You are on page 1of 18

บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 35

บทที่ 2
ความน่าจะเป็น (Probability)

ความน่าจะเป็นความจริงแล้วจะเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของเราเสมอ เช่น ตื่นนอนเช้า


ท่ านอาจจะได้ ยิ น รายงานอากาศจากกรมอุ ตุ นิ ย มวิท ยาว่า วั น นี้ โอกาสฝนจะตก 80 เปอร์เซ็ น ต์
โอกาสที่นักมวยไทยที่ไปชกในกีฬาโอลิมปิ ก จะได้เหรียญมี 60 เปอร์เซ็นต์ โอกาสที่จะเข้าเรียนวิชา
ความน่าจะเป็นและสถิติสาย เป็นไปได้ 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งตัวอย่างทั้งหมดนี้เป็นการคาดคะเนเหตุการณ์
ต่ า ง ๆ ที่ เกิ ด ขึ้ น โดยอาศั ย ข้ อ มู ล ของเหตุ ก ารณ์ นั้ น ที่ เคยเกิ ด ขึ้ น มาก่ อ นแล้ ว ทั้ งสิ้ น บางครั้งการ
คาดคะเนนั้นอาจจะแตกต่างไปจากเหตุการณ์ที่เป็นจริงก็ได้ แต่ส่วนใหญ่แล้วผลที่ออกมักไม่แตกต่าง
จากการคาดคะเนไว้เท่าไรนัก อย่างไรก็ตามการคาดคะเนนี้ก็ช่วยให้เราตัดสินใจได้ถูกต้องมากขึ้น
เช่น ถ้ากรมอุตุนิยมวิทยารายงานว่า วันนี้ฝนจะตกมีโอกาส 80 เปอร์เซ็นต์ เราก็ควรจะเตรียมร่มหรือ
เสื้อฝนนาไปด้วยในเวลาออกจากบ้าน

2.1 การทาลองสุ่มและแซมเปิลสเปซ (Random Experiment and Sample Space)


การทดลองสุ่ม (Random Experiment)
การทดลองสุ่มคือการทดลองที่กระทาซ้าๆ กันภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดให้ ซึ่งการทดลองนี้ไม่
สามารถพยากรณ์ผลลัพธ์ที่แน่นอนได้ แต่ สามารถพยากรณ์ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด (all possible
outcomes)
ตัวอย่างที่ 2.1
(ก) ทอดลูกเต๋า 1 ลูก เพื่อดูจานวนแต้มที่ปรากฏ
(ข) โยนเหรียญ 1 อัน 4 ครั้ง เพื่อดูว่าจะปรากฏหัวกี่ครั้ง และปรากฏก้อยกี่ครั้ง
(ค) กล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีดาและสีแดง หยิบลูกบอลทีละลูกเพื่อดูสีของลูกบอล
แซมเปิลสเปซ (Sample Space)
นิ ย าม แซมเปิ ล สเปซคื อ เซทซึ่ ง มี ส มาชิ ก (elements) เป็ น ผลลั พ ธ์ ที่ เป็ น ไปได้ ทั้ ง หมด
(all possible outcomes) ของการทดลองสุ่ม เขียนแทนด้วน S บางครั้งเรียกว่า universal set

นิ ย าม สมาชิ ก ตั ว หนึ่ ง (element) และแซมเปิ ล สเปซเรี ย กว่ า จุ ด ตั ว อย่ า ง (a sample


point)

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 36

ตั ว อย่ า งที่ 2.2 ในการทอดลู ก เต๋ า 1 ลู ก ถ้ า ผลลั พ ธ์ ที่ เ ราสนใจคื อ จ านวนแต้ ม ที่ ป รากฏ
แซมเปิลสเปซ คือ
S1 = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
ถ้าเราสนใจว่าแต้มที่ปรากฏจะเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ แซมเปิลสเปซ คือ
S2 = {คู,่ คี}่
จากตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า การทดลองสุ่มเดียวกัน อาจมีแซมเปิลสเปซมากกว่าหนึ่ง เซท
ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ ความสนใจของผู้ ท ดลอง ในกรณี นี้ S1 สามารถบอกรายละเอี ย ดได้ ม ากกว่ า S2
ถ้าเราทราบสมาชิกของ S1 เราก็สามารถบอกสมาชิกของ S2 ได้ แต่ในทางตรงข้ามถ้าเราทราบสมาชิก
ของ S2 เราไม่สามารถบอกสมาชิกของ S1 ได้ ดังนั้นเรามักจะใช้แซมเปิลสเปซที่มีรายละเอียดมาก
ที่สุด

ตัวอย่างที่ 2.3 ในการโยนเหรียญ 1 อัน 3 ครั้ง ถ้ากาหนดให้ H แทน เหรียญที่ขึ้นหน้าหัว


T แทน เหรียญที่ขึ้นหน้าก้อย แซมเปิลสเปซ คือ
S1 = {HHH, HTH, THH, HHT, TTH, THT, HTT, TTT}
ถ้าสนใจจานวนครั้งที่เหรียญขึ้นหน้าหัว จะได้แซมเปิลสเปซดังนี้
S2 = {0, 1, 2, 3}
ในที่นี้ 0 แทน เหรียญทีไ่ ม่ขึ้นหน้าหัวเลย
1 แทน เหรียญทีข่ ึ้นหน้าหัว 1 ครั้ง
2 แทน เหรียญทีข่ ึ้นหน้าหัว 2 ครั้ง
3 แทน เหรียญทีข่ ึ้นหน้าหัว 3 ครั้ง
จะเห็นได้ว่า S1 ให้รายละเอียดมากกว่า S2
ตัวอย่างที่ 2.4 กล่องใบหนึ่งบรรจุลูกหินสีแดง (R) 3 ลูก สีขาว (W) 2 ลูก และสีน้าเงิน (B) 5 ลูก
หยิบลูกหินอย่างสุ่มมาหนึ่งลูกสังเกตสีที่หยิบได้ แซมเปิลสเปซ คือ
S = {R, W, B}
ตัวอย่างที่ 2.5 ในการตรวจสินค้าในโรงงานแห่งหนึ่ง โดยนับจานวนสินค้าที่ผลิตออกมาแล้ว บันทึก
สินค้าที่ชารุดในช่วง 24 ชั่วโมง แซมเปิลสเปซ คือ
S = {0, 1, 2, …, N} เมื่อ N คือจานวนสินค้าที่ผลิตออกมาทั้งหมด

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 37

ตัวอย่างที่ 2.6 กล่องใบหนึ่งมีสลาก 5 ใบ คือ เบอร์ 1, 2, 3, 4, 5 หยิบมาใบหนึ่งจดเบอร์ที่จับฉลาก


ได้แล้วคืนสลากไว้ในกล่อง และทาการหยิบสลากมาใหม่อีกใบจดเบอร์ที่ได้แล้วคืนสลากไว้ในกล่อง
ถ้าสนใจเบอร์สลากที่หยิบได้ในครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 จงเขียนแซมเปิลสเปซและจานวนสมาชิก
S = { (x, y)  x , y คือ เบอร์สลากที่หยิบครั้งที่ 1, 2 ตามลาดับ}
S = { (x, y)  x , y = 1, 2, 3, 4, 5 }
S = { (1, 1) , (1, 2) , (1, 3) , (1, 4) , (1, 5)
(2, 1) , (2, 2) , (2, 3) , (2, 4) , (2, 5)
(3, 1) , (3, 2) , (3, 3) , (3, 4) , (3, 5)
(4, 1) , (4, 2) , (4, 3) , (4, 4) , (4, 5) }
จานวนสมาชิก n(S) = 5 x 5 = 25
2.2 เหตุการณ์ (Events)
ในการทดลองครั้ งหนึ่ งเรามั ก สนใจเหตุ ก ารณ์ ที่ เกิ ด ขึ้ น มากกว่ าสมาชิ ก ทั้ งหมดของแซม
เปิลสเปซ เช่น ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก แซมเปิลสเปซ S = {1, 2, 3, 4, 5, 6} ถ้า A เป็นเหตุการณ์
ที่ เราสนใจ คื อ เหตุ ก ารณ์ ที่ ลู ก เต๋ า ปรากฏแต้ ม เป็ น เลขที่ 3 หารลงตั ว คื อ 3 และ 6 นั่ น คื อ
A = {3, 6} ซึ่งเป็นสับเซทของแซมเปิลสเปซ
นิยาม เหตุการณ์ คือ สับเซทของแซมเปิลสเปซ
จากนิยามจะเห็นว่า S และ Ф เป็นเหตุการณ์ด้วย
ตัวอย่างที่ 2.7 ในการตรวจสอบอายุการใช้งานของแบตเตอรี่รถยนต์ที่ผลิตจากโรงงานแห่งหนึ่ง
กาหนดให้ t เป็นอายุการใช้งานของแบตเตอรี่รถยนต์ (หน่วย: ปี)
แซมเปิลสเปซ S = { t | t  0 }
กาหนดให้ A แทน เหตุการณ์ที่แบตเตอรี่รถยนต์เสียก่อนครบ 3 ปี
B แทน เหตุการณ์ที่แบตเตอรี่รถยนต์เสียตั้งแต่ 1 ถึง 5 ปี
ดังนั้น
A = {t| t <3}
B = {t|1 t 5}

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 38

ตัวอย่างที่ 2.8 จากตัวอย่างที่ 2.3 ถ้าให้ A แทน เหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหน้าหัวมากกว่า 1 ครัง้ ใน


การโยนเหรียญ 1 อัน 3 ครั้ง จงเขียนเซทของเหตุการณ์ A
A = {HHH, HTH, THH, HHT}
ซึ่งเป็นสับเซทของ S1 ในตัวอย่างที่ 2.3

นิยาม ถ้าเหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกเพียงตัวเดียวของแซมเปิลสเปซ เรียกเหตุการณ์


นั้นว่า “เหตุการณ์เชิงเดี่ยว” (simple event) ส่วนเหตุการณ์ที่สามารถเขียนเป็น ยูเนียน (union)
ของเหตุการณ์เชิงเดี่ยวมากกว่าหนึ่งเหตุการณ์เรียกว่า “เหตุการณ์ประกอบ” (compound event)

ตัวอย่างที่ 2.9 ถ้าให้ A เป็นเหตุการณ์ทหี่ ยิบไพ่หนึ่งใบให้ได้โพดาจากไพ่สารับหนึ่งซึ่งมี 52 ใบ


ซึง่ แซมเปิลสเปซ คือ S = {โพแดง, โพดา, ดอกจิก, ข้าวหลามตัด}
ดังนั้น A = {โพดา}
A = เป็นเหตุการณ์เชิงเดี่ยว
ถ้าให้ B เป็นเหตุการณ์ที่จะหยิบไพ่หนึ่งใบให้ได้สีดา
B = {โพดา U ข้าวหลามตัด}
B = {โพดา, ข้าวหลามตัด}
B เป็นเหตุการณ์เชิงประกอบ
จากตัวอย่างนี้ ยูเนี่ยนของเหตุการณ์เชิงเดี่ยวเป็นเหตุการณ์เชิงประกอบ ซึ่งยังคงเป็นสับ เซท
ของแซมเปิลสเปซ
ข้อสังเกต ถ้าไพ่ 52 ใบ เป็นสมาชิกของแซมเปิลสเปซ แทนที่จะมีเพียง 4 ชุด เหตุการณ์
A ในตัวอย่างที่ 2.9 จะเป็นเหตุการณ์เชิงประกอบ เพราะประกอบด้วยสมาชิกโพดาแต้มต่าง ๆ กันถึง
13 แต้ม
เนื่ องจากเหตุการณ์ เป็ น สั บ เซทของแซมเปิล สเปซ เราสามารถรวมเหตุการณ์ ต่าง ๆ เป็ น
เหตุการณ์ใหม่ด้วยวิธีต่าง ๆ ดังนี้
1. ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ ยูเนี่ยนของเหตุการณ์ A และ B เขียนแทน
ด้วยสัญ ลักษณ์ คือ A  B เหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกของเหตุการณ์ A หรือเหตุการณ์ B
หรือทั้งสองเหตุการณ์
2. ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ อินเตอร์เซคชั่นของเหตุการณ์ A และ B
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A  B คือเหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ทั้งในเหตุการณ์ A และ
เหตุการณ์ B

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 39

3. ถ้า A เป็นเหตุการณ์ที่อยู่ในแซมเปิลสเปซ คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ A เขียนแทน


ด้วยสัญลักษณ์ A, Ac หรือ A คือเหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในแซมเปิลสเปซ แต่ไม่อยู่
ในเหตุการณ์ A
n
4. ถ้า A1 , A2 , …, An เป็นเหตุการณ์ n เหตุการณ์  A i คือเหตุการณ์ที่
i 1
ประกอบด้วยเหตุการณ์อย่างน้อยที่สุดหนึ่งเหตุการณ์ในบรรดาเหตุการณ์ Ai เมื่อ i=1, 2, …, n
n
5. ถ้า A1 , A2 , …, An เป็นเหตุการณ์ n และเหตุการณ์  A i คือเหตุการณ์ที่
i 1
ประกอบด้วยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทุก ๆ เหตุการณ์ Ai เมื่อ i=1, 2, …, n
นิยาม ถ้า A และ B เป็ น เหตุการณ์ ส องเหตุการณ์ เรากล่ าวว่า เหตุการณ์ A และ B ไม่
เกิดขึ้นร่วมกัน (mutually exclusive) ถ้า A  B = Ф นั้นคืออินเตอร์เซคชันของ A และ B เป็น
เซตว่าง

B B

A S A S
AB AB A
C

A B A B

S S S
AB=Ф A  BC A B  C
รูปที่ 2.1 แสดงการรวมเหตุการณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 40

ตัวอย่างที่ 2.10 กล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีดาและสีขาวจานวนหนึ่ง หยิบมาดูครั้งที่ 1 แล้วคืนใส่กล่อง


แล้วหยิบครั้งที่ 2 มาดูแล้วคืนใส่กล่อง หยิบครั้งที่ 3 มาดูอีก ถ้าให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลที่
หยิ บ ครั้ งแรกเป็ น สี ข าว, E2 เป็ น เหตุ ก ารณ์ ที่ ได้ ลู ก บอลที่ ห ยิ บ ครั้ งที่ 2 เป็ น สี ข าว และ E3 เป็ น
เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลที่หยิบครั้งที่ 3 เป็นสีขาว จงหา
(1) E1  E2 (2) E2  E3 (3) E1  E2  E3 (4) E1  E2
(5) E1  E3 (6) E1  E2  E3 (7) E1
วิธีทา กาหนดให้ W แทนลูกบอลสีขาว และ R แทนลูกบอลสีดา
แซมเปิลสเปซ S = { WWW, WWR, WRW, WRR, RWW, RWR, RRW, RRR }
E1 = { WWW, WWR, WRW, WRR }
E2 = { WWW, WWR, RWW, RWR}
E3 = { WWW, WRW, RWW, RRW}
(1) E1  E2 = { WWW, WWR, WRW, WRR, RWW, RWR }
(2) E2  E3 = { WWW, WWR, RWW, RWR, WRW, RRW}
(3) E1  E2  E3 = S – {RRR}
(4) E1  E2 = { WWW, WWR }
(5) E1  E3 = { WWW, WRW }
(6) E1  E2  E3 = {WWW}
(7) E1 = { RWW, RWR, RRW, RRR }

ตัวอย่างที่ 2.11 ในการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูก ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าปรากฏแต้มเลขคู่ และ B เป็น


เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าปรากฏแต้มเลขคี่ จงหา A  B
วิธีทา A = {2, 4, 6}
B = {1, 3, 5}
AB = Ф
นั่นคือ เหตุการณ์ A และ B เป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดขึ้นร่วมกัน เพราะการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูก
จะปรากฏแต้มเลขคู่และเลขคี่ในเวลาเดียวกันไม่ได้

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 41

ตัวอย่างที่ 2.12 ในการสอบคัดเลือกบรรจุข้าราชการพลเรือนตาแหน่งเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์


ถ้า A เป็นเหตุการณ์ที่ผู้สมัครต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปี
B เป็นเหตุการณ์ที่ผู้สมัครต้องมีสัญชาติไทย
C เป็นเหตุการณ์ที่ผู้สมัครต้องจบปริญญาตรี
D เป็นเหตุการณ์ที่ผู้สมัครต้องเคยเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ไม่ต่ากว่า 18 หน่วยกิต
จะได้ A  B  C  D คือ เหตุการณ์ที่ผู้สมัครต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปี มีสัญชาติไทย
จบปริญญาตรีและเคยเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ไม่ต่ากว่า 18 หน่วยกิต

ทฤษฎีของเซท
ทฤษฎีของเซทที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้เป็นเพียงบางทฤษฎีที่เป็นประโยชน์ต่อการหาเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นจากการรวมหลาย ๆ เหตุการณ์เข้าด้วยกัน
Commulative Laws :
AB=BA
AB =BA
Associative Laws :
(AB)C = A(BC)
(AB) C = A(BC)
Distributive Laws :
A(BC) = (AB)  (AC)
A(BC) = (AB)  (AC)
De Morgan’s Laws :
(A  B)  = A  B
(A  B)  = A  B

2.3 การนับจุดตัวอย่าง (Counting Sample Points)


ในการทดลองสุ่ ม ถ้าเราต้องการทราบจานวนสมาชิกหรือจุดตัว อย่าง (Sample-points)
ในแซมเปิลสเปซหรือเหตุการณ์ที่มีจานวนน้อย เราสามารถที่จะนับจานวนนั้นได้โดยตรง แต่ถ้าการ
ทดลองนั้ น มี ส มาชิ ก มาก ๆ ก็ เป็ น การยากล าบากที่ จะแจกแจงสมาชิก แล้ ว นั บ จานวน ซึ่ งในการ
คานวณหาค่าความน่าจะเป็นบางครั้งไม่จาเป็นต้องทราบรายละเอียดของสมาชิกในแซมเปิลสเปซหรือ
ในเหตุการณ์ เพียงแต่ทราบจานวนสมาชิกก็เพียงพอ จึงมีนักคณิตศาสตร์คิดวิธีการนับจานวนสมาชิก
หรือจุดตัวอย่างให้ง่ายขึ้น โดยสร้างเป็นกฎและทฤษฎีต่างๆ ดังนี้

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 42

2.4 หลักเบื้องต้นของการนับจุดตัวอย่าง
ทฤษฎีที่ 2.1 ถ้าเหตุการณ์อันหนึ่งเกิดขึ้นโดยวิธีต่าง ๆ กัน n1 วิธี และถ้าในแต่ละวิธีจะมี
เหตุการณ์อันที่ 2 เกิดขึ้นอีก n2 วิธี แล้วจานวนเหตุการณ์ทั้ง 2 ที่เกิดขึ้นพร้อมกันจะเป็น n1 n2 วิธี

ตัวอย่างที่ 2.13 ให้ E1 เป็นเหตุการณ์ในการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูก และ E2 เป็นเหตุการณ์ในการโยน


เหรียญ 1 อัน จงหาจานวนผลลัพธ์ทั้งหมด
วิธีทา จานวนวิธีของเหตุการณ์ n(E1) = 6 วิธี
จานวนวิธีของเหตุการ n(E2) = 2 วิธี
จานวนวิธีทั้งหมดของเหตุการณ์ n(E1 E2) = 6 x 2 = 12 วิธี
ดังนั้น ผลลัพธ์ของเหตุการณ์ E1 E2 สามารถแจกแจงในรูปของสมาชิกได้ดังนี้
(1, H) (2, H) (3, H) (4, H) (5, H) (6, H)
(1, T) (2, T) (3, T) (4, T) (5, T) (6, T)

ทฤษฎีบทที่ 2.2 ถ้าเหตุการณ์อันหนึ่งเกิดขึ้นโดยวิธีต่าง ๆ กัน n1 วิธี และถ้าในแต่ละวิธีนี้


จะเหตุการณ์อันที่สองเกิดขึ้น n2 วิธี และในแต่ละเหตุการณ์ของสองอันแรกจะมีเหตุการณ์อันที่ 3
เกิดขึ้นอีก n3 วิธี จนถึง k ครั้ง จะได้จานวนเหตุการณ์ทั้งหมดเท่ากับ n1 n2 … nk วิธี

ตัวอย่างที่ 2.14 จะมีจานวนอาหารเช้าได้กี่ชุด ซึ่งประกอบด้วย เครื่องดื่ม ขนมปัง ข้าวต้ม และผลไม้


อย่างละหนึ่งชนิด ถ้าคนหนึ่งสามารถเลือกเครื่องดื่มได้ 4 ชนิด ขนมปัง 3 ชนิด ข้าวต้ม 5 ชนิด และ
ผลไม้ 4 ชนิด
วิธีทา จานวนอาหารเช้าทั้งหมด = 4 x 3 x 5 x 4 = 240 ชุด

ตัวอย่างที่ 2.15 ในการทอดลูกเต๋า 3 ลูกพร้อม ๆ กัน จงหาจานวนสมาชิกในแซมเปิลสเปซ


วิธีทา ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก จะได้แต้มต่างกันคือ 1, 2, 3, 4, 5, 6
จานวนวิธีที่ลูกเต๋าลูกที่ 1 = 6 วิธี
จานวนวิธีที่ลูกเต๋าลูกที่ 2 = 6 วิธี
และ จานวนวิธีที่ลูกเต๋าลูกที่ 3 = 6 วิธี
ดังนั้น จานวนวิธีทั้งหมดที่ลูกเต๋า 3 ลูกจะขึ้น = 6 x 6 x 6 = 216 วิธี
ข้อสังเกต ในการทอดลูกเต๋า n ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง หรือทอดลูกเต๋า 1 ลูก n ครั้ง จานวนวิธี
ที่ลูกเต๋าจะได้ = 6n วิธี

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 43

2.5 การจัดลาดับ (Permutation)


บางครั้งเราสนใจแซมเปิลสเปซที่ประกอบด้วยสมาชิกที่จัดเรียงลาดับ เช่น เราต้องการทราบ
จานวนวิธีจัดคน 6 คน นั่งโต๊ะกลม หรือจานวนวิธีที่จะดึงฉลาก 2 ใบ จาก 20 ใบ เป็นต้น วิธีการจัด
แบบนี้เรียกว่า “การจัดลาดับ” (permutation)

นิยาม การจัดลาดับคือการจัดเรียงลาดับสิ่งที่แตกต่างกันในบางสิ่ง หรือทุกสิ่งเข้าด้วยกันเป็น


เซทโดยถือตาแหน่งหรือลาดับเป็นสาคัญ

ตัวอย่างที่ 2.16 มีอักษร 4 ตัว คือ a, b, c, d ต้องการจัดคราวละ 4 ตัว จะมีวิธีจัดกี่วิธี


ถ้า (1) ไม่ให้ใช้ตัวอักษรซ้า
(2) ใช้ตัวอักษรซ้ากันได้
วิธีทา (1) ไม่ใช้ตัวอักษรซ้ากัน
จัดตาแหน่งที่ 1 ได้ = 4 วิธี
ในแต่ละวิธีของตาแหน่งที่ 1 จัดตาแหน่งที่ 2 ได้ = 3 วิธี
ในแต่ละวิธีของตาแหน่งที่ 1, 2 จัดตาแหน่งที่ 3 ได้ = 2 วิธี
ในแต่ละวิธีของตาแหน่งที่ 1,2 ,3 จัดตาแหน่งที่ 4 ได้ = 1 วิธี
จานวนวิธีทั้งหมด = 4 x 3 x 2 x 1 = 24 วิธี
(ข) ใช้ตัวอักษรซ้ากันได้
ในการจัดแต่ละตาแหน่งมีวิธีจัด = 4 วิธี
จานวนวิธีที่จัดทั้งหมด 4 ตาแหน่ง = 44 = 256 วิธี

ถ้ า มี สิ่ งของ n สิ่ ง ต้ อ งการจั ด คราวละ n สิ่ ง จะต้ อ งเลื อ กจั ด n ต าแหน่ ง ต าแหน่ งที่ 1
สามารถเลือกจัดได้ n วิธี ตาแหน่งที่ 2 เลือกจัดได้ n –1 วิธี… และตาแหน่งสุดท้ายจะเลือกตัดได้เพียง
วิธีเดียว ดังนั้นจากหลักเบื้องต้น วิธีจัดลาดับจะเท่ากับ n(n-1)…(2)(1)= n! n (n-factorial)

ทฤษฎีบทที่ 2.3 จานวนวิธีจัดลาดับสิ่งของที่แตกต่างกัน n สิ่ง จัดทีละ n สิ่ง เท่ากับ n! วิธี


นิยาม n แฟคเตอเรียล หมายถึง ผลคูณของเลขจานวนเต็มบวก เริ่มแต่ n แล้วลดทีละ 1 จน
เหลือ 1
n! = n(n-1)(n-2)…(3)(2)(1)
3! = (3)(2)(1) = 6
1! = 1

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 44

ถ้ามี r ตาแหน่งที่จะจัดโดยเลือกจากสิ่งของที่แตกต่างกัน n สิ่ง เมื่อ r  n, จานวนวิธที ี่จะ


จัดลาดับดังนี้
n
Pr  n(n  1) (n  2)...(n  r  1)

ในกรณีนี้เราจัดตาแหน่งที่ 1 ได้ n วิธี ตาแหน่งที่ 2 ได้ (n - 1) วิธี จนกระทั่ง


ตาแหน่งที่ r จัดได้ (n – r + 1) วิธี
เอา (n – r)! คูณทั้งเศษและส่วนจะได้

n(n  1) ...(n  r  1) (n  r) ... (3) (2) (1)


n
Pr 
(n  r)...(3) (2) (1)
n!

(n  r )!

ทฤษฎีบทที่ 2.4 วิธีจัดลาดับสิ่งของสิ่งที่แตกต่างกัน n สิ่งจัดทีละ r สิ่ง (r< n) เขียนแทน


n!
ด้วย Pr จะได้ Pr 
n n
(n  r )!

n!
จาก n
Pr 
(n  r )!
n! n! n!
n
Pn     n!
(n  n)! 0! 1

ตัวอย่างที่ 2.17 นักเรียนกลุ่มหนึ่ง ใช้ธงสีต่าง ๆ กัน 5 อันติดเสาธงตามขอบรั้วในการแข่งขันกีฬา


ประจาโรงเรียน ถ้านักเรียนมีธงสีต่าง ๆ กัน 7 อัน เขาจะมีวิธีปักธงได้กี่วิธี
วิธีทา จานวนวิธีที่นักเรียนปักธง ดังนี้
7! 7!
7
P5    2,520 วิธี
(7  5)! 2!

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 45

ตัวอย่างที่ 2.18 จะมีวิธีจัดตัวเลข 3 ตัว จากเลข 0, 1, 2, …, 9 ไม่ให้เลขซ้ากันได้กี่วิธี


วิธีทา ตาแหน่งที่ 1 จะเป็น 0 ไม่ได้
จัดตาแหน่งที่ 1 ได้ = 9 วิธี
ในแต่ละวิธีของตาแหน่งที่ 1 จัดตาแหน่งที่ 2 ได้ = 9 วิธี
ในแต่ละวิธีของตาแหน่งที่ 1, 2 จัดตาแหน่งที่ 3 ได้ = 8 วิธี
จานวนวิธีทั้งหมด = 9 x 9 x 8 = 648 วิธี

ตัวอย่างที่ 2.19 มีนักเรียนชาย 6 คน นักเรียนหญิง 6 คน ถ้าให้นักเรียนชายกับนักเรียนหญิงยืนเรียง


แถวสลับกัน จะจัดได้กี่วิธี
วิธีทา ตาแหน่งนักเรียนชายมี 6 ตาแหน่งและตาแหน่งนักเรียนหญิงมี 6 ตาแหน่ง
จัดนักเรียนชายให้ยืนเรียงกันได้ 6! วิธี
เมื่อจัดนาเรียนชายแล้วจัดนักเรียนหญิงได้ 6! วิธี
แต่เพศใดอาจจะอยู่หัวแถวก็ได้จึงเลือกหัวแถวได้ 2! วิธี
จานวนวิธีที่จะจัดนักเรียนชายหญิงยืนสลับกัน = 2! 6! 6!
= 1,036,800 วิธี

2.6 การจัดลาดับเป็นวงกลม
วิธีจัดลาดับเป็นวงกลมจะแตกต่างกับวิธีจัดเป็นแนวตรง เช่นจัดคน 5 คนนั่งรอบโต๊ะกลมถ้า
ให้แต่ละคนเลื่อนตาแหน่งไปหนึ่งที่ทั้งชุดถือว่าเป็นวิธีเดียวกัน ดังรูปที่ 1 และจะแตกต่างกันดังรูปที่ 2
ก จ ก ข

จ ข ง ก จ ข จ

ง ค ง ค
ง ค ค ข

รูปที่ 1 ถือว่าเป็นวิธีเดียวกัน รูปที่ 2 ถือว่าเป็นวิธีที่แตกต่างกัน


ดังนั้ น ในการจั ดล าดับ เป็ น วงกลม จะต้ องยึดสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งเป็น หลั กอยู่กับที่ แล้ วจัดล าดั บ
สิ่งของที่เหลือ ดังตัวอย่าง สมมติว่าให้ ก เป็นหลักที่เหลือ 4 คน จัดสลับที่กันได้ 4!
ฉะนั้นวิธีจัด 5 คน นั่งรอบโต๊ะกลมได้ = (5-1)! = 4! วิธี
= 24 วิธี
ทฤษฎีบทที่ 2.5 จานวนวิธีจัดลาดับสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่างกันเป็นวงกลมเท่ากับ (n-1)! วิธี

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 46

ตัวอย่างที่ 2.20 จะมีวิธีจัดให้ชาย 3 คน หญิง 3 คน นั่งโต๊ะกลมได้กี่วิธี โดยไม่มีเงื่อนไข


(ก) ไม่ให้หญิง 2 คน ที่กาหนดให้นั่งติดกัน
(ข) ให้ผู้หญิงนั่งสลับกับชาย
วิธีทา
(ก) ไม่ให้หญิง 2 คน ที่กาหนดให้นั่งติดกัน
คนทั้งหมด 6 คน ถ้าให้ผู้หญิง 2 คน นั่งติดกัน คล้ายกับว่าให้ผู้หญิง 2 คน เป็นคนเดียว
กันก็เท่ากับเราจัด 5 คน นั่งโต๊ะกลม
ดังนั้น จานวนวิธีจัดคน 5 คน นั่งโต๊ะกลม = (5-1)! วิธี
แต่หญิง 2 คน นี้สามารถสลับที่กันได้ = 2! วิธี
ดังนั้น จานวนวิธีจัด 6 คน นั่งโต๊ะกลม ให้ผู้หญิง 2 คน นั่งชิดกัน = 2!(5-1)! วิธี
= 48 วิธี
จานวนวิธีที่จะจัดคน 6 คน นั่งโต๊ะกลม = (6-1)! วิธี
ดังนั้น จานวนวิธีที่จะจัดคน 6 คน นั่งโต๊ะกลมไม่ให้หญิง 2 คน นั่งติดกัน
= (6-1)!-48 วิธี
= 72 วิธี
(ข) ให้ผู้หญิงนั่งสลับกับชาย
ต้องการจัดคน 6 คน นั่งโต๊ะกลมใช้ชายกับหญิงนั่งสลับกัน
จัดหญิง 3 คน นั่งโต๊ะกลมก่อนได้ = (3-1)! วิธี
เมื่อจัดหญิงแล้วจัดชายที่เหลือนั่งได้ = 3! วิธี
ดังนั้น จานวนวิธีจัดชาย 3 คน หญิง 3 คน สลับกันรอบโต๊ะกลม = (3-1)!3! วิธี
= 12 วิธี

2.7 การจัดลาดับของ n สิ่งที่ไม่แตกต่างกันทั้งหมด


สมมติว่ามีอักษร 3 ตัวคือ a, b และ c นามาจัดลาดับจะได้ 3! วิธีหรือ 6! วิธี ดังนี้คือ abc,
acb, bac, cab, bca, cba ถ้าให้อักษร b และ c เท่ากับ x ตัวอักษรที่จัดได้คือ axx, axx, xax xax,
xxa,xxa ซึ่งมีเพียง 3 วิธี ที่แตกต่างกัน
นั่นคือในการจัดอักษร 3 ตัว เหมือนกัน 2 ตัว มีวิธีจัด = 3! = 3 วิธี
2!
ในทานองเดียวกัน ถ้ามีอักษร 4 ตัว คือ a, b, c และ d นามาจัดลาดับได้ 4! วิธี หรือ 24 วิธี
ถ้าให้ a = b = x และ c = d = y ตัวอักษรที่จัดได้คือ xxyy, xyxy, yxxy, yyxx, xyyx, yxyx ซึ่งมีวิธี
3!
จัดเท่ากับ  6 วิ ธี
2!

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 47

ทฤษฎีบทที่ 2.6 ในการจัดลาดับสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งมี n1 สิ่งเหมือนกัน n2 สิ่งเหมือนกัน …nk


n!
สิ่งเหมือนกัน จะได้จานวนวิธีจัดเท่ากับ
n1 ! n2 ! n3 ! ... nk !

ตัวอย่างที่ 2.21 ถ้ามีเหรียญ 4 อัน ต้องการเรียงให้ปรากฏหัว 2 อัน ก้อย 2 อัน จะมีวิธีจัดเรียง


ได้กี่วิธี
วิธีทา วิธีจัดเรียงเหรียญ 4 อัน ให้ปรากฏหัว 2 อัน ก้อย 2 อัน ได้
n! n! 4!
   6 วิธี
n1 ! n2 ! n3 ! ... nk ! n1 ! n2 ! 2! 2!

2.8 การจัดหมู่ (Combination)


ในเหตุการณ์บางอย่างหรือจานวนมาก เราไม่สนใจในการเรียงลาดับ เราสนใจแต่จานวนกลุ่ม
เท่ านั้ น เช่น เรามี กี่ วิธีที่ จ ะเลื อกกรรมการ 5 คน จาก 20 คน จะเห็ น ว่ าล าดั บ ไม่ มี ความจ าเป็ น
เราสนใจแต่เพียงว่าเลือกมาได้กี่กลุ่มหรือหมู่ หรือชุดเท่านั้น
นิยาม การจัดหมู่คือวิธีเลือกสิ่งของ r สิ่งจาก n สิ่ง โดยไม่คานึงถึงลาดับที่

ทฤษฎีบทที่ 2.7 จานวนวิธีจัดหมู่สิ่งของ n สิ่ง จัดทีละ r สิ่ง เขียนแทนด้วย


n n!
n
Cr    
r  (n  r )! r!

ตัวอย่างที่ 2.22 แจกไพ่ 3 ใบ จากไพ่สารับหนึ่ง 52 ใบ มีวิธีแจกกี่วิธีที่ไม่เหมือนกัน


วิธีทา จานวนวิธีแจกไพ่ 3 ใบ จากไพ่สารับหนึ่ง 52 ใบ ดังนี้
 52  52!
52
C3    
 3  (52  3)! 3!
52!
  22,100 วิ ธี
49! 3!

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 48

ตัวอย่างที่ 2.23 ในกล่องใบหนึ่งมีลูกบอลอยู่ 12 ลูก เป็นลูกบอลสีแดง 7 ลูก สีขาว 5 ลูก หยิบลูก


บอล 5 ลูก จงหาวิธีที่จะได้ลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก
วิธีทา จานวนวิธีที่จะหยิบลูกบอลสีแดง 3 ลูก ดังนี้

7 7! 7!
7
C3       35 วิ ธี
3 (7  3)! 3! 4! 3!

แต่ละวิธีที่หยิบลูกบอลสีแดง หยิบลูกบอลสีขาว 2 ลูกได้ ดังนี้

 5 5! 5!
5
C2       10 วิ ธี
 2 (5  2)! 2! 3! 2!

ดังนั้น จานวนวิธีที่จะหยิบลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก = 35 X 10 วิธี


= 350 วิธี

2.9 การคานวณความน่าจะเป็น
ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ของความน่าจะเป็นกาหนดให้ตัวเลขมาชุดหนึ่ง เรียกว่า “น้าหนัก”
(weight) มีค่าจาก 0 ถึง 1 ซึ่งนาไปประเมินผลเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอันเป็นผลมาจากการทดลองทาง
สถิติ เราจะกาหนดค่าน้าหนักลงทุก ๆ จุดตัวอย่างในแซมเปิลสเปซ ซึ่งผลรวมของน้าหนักเหล่านี้จะ
เท่ากับ 1 ถ้าเรามีเหตุผลเชื่อว่าจุดตัวอย่างอันหนึ่งเกิดขึ้นแน่นอนในการทดลองน้าหนักที่กาหนดนั้นมี
ค่าใกล้ 0 เช่นในการโยนเหรียญหรือทอดลูกเต๋า จุดตัวอย่างจะมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่า ๆ กัน สาหรับจุด
ตัวอย่างที่อยู่นอกแซมเปิลสเปซ น้าหนักจะมีค่าเป็น 0
ในการหาค่าของความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ A เราจะรวมน้าหนักทั้งหมดที่กาหนดไว้ในจุด
ตัวอย่างของเหตุการณ์ A ผลรวมนี้เรียกว่า “ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ A” เขียนแทนด้วย Pr(A)
หรือ P (A) ดังนั้น ความน่าจะเป็นของ Ф จึงเท่ากับ 0 และความน่าจะเป็นของ S เท่ากับ 1
นิยาม ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ A คือผลรวมของน้าหนักของจุดตัวอย่างในเหตุการณ์ A
ดังนั้น
0 < P (A) < 1, P ( ) = 0 , P(S) = 1

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 49

ตัวอย่างที่ 2.24 โยนเหรียญ 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่เหรียญจะขึ้นหน้าหัวอย่างน้อยหนึ่ง


ครั้ง
วิธีทา แซมเปิลสเปซ S = { HH, HT, TH, TT }
ถ้าเหรียญเที่ยงตรง ผลลัพธ์จะมีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน
ถ้าให้ w แทน ค่าน้าหนักของสมาชิกแต่ละตัว
จะได้ 4w = 1
1
w =
4
ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่เหรียญจะขึ้นหน้าหัวอย่างน้อยหนึ่งครั้ง
ดังนั้น A = { HH, HT, TH }
3
P(A) = 3w =
4

ตัวอย่างที่ 2.25 ในการทอดลูกเต๋าลูกหนึ่ง ถ้าน้าหนักของหน้าที่ปรากฏเลขคู่เป็น 2 เท่าของการ


ปรากฏเลขคี่ ถ้า E เป็นเหตุการณ์ที่ปรากฏแต้มน้อยกว่า 4 จงหา P(E)
วิธีทา แซมเปิลสเปซ S = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
ถ้าให้ E เป็นน้าหนักของแต้มเลขคี่
ดังนั้น น้าหนักของแต้มเลขคู่ = 2w
จะได้ w + 2w + w + 2w + w + 2w = 1
9w = 1
w = 19
ให้ E เป็นเหตุการณ์ที่ปรากฏแต้มน้อยกว่า 4
P(E) = w + 2w + w
= 19  2 9  19  4 9
โดยปกติเรามักจะสมมติว่าสมาชิกแต่ละตัวในแซมเปิลสเปซ จะมีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน
(equally likely outcomes) ดั งนั้ น ความน่ า จะเป็ น ของเหตุ ก ารณ์ A จึ ง เป็ น อั ต ราส่ ว นระหว่ า ง
จานวนสมาชิกในเหตุการณ์ A และจานวนสมาชิกในแซมเปิลสเปซ
นิยาม ถ้าในการทดลองอันหนึ่งเกิดขึ้นได้ N วิธีต่าง ๆ กัน แต่ละวิธีมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่า ๆ
กัน และมีอยู่ n วิธีของผลลัพธ์ N วิธี เป็นผลลัพธ์ของเหตุการณ์ A ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ A
n
คือ P(A) 
N

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 50

ตัวอย่างที่ 2.26 ในการโยนเหรียญ 1 อัน 3 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่จะ


(ก) เหรียญขึ้นหน้าหัว 2 อัน
(ข) เหรียญขึ้นหน้าก้อยอย่างน้อย 1 อัน
วิธีทา เพื่อความสะดวกในการคานวณความน่าจะเป็น จึงควรเขียนให้อยู่ในรูปของแซมเปิลสเปซ
โดยที่ H แทน เหรียญขึ้นหน้าหัว และ T แทน เหรียญขึ้นหน้าก้อย
ดังนั้น S = { HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT }
กาหนดให้ A เป็นเหตุการณ์ที่เหรียญจะขึ้นหน้าหัว 2 อัน
B เป็นเหตุการณ์ที่เหรียญจะขึ้นหน้าก้อยอย่างน้อย 1 อัน
ดังนั้น A = { HHT, HTH, THH }
B = S – {HHH}
n 3
P(A)  
N 8
1 7
P(B)  1  
8 8

ตัวอย่างที่ 2.27 ในการทอดลูกเต๋าสองลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่


ก. ได้แต้มรวมกันเท่ากับ 7
ข. ได้แต้มรวมกันเท่ากับ 11
ค. ได้แต้มต่างกัน 1
วิธีทา ลูกเต๋าลูกแรกปรากฏผลได้ 6 วิธี ลูกที่สองปรากฏผลได้ 6 วิธี
ดังนั้น จานวนสมาชิกในแซมเปิลสเปซ n(S) = 6 x 6 = 36 วิธี
แสดงรายละเอียดดังนี้
ลูกที่ 2
ลูกที่ 1 1 2 3 4 5 6
1 (1,1) (1,2) (1,3) (1,4) (1,5) (1,6)
2 (2,1) (2,2) (2,3) (2,4) (2,5) (2,6)
3 (3,1) (3,2) (3,3) (3,4) (3,5) (3,6)
4 (4,1) (4,2) (4,3) (4,4) (4,5) (4,6)
5 (5,1) (5,2) (5,3) (5,4) (5,5) (5,6)
6 (6,6) (6,2) (6,3) (6,4) (6,5) (6,6)

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 51

ให้ E1 , E2 , E3 เป็นเหตุการณ์ในข้อ (ก), (ข) และ (ค) ตามลาดับ


E1 = { (1,6), (2,5), (3,4), (4,3), (5,2), (6,1) }
E2 = { (5,6), (6,5) }
E3 = { (1,2), (2,3), (3,4), (4,5), (5,6), (6,5), (5,4), (4,3), (3,2), (2,1) }
6 1
ก. ได้แต้มรวมกันเท่ากับ 7 ดังนั้น P(E1 )  
36 6
2 1
ข. ได้แต้มรวมกันเท่ากับ 11 ดังนั้น P(E2 )  
36 18
10 5
ค. ได้แต้มต่างกัน 1 ดังนั้น P(E3 )  
36 18

ตัวอย่างที่ 2.28 ดึงไพ่ใบหนึ่งจากไพ่สาหรับหนึ่ง จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ไพ่ “honor” (ace,


king, queen, jack และ 10)
วิธีทา ไพ่ทั้งหมดมี 52 ใบ ฉะนั้นจานวนสมาชิกในแซมเปิลสเปซ n(S) = 52
ไพ่ 52 ใบนี้แบ่งออกเป็น 4 ชนิด ๆ ละ 13 ใบ แต่ละชนิดมีไพ่ honor อยู่ 5 ใบ
ให้ A เป็นไพ่ honor มีจานวน n(A) = 4 x 5 = 20
20 5
P(A)  
52 13

ตัวอย่างที่ 2.29 กล่องใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 6 ลูก สีน้าเงิน 4 ลูก ถ้าหยิบลูกบอล 4 ลูก จงหา


ความน่าจะเป็นที่จะได้สีแดง 2 ลูก สีน้าเงิน 2 ลูก
 10 
วิธีทา จานวนวิธีทั้งหมดที่จะหยิบลูกบอล 4 ลูกจาก 10 ลูก = 10
C4   
4

 6
จานวนวิธีที่จะหยิบให้ได้ลูกบอลสีแดง 2 ลูก = 6
C2   
 2

 4
จานวนวิธีที่จะหยิบให้ได้ลูกบอลสีน้าเงิน 2 ลูก = 4
C2   
 2

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี


บทที่ 2 ความน่าจะเป็น 52

ดังนั้น ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่จะหยิบให้ได้ลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีน้าเงิน 2 ลูก


 6  4
 4 x 2  90 3
P(A)       
 10  210 7
4
 

ตัวอย่างที่ 2.30 แม่ค้าขายมะม่วงซึ่งมีมะม่วงอยู่ 30 ผล มีอยู่ 8 ผลที่ยังไม่สุก ถ้ามีลูกค้ามาซื้อมะม่วง


ไป 5 ผล โดยแม่ค้าหยิบใส่ถุงแบบสุ่ม จงหาความน่าจะเป็นที่ลูกค้าจะได้มะม่วงที่ยังไม่สุกไป 3 ผล
 30 
วิธีทา จานวนวิธีทั้งหมดที่ลูกค้าซื้อมะม่วง 5 ผลจาก 30 ผล = 30
C5   
5
ให้ A แทนเหตุการณ์ที่ลูกค้าจะได้มะม่วงที่ยังไม่สุก 3 ผล จากการซื้อไป 5 ผล
ดังนั้น
 8   22 
 3x 2  12,936
P(A)        0.09
 30  142,506
5
 

ตัวอย่างที่ 2.31 ซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลมา 5 ใบ จากทั้งแผงซึ่งมีอยู่ 100 ใบ ในจานวนนี้มีรางวัลที่


ถูกอยู่ดังนี้ รางวัลที่ 1 (มี 1 รางวัล) รางวัลที่ 2 (มี 3 รางวัล) และรางวัลที่ 3 (มี 6 รางวัล) จงหาความ
น่าจะเป็นที่
1. ไม่ถูกรางวัลเลย
2. ถูกรางวัลทั้ง 5 ใบ
3. ถูกรางวัลที่ 1

--------------------------------------

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

You might also like