You are on page 1of 9

บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 53

2.9.1 การคานวณความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่แยกจากกันโดยเด็ดขาด
นิยามที่ 2.11 จากการทดลองสุ่มเหตุการณ์ A และเหตุการณ์ B จะเรียกว่าเป็นเหตุการณ์ที่
แยกจากกันโดยเด็ดขาด ก็ต่อเมื่อ A  B   ดังนั้น

ตัวอย่างที่ 2.32 ทอดลูกเต๋า 1 ลูกหนึ่งครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 1 หรือ 3


วิธีทา ดังนั้น S = { 1, 2, 3, 4, 5, 6 }
ให้ A แทนเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 1 A  { 1 }
B แทนเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 3 B  { 3 }
ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 1 คือ
n(A) 1
P(A)  
n(S) 6
ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 3 คือ
n(B) 1
P(B)  
n(S) 6
ทอดลูกเต๋า 1 ครั้ง 1 ลูก โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นแต้ม 1 และแต้ม 3 พร้อมกันไม่มีซึ่งเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้นแยกจากกันโดยเด็ดขาด
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 1 หรือ 3 คือ
1 1 2 1
P(A  B)    
6 6 6 3

บทแทรก ถ้า A1 , A2 , A3 ,..., An เป็นเหตุการณ์ n เหตุการณ์ใดๆ ที่เป็นเหตุการณ์ที่แยกจากกัน


โดยเด็ดขาด
Pr( A1  A2  A3  ...  An )  Pr( A1 )  Pr( A2 )  Pr( A3 )  ...  Pr( An )

2.9.2 การคานวณความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่ไม่แยกจากกันโดยเด็ดขาด
นิยามที่ 2.12 เหตุการณ์ A และเหตุการณ์ B จะเรียกว่าเป็นเหตุการณ์ที่ไม่แยกจากกันโดย
เด็ดขาด ก็ต่อเมื่อ A  B   แล้วจะได้ว่า
Pr( A  B )  Pr( A)  Pr( B)  Pr( A  B)

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 54

ตัวอย่างที่ 2.33 สุ่มหยิบไพ่หนึ่งใบออกจากสารับที่มีไพ่ทั้งหมด 52 ใบ จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้


ไพ่โพแดงหรือได้แต้ม 9
วิธีทา ไพ่ทั้งหมดมี 52 ใบ ฉะนั้นจานวนสมาชิกในแซมเปิลสเปซ n(S) = 52
ให้ A แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ไพ่โพแดง
B แทน เหตุการณ์ทหี่ ยิบได้ไพ่ที่มีแต้ม 9
ความน่าจะเป็นที่หยิบได้ไพ่โพแดง คือ
n(A) 13
P(A)  
n(S) 52
ความน่าจะเป็นที่หยิบได้ไพ่ที่มีแต้ม 9 คือ
n(B) 4
P(B)  
n(S) 52
ความน่าจะเป็นที่หยิบได้ไพ่โพแดงและมีแต้ม 9
1
P(A  B) 
52
จากนิยาม 2.12 เหตุการณ์ A และเหตุการณ์ B เป็นเหตุการณ์ที่ไม่แยกจากกันโดยเด็ดขาด
P(A  B)  P(A)  P(B)  P(A  B)
13 4 1 16 4
    
52 52 52 52 13

บทแทรก ถ้าให้ A, B, C เป็นเหตุการณ์แบบไม่แยกจากกันโดยเด็ดขาด


Pr( A  B  C )  Pr( A)  Pr( B )  Pr(C )  Pr( A  B)  Pr( B  C )  Pr( A  C )
 Pr( A  B  C )

ตัวอย่างที่ 2.34 จากการสอบถามนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งหนึ่ง 150 คน พบว่ามี 50 คน


ชอบเล่นฟุตบอล 30 คน ชอบเล่นตะกร้อ 50 คน ชอบเล่นบาสเกตบอล และมีนักศึกษาที่ตอบว่าชอบ
เล่นฟุตบอลและตะกร้อ 20 คน ชอบเล่นตะกร้อและบาสเกตบอล 10 คน และชอบเล่นฟุตบอลและ
บาสเกตบอล 8 คน และมี 3 คน ที่บอกชอบเล่นทั้ง 3 ประเภทกีฬา ถ้าสุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยนี้มา
1 คน จงหาความน่าจะเป็นที่เขาจะชอบเล่นกีฬา

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 55

วิธีทา จากที่กาหนดให้
S เป็นนักศึกษาที่สอบถาม n(S) = 150 คน
A เป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นฟุตบอล n(A) = 80 คน
B เป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นตะกร้อ n(B) = 30 คน
C เป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นบาสเกตบอล n(C) = 50 คน
n(A  B) เป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นฟุตบอลและตะกร้อ = 20 คน
n(A  C) เป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นฟุตบอลและบาสเกตบอล =8 คน
n(B  C) เป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นตะกร้อและบาสเกตบอล = 10 คน
n(A  B) เป็นนักศึกษาที่ชอบเล่นทั้ง 3 ประเภท =3 คน
สามารถนามาเขียนเป็นแผนภาพได้ดังนี้

A B
55 17 3
3
5 7
35
S = 150
C

P(A  B  C)  P(A)  P(B)  P(C)  P(A  B)  P(B  C)


 P(A  C)  P(A  B  C)
80 30 50 20 10 8 3
      
150 150 150 150 150 150 150
125 5
 
150 6

ตัวอย่างที่ 2.35 จากโจทย์ตัวอย่างที่ 2.34 จงหาความน่าจะเป็นที่จะมีนักศึกษาที่ไม่ชอบเล่นกีฬา


วิธีทา เราทราบว่า P(A  B  C) คือ ความน่าจะเป็นที่ชอบเล่นกีฬาทั้ง 3 ชนิด
125
แทนค่าด้วย P(A) 
150
125
P(A )  P(A c )  1 
ดังนั้น 150
25 1
 
150 6

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 56

บทแทรก
ถ้า A เป็นเหตุการณ์ใดๆ ในแซมเปิลสเปซ S แล้วความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์ A จะไม่เกิดขึ้น
คือ P(A )  P(A c )  1  P(A)

ตัวอย่าง 2.36 นักวิจัยท่านหนึ่งได้เข้าร่วมประชุมสัมมนาทางวิชาการงานหนึ่ง ซึ่งทางผู้จัดงานได้แบ่ง


ห้องบรรยายทางวิชาการออกเป็น 2 ห้อง คือ ห้องบรรยายทางวิทยาศาสตร์ และห้องบรรยายทาง
คอมพิวเตอร์ ถ้าความน่าจะเป็นที่เขาจะเข้าฟังบรรยายในห้องที่ 1 เป็น 0.50 ความน่าจะเป็นที่เขาจะ
ไม่เข้าฟังบรรยายในห้องที่ 2 เป็น 0.80 และความน่าจะเป็นที่เขาจะเข้าฟังบรรยายทั้ง 2 ห้องเป็น
0.60 จงหาความน่าจะเป็นที่เขาจะไม่เข้าฟังบรรยายทั้ง 2 ห้อง
วิธีทา ให้ A แทน เหตุการณ์ที่นักวิจัยเข้าฟังบรรยายในห้องที่ 1
B แทน เหตุการณ์ที่นักวิจัยเข้าฟังบรรยายในห้องที่ 2
จากโจทย์เราทราบว่า P(A)  0.5 , P(B)  0.8 , P(A  B)  0.6
และจาก De Morgan’s Laws : (A  B)  = A  B
(A  B)  = A  B
ดังนั้น P (A  B) = P [ (A  B) ]
= 1 - P(A  B)
= 1 - 0.6
= 0.4
ความน่าจะเป็นที่เขาจะไม่เข้าฟังบรรยายทั้ง 2 ห้อง เท่ากับ 0.4

ตัวอย่าง 2.37 ในห้ องเรียนวิชาคณิตศาสตร์ สถิติ1 ครูผู้สอนสังเกตว่ามีนักศึกษาจดงานด้วยดินสอ


ที่ความน่าจะเป็น 0.2 จดงานด้วยปากกาน้าเงินที่ ความน่าจะเป็น 0.75 ในจานวนนี้มีนักศึกษาส่วน
หนึ่งจดงานด้วยทั้งดินสอและปากกาน้าเงิน นอกจากนี้มีนักศึกษาที่ไม่ได้จดงานด้วยดินสอหรือปาก
กาน้าเงิน ที่ความน่าจะเป็น 0.3 จงหาความน่าจะเป็นของนักศึกษาที่จดงานด้วยทั้งดินสอและปาก
กาน้าเงิน
วิธีทา ให้ A แทน เหตุการณ์ของนักศึกษาที่จดงานด้วยดินสอ
B แทน เหตุการณ์ของนักศึกษาที่จดงานด้วยปากกาน้าเงิน
จากโจทย์เราทราบว่า P(A)  0.2 , P(B)  0.75 , P[ (A  B) ]  0.3
จากนิยาม 2.12 P(A  B)  P(A)  P(B)  P(A  B)

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 57

นั่นคือ P(A  B)  P(A)  P(B)  1  P[ (A  B)


 0.2  0.75  [1  0.3]
 0.25
ความน่าจะเป็นที่นักศึกษาจดงานด้วยทั้งดินสอและปากกาน้าเงิน เท่ากับ 0.25

2.9.3 ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข
นิยามที่ 2.13 ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ A เมื่อกาหนดว่าเหตุการณ์ B เกิดขึ้น
แล้ว เรียกว่า ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข (conditional probability) แทนด้วยสัญลักษณ์ P(A B)
อ่านว่า Probability of A given B คือ
P(A  B)
P(A B)  เมื่อ P(B)  0
P(B)
P(A  B) คือ ความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์ A และ B เกิดร่วมกัน

คุณสมบัติของความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข
ถ้า B เป็นเหตุการณ์ใดๆ ในปริภูมิตัวอย่าง S โดยที่ P(B)  0
1. 0  P(A B)  1 สาหรับทุกๆเหตุการณ์ A
2. P(S B)  1
3. ถ้า A1 , A2 , A3 ,..., An เป็นเหตุการณ์ที่แยกจากกันโดยเด็ดขาด
P(A1  A 2  ...  A n B)  P(A 1 B)  P(A 2 B)  ...  P(A n B)
4. ถ้า A1 และ A2 เป็น 2 เหตุการณ์ใดๆ
P(A1  A 2 B)  P(A1 B)  P(A 2 B)  P(A 1  A 2 B)
5. P(A  B)  1  P(A B)

ตั ว อย่ า งที่ 2.38 ครอบครั ว หนึ่ งมี ลู ก 3 คน โดยมี ลู ก คนแรกเป็ น ชาย จงหาความน่ า จะเป็ น ที่
ครอบครัวนี้จะมีลูกชาย 2 คน
วิธีทา ดังนั้น S = ชชช, ชญช, ชชญ, ญชช, ญญช, ญชญ, ชญญ, ญญญ
ให้ A แทน เหตุการณ์ที่มีลูกคนแรกเป็นชาย
B แทน เหตุการณ์ที่มีลูกชาย 2 คน

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 58

ความน่าจะเป็นที่มีลูกคนแรกเป็นชาย คือ
n(A) 4
P(A)  
n(S) 8
ความน่าจะเป็นที่มีลูกชายทั้ง 2 คน คือ
n(B) 2
P(B)  
n(S) 8
n(A  B) 2
และ P(A  B)  
n(S) 8

P(A  B) 2 1
ดังนั้น P(B A)   8 
P(A) 4 2
8

ตัวอย่างที่ 2.39 นักศึกษาชั้นปีที่ 1 จานวน 300 คน เป็นนักศึกษาหญิง 180 คน นักศึกษาชาย 120


คน สอบถามการมาเรียนปรากฎว่านักศึกษาชายเดิน มา 20 คน นั่งรถประจาทางมา 10 คน และใช้
รถจั ก รยานยนต์ 90 คน ส่ ว นนั กศึ กษาหญิ งเดิ นมา 80 คน ใช้รถจักรยานยนต์ 30 คน และใช้รถ
ประจาทาง 70 คน ถ้าสุ่มนักศึกษามา 1 คน ปรากฎว่าเป็นนักศึกษาหญิง จงหาความน่าจะเป็นที่เขา
จะใช้จักรยานยนต์
วิธีทา จากข้อมูลแจกแจงเป็นตารางได้ดังนี้
การเดินทาง
นักศึกษา รวม
เดินมา รถประจาทาง รถจักรยานยนต์
ชาย 20 10 90 120
หญิง 80 70 30 180
รวม 100 80 120 300

ให้ A แทน เหตุการณ์ที่จะเลือกได้นักศึกษาหญิง


B แทน เหตุการณ์ที่จะเลือกได้ผู้ใช้รถจักรยานยนต์
ความน่าจะเป็นที่จะเลือกได้นักศึกษาหญิง คือ
n(A) 180
P(A)  
n(S) 300

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 59

ความน่าจะเป็นที่จะเลือกได้ผู้ใช้รถจักรยานยนต์ คือ
n(B) 120
P(B)  
n(S) 300
n(A  B) 30
และ P(A  B)  
n(S) 300

P(A  B) 30
ดังนั้น P(B A)   300  1
P(A) 180 6
300
ถ้ า เราสุ่ ม นั ก ศึ ก ษามา 1 คน ปรากฎว่ า เป็ น นั ก ศึ ก ษาหญิ ง ความน่ า จะเป็ น ที่ เขาจะใช้
รถจักรยานยนต์เท่ากับ 1/6

บทแทรก 1. จากนิยามความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข
P(A  B)
P(A B)  เมื่อ P(B)  0
P(B)
จะได้ว่า
P(A  B)  P(B).P(A B)

ตัวอย่างที่ 2.40 หยิบไพ่จากสารับโดยหยิบทีละใบแล้วไม่ใสคืน จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ไพ่โพดา


ทั้ง 2 ใบ
วิธีทา ไพ่ทั้งหมดมี 52 ใบ ฉะนั้นจานวนสมาชิกในแซมเปิลสเปซ n(S) = 52
ให้ A แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ไพ่โพดาในการหยิบครั้งที่ 1
B แทน เหตุการณ์ที่หยิบได้ไพ่โพดาในการหยิบครั้งที่ 2
ความน่าจะเป็นที่หยิบได้ไพ่โพดาในการหยิบครั้งที่ 1 คือ
n(A) 13
P(A)  
n(S) 52
เนื่องจากเหตุการณ์ A เกิดขึ้นแล้ว ไพ่โพดาถูกหยิบไปแล้ว 1 ใบ
12
นั่นคือ P(B A) 
51
ดังนั้น P(A  B)  P(B).P(A B)
13 12 13
 
52 51 221

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 60

13
ความน่าจะเป็นที่จะได้ไพ่โพดาทั้ง 2 ใบ เท่ากับ
221

บทแทรก 2. ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกัน


ดังนั้น P(B A)  P(B)
P(A  B)  P(A)  P(B)

ตัวอย่างที่ 2.41 ถ้าความน่าจะเป็นที่นักศึกษาคนหนึ่งสอบผ่านวิชาสถิติเป็น 0.55 และความน่าจะ


เป็นที่เขาจะสอบผ่านวิชาประวัติศาสตร์เป็น 0.78 ซึ่งทั้ง 2 วิชา ไม่มีความเกี่ยวข้องหรือมีผลต่อการ
สอบร่วมกัน จงหาความน่าจะเป็นที่เขาจะสอบผ่านทั้ง 2 วิชา
วิธีทา ให้ A แทน เหตุการณ์ที่เขาจะสอบผ่านวิชาสถิติ
B แทน เหตุการณ์ที่เขาจะสอบผ่านวิชาประวัติศาสตร์
ความน่าจะเป็นที่เขาจะสอบผ่านวิชาสถิติ คือ P(A)  0.55

ความน่าจะเป็นที่เขาจะสอบผ่านวิชาประวัติศาสตร์ คือ P(B)  0.78

ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่เขาจะสอบผ่านทั้ง 2 วิชา คือ


P(A  B)  P(A)  P(B)
 0.55  0.78  0.43
ความน่าจะเป็นที่เขาจะสอบผ่านทั้ง 2 วิชา เท่ากับ 0.43

ตัวอย่าง 2.42 ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูก หนึ่งครั้ง


ให้ A แทน เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าลูกแรกขึ้นแต้ม 1
B แทน เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าลูกที่สองขึ้นแต้ม 1
จงตรวจสอบว่าเหตุการณ์ทั้งสองเป็นอิสระต่อกันหรือไม่
วิธีทา S = { (1,1) , (1,2) , (1,3) , (1,4) , (1,5) , (1,6)
(2,1) , (2,2) , (2,3) ,(2,4) , (2,5) , (2,6)
(3,1) , (3,2) , (3,3) ,(3,4) , (3,5) , (3,6)
(4,1) , (4,2) , (4,3) ,(4,4) , (4,5) , (4,6)
(5,1) , (5,2) , (5,3) ,(5,4) , (5,5) , (5,6)
(6,1) , (6,2) , (6,3) ,(6,4) , (6,5) , (6,6) }

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 61

ดังนั้น A แทน เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าลูกแรกขึ้นแต้ม 1


A = { (1,1) , (1,2) , (1,3) , (1,4) , (1,5) , (1,6) }
B แทน เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าลูกที่สองขึ้นแต้ม 1
B = { (1,1) , (2,1) , (3,1) , (4,1) , (5,1) , (6,1) }
n(A) 6
ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าลูกแรกขึ้นแต้ม 1 คือ P(A)  
n(S) 36

n(B) 6
ความน่าจะเป็นที่ลูกเต๋าลูกที่สองขึ้นแต้ม 1 คือ P(B)  
n(S) 36
n(A  B) 1
และ P(A  B)  
n(S) 36

จากบทแทรก (2) ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกัน


P(A  B)  P(A)  P(B)
1 1 1
  
6 6 36
ดังนั้น เหตุการณ์ A กับ B เป็นอิสระต่อกัน

----------------------------------------------------------------------------------------------

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

You might also like