสรรค นำเสนอตัวอยางของการมีคุณธรรม จริยธรรม และการมีจิตสาธารณะ
เพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค
4.1.7 การสงเสริมใหคนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบตอสวนรวม
โดยสรางความตระหนักใหประชาชนรูจักหนาที่ของตนเอง การตรงตอเวลา การยอมรับความ
หลากหลาย เห็นคุณคาและความสำคัญในการประกอบสัมมาอาชีพหรือมีงานทำ เนนการพึ่งพาตนเอง และมี
ความรับผิดชอบตอสังคมและตอผูอื่น และเปนพลเมืองที่ดี และสงเสริมใหมีวัฒนธรรมการทำงานเพื่อสวนรวม
สนับสนุน สงเสริม เปาหมายของประเทศและยุทธศาสตรชาติ

4.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต
มุงเนนการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกชวงวัย ตั้งแตชวงการตั้งครรภ ปฐมวัย วัยเด็ก วัยรุน วัยเรียน วัย
ผูใหญ วัยแรงงาน และวัยผูสูงอายุ เพื่อสรางทรัพยากรมนุษยที่มีศักยภาพ มีทักษะความรู เปนคนดี มีวินัย เรียนรู
ไดดวยตนเองในทุกชวงวัย มีความรอบรูทางการเงิน มีความสามารถในการวางแผนชีวิตและการวางแผนทาง
การเงินที่เหมาะสมในแตละชวงวัย และความสามารถในการดำรงชีวิตอยางมีคุณคา รวมถึงการพัฒนาและปรับ
ทัศนคติใหคนทุกชวงวัยที่เคยกระทำผิดไดกลับมาใชชีวิตในสังคมไดอยางสงบสุขและเปนกำลังสำคัญในการ
พัฒนาประเทศ
4.2.1 ชวงการตั้งครรภ/ปฐมวัย
เนนการเตรียมความพรอมใหแกพอแมกอนการตั้งครรภ สงเสริมอนามัยแมและเด็กตั้งแตเริ่ม
ตั้งครรภ สงเสริมการเกิดอยางมีคุณภาพ สนับสนุนการเลี้ยงลูกดวยนมแม การสงเสริมการใหสารอาหารที่จำเปน
ตอสมองเด็ก และใหมีการลงทุนเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีพัฒนาการที่สมวัยในทุกดาน
4.2.2 ชวงวัยเรียน/วัยรุน
ปลูกฝงความเปนคนดี มีวินัย พัฒนาทักษะความสามารถการเรียนรูที่สอดรับกับทักษะในศตวรรษ
ที่ 21 โดยเฉพาะทักษะดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห ความสามารถในการแกปญหาที่ซับซอน มีภูมิคุมกันตอ
ปญหาหรืออาชญากรรมตาง ๆ มีความคิดสรางสรรค มีความสามารถในการทำงานรวมกับผูอื่น มีความยืดหยุน
ทางความคิด รวมถึงทักษะดานภาษา ศิลปะ และความสามารถในการใชเทคโนโลยี และไดรับการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพสอดคลองกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพื้นฐานการเรียนรูเพื่อการ
วางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมในแตละชวงวัยและนำไปปฏิบัติได ตลอดจนการพัฒนาทักษะ

45
การเรียนรูที่เชื่อมตอกับโลกการทำงาน รวมถึงทักษะอาชีพที่สอดคลองกับความตองการของประเทศ มีทักษะ
ชีวิต สามารถอยูรวมและทำงานกับผูอื่นไดภายใตสังคมที่เปนพหุวัฒนธรรม
4.2.3 ชวงวัยแรงงาน
ยกระดับศักยภาพ ทักษะ และสมรรถนะแรงงานอยางตอเนื่องสอดคลองกับความสามารถเฉพาะ
บุคคล และความตองการของตลาดแรงงาน มีการทำงานตามหลักการทำงานที่มีคุณคาเพื่อสรางผลิตภาพเพิ่ม
ใหกับประเทศ มีวัฒนธรรมการทำงานที่พึงประสงค มีความรูความเขาใจและมีทักษะทางการเงินเพื่อใหสามารถ
บริหารจัดการการเงินของตนเองและครอบครัว มีการวางแผนทางการเงินและมีการออม การรับผิดชอบของพอ
แมตอครอบครัว มีการพัฒนาระบบการเรียนรู และการอำนวยความสะดวกดานความรู เพื่อพัฒนาความรู
แรงงานฝมือ ความชำนาญพิเศษ การเปนผูประกอบการใหม และการพัฒนาตอยอดความรูในการสรางสรรคงาน
ใหม ๆ รวมทั้งมาตรการขยายอายุการทำงาน
4.2.4 ชวงวัยผูส ูงอายุ
สงเสริมใหผูสูงอายุเปนพลังในการขับเคลื่อนประเทศ สงเสริมใหมีการทำงานหลังเกษียณ ผาน
การเสริมทักษะการดำรงชีวิต ทักษะอาชีพในการหารายได มีงานทำที่เหมาะสมกับศักยภาพ มีการสรางเสริม
สุขภาพ ฟนฟูสุขภาพ การปองกันโรคใหแกผูสูงอายุ พรอมกับจัดสภาพแวดลอมใหเปนมิตรกับผูสูงอายุ และ
หลักประกันทางสังคมที่สอดคลองกับความจำเปนพื้นฐานในการดำรงชีวิต การมีสวนรวมของผูสูงอายุในสังคม

4.3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรูทตี่ อบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21


โดยมุงเนนผูเรียนใหมีทักษะการเรียนรูและมีใจใฝเรียนรูตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรูใหม
การเปลี่ยนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรูตลอด
ชีวิต การสรางความตื่นตัวใหคนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางตำแหนงของประเทศไทย
ในภูมิภาคเอเชียอาคเนยและประชาคมโลก การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรูโดยใชดิจิทัลแพลตฟอรม
และการสรางระบบการศึกษาเพื่อเปนเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ
4.3.1 การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรูใหเอื้อตอการพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21
โดยออกแบบกระบวนการเรี ยนรู ในทุกระดับชั้ นอยางเป นระบบ ตั้ งแตร ะดับปฐมวัยจนถึง
อุดมศึกษาที่มุงเนนการใชฐานความรูและระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ อาทิ ความรูทางวิทยาศาสตรและการ
ตั้งคำถาม ความเขาใจและความสามารถในการใชเทคโนโลยี ความรูทางวิศวกรรมศาสตรและการคิดเพื่อหาทาง
แกปญ หา ความรู  แ ละทั ก ษะทางศิ ล ปะ และความรูด านคณิ ตศาสตร แ ละระบบคิ ดของเหตุผ ลและการหา
ความสัมพันธ การพัฒนาระบบการเรียนรูเชิงบูรณาการที่เนนการลงมือปฏิบัติ มีการสะทอนความคิด/ทบทวน
ไตรตรอง การสรางผูเรียนใหสามารถกำกับการเรียนรูของตนได การหลอหลอมทักษะการเรียนรูและความคิด
สรางสรรคที่ผูเรียนสามารถนำองคความรูไปใชในการสรางรายไดหลายชองทาง รวมทั้งการเรียนรูดานวิชาชีพ
และทักษะชีวิต
4.3.2 การเปลี่ยนโฉมบทบาท ‘ครู’ใหเปนครูยคุ ใหม
โดยปรับบทบาทจาก “ครูสอน” เปน “โคช” หรือ “ผูอำนวยการการเรียนรู” ทำหนาที่กระตุน
สรางแรงบันดาลใจ แนะนำวิธีเรียนรูและวิธีจัดระเบียบการสรางความรู ออกแบบกิจกรรมและสรางนวัตกรรม
การเรียนรูใหผูเรียน และมีบทบาทเปนนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรูเพื่อผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน รวมทั้งปรับ
ระบบการผลิตและพัฒนาครูตั้งแตการดึงดูด คัดสรร ผูมีความสามารถสูงใหเขามาเปนครูคุณภาพ มีระบบการ
พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอยางตอเนื่องครอบคลุมทั้งเงินเดือน เสนทางสายอาชีพ การสนับสนุนสื่อการ
สอน และสรางเครือขายพัฒนาครูใหมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน รวมถึงการพัฒนาครูที่มีความเชี่ยวชาญ
ดานการสอนมาเปนผูสรางครูรุนใหมอยางเปนระบบ และวัดผลงานจากการพัฒนาผูเรียนโดยตรง

46
4.3.3 การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท
จัดใหมีมาตรฐานขั้นต่ำของโรงเรียนในทุกระดับ จัดโครงสรางการจัดการการศึกษาเพื่อสราง
ความรับผิดชอบตอผลลัพธและใหเอื้อตอการเขาถึงการศึกษาอยางเสมอภาค ทั่วถึง และใชทรัพยากรไดอยางมี
ประสิทธิภาพ การยกระดับสถาบันการศึกษาในสาขาที่มีความเชี่ยวชาญสูความเปนเลิศ ปฏิรูปการคลังดาน
การศึกษาเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโดยการจัดสรรงบประมาณตรงสูผูเรียน สงเสริม
การมีสวนรวมจากภาคเอกชนในการจัดการศึกษา พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาโดยแยกออกจากระบบ
การประเมินและการรับรองคุณภาพที่เนนผลลัพธที่ตัวผูเรียน รวมทั้งมีการปฏิรูประบบการสอบที่นำไปสูการ
วัดผลในเชิงทักษะที่จำเปนสำหรับศตวรรษที่ 21 มากกวาการวัดระดับความรู ตลอดจนมีการวิจัยและใช
เทคโนโลยีในการสรางและจัดการความรูในการจัดการเรียนการสอน การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพที่
สอดคลองกับบริบทพื้นที่
4.3.4 การพัฒนาระบบการเรียนรูต ลอดชีวิต
โดยเนนการจัดระบบการศึกษาและระบบฝกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพสูงและยืดหยุน
ผานการพัฒนากลไกตาง ๆ อาทิ การพัฒนาการศึกษาออนไลนแบบเปด การพัฒนาระบบการเรียนรูเกี่ยวกับ
ทักษะการรูดิจิทัล การมีระบบเทียบโอนประสบการณ ระบบธนาคารหนวยกิต มาตรการจูงใจใหคนเขาสูการ
ยกระดับทักษะ การใหสถานประกอบการเพิ่มผลิตภาพแรงงานผานการพัฒนาความสามารถทางวิชาชีพอยาง
ตอเนื่องภายใตกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ นอกจากนี้ ตองพัฒนาระบบการเรียนรูในชุมชนใหเขาถึงความรูไดทุกที่ ทุก
เวลา ปรับปรุงแหลงเรียนรูในชุมชนใหเปนพื้นที่เรียนรูเชิงสรางสรรคและมีชีวิต รวมถึงการเรียนรูและทบทวน
ทักษะพื้นฐาน ไดแก การอานออก-เขียนได-คิดเลขเปน โดยระดมทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชา
สังคม การพัฒนาทัศนคติและแรงบันดาลใจที่อยากเรียนรู การสรางนิสัยใฝเรียนรู และใหผูเรียนไดตระหนักถึงสิ่ง
ที่เกิดขึ้นรอบตัว รวมทั้งนำความรูไปพัฒนาตอยอดหรือประยุกตใชในการดำเนินชีวิตได
4.3.5 การสรางความตื่นตัวใหคนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางตำแหนงของ
ประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนยและประชาคมโลก
บนพื้นฐานของความเขาใจลุมลึกในประวัติศาสตร ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและพัฒนาการ
ของประเทศเพื่อนบาน เพิ่มการรับรูของคนไทยดานพหุวัฒนธรรม การเห็นคุณคาและมีความอดกลั้นตอความ
แตกตางทางความเชื่อ ความคิด วิถีชีวิต ผานความสามารถในการใชภาษาเพื่อนบาน การแลกเปลี่ยนเด็ก
เยาวชน และนักเรียน การฝงตัวและการทำงานระยะสั้นในประเทศเพื่อนบานในภูมิภาคเอเชียอาคเนย
4.3.6 การวางพืน้ ฐานระบบรองรับการเรียนรูโดยใชดิจิทัลแพลตฟอรม
โดยเน นการพั ฒ นาทั ก ษะดิจิท ัล ทักษะการคัดกรองความรู องคความรู การใชเทคโนโลยี
ผสมผสานกับคุณคาของครูไปพรอมกัน การพัฒนาสื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพที่ประชาชนสามารถเขาถึงทรัพยากร
และใชประโยชนจากระบบการเรียนรูและพัฒนาตนเองผานเทคโนโลยีการเรียนรูสมัยใหมใหเกิดประโยชนสูงสุด
4.3.7 การสรางระบบการศึกษาเพือ่ เปนเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ
โดยเนนการเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพสถาบันการศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญและมีความโดด
เดนเฉพาะสาขาสูระดับนานาชาติ ในการใหบริการทางการศึกษา วิชาการ และการพัฒนาสมรรถนะแรงงาน
ควบคูกับการสรางเครือขายความรวมมือทางวิชาการและการแลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษา และบุคลากร
ทางการศึกษาเพื่อสรางความแข็งแกรงทางวิชาการ เปนศูนยฝกอบรม และศูนยทดสอบสมรรถนะในระดับ
ภูมิภาค

47
4.4 การตระหนักถึงพหุปญ  ญาของมนุษยที่หลากหลาย
อาทิ ภาษา ตรรกะและคณิตศาสตร ดานทัศนะและมิติ ดนตรี กีฬาและการเคลื่อนไหวของรางกาย การ
จัดการตนเอง มนุษยสัมพันธ รวมถึงผูมีความสามารถอันโดดเดนดานใดดานหนึ่งหรือหลายดาน โดยการพัฒนา
และรักษากลุมผูมีความสามารถพิเศษของพหุปญญาแตละประเภท การสรางสภาพแวดลอมและระบบสนับสนุน
ประชากรไทยมีอาชีพบนฐานพหุปญญา การสรางเสริมศักยภาพผูมีความสามารถพิเศษใหสามารถตอยอดการ
ประกอบอาชีพไดอยางมั่นคง
4.4.1 การพัฒนาและสงเสริมพหุปญ  ญาผานครอบครัว ระบบสถานศึกษา สภาพแวดลอม รวมทั้งสื่อ
ตั้งแตระดับปฐมวัย เพื่อสรางเด็กและเยาวชนไทยมีการพัฒนาที่สมดุล มีทางเลือกในการใช
ศักยภาพพหุปญญาในการดำรงชีวิต เกิดอาชีพบนฐานพหุปญญาที่สังคมยอมรับและเห็นความสำคัญ รวมทั้งมี
กลไกคัดกรองและสงเสริมเด็กและเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษ จัดโรงเรียน ระบบเสริมประสบการณ การมี
สวนรวมของภาคเอกชน ตลอดจนสรางมาตรการจูงใจ เพื่อพัฒนาผูมีความสามารถพิเศษผลักดันใหประเทศไทย
มีบทบาทเดนในประชาคมโลก ทั้งดานกีฬา ภาษาและวรรณกรรม สุนทรียศิลป ตลอดจนการวิจัย
4.4.2 การสรางเสนทางอาชีพ สภาพแวดลอมการทำงาน และระบบสนับสนุนทีเ่ หมาะสมสำหรับผูมี
ความสามารถพิเศษผานกลไกตาง ๆ
โดยจัดใหมีโครงสรางพื้นฐาน เครื่องมือการทำงานที่เหมาะสม การสรางระบบเชื่อมโยงเครือขาย
วิจัยกับศูนยความเปนเลิศที่มีอยูในปจจุบันในรูปแบบการรวมมือ การมีกลไกการทำงานในลักษณะการรวมตัว
ของกลุมคนในหลายสาขาวิชา เพื่อรวมนักวิจัยและนักเทคโนโลยีชั้นแนวหนาใหสามารถตอยอดงานวิจัยที่
สามารถตอบโจทยการพัฒนาประเทศ การสรางความรวมมือและเชื่อมตอกับสถาบันวิจัยอื่น ๆ ทั่วโลก เพื่อสราง
ความเขมแข็งใหนักวิจัยความสามารถสูงของไทย รวมถึงการเปดพื้นที่ในการสรางเสริมศักยภาพผูมีความสามารถ
พิเศษใหสามารถตอยอดการประกอบอาชีพไดอยางมั่นคง
4.4.3 การดึงดูดกลุมผูเชีย่ วชาญตางชาติและคนไทยที่มีความสามารถในตางประเทศใหมาสรางและ
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหกับประเทศ
ทั้งในรูปแบบการทำงานชั่วคราวและถาวรตามความเหมาะสมของเปาหมายการพัฒนาประเทศ
ในชวงระยะเวลาตาง ๆ รวมถึงผูมีความสามารถที่มีศักยภาพสูงดานตาง ๆ ลูกหลานชาวตางชาติที่กำเนิดใน
ประเทศไทยที่มีค วามสามารถพิเศษ และการรับเด็กและเยาวชนที่มีความสามารถพิเศษจากทั่วโลก และ
ผูเชี่ยวชาญที่มีศักยภาพหรือทักษะสูงในสาขาตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ ควบคูกับการรักษา
และสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทั้งคนไทยหรือคนตางชาติที่กำเนิดในประเทศไทยไดแสดงศักยภาพและใช
ความสามารถในการทำประโยชนและสรางชื่อเสียงใหแกประเทศ

4.5 การเสริมสรางใหคนไทยมีสขุ ภาวะที่ดี


ครอบคลุมทั้งดาน กาย ใจ สติปญญา และสังคม มุงเนนการเสริมสรางการจัดการสุขภาวะในทุกรูปแบบ
ที่นำไปสูการมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะที่ดีไดดวยตนเอง พรอมทั้งสนับสนุนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมใน
การสรางเสริมใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี และมีทักษะดานสุขภาวะที่เหมาะสม
4.5.1 การสรางความรอบรูดานสุขภาวะ
โดยพัฒนาองคความรูและการสื่อสารดานสุขภาวะที่ถูกตองและเชื่อถือไดใหแกประชาชน พรอม
ทั้งเฝาระวังและจัดการกับความรูดานสุขภาวะที่ไมถูกตอง จนเกิดเปนทักษะทางปญญาและสังคมที่เปนการเพิ่ม

48
ศักยภาพในการจัดการสุขภาวะตนเองของประชาชน อาทิ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองใหมี
ความเหมาะสม และการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในการดำรงชีวิต
4.5.2 การปองกันและควบคุมปจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะ
โดยผลักดันการสรางเสริมสุขภาวะในทุกนโยบายที่ใหหนวยงานทุกภาคสวนมีสวนรวมในการ
รับผิดชอบตอสุขภาพของประชาชน เพื่อลดภัยคุกคามที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนาสุขภาวะคนไทย
4.5.3 การสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมีสขุ ภาวะที่ดี
โดยสงเสริมใหมีการจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพที่เปนมิตรตอสุข ภาพและเอื้อตอการมี
กิจกรรมสำหรับยกระดับสุขภาวะของสังคม จัดทำมาตรการทางการเงินการคลังที่สนับสนุนสินคาที่เปนมิตรตอ
สุขภาพ สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ชวยในการเสริมการมีสุขภาวะ รวมทั้งกำหนดใหมีการ
ประเมินผลกระทบดานสุขภาพ โดยชุมชนและภาคประชาชนกอนการดำเนินโครงการที่อาจกระทบตอระดับสุข
ภาวะ
4.5.4 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพที่ทนั สมัยสนับสนุนการสรางสุขภาวะที่ดี
โดยนำเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมสมั ย ใหม ม าใช ใ นการสร า งความเลิ ศ ทางด า นบริ ก ารทาง
การแพทยและสุขภาพแบบครบวงจรและทันสมัย ที่รวมไปถึงการพัฒนาปญญาประดิษฐในการใหคำปรึกษา
วินิจฉัย และพยากรณการเกิดโรคลวงหนา การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพทางไกลใหมีความหลากหลาย เขาถึง
งาย เพื่อเปนการแกไขปญหาบุคลากรทางการแพทยที่มีความเชี่ยวชาญในพื้นที่หางไกล มีการเชื่อมโยงผลิตภัณฑ
เขากับอินเทอรเน็ต ทางดานสุขภาพ และจัดใหมีระบบการเก็บขอมูลสุขภาพของประชาชนตลอดชวงชีวิตใหมี
ประสิทธิภาพ โดยอยูบนพื้นฐานความยั่งยืนทางการคลัง รวมถึงการปฏิรูประบบการเก็บภาษีและรายจายเพื่อให
บริการดานสุขภาพ ตลอดจนการปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพในการสรางสุขภาวะที่ดีใหกับประชาชนทุกชวง
วัยอยางมีประสิทธิภาพ พอเพียง เปนธรรม และยั่งยืน
4.5.5 การสงเสริมใหชุมชนเปนฐานในการสรางสุขภาวะที่ดีในทุกพื้นที่
โดยใหชุมชนเปนแหลงบมเพาะจิตสำนึกการมีสุขภาพดีของประชาชน ผานการจัดการความรูดาน
สุขภาพที่เปนประโยชนและสนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู การสรางสุขภาวะที่พึงประสงคระหวางกัน โดย
รัฐจะทำหนาที่เปนผูอำนวยความสะดวกที่สำคัญในการอำนวยความสะดวกใหชุมชนสามารถสรางการมีสุขภาวะ
ดีของตนเองได เพื่อใหชุมชนเปนพื้นที่สำคัญในการจัดการสุขภาวะของแตละพื้นที่

4.6 การสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
มุงเนนการสรางความอยูดีมีสุขของครอบครัวไทย การสงเสริมบทบาทในการมีสวนรวมของภาครัฐ
ภาคเอกชน ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การปลูกฝงและพัฒนาทักษะนอกหองเรียน และ
การพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
4.6.1 การสรางความอยูดีมีสุขของครอบครัวไทย
โดยสงเสริมการเกิดอยางมีคุณภาพ มีพัฒนาการสมวัย พัฒนาทักษะชีวิตและการเรียนรู การ
ทำงานและการดำรงชีวิตอยางมีคุณภาพของประชากรแตละชวงวัย โดยเริ่มจากการสรางและพัฒนาบุตรที่มี
คุณภาพ เพื่อสงเสริมการเกิดที่มีคุณภาพในกลุมประชากรวัยเจริญพันธุทุกกลุมใหมีประชากรที่มีคุณภาพ รวมถึง
การสรางครอบครัวที่เหมาะสมกับโลกในศตวรรษที่ 21 โดยสงเสริมความรูในการวางแผนชีวิตที่เหมาะสมกับ
คานิยมของคนรุนใหม และการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมบนฐานความรูทางวิชาการตั้งแตชวงตั้งครรภและถึงชวง
อายุตาง ๆ โดยใหทุกภาคสวนในสังคมเขามามีสวนรวม พรอมทั้งการพัฒนาสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการสราง

49
ครอบครัวอบอุนเขมแข็ง โดยเนนการสงเสริมการเกื้อกูลกันของคนทุกวัยในครอบครัวในการดูแลสมาชิกใน
ครอบครัว การส งเสริ ม นโยบายการสร า งความสมดุล ระหว า งชี วิ ตและการทำงาน การสงเสริม สนั บ สนุ น
ภาคเอกชน สถานประกอบการจัดบริการที่สงเสริมและพัฒนาทรัพยากรมนุษยและสนับสนุนครอบครัวในการ
เลี้ยงดูบุตรและการดูแลผูสูงอายุ การสนับสนุนบทบาทของชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นในการเขามา
เสริมสรางความเขมแข็งของครอบครัว รวมทั้งปรับปรุงกฎหมาย กำหนดบทบาท และจัดสรรทรัพยากรใหองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นในการเสริมพลังครอบครัว ควบคูกับการปฏิรูปสื่อใหมีบทบาทในเชิงสรางสรรคในการให
ความรูตอการพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งครอบครัว
4.6.2 การสงเสริมบทบาทการมีสว นรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ครอบครัว
และชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
เขามามีสวนรวมในการสรางบรรทัดฐานที่ดีในสังคม การสรางกระบวนการเรียนรูและพัฒนา
ทักษะของประชากรใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต สรางความตระหนักถึงความสำคัญ
ของการพัฒนาตนเองและการมีสวนรวมในการแกปญหาและพัฒนาสังคม รวมทั้งสนับสนุนดานวิชาการและ
สรางนวัตกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน
4.6.3 การปลูกฝงและพัฒนาทักษะนอกหองเรียน
โดยเนนใหพอแมมีวัฒนธรรมที่ปลูกฝงใหลูกเพิ่มพูนทักษะการเรียนรูชีวิต ดนตรี กีฬา ศิลปะ
รวมทั้งสงเสริมใหทุกภาคสวน เปดพื้นที่แหงการเรียนรู และจัดกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายและเหมาะสม
เอื้อแกครอบครัวทุกลักษณะ รวมถึงจัดใหมีพื้นที่ในการจัดกิจกรรมสาธารณะใหเปนศูนยรวมแหงการถายทอด
และแลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนรูรวมกัน เพื่อสงเสริมการใชเวลาอยางสรางสรรคและมีคุณภาพ ตลอดจน
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีคุณภาพและสามารถเขาถึงไดงาย
4.6.4 การพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ที ่ ม ี ความเชื ่ อมโยงและบู ร ณาการขอมูล ดา นการพัฒนาทรัพ ยากรมนุษ ยร ะหวางกระทรวง
หนวยงานที่เกี่ยวของ โดยการเชื่อมโยงขอมูลรายบุคคลที่เกี่ยวกับการศึกษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพและการ
พัฒนาอาชีพในตลอดชวงชีวิต เพื่อเสริมและสรางศักยภาพของการดำเนินงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยตาม
พันธกิจของแตละกระทรวงใหมีความเขมแข็ง และตอบโจทยประเทศ เปนฐานขอมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ของประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถประเมินจุดออน จุดแข็ง และศักยภาพบุคคลของ
ประเทศ นำไปสูการตัดสินใจระดับนโยบายและปฏิบัติ เพื่อพัฒนาคนไทยอยางมีทิศทางและสอดคลองกับการ
พัฒนาประเทศไทยในอนาคต รวมถึงขอมูลที่สนับสนุนการผลิตกำลังแรงงานที่มีทักษะตรงตอความตองการของ
ตลาดงานในอนาคต และใชประกอบการตัดสินใจในการศึกษาตอ ธนาคารคลังสมองเพื่อรวบรวมผูสูงอายุที่มี
ความรู ประสบการณ และทักษะ เพื่อถายทอดความรู ประสบการณ และทักษะ ใหเกิดประโยชนตอประเทศชาติ

4.7 การเสริมสรางศักยภาพการกีฬาในการสรางคุณคาทางสังคมและพัฒนาประเทศ
โดยมุงสงเสริมการใชกิจกรรมนันทนาการและกีฬาเปนเครื่องมือในการเสริมสรางสุขภาวะของประชาชน
อยางครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การสรางนิสัยรักกีฬาและมีน้ำใจเปนนักกีฬา และการใชกีฬาและ
นันทนาการในการพัฒนาจิตใจ สรางความสามัคคีของคนในชาติ หลอหลอมการเปนพลเมืองดี พัฒนาคุณภาพ
ชีวิต รวมทั้งการพัฒนาทักษะดานกีฬาสูความเปนเลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพในระดับนานาชาติในการสราง
ชื่อเสียงและเกียรติภูมิของประเทศชาติเพื่อรองรับอุตสาหกรรมกีฬา

50
4.7.1 การสงเสริมการออกกำลังกาย และกีฬาขัน้ พืน้ ฐานใหกลายเปนวิถีชีวิต
โดยสงเสริมใหเด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคลกลุมพิเศษ และผูดอยโอกาส มีความรูความ
เขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การปฐมพยาบาลเบื้องตน และการเลนกีฬาบางชนิดที่มีความจำเปน
ตอทักษะในการดำรงชีวิต รวมทั้งการมีอิสระในการประกอบกิจกรรมนันทนาการตามความถนัดหรือความสนใจ
เฉพาะบุคคล และปฏิบัติอยางตอเนื่องจนกลายเปนวิถีชีวิต เพื่อพัฒนาจิตใจ สรางความสัมพันธอันดี หลอหลอม
จิตวิญญาณและการเปนพลเมืองดี
4.7.2 การสงเสริมใหประชาชนมีสว นรวมในกิจกรรมออกกำลังกาย กีฬาและนันทนาการ
โดยเนนการจัดกิจกรรมกีฬา สรางโอกาสและสนับสนุนการมีสวนรวมในกิจกรรมกีฬาอยาง
ตอเนื่อง การปลูกฝงใหมีคุณธรรมของความเปนนักกีฬา มีระเบียบ วินัย รูแพ รูชนะ รูอภัย และรูจักการขอโทษ
รวมถึงการพัฒนาบุคลากรและโครงสรางพื้นฐาน ดานอุปกรณ สถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวกทางกีฬาและ
นันทนาการที่มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคลองกับความตองการและเหมาะสมกับประชาชนทุกกลุม ทุกเพศ ทุก
วัย
4.7.3 การสงเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสูระดับอาชีพ
โดยมุงการสรางและพัฒนานักกีฬาของชาติ การเฟนหานักกีฬาที่มีความสามารถ สรางพื้นที่และ
โอกาสในการแขงขันแสดงศักยภาพ ดานกีฬา นันทนาการ และวิทยาศาสตรการกีฬา การสงเสริมการจัดกีฬา
ระดับนานาชาติ และสรางแรงบันดาลใจในการตอยอดความสำเร็จจากความเปนเลิศสูการประกอบอาชีพและมี
เสนทางอาชีพที่ม ั่นคง ควบคูกับสงเสริมสนับสนุนงานวิจัยและนวัตกรรมดานการกีฬา นันทนาการ และ
วิทยาศาสตรการกีฬา การจัดการความรู และพัฒนาระบบฐานขอมูล เพื่อนำมาใชสงเสริมและสนับสนุนกีฬาเพื่อ
ความเปนเลิศ กีฬาเพื่อการอาชีพ และนันทนาการเชิงพาณิชย
4.7.4 การพัฒนาบุคลากรดานการกีฬาและนันทนาการเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมกีฬา
โดยมุงสรางและพัฒนาบุคลากรดานการกีฬาและนันทนาการทั้งครูหรือผูสอนกีฬา ผูตัดสินกีฬา
นักวิทยาศาสตรการกีฬา ผูบริหารการกีฬา อาสาสมัครกีฬา ตลอดจนผูที่เกี่ยวของตาง ๆ อยางเปนระบบและมี
มาตรฐาน สามารถถายทอดความรูใหเด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป บุคคลกลุมพิเศษ และผูดอยโอกาสไดอยาง
ถูกตอง และสามารถตอยอดศักยภาพในการพัฒนาเปนบุคลากรทางการกีฬาและนันทนาการที่มีมาตรฐานของ
ประเทศ รวมทั้งสนับสนุนและเสริมศักยภาพรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมกีฬาและนันทนาการและการ
พัฒนาใหเปนศูนยกลางการลงทุนและฐานการผลิตดานอุตสาหกรรมกีฬาของภูมิภาคเอเชียควบคูกับการ
พัฒนาการทองเที่ยวเชิงกีฬาและนันทนาการ การสนับสนุนและสงเสริมผลิตบุคลากรและการพัฒนานวัตกรรมที่
สนับสนุนอุตสาหกรรมกีฬาและนันทนาการ ตลอดจนมีมาตรการสงเสริมและสนับสนุนผูประกอบการกีฬาและ
นันทนาการ และธุรกิจที่เกี่ยวของ

51
ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
1. บทนำ
ปญหาความเหลื่อมล้ำจะเปนหนึ่งความทาทายที่สำคัญในการพัฒนาและยกระดับประเทศใหสามารถ
เติบโตไดอยางยั่งยืน และบรรลุเปาหมายของการเปนประเทศที่มีรายไดสูงในอีก 20 ปขางหนา ทั้งนี้ ถึงแมวา
หลายทศวรรษที่ผานมา ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการพัฒนาประเทศใหกาวออกจากภาวะความยากจน
แตการแกปญหาความเหลื่อมล้ำและการสรางความเปนธรรมนับวายังประสบปญหาทาทายในหลายมิติ โดยการ
กระจายทรัพยากรและความมั่งคั่งในสังคมยังคงมีการกระจุกตัวอยูมาก การกระจายโอกาสของการพัฒนายังไม
ทั่วถึง รวมทั้งโอกาสการถือครองที่ดินและการเขาถึงขอมูลขาวสาร องคความรู แหลงทุน บริการทางสังคมและ
กระบวนการยุติธรรมที่มีคุณภาพยังมีความเหลื่อมล้ำระหวางกลุมประชากร โดยเฉพาะในภาคการเกษตรและ
ชนบท ซึ่งอาจก อให เกิ ดป ญหาด านอื ่ น ๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งในสวนของภาวะหนี้สิน การอพยพแรงงานเขาสู
ภาคอุ ตสาหกรรมและบริ การ โดยเฉพาะอย างยิ ่ งเมื ่ อมี การกระจุ กตั วในเมื องใหญ ไม ก ี ่เมื อง ทำให เกิ ดการ
เปลี่ยนแปลงโครงสรางของครอบครัว และสงผลกระทบตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ
ในระยะยาว และอาจมีความรุนแรงมากขึ้นในสภาวะของการเขาสูสังคมสูงวัยอยางสมบูรณในอนาคตอันใกล
ดังนั้น ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมจึงไดกำหนดประเด็นยุทธศาสตร
ที่เนนการตอบโจทยการสรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพื่อให
การเติบโตของประเทศเปนการเติบโตที่ยั่งยืนโดยทุกคนไดรับประโยชนอยางทั่วถึงและเปนธรรม การกำหนดให
ภาคการเกษตรและครัวเรือนเปนกลุมเปาหมายของการปรับโครงสรางและพฤติกรรม และการกระจายศูนยกลาง
ความเจริญเพื่อใหเกิดการสรางงานในพื้นที่ เพื่อพลิกฟนโครงสรางทางสังคมควบคูไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
และชวยลดความเสี่ยงตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศบนพื้นฐานหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ ยังเนนการดึงเอาพลังทางสังคมที่ประกอบดวยภาคสวนตาง ๆ ทั้งภาคเอกชน
ประชาสั ง คม ชุ ม ชนท อ งถิ ่ น มาร ว มขั บเคลื ่ อนการพัฒนาประเทศในรู ปแบบประชารั ฐ ซึ ่ ง จะช ว ยใหเกิด
การแกปญหาความเหลื่อมล้ำที่ยั่งยืน รวมทั้งการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และ
การเตรียมความพรอมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอมใหเปนประชากร
ที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเองและทำประโยชนแกครอบครัว ชุมชน และสังคมใหนานที่สุด

2. เปาหมาย
2.1 สรางความเปนธรรม และลดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติ
2.2 กระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสใหทุกภาคสวนเขามาเปนกำลัง
ของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ
2.3 เพิ่ ม ขี ดความสามารถของชุม ชนท องถิ่ นในการพัฒนา การพึ ่งตนเองและการจัดการตนเอง
เพื่อสรางสังคมคุณภาพ

52
3. ตัวชี้วัด
3.1 ความแตกตางของรายไดและการเขาถึงบริการภาครัฐระหวางกลุมประชากร
3.2 ความกาวหนาของการพัฒนาคน
3.3 ความก า วหน า ในการพั ฒ นาจั ง หวั ด ในการเป น ศู น ย ก ลางความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม
และเทคโนโลยี
3.4 คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ

4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
4.1 การลดความเหลื่อมล้ำ สรางความเปนธรรมในทุกมิติ
4.1.1 ปรับโครงสรางเศรษฐกิจฐานราก
พัฒนาการเกษตรใหเหมาะสมกับศักยภาพของเกษตรกร ฐานทรัพยากรและบริบทของพื้นที่และ
ชุมชนทองถิ่น โดยเนนระบบการจัดการตนเองของเกษตรกร และการมีกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก เพื่อให
เกษตรกรเขาถึงฐานทรัพยากร การวิจัย ความรู ทั้งทางดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการผลิตและ
ยกระดับเปนผูประกอบการตลอดหวงโซคุณคา และเพิ่มชองทางการตลาดและเชื่อมโยงการคาดวยเครือขาย
พันธมิตรและวิสาหกิจเพื่อสังคม กำหนดนโยบายและกติกาเพื่อเพิ่มโอกาสของเกษตรกร พัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปญญาทองถิ่น รวมถึงสงเสริมการผลิตแปรรูปสินคาใหมี
เอกลักษณ และการจัดการในภาคบริการที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากรของชุมชน เพื่อยกระดับเกษตรกรสูการเปน
ผูประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมในภาคการเกษตร
4.1.2 ปฏิรูประบบภาษีและการคุมครองผูบริโภค
โดยกำหนดมาตรการเพื่อสรางความเสมอภาคที่สำคัญ การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความเสมอ
ภาคในการจัดเก็บภาษีและพัฒนาระบบขอมูลการทำธุรกรรมทางการเงินของประชาชนและภาคธุรกิจ กำหนด
เปาหมายการจัดเก็บภาษี และคาธรรมเนียมเพื่อนำไปใชในการจัดบริการที่ชัดเจน ตลอดจนการคุมครองผูบริโภค
โดยเนนการแกไขกฎหมายที่ไมเปนธรรม ปรับปรุงระบบและกลไกในการคุมครองผูบริโภค สนับสนุนองคกรของ
ผูบริโภคใหมีความเขมแข็ง ปองกันการละเมิดสิทธิผูบริโภคและอำนวยความยุติธรรมแกผูบริโภค สนับสนุนการ
บริโภคอยางยั่งยืน และสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีบทบาทในการคุมครองผูบริโภคไดอยางเปน
รูปธรรม
4.1.3 กระจายการถือครองที่ดนิ และการเขาถึงทรัพยากร
โดยแกไขปญหาความขัดแยงระหวางเขตพื้นที่ปาทับซอนพื้นที่ทำกินของประชาชน รับรองสิทธิ
ชุมชนในการเขาใชประโยชนที่ดิน กำหนดมาตรการเพื่อใหเกิดการใชประโยชนที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์อยางเปนธรรม
และกระจายการถือครองที่ดินในขนาดที่เหมาะสมตอการประกอบอาชีพเพื่อใหเกิดความเปนธรรมในการถือ
ครองที่ดิน ปรับระบบเอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดินประเภทตาง ๆ ใหผูมีรายไดนอยและผูที่ไมมีที่ดินเปน
กรรมสิทธิ์ใชเปนหลักฐานประกอบการขอพิจารณาสินเชื่อกับสถาบันการเงินได รวมถึงการปรับปรุงกฎระเบียบที่
เกี่ยวของในการใชประโยชนที่ดินสาธารณะเพื่อการประกอบอาชีพสำหรับประชาชน เพื่อใหผูมีรายไดนอยเขาถึง
การใชประโยชนที่ดินไดอยางเปนธรรมและมีที่อยูอาศัยที่มั่นคง

53
4.1.4 เพิ่มผลิตภาพและคุมครองแรงงานไทย ใหเปนแรงงานฝมือที่มีคุณภาพและความริเริ่มสรางสรรค มี
ความปลอดภัยในการทำงาน
โดยสงเสริมการปรับทัศนคติของนายจางใหมองลูกจางวาสามารถเพิ่มมูลคาและคุณคาใหกับ
ธุรกิจได สถานประกอบการจัดโครงสรางคาจางตามความสามารถและประสบการณ สงเสริมกลไกและระบบการ
ออมและแหลงเงินทุนเพื่อผูใชแรงงานในสถานประกอบการ รวมถึงการยกระดับกลไกการดูแลแรงงานไทยให
เป น ไปตามมาตรฐานสากล ตลอดจนการพั ฒ นาด า นคุ ณ ภาพแรงงาน ทั ้ ง ในด า นทั ก ษะฝ ม ื อ แรงงานและ
ความสามารถดานเทคโนโลยี ภาษาและการจัดการ เพื่อสงเสริมใหแรงงานพัฒนาตนเองไปเปนผูประกอบการได
4.1.5 สรางหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกชวงวัย ทุกเพศภาวะและทุกกลุม
เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในบริบทของสังคมสูงวัย รวมทั้งสรางสภาพแวดลอม
ทางกายภาพและทางสังคมที่เอื้อตอการดำรงชีวิตและการมีส วนร วมเป นพลังในสั งคมสำหรับคนทุกกลุม
โดยเฉพาะผูพิการและผูสูงวัย โดยการเชื่อมโยงระบบขอมูลสวัสดิการรายบุคคล และการพัฒนาระบบการ
ใหบริการสวัสดิการที่เปนความรวมมือระหวางรัฐบาล องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรชุมชน ธุรกิจ หรือ
องคกรประชาสังคม เพื่อใหสามารถพัฒนาระบบสวัสดิการถวนหนาไดอยางมีประสิทธิภาพและควบคุมคาใชจาย
ไมใหเปนภาระทางการคลังมากเกินไป สงเสริมและสรางแรงจูงใจในการออมและการลงทุนระยะยาวเพื่อเพิ่ม
ความสามารถในการพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจของประชาชนทุกกลุมดวยมาตรการทางภาษีและอื่น ๆ ตลอดจน
สงเสริมใหแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบเขาสูระบบประกันสังคมอยางทั่วถึง
4.1.6 ลงทุนทางสังคมแบบมุงเปาเพื่อชวยเหลือกลุมคนยากจนและกลุมผูดอ ยโอกาสโดยตรง
โดยการจัดใหมีมาตรการพิเศษเพื่อใหสามารถระบุตัวกลุมเปาหมายที่ตองการความชวยเหลือ
เปนพิเศษ และใหความคุมครองทางสังคมและสวัสดิการอยางเฉพาะเจาะจงกลุมเปาหมายผูมีรายไดนอย ยากจน
และผูที่ถูกเลือกปฏิบัติซ้ำซอน โดยมีเปาหมายการตัดขาดวงจรความยากจนไมใหสงตอจากรุนพอแมไปสูรุน
ลูกหลาน และชวยเหลือกลุมคนที่เดือดรอนที่สุด
4.1.7 สรางความเปนธรรมในการเขาถึงบริการสาธารณสุข และการศึกษา โดยเฉพาะสำหรับผูมีรายได
นอยและกลุมผูดอยโอกาส
โดยในดานบริการสาธารณสุข เนนการกระจายทรัพยากรและเพิ่มบุคลากรทางการแพทย การ
พยาบาล ใหกระจายไปยังพื้นที่อำเภอ ตำบล เพื่อใหสามารถดูแลประชาชนไดอยางทั่วถึง การพัฒนาระบบ
หลักประกันสุขภาพใหครอบคลุมผูมีรายไดนอย ใหไดรับบริการที่ไมมีความเหลื่อมล้ำในดานคุณภาพ รวมทั้งระบบ
คุมครองการรักษาพยาบาลตอการเจ็บปวยที่สรางภาระทางการเงินโดยไมคาดคิดหรือเกินขีดความสามารถของผู
มี ร ายได น  อ ย สนั บ สนุ น ส ง เสริ ม ให ส ั ง คมเข า มามี ส  ว นร ว มในการสร า งเสริ ม สุ ข ภาพ รวมถึ ง การพั ฒ นา
สถานพยาบาลใหมีคุณภาพและมีสัดสวนแพทยตอประชากรตามมาตรฐานสากลในทุกพื้นที่ และสงเสริมการใช
เทคโนโลยีดิจิทัลในการใหบริการสาธารณสุข ดานการศึกษาเนนการสรางโอกาสในการเขาถึงการศึกษาที่มี
คุณภาพที่เปนมาตรฐานเสมอกัน โดยเฉพาะในพื้นที่หางไกลทุรกันดารและยากจนและกลุมเปาหมายที่ตองการ
การดูแลเปนพิเศษ การจัดใหมีมาตรการเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การสนับสนุนกลไกความรวมมือ
ของภาคสวนตาง ๆ เพื่อพัฒนาการศึกษาในระดับจังหวัด การใชเทคโนโลยีเพื่อสงเสริมการเรียนรูและการเขาถึง
ขอมูลขาวสาร ความรูและนวัตกรรมของคนทุกกลุม รวมถึงระบบการติดตามสนับสนุนและประเมินผลเพื่อสราง
หลักประกันสิทธิการไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพของประชาชน
4.1.8 สรางความเปนธรรมในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมอยางทั่วถึง
เนนการสรางหลักประกันในการเขาถึงความยุติธรรมอยางเทาเทียมกัน การพัฒนากลไกชวยเหลือ
ผูมีรายไดนอยในการตอสูคดีที่มีคุณภาพมาตรฐานและเพียงพอ การใหหลักประกันสิทธิของผูเสียหายและผูถูก

54
กลาวหาในการไดรับความชวยเหลือจากรัฐอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน การกำหนดกรอบเวลาและขั้นตอน
ในกระบวนการยุติธรรมที่มีประสิทธิภาพ การบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด เปนธรรมและเสมอภาค และการ
มีมาตรการที่ละเอียดออนสำหรับคดีความผิดเกี่ยวกับเพศและการจัดการคดีเกี่ยวกับกลุมที่มีความเปราะบาง
ตลอดจนการพัฒนาวิธีพิจารณาความแพงและคดีปกครองเพื่อเพิ่มโอกาสของประชาชนในการเขาถึงความยุติธรรม
ปรับปรุงระบบโทษปรับเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความโปรงใส และระบบการชวยเหลือผูพนโทษในการกลับสู
สังคม

4.2 การกระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี


4.2.1 พัฒนาศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีในภูมภิ าค
โดยคำนึงถึงสัดสวนจำนวนประชากรของจังหวัดบริวาร เพื่อใหสามารถดูแลการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตประชากรไดอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ กระจายโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี คมนาคมและการสื่อสาร
จัดทำผังเมืองและผังภาคเพื่อการจัดโครงสรางพื้นฐาน สาธารณูปโภค แหลงงาน แหลงน้ำ และการใชที่ดิน ให
สามารถพึ่งตนเองไดภายในกลุมจังหวัด รวมทั้งสงเสริมใหจังหวัดหลักมีความสามารถในดานการบริหารจัดการ
และจัดการตนเองไดอยางเปนอิสระมากขึ้น เพื่อใหสามารถสรางความแตกตางบนฐานศักยภาพของทรัพยากร
และความตองการของประชาชนในพื้นที่ได และสงเสริมการพัฒนาจังหวัดรองควบคูไปกับการพัฒนาจังหวัดหลัก
4.2.2 กำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแตละกลุมจังหวัดในมิตติ าง ๆ
โดยการมีสวนรวมของประชาชนในการกำหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ของตนเอง และบูรณาการ
แผนใหมีความเชื่อมโยงสอดคลองกันในทุกระดับเปนแผนเดียวกัน ตั้งแตระดับหมูบาน ทองถิ่น อำเภอ จังหวัด
จนถึงกลุมจังหวัด เนนการกระจายแหลงอุตสาหกรรมในทองถิ่นเพื่อสงเสริมการสรางงานในพื้นที่ และการพัฒนา
ภาคบริการที่คนในพื้นที่ สามารถเปนผูประกอบการ และสามารถกระจายรายไดใหเกิดความเปนธรรม ให
ความสำคัญกับการสราง “คุณคา” และ “มูลคา” ทางเศรษฐกิจ จากศักยภาพของฐานทรัพยากรของแตละพื้นที่
ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ทุ นทางวั ฒ นธรรมและทุนทางสังคม การสรางการมีส วนรวมของคนในพื้นที่และ
ผูประกอบการในการสืบคน นำมาปรับใชและยกระดับการใชทรัพยากรนั้นอยางยั่งยืน
4.2.3 จัดระบบเมืองที่เอื้อตอการสรางชีวิตและสังคมที่มีคณ ุ ภาพและปลอดภัย ใหสามารถตอบสนองตอ
สังคมสูงวัยและแนวโนมของการขยายตัวของเมืองในอนาคต
โดยพัฒนาระบบผังเมืองของประเทศและผังเมืองระดับพื้นที่ พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัด
การเมืองและการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกใหเปนเมืองอัจฉริยะ ปลอดภัย สะดวกสำหรับคนทุกกลุมอยางทั่วถึง และ
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สงเสริมการพัฒนาศักยภาพและโอกาสของเมืองดวยการมีสวนรวมและการลงทุนของ
ภาคเอกชน ชุมชนและภาคประชาสังคม รวมทั้งสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนผูรับผิดชอบหลักใน
การดูแลคุณภาพสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตของคนในเมือง ตลอดจนลดความเหลื่อมล้ำระหวางกลุมประชากร
ที่อาศัยในเขตเมือง
4.2.4 ปรับโครงสรางและแกไขกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผนดิน เพื่อวางระบบและกลไกการ
บริหารงานในระดับภาค กลุม จังหวัด
เพื่อรับผิดชอบการบริหารงานในระดับภาค กลุมจังหวัด ที่เชื่อมโยงกัน และสนับสนุนการ
ขั บ เคลื ่ อ นการพั ฒ นาในระดั บ กลุ  ม จั ง หวั ด และระดั บ ภาค ปรั บ โครงสร า งและปรั บ ปรุ ง กฎหมายเพื ่ อ จั ด
ความสัมพันธระหวางราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่นใหเอื้อตอประชาชนในการตัดสินใจ
เกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาพื้นที่และการกำกับติดตามเพื่อสรางธรรมาภิบาลในการทำงานของภาครัฐ ตลอดจน
การปรับปรุงกฎหมายเพื่อพัฒนาระบบการปกครองทองถิ่น และการเปดพื้นที่และโอกาสการมีสวนรวมอยาง

55
กวางขวางของภาคสวนตาง ๆ ไดแก ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาควิชาการในการกำหนดยุทธศาสตร
จังหวัด/กลุมจังหวัด
4.2.5 สนับสนุนการพัฒนาพืน้ ที่บนฐานขอมูลความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม
โดยการพัฒนาระบบฐานขอมูลมิติตาง ๆ ของพื้นที่ใหมีความถูกตองแมนยำ การเปดเผยขอมูล
สำคัญที่จะเอื้อใหประชาชนและภาคสวนตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการวางแผน การตัดสินใจและการติดตาม
การดำเนินงานของรัฐ พัฒนากลไกเพื่อสนับสนุนการสรางองคความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สอดคลองกับ
ความตองการของพื้นที่ รวมถึงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี การสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น การขยาย
เครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใหชุมชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสาร ความรูตาง ๆ และนำไปใชเพื่อพัฒนา
พื้นที่ ตลอดจนการเพิ่มบทบาทของสถาบันการศึกษาและภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อรวมพัฒนาพื้นที่และชุมชน
ทองถิ่น
4.2.6 การพัฒนากำลังแรงงานในพื้นที่
โดยการวางแผนกำลังคนที่สอดคลองกับแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของกลุมจังหวัด
และการพัฒนาทักษะอาชีพที่สอดคลองกับบริบทของเมืองทั้งในปจจุบันและอนาคต เนนการสงเสริมการ
ยกระดับทักษะของผูประกอบการ และกลุมวิสาหกิจในพื้นที่ทั้งในดานภาษา การบริหารธุรกิจ การจัดการหวง
โซ ค ุ ณ ค า และตลาด การเข า ถึ ง ข อ มู ล ข า วสาร เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม รวมถึ ง การพั ฒ นาระบบที ่ ม ี
ประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงความตองการของกำลังแรงงานในพื้นที่กับระบบการผลิตกำลังคนในสายอาชีพ

4.3 การเสริมสรางพลังทางสังคม
4.3.1 สรางสังคมเขมแข็งที่แบงปน ไมทอดทิ้งกัน และมีคณ ุ ธรรม
โดยสนับสนุนการรวมตัวและดึงพลังของภาคสวนตาง ๆ โดยเฉพาะการเชื่อมพลังของคนสามวัย
คือเยาวชนคนรุนใหม คนวัยทำงาน และผูสูงอายุ ใหมาเปนกำลังของการพัฒนาเพื่อสวนรวม โดยการสรางเวที
กลางเปนพื้นที่สาธารณะ เพื่อปรึกษาหารือปญหาสาธารณะของพื้นที่ ตั้งแตระดับชุมชน ทองถิ่น อำเภอจนถึง
ระดับจังหวัด การสรางผูนำการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสรางกลไกการทำงานรวมกันของภาคสวนตาง ๆ การ
สนับสนุนกิจกรรมของเด็กและเยาวชนในจังหวัดตาง ๆ เพื่อฝกทักษะใหเปนผูนำรุนใหมในอนาคต ตลอดจน
สนับสนุนระบบวิสาหกิจเพื่อสังคม การดำเนินงานของภาคประชาสังคม การสรางเครือขายในพื้นที่ รวมถึงการ
สรางชุมชนเสมือนบนเครือขายสื่อ ใหเปนเครือขายเรียนรูรวมกันทางสังคมที่รวมทำสิ่งที่สรางสรรค และการยก
ยองใหคุณคากับการทำประโยชนรวมกันเพื่อสวนรวม
4.3.2 การรองรับสังคมสูงวัยอยางมีคุณภาพ
โดยเตรียมความพรอมในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ และสภาพแวดลอม โดยเฉพาะ
การออมและการลงทุ นระยะยาวของคนตั้งแตกอนเกษียณอายุ พัฒนาระบบและกลไกเพื่ อสนั บสนุนการ
ปรับตัวของประชากรใหสามารถปรับเปลี่ยนอาชีพใหเหมาะสมตามแตละชวงอายุ เพื่อยืดชวงเวลาและเพิ่ม
โอกาสในการทำงานในยามสูงอายุและสรางหลักประกันทางรายไดใหแกตนเองไดนานขึ้น สรางแรงจูงใจให
ภาคเอกชนหรือสถานประกอบการในการเตรียมความพรอมของแรงงานกอนวัยเกษียณ การจางงานผูสูงอายุ
ใหเหมาะสมกับวัยวุฒิ ประสบการณและสมรรถนะ ตลอดจนสงเสริมการสรางสรรคเทคโนโลยีและนวัตกรรม
สำหรับการสงเสริมและฟนฟูศักยภาพผูสูงอายุ สงเสริมใหผูสูงอายุมีกิจกรรมทำตอเนื่องทั้งในเชิงเศรษฐกิจ

56
สังคม และสุขภาพ รวมทั้งคงไวซึ่งบทบาทในการขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม โดยสงเสริมและสรางแรงจูงใจให
ทุกภาคสวนมีการจางงานผูสูงอายุใหเหมาะสมกับวัยวุฒิ ประสบการณ และสมรรถนะ สงเสริมการถายทอดภูมิ
ปญญาและประสบการณ และรวมสรางสังคมที่ไมทอดทิ้งกัน เพื่อเพิ่มคุณคาของผูสูงอายุ
4.3.3 สนับสนุนความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาค
ประชาชน
เพื่อสนับสนุนการทำงานของภาคสวนตาง ๆ สนับสนุนการจัดตั้งองคกรภาคประชาสังคมและ
องค ก รชุ ม ชนในรู ป แบบนิ ต ิ บ ุ ค คลเพื ่ อ ดำเนิ น กิ จ กรรมสร า งสรรค ป ระโยชน ส าธารณะต า ง ๆ รวมทั้ ง
การปรับปรุงระเบียบการใชงบประมาณและจัดซื้อจัดจางของภาครัฐเพื่อเอื้อใหสามารถสนับสนุนความริเริ่ม
ที่สรางสรรคของภาคสวนตาง ๆ
4.3.4 สงเสริมความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรีในการสรางสรรคสังคม
โดยปรับเปลี่ยนทัศนคติและบทบาทเพศ เสริมสรางความรูความเขาใจและการยอมรับของสังคม
ตอเรื่องเพศสภาพและความเสมอภาคทางเพศ สงเสริมใหทุกเพศมีสวนรวมรับผิดชอบครอบครัวและรวมกัน
พัฒนาสังคม สงเสริมความเขมแข็งของสถาบันครอบครัว พัฒนาระบบสวัสดิการทางสังคมในสถานประกอบการ
เพื่อใหทั้งชายและหญิงสามารถดูแลครอบครัวไดอยางสมดุลกับการทำงาน สงเสริมการสรางประชากรรุนใหมบน
รากฐานของครอบครัวที่มีคุณภาพ เพิ่มโอกาสของสตรีในการทำงานเชิงเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง ตลอดจนเพิ่ม
ศักยภาพความรูความสามารถและภาวะผูนำของสตรีเพื่อใหสามารถมีบทบาทในทางการเมืองและการบริหารทั้ง
ในระดับสากล ระดับชาติและในระดับทองถิ่นไดอยางเหมาะสมและกวางขวาง
4.3.5 สนับสนุนการพัฒนาบนฐานทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
ภายใตบริบทของสังคมที่มีความหลากหลายมากขึ้นทั้งทางชาติพันธุ ศาสนา และวิถีชีวิตทาง
วัฒนธรรมโดยไมเลือกปฏิบัติ สงเสริมความตระหนักในสิทธิมนุษยชน สรางความเทาเทียมกันในเรื่องสิทธิและ
ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยในกลุมชาติพันธุ ใหความสำคัญกับองคความรูและภูมิปญญาของกลุมชน สรางความ
ภาคภูมิใจในรากเหงาของคนในทองถิ่น สรางความเขาใจและจุดรวมบนความแตกตางอยางสรางสรรค และ
สงเสริมบทบาทของสถาบันการศึกษาในการชวยยกระดับคุณคาที่หลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรมใหเปน
มูลคาทางเศรษฐกิจที่สรางสรรคเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากได รวมถึงเชื่อมโยงการสรางความรวมมือและ
ความสัมพันธอันดีกับประเทศเพื่อนบานบนรากฐานมรดกทางวัฒนธรรมที่มีรวมกันกับประเทศไทย
4.3.6 สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสรางสรรค เพื่อรองรับสังคมยุคดิจทิ ัล
พัฒนาระบบโครงสรางเครือขายดานขอมูลเพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารที่
ถูกตองทันสมัยไดอยางรวดเร็ว สงเสริมเสรีภาพของสื่อสาธารณะ ควบคูไปกับมาตรการสรางความรับผิดชอบ
ของสื่อตอสังคม รวมถึงสงเสริมบทบาทขององคกรที่เกี่ยวของในการใหความรูเรื่องสิทธิเพื่อคุมครองการใช
เทคโนโลยีและสื่อตามมาตรฐานความปลอดภัยและกฎหมาย ตลอดจนพัฒนาสื่อสรางสรรคทั้งในเชิงเนื้อหา และ
การสรางความตระหนักและภูมิคุมกันของผูเสพสื่อ

57
4.4 การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนทองถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเองและการจัดการตนเอง
4.4.1 สงเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ใหมีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต
สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ
โดยใชขอมูลความรู และการยกระดับการเรียนรูของครัวเรือน ทั้งในกลุมครัวเรือนภาคเกษตร
และอาชีพอื่น ๆ เพื่อปรับการคิดเชิงระบบ การวางแผนอนาคต การออมและการลงทุน การดูแลสุขภาพความ
เปนอยูของสมาชิกในครอบครัว เพิ่มทักษะทางการเงินและการวางแผนการจัดการที่ดิน ที่อยูอาศัยและระบบการ
ผลิตดานอาชีพ เพิ่ ม ความสามารถในการประกอบการธุ รกิจ การบริ หารจั ดการ ตลอดจนพั ฒนาผู นำการ
เปลี่ยนแปลงในระดับชุมชนและทองถิ่น อันเปนการสรางการเรียนรูจากภายในเพื่อสรางคนที่มีระบบคิดที่มี
เหตุผลและพึ่งตนเองได ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.4.2 เสริมสรางศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง
โดยสนับสนุนการรวมกลุมของสมาชิกในชุมชนเพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชน ใหชุมชนได
บริหารจัดการและมีสวนรวมในกิจการที่สงผลกระทบตอชุมชนโดยตรง การสนับสนุนการจัดทำแผนแมบทชุมชน
ที่สะทอนปญหาความตองการที่แทจริงของชุมชน โดยมีขอมูลครัวเรือนเพื่อสนับสนุนการจัดทำแผน และเชื่อมโยง
แผนชุมชนกับแผนพัฒนาตำบล แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุมจังหวัด และแผนพัฒนา
ภาค และเชื่อมโยงกับการกำหนดการจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกัน ขับเคลื่อนกลไกความรวมมือทุกภาค
สวนใหมีเปาหมายทิศทาง มีความสมดุล มีอิสระและมีอำนาจในการตัดสินใจ โดยมีระบบการติดตามตรวจสอบที่
ตอเนื่องและโปรงใส ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาตัวชี้วัดและระบบการประเมินความเขมแข็งของชุมชน เพื่อให
สามารถติดตามความกาวหนาในการยกระดับความเขมแข็งของชุมชนไดอยางตอเนื่อง
4.4.3 สรางการมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ เพื่อสรางประชาธิปไตยชุมชน
โดยสนับสนุนใหประชาชนสามารถรวมกลุมและมีเวทีกลางเพื่อสรางกระบวนการเรียนรูรวมกัน
และเพื่อปรึกษาหารือกิจการที่เปนประเด็นสาธารณะ สามารถกำหนดเปาหมายการพัฒนาบนฐานการมีขอมูล
และการใชเหตุผล และสรางขอตกลงรวมกันที่สามารถผูกพันและตรวจสอบการทำงานของภาครัฐ และลดความ
ขัดแยงได อันจะเปนเครื่องมือสำคัญในการสรางประชาธิปไตยที่ระดับฐานราก และสรางความสมานฉันท
ตลอดจนปรับบทบาทภาครัฐใหเปนฝายสนับสนุนใหชุมชนจัดการตนเองไดมากขึ้น โดยรัฐเปนที่ปรึกษาสนับสนุน
องคความรูและพัฒนาทักษะในการบริหารจัดการใหกับชุมชน เพื่อเปนพลังของการพัฒนา
4.4.4 สรางภูมคิ ุมกันทางปญญาใหกับชุมชน
โดยการสรางการเรียนรูข องชุมชนใหส ามารถกาวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก การพัฒนา
เทคโนโลยีและสงเสริมโอกาสการเขาถึงขอมูลขาวสารและองคความรูของชุมชน ผานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารอยางทั่วถึงและเปนธรรม เพื่อเรงกระบวนการเรียนรูของชุมชนในการกาวเขาสูสังคมในยุคดิจิทัล การ
พัฒนาวิธีคิดในการประกอบการและการจัดการความเสี่ยงดานตาง ๆ ในบริบทของการแขงขันอยางยั่งยืน
รวมถึงการเพิ่มความสามารถและทักษะในการใชความรูและเทคโนโลยีอยางสรางสรรคเพื่อแกปญหาและ

58
ยกระดับขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการตนเอง และสรางหลักประกันใหคนทุกกลุมไดรับโอกาสและ
เขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองโดยไมจำกัดวัยหรือเพศสภาวะ

59
ยุทธศาสตรชาติ
ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
1. บทนำ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมซึ่งเปนปจจัยที่มีอยูอยางจำกัด ถือวาเปนองคประกอบสำคัญในการ
ดำรงชีพของมนุษย และสงผลตอการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา และเพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายการ
พัฒนาประเทศในระยะ 20 ปไดอยางยั่งยืน จึงจำเปนตองกำหนดใหมียุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบน
คุณภาพชี วิ ตที ่ เป นมิ ตรต อสิ่ งแวดล อม เพื ่ อกำหนดแนวทางการแก ไขป ญหาด านทรั พยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดลอมของประเทศในปจจุบันที่มีปญหาความเสื่อมโทรมอยางตอเนื่อง ทั้งในสวนของพื้นที่ปาไมที่ลดลง
ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม ความหลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม ทรัพยากรน้ำที่ยังไมสามารถจัดสรรไดตาม
ความตองการไดอยางเต็มศักยภาพและมีความเสี่ยงในการขาดแคลนในอนาคต ซึ่งปญหาเชิงทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอมดังกลาวจะกอใหเกิดจุดออนของการรักษาและยกระดับฐานการผลิตและบริการของประเทศไดอยาง
ยั่งยืนตอไปในอนาคต
ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ไดนอมนำศาสตรของ
พระราชาสูการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยยึดหลัก 3 ประการคือ “มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน” มาเปน
หลักในการจัดทำยุทธศาสตรชาติควบคูกับการนำเปาหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้ง 17 เปาหมาย มาเปนกรอบ
แนวคิดที่จะผลักดันดำเนินการเพื่อนำไปสูการบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติดานสังคม
เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม ธรรมาภิบาล และความเปนหุนสวนความรวมมือระหวางกันทั้งภายในและภายนอกประเทศ
อยางบูรณาการ โดยมีวิสัยทัศนเพื่อใหประเทศไทยเปนประเทศพัฒนาแลวที่มีคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมที่ดีที่สุด
ในอาเซียนภายในป พ.ศ. 2580
จากหลักการดังกลาวขางตน ทำใหการพัฒนายุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ถูกดำเนินการบนพื้นฐานความเชื่อในการเติบโตรวมกัน ไมวาจะเปนทางเศรษฐกิจ
สิ่งแวดลอม และคุณภาพชีวิต โดยใหความสำคัญกับการสรางสมดุลทั้ง 3 ดาน ไมใหมากหรือนอยจนเกินไป อัน
จะนำไปสูความยั่งยืนเพื่อคนรุนตอไปอยางแทจริง สอดคลองกับแนวคิดหลักของแผน คือ เติบโต สมดุล ยั่งยืน
ซึ่งเปนหัวใจของยุทธศาสตรชาติดานนี้

2. เปาหมาย
2.1 อนุ ร ั ก ษ แ ละรั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ ่ ง แวดล อ ม และวั ฒ นธรรม ให ค นรุ น ต อ ไปได ใ ช
อยางยั่งยืน มีสมดุล
2.2 ฟนฟูและสรางใหมฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อลดผลกระทบทางลบจากการ
พัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ
2.3 ใชประโยชนและสรางการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหสมดุลภายในขีด
ความสามารถของระบบนิเวศ
2.4 ยกระดับกระบวนทัศน เพื่อกำหนดอนาคตประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และ
วัฒนธรรม บนหลักของการมีสวนรวม และธรรมาภิบาล

60
3. ตัวชี้วัด
3.1 พื้นที่สีเขียวที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
3.2 สภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมไดรับการฟนฟู
3.3 การเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
3.4 ปริมาณกาซเรือนกระจก มูลคาเศรษฐกิจฐานชีวภาพ

4. ประเด็นยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอม
4.1 สรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
มุ  ง เน น การพั ฒ นาสั ง คมเศรษฐกิ จ ให เ ติ บ โตและมี ค วามเป น ธรรมบนความสมดุ ล ของฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดี ดวยเศรษฐกิจฐานชีวภาพ นำไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิต เพิ่ม
ความเปนธรรมทางสังคม สามารถลดความเสี่ยงของผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและลดปญหาความขาดแคลน
ของทรัพยากรลงได โดยมีเปาหมายสูสังคมที่มีระดับคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นแตมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ำลง ผาน
แนวทางและมาตรการตาง ๆ เชน การบริโภคและการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เพิ่มพื้นที่สีเขียวและปาไม
รักษาฐานทรัพยากรสัตวปาและความหลากหลายทางชีวภาพ สงเสริมใหสิ่งแวดลอมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความ
รับผิดชอบตอสังคม มีความเอื้ออาทร และเสียสละเพื่อผลประโยชนสวนรวมของชาติ
4.1.1 เพิ่มมูลคาของเศรษฐกิจฐานชีวภาพใหสอดคลองกับยุทธศาสตรดา นการสรางความสามารถในการ
แขงขัน
โดยสงเสริมและสรางเศรษฐกิจฐานชีวภาพอุบัติใหม และสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่มี
คุณภาพ
4.1.2 อนุรักษและฟน ฟูความหลากหลายทางชีวภาพในและนอกถิ่นกำเนิด
โดยเฉพาะสัตวปาและพันธุพืชที่ใกลสูญพันธุ โดยลดอัตราการสูญเสียชนิดพันธุที่ถูกคุกคาม ชนิด
พันธุเฉพาะถิ่น และแหลงที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ ตลอดจนควบคุมชนิดพันธุตางถิ่นที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศ
โดยอนุรักษพื้นที่ปาไมที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ชนิดพันธุสัตวปาและพันธุพืชเฉพาะถิ่น สัตวปาและ
พันธุพืชหายากและใกลสูญพันธุใหเปนฐานทรัพยากรที่มั่นคง ควบคูกับการลดภัยคุกคามและการบริหารจัดการ
ไมใหเกิดความขัดแยงระหวางสัตวปากับคนและชุมชน รวมถึงการสรางระบบฐานขอมูลในรูปแบบธนาคาร
พันธุกรรม โดยใหความสำคัญกับพันธุกรรมทองถิ่นที่มีคุณคาตอระบบนิเวศและ/หรือมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ
และภูมิปญญาทองถิ่นที่เกี่ยวของ เพื่อรวบรวมเชื้อพันธุและองคความรูสำหรับใชประโยชนในอนาคตและคง
ความหลากหลายทางพันธุกรรม มีการสงเสริมมาตรการทางเศรษฐศาสตร และมาตรการจูงใจในการอนุรักษและ
ใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพ สรางกลไกการใชประโยชนในระดับทองถิ่นอยางยั่งยืน และพัฒนา
ระบบการแบงปนผลประโยชน รวมถึงพัฒนาและบังคับใชมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวของ เชน สงเสริมพัฒนา
และการใชแนวคิดผูไดรับผลประโยชนเปนผูจาย โดยเฉพาะอยางยิ่งแนวคิดการเก็บคาบริการเชิงนิเวศในการ

61
บริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พรอมทั้งการศึกษา สำรวจ และวิจัยดานความหลากหลายทาง
ชีวภาพในระบบนิเวศที่มีความสำคัญ ทั้งในและนอกพื้นที่คุมครอง โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความหลากหลายทาง
ชีวภาพสูง และพื้นที่วิกฤต เพื่อพัฒนาและเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลใหไดมาตรฐาน สะดวกตอการเขาถึงและ
นำไปใชประโยชน และการสงเสริมการเกษตรที่ชวยอนุรักษฟนฟูความหลากหลายทางชีวภาพ
4.1.3 อนุรักษและฟน ฟูแมน้ำลำคลองและแหลงน้ำธรรมชาติทวั่ ประเทศ
โดยฟนฟูแมน้ำลำคลองและการปองกันตลิ่งและฝายชะลอน้ำ มีการวางแผนการอนุรักษและฟนฟู
แหลงน้ำบนพื้นฐานของการรักษาสมดุลนิเวศ สงเสริมกลไกการมีสวนรวมในการบริหารการจัดการอนุรักษและ
พัฒนาแมน้ำ คู คลองและแหลงน้ำธรรมชาติ มีระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย ระบบเก็บขนและกำจัดขยะมูล
ฝอยและสิ่งปฏิกูลของชุมชนใหถูกตองตามหลักสุขาภิบาล สนับสนุนใหมีโครงขายการสัญจรทางน้ำที่สะดวก
ปลอดภัย ประหยัดและมีประสิทธิภาพ สงเสริม สนับสนุนใหประชาชน องคกรเอกชน เอกชน มีความรูความ
เขาใจ ความตระหนักตอคุณคาและความสำคัญของแมน้ำ คู คลอง
4.1.4 รักษาและเพิ่มพื้นทีส่ ีเขียวที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
โดยหยุดยั้งการบุกรุกทำลายพื้นที่ปา โดยประยุกตใชเทคโนโลยีในการบริหารจัดการพื้นที่เสี่ยงตอ
การถูกบุกรุก มีการบริหารจัดการเชิงพื้นที่และมีการบูรณาการทุกหนวยงานในการเฝาระวังและปองกันการบุก
รุกปาสงเสริมการฟนฟูระบบนิเวศปาธรรมชาติที่เสื่อมโทรม พื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมาย พื้นที่ปาตนน้ำบนพื้นที่
สูงชัน และพื้นที่แนวกันชน สงเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองและชุมชน สงเสริมการใชประโยชนพื้นที่ตน
น้ำที่เหมาะสมและไมเกิดผลกระทบโดยกำหนดสิทธิชุมชนที่เขาไปใชประโยชนจากปาจะตองคำนึงถึงความ
เปราะบางของระบบนิเวศ ขีดจำกัด และศักยภาพในการฟนตัว เพื่อใหชุมชนมีความรูสึกหวงแหน เกิดการ
อนุรักษทรัพยากรปาไม และมีการปลูกปาเพิ่มขึ้นตามหลักการผูไดรับประโยชนจากปาเปนผูดูแลปา สงเสริมปลูก
ปาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมจากปาปลูกแบบครบวงจร สรางกลไกหรือระบบตัดฟนระยะยาวที่ถูกตองตามหลัก
วิชาการและกฎหมายสำหรับพื้นที่ที่อยูนอกเขตพื้นที่ปาไมและพื้นที่ของเอกชน โดยใหสามารถนำมาใชประโยชน
ควบคูกับการสงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสามารถระบุแหลงกำเนิดของไม และปองกันการลักลอบนำไมออก
จากปา รวมถึงการสรางและพัฒนาพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผอนหยอนใจและการเรียนรูทางธรรมชาติในเขตชุมชน
เมืองและชนบทเพื่อใหประชาชนไดประโยชนและรูสึกใกลชิดธรรมชาติ เกิดความรูสึกหวงแหน เกิดจิตสำนึกใน
การอนุรักษและไดรับความสุขจากทรัพยากรธรรมชาติ พรอมทั้งการแกไขปญหาชุมชนที่ทำกินในเขตปา โดยเนน
การใชประโยชนที่ไมเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในรูปแบบคนอยูกับปาอยางยั่งยืน การจัดทำแผนที่แนวเขต
พื้นที่สีเขียว ที่เปนมาตรฐานเดียวกัน และจัดทำฐานขอมูลพื้นที่สีเขียวรายจังหวัด การสงเสริมการบริหารจัดการ
พื้นที่ปาชุมชนและปาครอบครัวแบบมีสวนรวม การสรางเครือขายภาคประชาชนทุกระดับอายุใหมีสวนรวม
ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
4.1.5 สงเสริมการบริโภคและการผลิตทีย่ ั่งยืน
โดยสงเสริมการบริโภคและการผลิตสีเขียวอยางยั่งยืน ซึ่งรวมถึงการสงเสริมใหเกิดการลงทุนและ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคและการผลิต วิธีคิดและวิถีชีวิตของบุคคลและองคกรใหมีการใชทรัพยากร
อยางประหยัดคุมคาและมีประสิทธิภาพมากที่สุด การสรางการมีจิตสำนึกในการผลิตที่มีความรับผิดชอบตอ

62
สิ่งแวดลอมและพฤติกรรมการบริโภคอยางพอเพียงและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การใชกลไกทางเศรษฐศาสตร
และมาตรการทางสังคมจูงใจผูบริโภคและผูผลิต การสรางระบบและกลไกการเฝาระวัง ติดตาม ตรวจสอบ และ
ควบคุมมลพิษในภาคการผลิต และการใชมาตรการการตรวจสอบยอนกลับถึงแหลงที่มาของวัตถุดิบ พรอมทั้ง
สงเสริมใหมีการลดขยะเปนศูนย จัดการขยะแบบเบ็ดเสร็จยั่งยืน การลดการปลอยมลพิษและผลกระทบ
สิ่งแวดลอม ซึ่งรวมถึงการจัดการการปลอยมลพิษจากภาคการผลิตเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจควบคูกับการใช
ทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพมีมลพิษต่ำโดยกระบวนการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การมีระบบจัดการของ
เสียจากแหลงกำเนิดมลพิษทุกประเภทที่เพียงพอและมีการจัดการมลพิษไดเปนไปตามมาตรฐาน มีการบังคับใช
กฎหมายกับผูประกอบการอยางเครงครัด รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน การพัฒนาพลังงาน
ทดแทนและพลังงานทางเลือกดวยการวิจัย พัฒนาวัตถุดิบและเทคโนโลยี การเพิ่มศักยภาพการผลิต การใช และ
ตลาด ตลอดจนการสรางจิตสำนึกและเขาถึงองคความรูดานพลังงาน พรอมทั้งการสงเสริมการจัดซื้อจัดจางสี
เขียวทั้งระบบ ซึ่งรวมถึงการสนับสนุนใหทุกหนวยงานของรัฐมีการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่ไดรับการ
รับรองผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การสงเสริมใหภาคเอกชนใชสินคาและบริการจากผลิตภัณฑที่เปน
มิตรตอสิ่งแวดลอม การสงเสริมการบริโภคที่ยั่งยืน โดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทีเ่ ปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พรอมทั้ง
มีการสงเสริมและพัฒนาเครื่องมือทางเศรษฐศาสตรเพื่อสรางแรงจูงใจใหดำเนินการเพื่อรองรับการปลูกปาและ
เพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เอกชน การปรับปรุงกลไกรัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมของ
ประชาชนและภาคเอกชน

4.2 สรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล
มุงเนนการใหความสำคัญกับการสรางการเติบโตของประเทศจากกิจกรรมทางทะเลที่หลากหลายควบคู
ไปกับการดูแลฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝงทั้งหมด ภายใตอำนาจและสิทธิประโยชนของประเทศที่พึงมีพึง
ได เพื่อความเปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม โดยมุงเนนการถายทอดองคความรูเรื่องทะเลที่ถูกตอง
และเพียงพอ เพิ่มมูลคาของเศรษฐกิจฐานชีวภาพทางทะเล ปรับปรุงและฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝงทั้ง
ระบบ พัฒนาและเพิ่มสัดสวนกิจกรรมทางทะเลที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
4.2.1 เพิ่มมูลคาของเศรษฐกิจฐานชีวภาพทางทะเล
โดยเสริมสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศในดานตาง ๆ ตามแนวทางเศรษฐกิจภาค
ทะเลใหมีบทบาทเปนที่ยอมรับในกลุมประเทศอินโดจีนและประชาคมอาเซียน เรงลดความเหลื่อมลํ้าในการ
เขาถึงทรัพยากร กระจายประโยชนที่เกิดขึ้นใหทั่วถึง เพื่อยกระดับรายไดและคุณภาพชีวิตของประชาชน พรอม
ทั้งสงเสริมและสรางเศรษฐกิจฐานชีวภาพทางทะเล สงเสริมผูประกอบการรายยอยและวิสาหกิจชุมชนให
คำนึงถึงทรัพยากรและสิ่งแวดลอมพัฒนาศักยภาพคนและการใชเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน
บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการกับกาซเรือนกระจก พรอมรับมือกับ
ผลจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงที่สงผลกระทบตอทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ตลอดจนเศรษฐกิจภาค
ทะเล การปรับตัวตอสภาวะการเปลี่ยนแปลง และมีการประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของระบบนิเวศที่เปน
มาตรฐาน มีระบบเศรษฐศาสตรและเครื่องมือทางการคลังที่เหมาะสม เพื่อใหเกิดความรับผิดชอบโดยผูใช

63
ประโยชน หรือตอผูทำความเสียหายตอทรัพยากร และสงเสริมการใชประโยชนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมถึง
มีกลไกการบริหารจัดการพื้นที่ชายฝงทะเลและในทะเลที่มีประสิทธิภาพ มีผังชายฝงและฝงทะเลชัดเจน กำหนด
พื้นที่การพัฒนาในรูปแบบตาง ๆ โดยการมีสวนรวมของประชาชนและสอดคลองกับสภาพภูมิศาสตรและ
ทรัพยากรในพื้นที่
4.2.2 ปรับปรุง ฟน ฟู และสรางใหมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ทั้งระบบ
โดยรักษาแนวปะการังที่สำคัญตอการทองเที่ยว รักษาปาชายเลนที่สำคัญตอการดูดซับกาซเรือน
กระจก รักษาแหลงหญาทะเลที่สำคัญตอประมงและสัตวทะเลหายาก มีพื้นที่คุมครองทางทะเลที่มีประสิทธิภาพ
ในรูปแบบตาง ๆ โดยสงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชนและประชาชนในการดูแลจัดการพื้นที่ พัฒนากลไก
คุมครองสัตวที่มีความสำคัญตอระบบนิเวศ การทองเที่ยว และการอนุรักษที่มีมาตรฐานระดับสากล พรอมทั้งมี
ระบบควบคุมและตรวจสอบผลกระทบจากสิ่งแวดลอมที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับการพัฒนา
เศรษฐกิจอยางยั่งยืนโดยคำนึงถึงมูลคาของระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิตทางทะเล กระบวนการมีสวนรวมชัดเจนและ
เปนที่ยอมรับ รวมถึงมีระบบตรวจสอบ แจงเตือน ติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพในปญหาสิ่งแวดลอม
เพื่อลดผลกระทบตอระบบนิเวศ สัตวทะเลหายาก หวงโซอาหาร และคุณภาพอาหารทะเล รวมถึงมีการกระจาย
ความรูดานทะเลในทุกระดับชั้นและครอบคลุมทุกรูปแบบ และมีกิจกรรมการสรางความตระหนักทางทะเล มี
ระบบศูนยขอมูลความรูเชิงรุกที่เขาถึงไดผานระบบเทคโนโลยีดิจิทัล มีการศึกษาวิจัยเรื่องทะเลอยางตอเนื่อง และ
พัฒนาฐานขอมูลเปนคลังรวมความรูดานผลประโยชนทางทะเลเพื่อใหคำปรึกษาชวยการตัดสินใจของผูบริหาร
และใหบริการความรูแกประชาชน ที่จะนำความรูไปพัฒนาใหเกิดการใชประโยชนอยางยั่งยืน
4.2.3 ฟนฟูชายหาดที่เปนแหลงทองเที่ยว ชายฝงทะเลไดรับการปองกันและแกไขทั้งระบบ และมีนโยบาย
การจัดการชายฝงแบบบูรณาการอยางเปนองครวม
โดยจัดการชายฝงประเทศไทยทั้งหมดแบบบูรณาการ ชายฝงทะเลไดรับการปองกัน แกไขปญหา
และมีนโยบายการจัดการชายฝงที่เหมาะสม มีแผนแมบทกำหนดวิธีการจัดการในแตละพื้นที่สำคัญทั่วประเทศ มี
การลดพื้นที่ที่มีปญหาการกัดเซาะชายฝง โดยใชรูปแบบการปองกันและแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงที่
เหมาะสม รวมถึงการปองกันการกัดเซาะชายฝงในบริเวณที่ยังไมเกิดปญหา
4.2.4 พัฒนาและเพิม่ สัดสวนกิจกรรมทางทะเลที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
โดยการทองเที่ยวทางทะเลมีการคำนึงถึงความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ การลด
ความเหลื่อมล้ำและดูแลผลประโยชนใหเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่ การดูแลความปลอดภัยนักทองเที่ยวทาง
ทะเล การพัฒนาทาเรือทั้งระบบใหเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พัฒนาการทองเที่ยวทางทะเลรูปแบบใหม พัฒนา
ประเทศใหเปนศูนยกลางทาเรือสำราญในภูมิภาค การจัดทำแหลงทองเที่ยวดำน้ำที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อรองรับ
ปริมาณนักทองเที่ยวในอนาคต สงเสริมใหประเทศเปนศูนยกลางดานพาณิชยนาวีของภูมิภาค พัฒนาการเดินเรือ
สินคาตามแนวชายฝงใหเติบโตอยางยั่งยืนและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สงเสริมการประเมินทรัพยากรประมง เพื่อ
ใชในการวางแผนการบริหารจัดการใหสอดคลองกับศักยภาพ การทำประมงที่คำนึงถึงความสมดุลของทรัพยากร
ควบคุมและยกเลิกเครื่องมือประมงที่ทำลายลาง และปองกันไมใหเรือประมงผิดกฎหมาย ทั้งจากภายในและ
ภายนอกประเทศเขามาทำการประมงที่ผ ิ ดกฎหมาย เรงพัฒนาการจัดการดานการเพาะเลี้ยงในทะเล ที่

64
สอดคลองกับแผนการใชประโยชนเชิงพื้นที่ทางทะเล การศึกษาวิจัยเพื่อนำความรูและนวัตกรรมใหม ๆ มา
พัฒนาการประมงครบวงจร เพื่อใหประเทศยังคงเปนผูนำดานการผลิตและสงออกผลิตภัณฑประมงมูลคาสูงและ
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
4.3 สรางการเติบโตอยางยั่งยืนบนสังคมที่เปนมิตรตอสภาพภูมิอากาศ
มุงเนนลดการปลอยกาซเรือนกระจก และสรางสังคมคารบอนต่ำ ปรับปรุงการบริหารจัดการภัยพิบัติทั้ง
ระบบ และการสรางขีดความสามารถของประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหาย
จากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พรอมทั้งสนับสนุนการลงทุนใน
โครงสรางพื้นฐานที่เปนมิตรตอสภาพภูมิอากาศ
4.3.1 ลดการปลอยกาซเรือนกระจก
โดยพัฒนารูปแบบและแนวทางการจัดการเมืองเพื่อมุงสูเมืองคารบอนต่ำ และพื้นที่สีเขียวในทุก
รูปแบบ รวมทั้งสนับสนุนการจัดการดานการเกษตรที่มีผลประโยชนรวมในการลดกาซเรือนกระจก รวมทั้งเรง
ฟนฟูพื้นที่ปาเสื่อมโทรม สงเสริมการเพิ่มพื้นที่ปาเพื่อเปนแหลงกักเก็บกาซเรือนกระจก
4.3.2 มีการปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวของกับการ
เปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ
โดยพัฒนาระบบฐานขอมูล การคาดการณสภาพภูมิอากาศและระบบเตือนภัยลวงหนาที่รวดเร็ว
แมนยำและมีประสิทธิภาพ และมีการเพิ่มประสิทธิภาพการปองกันและลดผลกระทบทั้งในเชิงโครงสรางและ
ไมใชโครงสรางเพื่อเตรียมรับมือกับพิบัติภัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่เหมาะสมกับแตละภูมิสังคม
ของประเทศ พร อ มทั ้ ง พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารจั ด การพิ บ ั ต ิ ภ ั ย ทั ้ ง ระบบ โดยคำนึ ง ถึ ง ป จ จั ย การ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระยะยาว รวมถึงการเสริมสรางขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน และเมือง
ในการรับมือและปรับตัวตอผลกระทบจากพิบัติภัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
4.3.3 มุงเปาสูการลงทุนทีเ่ ปนมิตรตอสภาพภูมอิ ากาศในการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานของภาครัฐและ
ภาคเอกชน
โดยบูรณาการนโยบายและแผนพัฒนาประเทศในทุกสาขา โดยเฉพาะการพัฒนาโครงสราง
พื้นฐาน มีการสงเสริมสินคาและบริการคารบอนต่ำเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศอยางเปน
ระบบ และพั ฒ นาเครื ่ องมื อทางเศรษฐศาสตรเพื่อสร างแรงจู งใจและสนับสนุน การลงทุ น เพื ่ อรองรั บ การ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งพัฒนารูปแบบทางธุรกิจดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พรอมทั้งมี
การพั ฒ นากฎหมายเพื ่ อ ขั บ เคลื ่ อ นการบริ ห ารจั ด การด า นการเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศอย า ง
มีประสิทธิภาพ

65
4.3.4 พัฒนาและสรางระบบรับมือปรับตัวตอโรคอุบัติใหมและโรคอุบัติซำ้ ที่เกิดจากการเปลีย่ นแปลง
ภูมิอากาศ
โดยพัฒนาโครงสรางระบบสาธารณสุข เครือขายเตือนภัยและเฝาระวังโรคใหมีคุณภาพและมี
ประสิทธิภาพ ครอบคลุมประชากรกลุมเสี่ยงที่มีความออนไหวตอปจจัยการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ ตอโรคอุบัติ
ใหม โรคอุบัติซ้ำ การพัฒนาระบบสาธารณสุขสิ่งแวดลอมและเวชศาสตรปองกันทั้งระบบ

4.4 พัฒนาพืน้ ที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุงเนนความเปนเมืองที่เติบโต


อยางตอเนื่อง
มีขอกำหนด รูปแบบ และกฎเกณฑที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะการใชพื้นที่ตามศักยภาพและเปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอม โดยเนนการพัฒนา “เมืองนาอยู ชนบทมั่นคง เกษตรยั่งยืน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” โดยให
ความสำคัญกับการจัดทำแผนผังภูมินิเวศ การพัฒนาเมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรม อุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่
อนุรักษตามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินิเวศ พัฒนาพื้นที่ตนแบบตามแผนผังภูมินิเวศในทุกจังหวัด
อยางยั่งยืน ลดการปลดปลอยมลพิษและผลกระทบตอสิ่งแวดลอม สงเสริมเกษตรอัจฉริยะ สงวนรักษาและ
อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อุทยานธรณีวิทยา แหลงโบราณคดี มรดกทางสถาปตยกรรม
ศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณและวิถีชีวิตพื้นถิ่นอยางยั่งยืน
4.4.1 จัดทำแผนผังภูมินิเวศเพื่อการพัฒนาเมือง ชนบท พืน้ ทีเ่ กษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่
อนุรักษตามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินิเวศอยางเปนเอกภาพ
โดยจัดทำและพัฒนาระบบการเชื่อมโยง จัดการ และ วิเคราะห ขอมูลขนาดใหญ เพื่อการจัดทำ
แผนผังภูมินิเวศระดับประเทศ รวมถึงสนับสนุนการบริหารจัดการตามศักยภาพของภูมินิเวศ จัดทำแผนผังภูมิ
นิเวศของพื้นที่ตามเกณฑและมาตรฐานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การจัดการสิ่งแวดลอม การกำหนดเขตพื้นที่
แนวกันชน พอมทั้งการจัดทำผังเมืองและชนบท ตามเกณฑมาตรฐานและองคประกอบของผังเมืองรวมดานการ
ใชประโยชนที่ดิน คมนาคมขนสง สาธารณูปโภค สาธารณูปการ การจัดทำแผนผังพื้นที่เขตเกษตรเศรษฐกิจ
แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก เพื่อใชในการพัฒนาการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย การจัดทำ
ผังพื้นที่อุตสาหกรรมตามเกณฑมาตรฐานตลอดจนตัวชี้วัดเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ การจัดทำผังพื้นที่อนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติ แหลงโบราณคดี มรดกทางสถาปตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ และวิถีชีวิตพื้นถิ่น
อยางยั่งยืน
4.4.2 พัฒนาพืน้ ที่เมือง ชนบท เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ทีม่ ีการบริหารจัดการตามแผนผัง
ภูมินิเวศอยางยั่งยืน
โดยพัฒนาเมืองนาอยูอยางยั่งยืน พัฒนาชนบทมั่นคง พัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมปลอดภัย พัฒนา
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ อุทยานธรณีวิทยา แหลงโบราณคดี
มรดกอาเซียนและมรดกโลก มรดกทางสถาปตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ และวิถีชีวิตพื้นถิ่น

66
4.4.3 จัดการมลพิษที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และสารเคมีในภาคเกษตรทั้งระบบใหเปนไปตาม
มาตรฐานสากลและคามาตรฐานสากล
โดยปรับปรุงมาตรฐานสิ่งแวดลอมของประเทศตามมาตรฐานสากล และบังคับใชมาตรฐาน
สิ่งแวดลอมดานดิน น้ำ อากาศ ปาไม สัตวปา และความหลากหลายทางชีวภาพกับทุกภาคสวนอยางเครงครัด
การพั ฒ นามาตรฐานและระบบจั ด การมลพิ ษ กำเนิ ด ใหม พร อ มทั ้ ง ขจั ด มลพิ ษ และแก ไ ขฟ  น ฟู ผ ลกระทบ
สิ่งแวดลอมดานดิน น้ำ อากาศ ปาไม สัตวปา และความหลากหลายทางชีวภาพ อันเกิดจากโครงการพัฒนา
ประเทศดานตาง ๆ มีการพัฒนาและใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อลดมลพิษ และผลกระทบสิ่งแวดลอม
พรอมทั้งกำหนดเปาหมายการจัดการขยะตั้งแตตนทางถึงปลายทาง ดวยเปาหมาย 3R (Reduce, Reuse,
Recycle) พรอมทั้งมีกลไกกำกับดูแลการจัดการขยะและมลพิษอยางเปนระบบทั้งประเทศ
4.4.4 สงวนรักษา อนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางสถาปตยกรรมและ
ศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ และวิถีชีวิตพืน้ ถิ่นบนฐานธรรมชาติ และฐานวัฒนธรรมอยางยั่งยืน
โดยกำหนดใหภาครัฐเปนแกนกลางในการใหความรู ประสาน และบูรณาการทุกภาคสวนในการ
เพิ่มและรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อเพิ่มพื้นที่ปาไมในภาพรวมของประเทศ การฟนฟูระบบนิเวศและความหลากหลาย
ทางชีวภาพ พรอมกับการปรับปรุงกฎหมายและบังคับใชเรื่องการใชประโยชนของชุมชนในพื้นที่ปาอยางสมดุล
การพัฒนาและสงเสริมกลไกคารบอนเครดิต และกลไกคาตอบแทนการใหบริการของระบบนิเวศ และการสงวน
รักษาอนุรักษ และฟนฟู แหลงโบราณคดี มรดกทางสถาปตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ และวิถีชีวิตพื้น
ถิ่นอยางยั่งยืน โดยจัดใหมีมาตรการชดเชยและแรงจูงใจในการดำเนินการ
4.4.5 พัฒนาเครือขายองคกรพัฒนาเมืองและชุมชน รวมทั้งกลุมอาสาสมัคร ดวยกลไกการมีสวนรวมของ
ทุกภาคสวนในทองถิ่น
โดยการสนับสนุนการพัฒนาเครือขายองคกรพัฒนาเมือง ชุมชน และเครือขาย ที่ประกอบดวย
ภาคีสำคัญตามบริบทของพื้นที่อยางเปนรูปธรรม เชื่อมโยงการพัฒนารวมกันในทุกระดับและพัฒนาศักยภาพ
องคกร เพื่อการพัฒนาเมือง ชุมชน และเครือขาย ใหมีทักษะทัดเทียมกับประเทศอื่นในระดับสากล โดยพัฒนา
สหกรณ วิสาหกิจชุมชน หรือองคกรธุรกิจประจำชุมชน เพื่อสงเสริมใหเกิดกลไกทางเศรษฐศาสตรในการพัฒนา
ผลผลิตตามมาตรฐานสากล ธุรกิจชุมชนแบบครบวงจร และตลาดเพื่อเกษตรกรโดยเกษตรกร พรอมกับสงเสริม
กิจกรรมสรางความสัมพันธและรายไดใหกับชุมชน
4.4.6 เสริมสรางระบบสาธารณสุขและอนามัยสิง่ แวดลอม และยกระดับความสามารถในการปองกันโรค
อุบัติใหมและอุบัติซ้ำ
ตลอดจนควบคุมการแพรระบาดของโรคเหลานี้ โดยศึกษาวิจัยสรางองคความรูดานการสงเสริม
สุขภาพและการปองกันโรคในประชากรทุกกลุม โดยเฉพาะกลุมเปราะบาง เพิ่มขีดความสามารถในการติดตาม
วิเคราะหและประเมินแนวโนมสถานการณปญหาโรคอุบัติใหมและอุบัติซ้ำ และสรางความพรอมของภาคี
เครือขายในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินจากโรคระบาดตาง ๆ

67
4.5 พัฒนาความมัน่ คงน้ำ พลังงาน และเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
มุงเนนพัฒนาระบบจัดการน้ำทั้งระบบ เพื่อใหเกิดความมั่นคง เพิ่มผลิตผลในเรื่องการจัดการและการใชน้ำ
ทุกภาคสวน ดูแลภัยพิบัติจากน้ำทั้งระบบ พัฒนาความมั่นคงทางพลังงานอยางเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เนน
สงเสริมการใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกที่คำนึงถึงการพัฒนาอยางเหมาะสม ใหมีประสิทธิภาพ เพิ่ม
ศักยภาพและการใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกในพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด พัฒนาความมั่นคง
การเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ใหเปนฐานการผลิตอาหารที่มั่นคงและปลอดภัย และเปนฐานการผลิตที่มี
ผลิตภาพสูง
4.5.1 พัฒนาการจัดการน้ำเชิงลุมน้ำทั้งระบบเพือ่ เพิ่มความมั่นคงดานน้ำของประเทศ
โดยจัดใหมีน้ำสะอาดใชทุกครัวเรือนในชุมชนชนบท ในปริมาณ คุณภาพ และราคาที่เขาถึงได มี
ระบบการจัดการน้ำชุมชนที่เหมาะสม พรอมทั้งสงเสริมฟนฟู อนุรักษ พื้นที่ตนน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ พื้นที่พักน้ำ แหลงน้ำ
ธรรมชาติ แองน้ำบาดาล การระบายน้ำชายฝง ใหมีปริมาณและคุณภาพน้ำ และใชประโยชนไดตามเกณฑ มีการ
จัดทำแผนปองกัน ฟนฟู รักษา รวมกับแผนรักษาเขตตนน้ำ แผนปองกันแผนดินถลม แผนอนุรักษ ฟนฟู รักษา
สภาพสิ่งแวดลอม แหลงน้ำธรรมชาติ ตามพื้นที่ที่กำหนดและตามความสำคัญ และมีการพัฒนาการจัดการน้ำเชิง
ลุมน้ำทั้งระบบใหมีระดับความมั่นคงในระดับสากล โดยการจัดหาและใชน้ำที่สมดุล ทันสมัย ทันการณ และสราง
ความเปนธรรม ใชระบบทั้งทางโครงสราง กฎระเบียบ การบริหารจัดการการจัดหาและใชน้ำที่ไดสมดุล ระบบ
และกลไกการจัดสรรน้ำที่เปนธรรม การยกระดับผลิตภาพการใชน้ำใหเทียบเทาระดับสากล รวมทั้งการเตรียม
ความพรอมทางบุคลากร สังคม สารสนเทศและการสื่อสาร การพัฒนาเครื่องมือการจัดการ การดำเนินการ
เพื่อสรางสมดุล สรางวินัยของประชาชนในการใชน้ำและการอนุรักษอยางรูคุณคา พรอมทั้งมีการแลกเปลี่ยน
ประสบการณสารสนเทศกับนานาชาติ และการดำเนินการรวมใชน้ำกับแมน้ำระหวางประเทศ โดยพิจารณา
และดำเนินการโครงการบูรณาการและเชื่อมโยงกับประเด็นอื่นรวมกับระดับสากล และมีการจัดระบบการจัดการ
น้ำในภาวะวิกฤติ ใหสามารถลดสูญเสีย ความเสี่ยง จากภัยพิบัติที่เกิดจากน้ำตามหลักวิชาการใหอยูในขอบเขต
ที่ควบคุมที่มีประสิทธิภาพ โดยแบงตามลักษณะของแตละพื้นที่ได และสามารถฟนตัวไดในเวลาอันสั้น
4.5.2 เพิ่มผลิตภาพของน้ำทั้งระบบในการใชน้ำอยางประหยัด รูคุณคา และสรางมูลคาเพิม่ จากการใชน้ำ
ใหทัดเทียมกับระดับสากล
โดยจัดใหมีน้ำเพียงพอตอการเจริญเติบโตของเขตเมืองเพื่อการอยูอาศัย การพาณิชยและบริการ
พรอมระบบจัดการน้ำในเขตเมือง มีระบบแผนผังน้ำ ระบบกระจายน้ำดี ระบบรวบรวมน้ำเสีย ระบบระบายน้ำ
สำหรับภาคบริการในเขตเมือง รวมถึงชุมชนเมืองใหเพียงพอตอความตองการทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดย
พัฒนาระบบน้ำในเมืองที่มีความเชื่อมโยง มีแหลงน้ำสำรอง การใชน้ำซ้ำในพื้นที่วิกฤติ พรอมทั้งจัดใหมีน้ำใช
เพียงพอสำหรับการพัฒนาเกษตร อุตสาหกรรม และทองเที่ยว รวมทั้งมีระบบดูแลน้ำภายในพื้นที่สำหรับผูใชน้ำ
ในนิคมเกษตร อุตสาหกรรมสมัยใหม พื้นที่ชลประทาน พื้นที่เกษตรน้ำฝน พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ แหลงทองเที่ยว
เกษตรพลังงาน เกษตรเพิ่มมูลคาและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยทบทวนระบบน้ำตามการปรับโครงสรางเกษตร
และอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนไป เนนปรับโครงสรางการใชน้ำ การจัดสรรน้ำในแตละภาคสวน พรอมทั้งการเพิ่มผลิต
ภาพของการใชน้ำ โดยการใชอยางมีคุณคา การนำน้ำกลับมาใชใหม เพิ่มประสิทธิภาพการสงและการใชน้ำทุก

68
ภาคสวน และเพิ่มการเก็บกักในพื้นที่ มีระบบการขออนุญาตใชน้ำตามเกณฑและความสำคัญ เพื่อสนับสนุนการ
สรางมูลคาเพิ่มของภาคการผลิตและบริการ และรองรับการเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต
4.5.3 พัฒนาความมัน่ คงพลังงานของประเทศและสงเสริมการใชพลังงานทีเ่ ปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
เพิ่มสัดสวนการใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลในการผลิต
ไฟฟา รวมทั้งพัฒนาวิธีการบริหารจัดการระบบไฟฟาทั้งดานอุปทานและดานอุปสงคใหมีประสิทธิภาพและความ
ยืดหยุน เพื่อใหสามารถรองรับพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกที่เพิ่มขึ้นในระบบไดอยางมั่นคงและมี
เสถียรภาพ พรอมทั้งสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรม และสรางความเชื่อมโยง
ระหวางภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาคครัวเรือน รวมทั้ง สนับสนุนการวิจัย พัฒนา และ
ถายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับการกักเก็บพลังงาน และระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ เพื่อใหสามารถผลิตไฟฟาจาก
พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกไดในสัดสวนที่สูงขึ้น และการผลิตไฟฟาที่มีการกระจายศูนยมากขึ้น
พรอมทั้งสนับสนุนการใชกลไกการตลาดหรือมาตรการทางเศรษฐศาสตรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการดานพลังงานที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
4.5.4 เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานโดยลดความเขมขนของการใชพลังงาน
โดยสนับสนุนการอนุรักษและการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อลดตนทุนพลังงานของ
ประเทศ ดวยการสงเสริมผานเครื่องมือและกลไกทางการเงินและมิใชการเงิน รวมทั้งมาตรการทางกฎหมาย
พรอมทั้งสงเสริมการออกแบบอาคารประหยัดพลังงาน สนับสนุนทางการเงินและบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับการ
กอสรางและออกแบบอาคาร มีการรณรงคและใหความรูความเขาใจกับประชาชนในดานการประหยัดพลังงาน
สงเสริมใหใชอุปกรณและเครื่องจักรที่ประหยัดพลังงาน การใชฉลากสีเขียวกับยานยนตและอุปกรณประหยัด
ไฟฟาตาง ๆ รวมถึงการสงเสริมระบบโลจิสติกสและการขนสงที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
4.5.5 พัฒนาความมัน่ คงดานการเกษตรและอาหารของประเทศและชุมชนในมิติปริมาณ คุณภาพ ราคา
และการเขาถึงอาหาร
โดยบริหารจัดการทรัพยากรทางการเกษตรและเพิ่มผลิตภาพการเกษตรแบบบูรณาการ โดยเนน
ใหเกิดความมั่นคงทางอาหารภายในประเทศและเกษตรอาหารมูลคาเพิ่มสูง พรอมทั้งเพิ่มพื้นที่เกษตรผสมผสาน
จัดเขตการเกษตร มีการใชมาตรการการตรวจสอบยอนกลับถึงแหลงที่มาของวัตถุดิบ เพื่อลดการบุกรุกและ
ทำลายพื้นที่ปา รวมทั้งมีการพัฒนาเกษตรกรรุนใหม เพิ่มการจางงานในภาคเกษตรเพื่อรองรับเศรษฐกิจชีวภาพ
รวมทั้งยกระดับอาชีพเกษตรกรใหมีรายไดตอหัวเพิ่มขึ้นและมีความภาคภูมิใจในอาชีพเกษตรกรรม

4.6 ยกระดับกระบวนทัศนเพื่อกำหนดอนาคตประเทศ
มุงสงเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงคดานสิ่งแวดลอมของคนไทย พัฒนาเครื่องมือและ
กลไกเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มีประสิทธิภาพ รองรับการเติบโตที่มีคุณภาพ
ในอนาคต รวมทั้งจัดตั้งและพัฒนากระบวนการยุติธรรมดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และพัฒนา

69
ระบบประชาธิปไตยสิ่งแวดลอม เพื่อแกไขปญหาและลดความขัดแยง พัฒนา และดำเนินโครงการยกระดับ
กระบวนทัศนเพื่อกำหนดอนาคตประเทศ
4.6.1 สงเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงคดานสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย
โดยปรับปรุงกลไกรัฐและพัฒนาเครื่องมือตาง ๆ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอมของประชาชนและภาคเอกชนใหรองรับการเติบโตที่มีคุณภาพในอนาคต มีการสรางความรู ความ
เขาใจ การตระหนักรู และการมีสวนรวมดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งใน
ประเทศและตางประเทศ ผานชองทางตาง ๆ อยางเปนระบบและตอเนื่อง
4.6.2 พัฒนาเครื่องมือ กลไกและระบบยุตธิ รรม และระบบประชาธิปไตยสิง่ แวดลอม
เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับการ
เติบโตที่มีคุณภาพในอนาคต โดยพัฒนาและยกระดับการประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร เพื่อเปนกลไกใน
การปองกันผลกระทบดานสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคมในพื้นที่สำคัญ พรอมทั้งประยุกตใชนวัตกรรมเวที
ดิจิทัล เพื่อรังสรรคนโยบายที่นำไปสูการปฏิบัติไดจริง และสอดคลองกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พรอมทั้งพัฒนาระบบ
ประชาธิปไตยสิ่งแวดลอม โดยเพิ่มบทบาทของประชาชนในการมีสวนรวมในการอนุรักษ คุมครองและจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการเขาถึงขอมูลขาวสารดานสิ่งแวดลอม และกระบวนการมีสวนรวมที่
สรางสรรคในโครงการที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม สุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจ ทั้งนี้ รวมถึงการกระจาย
อำนาจและการสรางความเขมแข็งใหแกองคกรชุมชน องคกรประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใน
การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และมีการพัฒนาและออกกฎหมาย การบังคับใชกฎหมายและ
องคกรในกระบวนการยุติธรรมเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหทันสมัย มีความเชี่ยวชาญ และมี
ประสิทธิภาพตามหลักนิติธรรมและหลักประชาธิปไตยสิ่งแวดลอม ที่จะสามารถลดความเหลื่อมล้ำ และปองกัน
แกไขปญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดครอบคลุม ทั้งปญหาเดิมและปญหาอุบัติใหมอันจะทำใหเกิด
การจัดการอยางยั่งยืน สามารถเยียวยาฟนฟูบุคคลชุมชนและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เสียหายได
อยางเหมาะสมและเปนธรรม พรอมทั้งพัฒนาความรวมมือในเรื่องการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมข ามพรมแดนกับประเทศอาเซี ยนและภูม ิ ภาคอื่ นอยางเปนรูปธรรม เพื่ อป องกั นแก ไขปญหา
สิ่งแวดลอมของภูมิภาค การฟนฟูและขยายพื้นที่สีเขียว และความหลากหลายทางชีวภาพในภูมิภาค รวมทั้งการ
เพิ่มกระบวนการมีสวนรวมกอนการตัดสินใจในโครงการขนาดใหญที่มีผลกระทบขามพรมแดน การเพิ่มความ
รวมมือในเรื่องการจัดการภัยพิบัติในภูมิภาคไดอยางทั่วถึงและทันการณ และการพัฒนาความรวมมือระหวาง
หนวยงานยุติธรรมในภูมิภาค ในการสรางระบบยุติธรรมเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเปนไป
ตามมาตรฐานสากล

70
4.6.3 จัดโครงสรางเชิงสถาบันเพื่อจัดการประเด็นรวม ดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมทีส่ ำคัญ
รวมทั้ง ประเด็นบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมขามพรมแดน โดยกำหนดและ
จัดโครงสรางเพื่อขับเคลื่อนประเด็นรวมดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่สำคัญ โดย
ใชเครื่องมือทันสมัย และใหมีหนวยงานรับผิดชอบ สงเสริมการวิจัย พัฒนา และสรางนวัตกรรม
4.6.4 พัฒนาและดำเนินโครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน เพือ่ กำหนดอนาคตประเทศดานทรัพยากร
ธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม บนหลักของการมีสวนรวมและธรรมาภิบาล
โดยพัฒนาโครงการสำคัญที่จะกำหนดอนาคตของประเทศใหทันสมัย โดยปรับกระบวนทัศนการ
วางแผนแบบองครวม เพื่อใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาระยะยาวของประเทศโดยเร็ว

71
ยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
1. บทนำ
ภาครัฐเปนกลไกหนึ่งที่สำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามแนวทาง นโยบาย และทิศทางการ
พัฒนาตามที่กำหนดตามกรอบการบริหารราชการแผนดิน และการที่ประเทศไทยจะบรรลุเปาหมายอนาคตใน
ระยะยาวที่กำหนดไวนั้น ระบบบริหารจัดการภาครัฐจะตองสามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาอยางมี
บูรณาการ มีความตอเนื่อง เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล อยางไรก็ตาม ที่ผานมาการบริหารจัดการภาครัฐ
ขาดประสิทธิภาพ มีปญหาเชิงการบริหารจัดการและโครงสราง ปญหาคอรรัปชันและระบบอุปถัมภ ดังนั้น จึง
จำเปนตองกำหนดใหมียุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อแกไข
ปญหาตาง ๆ อยางเปนระบบและสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศในทุกมิติ โดยมีเปาหมายการพัฒนาที่
เนนการตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางสะดวก รวดเร็ว โปรงใส ผานการมีหนวยงานภาครัฐที่มี
โครงสรางและภารกิจที่เหมาะสม และวัฒนธรรมการทำงานที่มุงผลสัมฤทธิ์และผลประโยชนของสวนรวม เปด
โอกาสใหทุก ๆ ภาคสวนเขามามีสวนรวมในการดำเนินการบริการสาธารณะ ตรวจสอบการดำเนินการของ
หนวยงานภาครัฐและภาคสวนอื่น ๆ ตลอดจนดำเนินการปองกันและปราบปรามการทุจริตในสังคมไดอยาง
เหมาะสม
ยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐจึงมีประเด็นยุทธศาสตรที่
เนนการปรับเปลี่ยนภาครัฐ ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชนสวนรวม” โดยภาครัฐ
ตองมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ และแยกแยะบทบาทหนวยงานของรัฐที่ทำหนาที่ในการกำกับหรือใน
การใหบริการในระบบเศรษฐกิจที่มีการแขงขัน มีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการ
ทำงานให ม ุ  ง ผลสั ม ฤทธิ ์ แ ละผลประโยชน ส  ว นรวม มี ค วามทั น สมั ย และพร อ มที ่ จ ะปรั บ ตั ว ให ท ั น ต อการ
เปลี่ยนแปลงของโลกอยูตลอดเวลา โดยเฉพาะอยางยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีขอมูลขนาดใหญ และระบบ
การทำงานที่เปนดิจิทัลเขามาประยุกตใชอยางคุมคา และปฏิบัติงานเทียบไดกับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะ
เปดกวาง เชื่อมโยงถึงกันและเปดโอกาสใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมเพื่อตอบสนองความตองการของ
ประชาชนไดอยางสะดวก รวดเร็ว และโปรงใส โดยทุกภาคสวนในสังคมตองรวมกันปลูกฝงคานิยมความซื่อสัตย
สุจริต ความมัธยัสถ และสรางจิตสำนึกในการปฏิเสธไมยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอยางสิ้นเชิง นอกจากนั้น
กฎหมายตองมีความชัดเจน มีเพียงเทาที่จำเปน มีความทันสมัย มีความเปนสากล มีประสิทธิภาพ และนำไปสู
การลดความเหลื่อมล้ำและเอื้อตอการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เปนธรรม
และไมเลือกปฏิบัติ การอำนวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม รวมทั้งตองมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการ
บุคลากรภาครัฐที่สามารถจูงใจและดึงดูดใหคนดีคนเกงเขามารวมพลังการทำงานที่มีความมุงมั่นและมีแรง
บันดาลใจในการที่จะรวมกันพลิกโฉมประเทศไปสูเปาหมายที่พึงประสงค

72
2. เปาหมาย
2.1 ภาครัฐมีวัฒนธรรมการทำงานที่มุงผลสัมฤทธิ์และผลประโยชนสวนรวม ตอบสนองความตองการ
ของประชาชนไดอยางสะดวก รวดเร็ว โปรงใส
2.2 ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พรอมปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลง
2.3 ภาครัฐมีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
2.4 กระบวนการยุติธรรม เปนไปเพื่อประโยชนตอสวนรวมของประเทศ

3. ตัวชี้วัด
3.1 ระดับความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการสาธารณะของภาครัฐ
3.2 ประสิทธิภาพของการบริการภาครัฐ
3.3 ระดับความโปรงใส การทุจริต ประพฤติมิชอบ
3.4 ความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม

4. ประเด็นยุทธศาสตรดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐ
4.1 ภาครัฐที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง ตอบสนองความตองการ และใหบริการอยางสะดวกรวดเร็ว
โปรงใส
หน ว ยงานของรั ฐ ต อ งร ว มมื อ และช ว ยเหลื อ กั น ในการปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ มี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การ
ที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีความโปรงใส ใหการบริหารราชการแผนดินทั้งราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค สวน
ทองถิ่น และงานของรัฐอยางอื่นใหเปนไปตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี สรางประโยชนสุขแกประชาชน
4.1.1 การใหบริการสาธารณะของภาครัฐไดมาตรฐานสากลและเปนระดับแนวหนาของภูมิภาค
ปรับรูปแบบและวิธีการดำเนินการของภาครัฐมีลักษณะที่เบ็ดเสร็จ ครบวงจร และหลากหลาย
รูปแบบตามความตองการของผูรับบริการ มีความรวมมือกับภาคีอื่น ๆ พรอมทั้งปรับปรุงกลไกการปฏิบัติงาน
ของภาครัฐใหมีลักษณะบูรณาการ สามารถสงเสริมภารกิจของภาคสวนตาง ๆ โดยเฉพาะการปรับปรุงบทบาท
และกลไกภาครัฐใหเปนผูสนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการประกอบการ การกำหนดกฎระเบียบที่ไมเปน
อุปสรรคตอการดำเนินธุรกิจภาคเอกชนทุกขนาดสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะยาว
4.1.2 ภาครัฐมีความเชื่อมโยงในการใหบริการสาธารณะตาง ๆ ผานการนำเทคโนโลยีดิจิทลั มาประยุกตใช
มีระบบการบริหารจัดการขอมูลที่มีความเชื่อมโยงระหวางหนวยงานและแหลงขอมูลตาง ๆ
นำไปสูการวิเคราะหการจัดการขอมูลขนาดใหญ เพื่อการพัฒนานโยบายและการใหบริการภาครัฐ มีการนำ
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใชในการใหบริการสาธารณะตั้งแตตนจนจบกระบวนการ เพื่อใหสามารถติดตอ
ราชการไดโดยงาย สะดวก รวดเร็ว โปรงใส เสียคาใชจายนอย และตรวจสอบได

4.2 ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตรชาติเปนเปาหมายและเชื่อมโยงการพัฒนาในทุก
ระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่
การบริหารจัดการภาครัฐมีความสอดคลองเชื่อมโยงและเปนกลไกสำคัญในการนำยุทธศาสตรชาติสูการ
ปฏิบัติในทุกระดับ มีการจัดสรรงบประมาณที่มีลักษณะยึดโยงกับยุทธศาสตรในทุกระดับ มีเปาหมายรวมกันทั้ง

73
ในเชิงประเด็น เชิงภารกิจ และเชิงพื้นที่ โดยอาศัยขอมูลขนาดใหญ รวมทั้งมีระบบการติดตามและประเมินผล
การดำเนินงานทั้งในระดับยุทธศาสตร ภารกิจและพื้นที่ เพื่อนำไปสูการกำหนดประเด็นการพัฒนา การจัดทำ
นโยบาย และการติดตามประเมินผลที่เปนระบบอยางตอเนื่อง
4.2.1 ใหยุทธศาสตรชาติเปนกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
ใชแผนแมบทตามยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ และนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยความมั่นคงแหงชาติ ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติไปสูการ
ปฏิบัติผานแผนปฏิบัติการในระดับตาง ๆ โดยเชื่อมโยงการทำงานของภาครัฐในทุกระดับใหมีเอกภาพและสอด
รับประสานกันตามหวงโซการพัฒนาระหวางราชการบริหารสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น รวมทั้งการ
ประสานความรวมมือที่หลากหลาย การพัฒนากลไกหรือเครื่องมือในการสนับสนุนใหเกิดการบูรณาการใน
ลักษณะหุนสวนการพัฒนา ระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ ภาคประชาชน และภาค
สวนอื่นในสังคม โดยดำเนินการอยางตอเนื่องและมีเปาหมายที่ชัดเจน
4.2.2 ระบบการเงินการคลังประเทศสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ
หนวยงานที่เกี่ยวของกับระบบการเงินการคลังของประเทศมีการปฏิบัติหนาที่ตามกรอบภารกิจ
ในการสนับสนุนและไมเปนอุปสรรคในการบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติ ระบบงบประมาณแผนดินตองสอดรับ
กับลักษณะการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติทั้งในลักษณะแผนเชิงยุทธศาสตร แผนตามภารกิจ และแผนระดับพื้นที่
มีการรักษาวินัยการเงินการคลังภายใตกรอบความยั่งยืนทางการคลัง การพัฒนาระบบการคลังลวงหนาระยะปาน
กลางและระยะยาว การปรับปรุงวิธีการงบประมาณใหมีความคลองตัว สะดวก เหมาะสมกับสถานการณและ
ความเรงดวน การใชจายงบประมาณโปรงใส เปนไปตามเปาหมายในระยะเวลาที่กำหนด และมีแผนเพิ่มรายได
ของประเทศคูกับแผนงบประมาณใหเกิดสมดุลระหวางรายไดกับรายจาย พรอมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการ
จัดเก็บรายไดของรัฐและการปรับปรุงระบบภาษี
4.2.3 ระบบติดตามประเมินผลทีส่ ะทอนการบรรลุเปาหมายยุทธศาสตรชาติในทุกระดับ
มีการติดตามประเมินผลทั้งกอนเริ่มโครงการ ระหวางดำเนินการ และหลังการดำเนินงาน เปน
การติดตามประเมินผลทั้งระบบ ตั้งแตปจจัยนำเขา กระบวนการดำเนินการ ผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบตอ
การบรรลุเปาหมายตามยุทธศาสตรชาติ ตั้งแตระดับชาติ ระดับประเด็นการพัฒนา ระดับหนวยงาน และระดับ
พื้นที่ พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียเขามามีสวนรวมในการติดตามประเมินผล และจัดใหมีการ
รายงานการติดตามประเมินผลในการบรรลุเปาหมายตอสาธารณะเปนประจำ รวมทั้งการตรวจสอบโดยองคกร
อิสระตองเปนไปเพื่อสงเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ

4.3 ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ สงเสริมใหประชาชนและทุกภาคสวนมีสวนรวมในการ


พัฒนาประเทศ
พรอมทั้งมีการกำหนดความสัมพันธระหวางการบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น
ใหมีความชัดเจน ไมซ้ำซอนกัน รวมทั้งมีการถายโอนภารกิจที่สำคัญและการกระจายอำนาจในระดับที่เหมาะสม
เพื่อใหชุมชนและทองถิ่นเขมแข็ง

74
4.3.1 ภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสม
ตรวจสอบความซ้ำซอนและปรับภารกิจและพันธกิจของหนวยงานภาครัฐใหสอดคลองกับการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติในเชิงบูรณาการ โดยยุบเลิกภารกิจที่ไมจำเปน ถายโอนภารกิจใหภาคสวนอื่นรับไป
ดำเนินการ รวมถึงการจัดระบบองคกรภาครัฐที่แยกแยะบทบาทหนวยงานของรัฐที่ทำหนาที่กำกับและหนวยงาน
ผูใหบริการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานและมีการแขงขันที่เปนธรรม โดยภารกิจที่ภาครัฐยังจำเปน
จะตองดำเนินการจะตองกำหนดใหมีโครงสรางหนวยงานที่สอดคลองกับบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบ มีความ
คุมคา และสามารถขับเคลื่อนการบริหารราชการแผนดินไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4.3.2 ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ
เปดโอกาสใหทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการ ดำเนินการบริการสาธารณะและกิจกรรม
สาธารณะอยางเหมาะสม กำหนดความสัมพันธและการพัฒนาบทบาทในฐานะของหุนสวนการพัฒนาในการ
ดำเนินภารกิจที่สำคัญระหวางการบริหารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่นใหมีความชัดเจน ไม
ซ้ำซอนกัน รวมถึงการสนับสนุนใหชุมชนหรือเอกชนรวมดำเนินการในบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ
ตาง ๆ
4.3.3 สงเสริมการกระจายอำนาจและสนับสนุนบทบาทชุมชนทองถิ่นใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปน
หนวยงานที่มสี มรรถนะสูง ตั้งอยูบนหลักธรรมาภิบาล
ในการที่จะจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ มีบทบาทเชิงยุทธศาสตรระดับพื้นที่
โดยเปดโอกาสใหมีรูปแบบการจัดบริการสาธารณะที่หลากหลาย มีระบบภาษีและรายไดของทองถิ่นอยาง
เหมาะสม สามารถพัฒนารายไดและทุนเพื่อดำเนินกิจกรรมในการตอบสนองตอการแกไขปญหาและพัฒนาพื้นที่
รวมกับชุมชนทองถิ่น โดยคำนึงถึงผลประโยชนของประเทศ ประชาชน และความตองการของคนทุกกลุม ทุกวัย
และทุกเพศสภาวะในทองถิ่น

4.4 ภาครัฐมีความทันสมัย
ทันการเปลี่ยนแปลง และมีขีดสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ มีความคุมคา เทียบ
ไดกับมาตรฐานสากล สามารถรองรับกับสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานที่มีความหลากหลายซับซอนมากขึ้น
และทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
4.4.1 องคกรภาครัฐมีความยืดหยุน เหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ
ปรั บ โครงสร า ง และระบบบริ ห ารงานราชการใหม ใ นรู ป แบบที ่ ม ี ค วามหลากหลาย มี ก าร
ดำเนินงานที่มีความยืดหยุน สามารถปรับตัวเขาสูการเปนสำนักงานสมัยใหม นำไปสูการเปนองคกรที่มีขีด
สมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานเทียบไดกับมาตรฐานสากล มีความคลองตัว ไมยึดติดกับการจัดโครงสราง
องคกรแบบราชการ สามารถยุบ เลิก ปรับเปลี่ยนโครงสรางองคกร กฎ ระเบียบ ไดตามสถานการณ
4.4.2 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย
โดยมีการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการที่ตั้งอยูบนขอมูลและหลักฐานเชิงประจักษ มุง
ผลสัมฤทธิ์ มีความโปรงใส ยืดหยุนและคลองตัวสูง นำนวัตกรรม เทคโนโลยี ขอมูลขนาดใหญ ระบบการทำงานที่
เปนดิจิทัล มาใชในการบริหารและการตัดสินใจ รวมทั้งนำองคความรู ในแบบสหสาขาวิชาเขามาประยุกตใช เพื่อ
สรางคุณคาและแนวทางปฏิบัติที่เปนเลิศในการตอบสนองกับสถานการณตาง ๆ ไดอยางทันเวลา พรอมทั้งมีการ
จัดการความรูและถายทอดความรูอยางเปนระบบเพื่อพัฒนาภาครัฐใหเปนองคกรแหงการเรียนรู

75
4.5 บุคลากรภาครัฐเปนคนดีและเกง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก มีความสามารถสูง มุงมั่น
และเปนมืออาชีพ
ในการปฏิบัติหนาที่และขับเคลื่อนภารกิจยุทธศาสตรชาติ โดยภาครัฐมีกำลังคนที่เหมาะสมทั้งปริมาณ
และคุณภาพ มีระบบบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรใหสามารถสนองความตองการในการปฏิบัติงาน มี
ความกาวหนาในอาชีพ สามารถจูงใจใหคนดีคนเกงทำงานในภาครัฐ มีระบบการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร
ภาครัฐใหมีสมรรถนะใหม ๆ สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนา มีการเสริมสรางคุณธรรมและ
จริยธรรม การปรับเปลี่ยนแนวคิดใหการปฏิบัติราชการเปนมืออาชีพ มีจิตบริการ ทำงานในเชิงรุกและมองไป
ขางหนา สามารถบูรณาการการทำงานรวมกับภาคสวนอื่นไดอยางเปนรูปธรรม
4.5.1 ภาครัฐมีการบริหารกำลังคนที่มีความคลองตัว ยึดระบบคุณธรรม
เพิ่มความยืดหยุนคลองตัวใหกับหนวยงานภาครัฐในการบริหารทรัพยากรบุคคลในทุกขั้นตอน
ควบคูไปกับการเสริมสรางประสิทธิภาพและคุณภาพภายใตหลักระบบคุณธรรม ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกลไกการ
วางแผน กำลังคน รูปแบบการจางงาน การสรรหา การคัดเลือก การแตงตั้ง เพื่อเอื้อใหเกิดการหมุนเวียน ถายเท
แลกเปลี่ยน และโยกยายบุคลากรคุณภาพในหลากหลายระดับระหวางภาคสวนตาง ๆ ของประเทศไดอยาง
คลองตัว รวมทั้งทบทวนและปรับเปลี่ยนระบบคาตอบแทนที่เปนธรรม มีมาตรฐาน เหมาะสมสอดคลองกับภาระ
งาน
4.5.2 บุคลากรภาครัฐยึดคานิยมในการทำงานเพื่อประชาชน มีคุณธรรม และมีการพัฒนาตามเสนทาง
ความกาวหนาในอาชีพ
พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรภาครัฐและวางมาตรการที่เหมาะสมกับเสนทางความกาวหนาใน
สายอาชีพใหมีสมรรถนะใหม ๆ ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานและสรางคานิยมในการปฏิ บัติงานเพื่อ
ประชาชนและประโยชนสวนรวม สามารถบูรณาการการทำงานรวมกับภาคสวนอื่นไดอยางเปนรูปธรรม ให
ความสำคัญกับการพัฒนาภาวะผูนำในทุกระดับใหมีขีดสมรรถนะสูง มีความรับผิดชอบ และมีความเปนมืออาชีพ
เปนทั้งผูนำทางความรูและความคิด ผลักดันภารกิจ นำการเปลี่ยนแปลง พัฒนา นโยบายและยุทธศาสตร เปน
แบบอยางที่ดีตอผูรวมงานและตอสังคม โดยมีการสรางผูนำทางยุทธศาสตรในหนวยงานภาครัฐทุกระดับอยาง
ตอเนื่องและเปนระบบเพื่อรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติระยะยาว

4.6 ภาครัฐมีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ


ทุกภาคสวนรวมตอตานการทุจริต ภาครัฐมีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ โดยเฉพาะการสรางวัฒนธรรมแยกแยะประโยชนสวนบุคคลและประโยชน
สวนรวมของบุคลากรภาครัฐใหเกิดขึ้น รวมทั้งสรางจิตสำนึกและคานิยมใหทุกภาคสวนตื่นตัวและละอายตอการ
ทุจริตประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ พรอมทั้ง สงเสริม สนับสนุน ใหภาคีองคกรภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชน
ประชาชน และภาคีตาง ๆ มีสวนรวมในการสอดสอง เฝาระวัง ใหขอมูล แจงเบาะแสการทุจริต และตรวจสอบ
การดำเนินงานของหนวยงานภาครัฐ และภาคสวนอื่น ๆ โดยไดรับความคุมครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ

76
4.6.1 ประชาชนและภาคีตาง ๆ ในสังคมรวมมือกันในการปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
รั ฐ ต องส งเสริม สนั บสนุน และใหความรูแกประชาชนถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน จัดใหมีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อปองกันและขจัดการ
ทุจริตและประพฤติมิชอบดังกลาวอยางเขมงวด รวมทั้ง สงเสริม และเสริมสรางการมีสวนรวมของประชาชน
โดยเฉพาะการเขาถึงขอมูลขาวสาร การรณรงคใหความรู ตอตาน หรือชี้เบาะแสการทุจริต โดยไดรับความ
คุมครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ พรอมทั้ง มีระบบการรับเรื่องรองเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบที่มี
ประสิทธิภาพ
4.6.2 บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความซื่อสัตยสุจริต
กำหนดใหเจาพนักงานของรัฐตองยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และหลีกเลี่ยงการขัดกันระหวางประโยชนบุคคลและประโยชนสวนรวม รวมทั้งยื่นบัญชี
ทรัพยสินและหนี้สินของตนเอง คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ โดยเฉพาะผูดำรงตำแหนงทางการเมือง
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผูดำรงตำแหนงในองคกรอิสระ ผูวาการตรวจเงินแผนดิน และผูดำรงตำแหนงระดับสูง
ตามที่กฎหมายกำหนด จะตองเปดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินใหประชาชนทราบ
4.6.3 การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบมีประสิทธิภาพมีความเด็ดขาด เปนธรรม และตรวจสอบได
จัดการกับผูกระทำความผิดทุจริตและประพฤติมิชอบในทุกระดับอยางตรงไปตรงมา เปนธรรม และ
ตรวจสอบได พรอมทั้งใหการดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรมปราศจากการแทรกแซงของนักการเมืองและผูมี
อิทธิพล ตลอดจนวางมาตรการคุมครองพยานและผูที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ ตองกำหนดใหมีการลงโทษผูกระทำผิด
กรณีทุจริตและประพฤติมิชอบอยางจริงจังและรวดเร็ว
4.6.4 การบริหารจัดการการปองกันและปราบปรามการทุจริตอยางเปนระบบแบบบูรณาการ
จั ด ให ม ี ก ลไกการประสานงานการป อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต ทั ้ ง ในระดั บ นโยบาย
ยุทธศาสตร และการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพการปองกันและปราบปราม
การทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยการพัฒนาระบบงานและโครงสรางองคกรที่เอื้อตอการดำเนินงานแบบบูรณา
การและมุงผลสัมฤทธิ์

4.7 กฎหมายมีความสอดคลองเหมาะสมกับบริบทตาง ๆ และมีเทาที่จำเปน


กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับมีเทาที่จำเปน ทันสมัย มีความเปนสากล มีประสิทธิภาพ โดยมุงใช
กฎหมายเปนเครื่องมือในการสนับสนุนการพัฒนา การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ การแกไข
ปญหาและอุปสรรคที่นำไปสูความเหลื่อมล้ำดานตาง ๆ เอื้อตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ
4.7.1 ภาครัฐจัดใหมกี ฎหมายที่สอดคลองและเหมาะสมกับบริบทตาง ๆ ทีเ่ ปลี่ยนแปลง
ปรับเปลี่ยนบทบาทของภาครัฐเปนผูอำนวยความสะดวก กำหนดกติกาในการแขงขันใหเกิดความ
เปนธรรมแกการดำเนินธุรกิจทั้งในธุรกิจทั่วไปและธุรกิจเฉพาะ ปรับปรุงกฎหมายที่ เกี่ยวของใหส ามารถ
ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการผลิต การคา การบริการ และสามารถอำนวยความสะดวกในการ

77
ดำเนินธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการคุมครองผูบริโภค โดยเฉพาะการปรับปรุงแกไขและยกเลิก
กฎหมายตาง ๆ ใหมีความชัดเจน ทันสมัย เปนธรรม เอื้ออำนวยตอการบริหารราชการแผนดิน การพัฒนา
ประเทศ การใหบริการประชาชน การประกอบธุรกิจ การแขงขันระหวางประเทศ สอดคลองกับขอบังคับสากล
หรือขอตกลงระหวางประเทศ รวมทั้ง การสรางการรับรูและความเขาใจในขอกฎหมาย และบังคับใชกฎหมาย
อยางมีประสิทธิภาพเทาเทียม
4.7.2 มีกฎหมายเทาที่จำเปน
ออกแบบกฎหมายที่รอบคอบรัดกุมเพื่อแกปญหาอยางตรงจุดใหมีความสอดคลองกับขอบังคับ
สากลหรือขอตกลงระหวางประเทศที่เปนประโยชนตอประชาชนโดยรวม ดวยการสรางความเปนธรรมในการ
จัดสรรผลประโยชนและบริหารจัดการผลกระทบที่เกิดจากกฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิในทรัพยสินและการประกอบ
อาชีพ ใชกฎหมายเปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ และกำหนดวงรอบในการทบทวนปรับปรุง
แกไขกฎหมายใหทันสมัยอยูตลอดเวลา นอกจากนั้น ในการตรากฎหมายตองดำเนินการใหมีการรับฟงความ
คิดเห็นของผูเกี่ยวของ วิเคราะหผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอยางรอบดานและเปนระบบ รวมทั้ง
เป ด เผยผลการรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น และการวิ เ คราะห ต  อ ประชาชน และนำมาประกอบการพิ จ ารณาใน
กระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน รวมทั้งจัดใหมีการสรางความรับรูและความเขาใจในขอกฎหมาย และ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายทุกรอบระยะเวลาที่กำหนด เพื่อพัฒนากฎหมายทุกฉบับใหสอดคลองและ
เหมาะสมกับบริบทตาง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป
4.7.3 การบังคับใชกฎหมายอยางมีประสิทธิภาพ
เทาเทียม มีการเสริมสรางประสิทธิภาพการใชกฎหมาย บังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด ลด
ความเหลื่อมล้ำทางสังคม ไมเลือกปฏิบัติ นำเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในการเสริมสรางประสิทธิภาพการใช
กฎหมาย ปองกันการกระทำผิดและจับกุมผูกระทำผิดไดอยางถูกตอง รวดเร็ว

4.8 กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติตอประชาชนโดยเสมอภาค
มีความเปนกลาง นาเชื่อถือ โปรงใส ตรวจสอบได กระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ
เจาหนาที่ในกระบวนการยุติธรรมมีความกลาหาญทางจริยธรรม เปนมืออาชีพ มีความเปนธรรม และไมเลือกปฏิบัติ
ประชาชนเข าถึ งกระบวนการยุ ติ ธรรมได โดยสะดวก มุงใหเกิดการสรางมาตรฐานและเพิ่มประสิทธิภาพใน
กระบวนการยุติธรรมเทียบเทาระดับสากล ตามหลักนิติธรรม โปรงใส ลดความเหลื่อมล้ำและสรางโอกาสในการ
เขาถึงความยุติธรรม สรางความสมดุลระหวางสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกับประโยชนสาธารณะ การอำนวย
ความยุติธรรมมีประสิทธิภาพและเปนไปอยางเสมอภาค หนวยงานในกระบวนการยุติธรรมมีความรวมมือที่ดี บูรณา
การและเชื่อมโยงการทำงานระหวางกัน

78
4.8.1 บุคลากรและหนวยงานในกระบวนการยุตธิ รรมเคารพและยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย เคารพ
ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยที่พึงไดรับการปฏิบตั ิอยางเทาเทียม
ปรับวัฒนธรรมองคกรและทัศนคติเจาหนาที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรมใหเคารพและยึดมั่น
ในหลักประชาธิปไตย เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษยที่พึงไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียม รวมทั้งเสริมสรางและ
พัฒนาวัฒนธรรมของหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมใหมีความโปรงใส เปนกลาง ปราศจากการแทรกแซงหรือ
ครอบงำใด ๆ การบริหารงานบุคคลในกระบวนการยุติธรรมตองโปรงใส เปนอิสระ และมีการพัฒนาตัวบุคคล
อยางตอเนื่อง
4.8.2 ทุกหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม มีบทบาทเชิงรุกรวมกันในทุกขัน้ ตอนของการคนหาความจริง
การรวบรวมและการพิสูจนพยานหลักฐานเปนไปตามมาตรฐานสากล โดยตองใชประโยชนจาก
นิติวิทยาศาสตรและศาสตรอื่น ๆ และจัดใหมีบริการทางดานนิติวิทยาศาสตรเพื่อใหประชาชนไดรับบริการใน
การพิสูจนขอเท็จจริงอยางมีทางเลือก อำนวยความยุติธรรมอยางมีประสิทธิภาพ ไมเลือกปฏิบัติ มีความโปรงใส
และประชาชนเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยสะดวก รวดเร็ว ยกระดับความโปรงใสในการใชอำนาจกับ
ประชาชนและการแตงตั้งโยกยาย รวมทั้งยกระดับมาตรการตรวจสอบการประพฤติมิชอบของเจาหนาที่ใน
กระบวนการยุติธรรมใหมีความนาเชื่อถือและมีประสิทธิภาพ
4.8.3 หนวยงานในกระบวนการยุตธิ รรมทั้งทางแพง อาญา และปกครองมีเปาหมายและยุทธศาสตร
รวมกัน
เพื่อประสิทธิภาพในการบังคับใชกฎหมายและอำนวยความยุติธรรม พัฒนาเปาหมายและ
ยุทธศาสตรระยะกลางและระยะยาวระหวางหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของขอมูลเชิง
ประจักษ มีรูปแบบกระบวนการยุติธรรมที่มีการประสานงานระหวางหนวยงานกันบนพื้นฐานแหงการไววางใจซึ่ง
กันและกัน รวมทั้งสรางเครื่องมือการประเมินคุณภาพและผลงานที่หนวยงานที่เกี่ยวของตองมุงกอใหเกิดผลลัพธ
ตอสังคมรวมกัน พรอมทั้งพัฒนาระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศในกระบวนการยุติธรรมเพื่ อเปนชองทางให
ประชาชนเขาถึงกระบวนการยุติธรรมตลอดกระบวนการพิจารณาคดีไดอยางสะดวก รวดเร็ว และไมเสีย
คาใชจายสูงเกินสมควร
4.8.4 สงเสริมระบบยุติธรรมทางเลือก ระบบยุตธิ รรมชุมชน และการมีสวนรวมของประชาชนใน
กระบวนการยุติธรรม
ส งเสริ มกระบวนการยุ ต ิ ธรรมทางเลื อกในรู ปแบบต าง ๆ การไกล เกลี ่ ยข อ พิ พ าทก อ นเข า สู
กระบวนการยุติธรรม การชวยเหลือประชาชนใหเขาถึงความเปนธรรม การพัฒนารูปแบบของการมีสวนรวมใน
กระบวนการยุติธรรมใหมีความหลากหลาย การสรางความรูความเขาใจดานกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
ใหกับประชาชน การพัฒนากลไกคุมครองสิทธิและเสรีภาพประชาชนผูไดรับผลกระทบจากกระบวนการยุติธรรม
และความขัดแยงระหวางภาครัฐ เอกชน และชุมชน รวมทั้ง การสงเสริมพัฒนาระบบการสืบเสาะและการ
สอดสองใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

79
4.8.5 พัฒนามาตรการอื่นแทนโทษทางอาญา
เพื่อลดทอนความเปนโทษทางอาญาที่ไมจำเปน สรางความสมดุลระหวางการบังคับโทษตามคำ
พิพากษากับการใหโอกาสผูตองโทษกลับคืนสูสังคม เปดโอกาสใหภาคสวนอื่นเขามามีสวนรวมในการบริหารการ
บังคับโทษ และการพัฒนาระบบคุมประพฤติในชุมชน รวมทั้ง การใชกฎหมายอาญาโดยยึดมั่นหลักการตีความ
โดยเครงครัด ไมขยายขอบเขตฐานความผิดใหครอบคลุมการกระทำที่แทจริงแลวไมเขาองคประกอบ

80

You might also like