You are on page 1of 37

รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 1

วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

รหัสวิชา 59 เคมี
สอบวันอาทิตย์ ที่ 4 เมษายน 2564
เวลา 13.30-15.00 น.

ชื่อ..................................................นามสกุล...................................................เลขที่นงั่ สอบ...................................
สถานที่สอบ.....................................................................................................ห้องสอบที่......................................

ห้ามกวดวิชาอื่นนำไปแจกซ้ำโดยไม่ได้รับอนุญาต

เพื่อเป็ นประโยชน์ ทางการศึกษาและใช้ เป็ นวิทยาทานเท่านั้น


เอกสารชุดนีห้ ้ ามคัดลอก ทาซ้า หรื อเผยแพร่ หรื อนาไปใช้ เพื่อการอื่นๆ ในเชิงพาณิชย์

หากพบผู้ใดฝ่ าฝื น จะดาเนินคดีตามกฎหมาย


รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 2
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

กาหนดให้ ใช้ ค่ามวลต่อโมล (กรัมต่ อโมล) ของสารดังต่ อไปนี้

H = 1.0 He = 2.0 Ne = 10.0 C = 12.0

N = 14.0 O = 16.0 Na = 23.0 S =32.0

Ar = 40.0 Ca = 40.0 Zn = 65.0 Ag = 108.0


รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 3
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบที่ถูกที่สุด


จานวน 40 ข้ อ (ข้ อ 1 – 40) ข้ อละ 2 คะแนน รวม 80 คะแนน

1. ไอโซโทปกัมมันตรังสี Na-24 สลายตัวเป็ น Mg-24 โดยมีครึ่งชีวิต 15 ชั่วโมง


ถ้าวาง Na-24 มวล 50.00 กรัม ไว้นาน 45 ชั่วโมง จะเกิด Mg-24 ขึน้ กีก่ รัม และแผ่รังสี ชนิดใด
กาหนดให้ เลขอะตอมของ Na = 11 และ Mg = 12

เกิด Mg-24 (g) แผ่รังสี


1. 6.25 แกมมา

2. 6.25 บีตา

3. 43.75 แอลฟา

4. 43.75 แกมมา

5. 43.75 บีตา
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 4
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

2. A D และ E เป็ นสั ญลักษณ์ สมมติธาตุที่อยู่ในคาบเดียวกันในตารางธาตุ โดยสารประกอบ


ออกไซค์ของ A และ D และสารประกอบคลอไรด์ ของ E มีสมบัติดังแสดงในตาราง

สารประกอบ จุดหลอมเหลว (C°) จุดเดือด (C°) สมบัติความเป็ นกรด-เบส


เมื่อเป็ นสารละลายในน้า
A2O3 2,054 2,980 –
( ไม่ ละลายในน้า )

DO 2,852 3,600 เบส


ECI
"
ECl 801 1,465 กลาง

ข้ อใดไม่ ถูกต้ อง

1. ธาตุ E มี EN น้ อยกว่า ธาตุ D

2. ธาตุ D มี EA มากกว่า ธาตุ A

3. ธาตุ A มีรัศมีอะตอมเล็กกว่าธาตุ E

4. ทั้ง A2O3 DO และ ฒื๊ไ


ECI ฑ๊ก
ECl เป็ นสารประกอบไอโอนิ

5. จานวนเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนของธาตุ D น้ อยกว่าธาตุ A อยู่ 1 อิเล็กตรอน


รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 5
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

3. X Y และ Z เป็ นสั ญลักษณ์ สมมติของธาตุที่มีเลขอะตอม 31 34 และ 37 ตามลาดับ


พิจารณาข้ อความต่ อไปนี้
ก. ธาตุ X Y และ Z อยู่ในคาบเดียวกัน
ข. จานวนเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนของธาตุ Z > Y > X
ค. ธาตุ Z เป็ นธาตุกลุ่ม s ส่ วนธาตุ X และ Y เป็ นธาตุกลุ่ม p
ข้ อความใดถูกต้ อง
1. ก เท่ านั้น
2. ข เท่ านั้น
3. ค. เท่ านั้น
4. ก และ ข
5. ข และ ค
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 6
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

4. กาหนดให้
ค่าของพลังงาน
ชนิดของพลังงาน
(kJ/mol)
พลังงานแลตทิซของ NH4 NO3 647
พลังงานไฮเดรชันของ NH4+ 307
พลังงานไฮเดรชันของ NO3- 314

ถ้ านาแอมโมเนียมไนเทรต ( NH4 NO3 ) จานวน 1 โมล มาละลายในน้า


เมื่อสั มผัสภาชนะจะรู้สึกอย่างไร และปริมาณพลังงานของการละลายนีเ้ ป็ นเท่ าใด
1. รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ากับ 26 kJ
2. รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ากับ 621 kJ
3. รู้สึกเย็น และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ากับ 1,268 kJ
4. รู้สึกร้ อน และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ ากับ 26 kJ
5. รู้สึกร้ อน และปริมาณพลังงานของการละลายมีค่าเท่ ากับ 621 kJ
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 7
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

5. พิจารณากราฟแสดงการเปลีย่ นแปลงพลังงานศักย์ในการเกิดโมเลกุล Q2 และ R2 ดังภาพ

พลังงานพันธะของ Q2 และความยาวของพันธะ R2 เป็ นเท่ าใด

พลังงานพันธะ Q-Q ( kJ/mol ) ความยาวพันธะ R-R (pm)

b x1
1.
b x1- x4
2.
𝜶−𝒃
ฒื๊ x1
3.

4. 𝜶−𝒃 x4

5. 𝜶−𝒃
ฌื๊ x4- x1
ฏื๊
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 8
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

6. ถ้ าดึงอิเล็กตรอนคู่โดดเดีย่ วออกจากอะตอม Xe ในโมเลกุล XeF4 จานวน 1 คู่ ทาให้ เกิด

การเปลีย่ นแปลงรูปร่ างโมเลกุลได้ รูปร่ างใหม่

รูปร่ างเดิมและรูปร่ างใหม่ ของโมเลกุล XeF4 ตามทฤษฎี VSEPR ข้ อใดถูกต้ อง

กาหนดให้ เลขอะตอมของ F=9 และ Xe = 54

รูปร่ างเดิม รูปร่ างใหม่

1. ทรงสี่ หน้ าบิดเบีย้ ว สี่ เหลีย่ มแบนราบ

2. ทรงสี่ หน้ าบิดเบีย้ ว ทรงสี่ หน้ า

3. ทรงสี่ หน้ า ทรงสี่ หน้ าบิดเบีย้ ว

4. สี่ เหลีย่ มแบนราบ ทรงสี่ หน้ า

5. สี่ เหลีย่ มแบนราบ ทรงสี่ หน้ าบิดเบีย้ ว


รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 9
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

7. กาหนดพลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ถึง 8 (ในหน่ วยเมกะจูลต่ อโมล) ของธาตุสมมติ 4 ธาตุ


ดังนี้

ธาตุ IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6 IE7 IE8


W 1.3 2.3 3.8 5.2 6.6 9.4 11.0 33.6
X 1.3 3.4 5.3 7.5 12.0 13.3 71.3 84.1
Y 1.1 2.4 4.6 6.3 37.8 47.3 - -
Z 1.0 2.3 3.4 4.6 7.0 8.5 27.1 31.7

ข้ อใดไม่ ถูกต้ อง

1. ZW4 มีรูปร่ างโมเลกุลเป็ นสี่ เหลีย่ มแบนราบ

2. มุมพันธะ X-Z-X ของ ZX3 กว้างกว่าของ ZX42-

3. สารประกอบ ZX2 มีอเิ ล็กตรอนคู่โดดเดีย่ วที่อะตอมกลางจานวนหนึ่งคู่

4. สารประกอบ YX2 เป็ นโมเลกุลไม่ มีข้วั ยึดเหนี่ยวกันด้ วยแรงแผ่กระจายลอนดอนเท่ านั้น

5. ธาตุ X และ Z อยู่ในหมู่เดียวกัน แต่ เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนของธาตุ Z อยู่ในระดับพลังงานหลักที่


สู งกว่า
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 10
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

8. สารประกอบชนิดหนึ่งของธาตุสมมติ A มีสูตรเคมี คือ H10A2O5 หากสารประกอบนี้

มีธาตุออกซิเจนอยู่ร้อยละ 50.0 โดยมวล ธาตุ A มีมวลต่ อโมลกี่กรัมต่ อโมล

1. 35.0

2. 40.0

3. 50.0

4. 70.0

5. 80.0

9. กระบวนการถลุงเหล็กมีข้ันตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 C(s) + O2(g) CO(g) (สมการยังไม่ ดุล)

ขั้นที่ 2 Fe2 O3(s) + CO(g) Fe(s) + CO2(g) (สมการยังไม่ ดุล)


หากต้ องการเหล็ก 1.0 โมล จะต้ องใช้ แก๊สออกซิเจนอย่างน้ อยกีโ่ มล
1. 0.50
2. 0.75
3. 1.0
4. 1.3
5. 1.5
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 11
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

10. แอลกอฮอล์สเปรย์ มีวิธีการเตรียมดังต่ อไปนี้

1) เทเอทานอล 92% v/v ปริมาตร 200.0 มิลลิลติ ร ลงในบีกเกอร์

2) เติมไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ 3% v/v ปริมาตร 10.0 มิลลิลติ ร กลีเซอรีน 98% v/v

ปริมาตร 7.0 มิลลิลติ ร และน้ามันหอมระเหย 2-3 หยด ลงในบีกเกอร์ เดียวกัน

แล้วคนจนละลายเป็ นเนื้อเดียวกัน จากนั้นเทใส่ ขวดกาหนดปริมาตรขนาด 250.00 มิลลิลติ ร

และเติมน้ากลัน่ ให้ ถึงขีดบอกปริมาตร

ความเข้ มข้ นของเอทานอลในแอลกอฮอล์สเปรย์ที่ได้ เป็ นกีโ่ มลาร์

กาหนดให้ ความหนาแน่ นของเอทานอลบริสุทธิ์ เท่ ากับ 0.800 กรัมต่ อมิลลิลติ ร

1. 3.20

2. 4.00

3. 12.8

4. 16.0

5. 20.0
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 12
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

11. ไอติมหวานเย็นมีอตั ราส่ วนโดยมวลของน้าตาลกลูโคส ( C6H12O6 ) ต่ อน้าเท่ ากับ 1 : 3


ไอติมหวานเย็นนีม้ ีจุดเยือกแข็งกี่องศาเซลเซียส

กาหนดให้ Kf ของน้า = 1.8 °C/m


1. - 0.25
2. - 0.33
3. - 0.60
4. - 2.5
5. - 3.3

12. ปูนขาว ( CaO ) ผลิตได้ จากการเผาหินปูน (CaCO3) ดังสมการเคมี

CaCO3(s) ∆ CaO (s) + CO2 (g)


เมื่อเผาหินปูนไประยะหนึง่ แบ่ งของแข็งมวล เนคไท
2.56doอร
กิโลกรัม มาวิเคราะห์ พบว่ามีแคลเซียม
เป็ นองค์ประกอบ 1.20 กรัม ของแข็งนีม้ ี CaO อยู่ร้อยละโดยมวลเท่ าใด
1. 21.9
2. 33.3
3. 46.9
4. 65.6
5. 78.1
ตี
สื
สึ
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 13
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

13. โลหะสั งกะสี 19.5 กรัม ใส่ ลงในสารละลายซิลเวอร์ ไนเทรต 0.400 โมลาร์ ปริมาตร 1.00 ลิตร
พบว่ามีโลหะเงินเกิดขึน้ 17.28 กรัม และเกิดปฏิกริ ิยาดังสมการเคมี
Zn (s) + AgNO3 (aq) Ag (s) + Zn(NO3)2(aq) (สมการยังไม่ ดุล)
ผลได้ ร้อยละของโลหะเงินที่ได้ เป็ นเท่ าใด
1. 20.0
2. 25.4
3. 26.7
4. 40.0
5. 53.3
14. บีกเกอร์ บรรจุ CH3COOH เข้ มข้ น 6.00 % w/v ปริมาตร 30.0 มิลลิลติ ร มีมวลรวมกันเท่ ากับ
41.4 กรัม จากนั้น ใส่ ยาลดกรดจานวน 1 เม็ด มวล 3.00 กรัม ซึ่งมีตัวยาสาคัญ คือ NaHCO3
ลงในบีกเกอร์ พบว่า มีฟองแก๊สเกิดขึน้ เมื่อปฏิกริ ิยาสิ้นสุ ดยังคงมี CH3COOH เหลืออยู่
มวลของบีกเกอร์ และสารที่บรรจุอยู่รวมกันเท่ ากับ 43.3 กรัม
ยาลดกรดที่นามาใช้ ทาการทดลองมีปริมาณ NaHCO3 ร้ อยละโดยมวลเท่ าใด
1. 11.7
2. 36.7
3. 60.0
4. 70.0
5. 84.0
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 14
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

15. ที่ความดันและอุณหภูมิหนึ่ง แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ มีความหนาแน่ นเท่ ากับ 6.6 กรัมต่ อลิตร
ที่ความดันและอุณหภูมิเดียวกัน แก๊สอาร์ กอนจะมีความหนาแน่ นกีก่ รัมต่ อลิตร
1. 0.15
2. 1.8
3. 2.2
4. 6.0
5. 6.6

16. นาลูกโป่ งที่เหมือนกัน 2 ใบ มาบรรจุแก๊สจนมีปริมาตร 6 ลิตรเท่ ากัน โดยใบที่ 1 บรรจุแก๊ส H2


และใบที่ 2 บรรจุแก๊ส X เมื่อเก็บลูกโป่ งทั้งสองไว้ภายใต้ สภาวะเดียวกันเป็ นเวลา 7 วัน พบว่า
ลูกโป่ งใบที่ 1 มีขนาดเหลือ 2 ลิตร ส่ วนลูกโป่ งใบที่ 2 มีขนาดเหลือ 5 ลิตร
กาหนดให้ การรั่วของแก๊ สจากลูกโป่ งทั้งสองเกิดจากการแพร่ ผ่านในลักษณะเดียวกันเพียงอย่าง
เดียว

แก๊ส X ควรจะเป็ นแก๊สในข้ อใด


1. He
2. Ne
3. O2
4. CH4
5. SO2
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 15
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

17. นาของผสมของสาร P และสาร Q ในอัตราส่ วน 1:1 โดยโมล มาตั้งทิง้ ไว้กลางห้ อง


สาร P จะเกิดปฏิกริ ิยากับแก๊สออกซิเจนในอากาศได้ สาร Q ดังสมการเคมี
P(s) + 302(g) 2Q(s)
ถ้ าช่ วงที่ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาของสาร P มีค่าคงที่ กราฟแสดงความสั มพันธ์ ระหว่าง
จานวนโมลของสาร P และสาร Q กับเวลา ข้ อใดถูกต้ อง

สอ
อิ
นึ
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 16
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

18. เมื่อนาตัวเร่ งปฏิกริ ิยา 3 ชนิด มาใช้ เร่ งปฏิกริ ิยาการเกิดพอลิเมอร์ ของมอนอเมอร์ X
ใน สารละลาย ที่มีความเข้ มข้ นเริ่มต้ นของ X เท่ ากับ 5.0 โมลาร์ โดยใช้ ปริมาณของตัวเร่ งปฏิกริ ิยา

แต่ ละชนิดเท่ า ๆ กัน บันทึกผลได้ ดังตาราง

ความเข้ มข้ นของมอนอเมอร์ X ที่เวลาต่ างๆ (m)


M
mm
ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา
5 นาที 4 ชั่วโมง 1 วัน
A 4.8 3.0 2.2
B 4.1 4.0 1.8
C 4.5 4.4 3.2

ตัวเร่ งปฏิกริ ิยาชนิดใดทาให้ อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเฉลีย่ ในช่ วงหนึ่งวันมากที่สุด และตัวเร่ งนีใ้ ห้


อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลีย่ ในช่ วง 4 ชั่วโมงแรกเท่ าใด

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลีย่ ในช่ วง 4 ชั่วโมงแรก


ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา
(โมลาร์ ต่อชั่วโมง)
1. A 0.20
2. A 0.50
3. B 0.25
4. B 0.55
5. C 1.1
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 17
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

19. สารตั้งต้ น A สลายตัวได้ผลิตภัณฑ์ B และ C ผ่านปฏิกริ ิยาเคมี ดังแสดงในตาราง

ปฏิกริ ิยาที่ สมการเคมี พลังงานก่อกัมมันต์ (kJ/mol) พลังงานของปฏิกริ ิยา (kJ/mol)

1 A B 50.56 - 100.00

2 A C 110 - 25.00

หากอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีไม่ ขนึ้ กับความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น ข้ อใดถูกต้ อง


1. ปฏิกริ ิยาที่ 1 เกิดได้ เร็วกว่าปฏิกริ ิยาที่ 2 เนื่องจากคายความร้ อนมากกว่า
2. เมื่ออุณหภูมิสูงขึน้ ทั้งสองปฏิกริ ิยาเกิดเร็วขึน้ เพราะพลังงานก่อกัมมันต์ ลดลง
3. เมื่ออุณหภูมิสูงขึน้ ทั้งสองปฏิกริ ิยาเกิดช้ าลงเพราะเป็ นปฏิกริ ิยาคายความร้ อน
4. พลังงานของสารตั้งต้ นและสารผลิตภัณฑ์ ของปฏิกิริยาที่ 1 มีค่าต่างกัน 150.56 (kJ/mol)
5. ในช่ วงแรกของปฏิกริ ิยา ความเข้ มข้ นของผลิตภัณฑ์ B มากกว่าความเข้ มข้ นของ
ผลิตภัณฑ์ C
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 18
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

20. แก๊ส N2O4 สลายตัวในภาชนะปิ ดปริมาตร 1 ลิตร ณ อุณหภูมิหนึ่ง เมื่อเข้ าสู่ ภาวะสมดุล
มีแก๊ส N2O4 0.50 โมล และแก๊ส NO2 1.00 โมล ถ้ าเติมแก๊ส N2O4 เพิม่ เข้ าไปในภาชนะแล้ว
ปล่อยให้ เข้ าสู่ สมดุลอีกครั้ง จะมีแก๊ส N2O4 0.72 โมล
แก๊ส N2O4 ที่เติมเข้ าไปในภาชนะเท่ ากับกีโ่ มล
1. 0.22
2. 0.32
3. 0.42
4. 0.44
5. 0.66
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 19
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

21. กาหนดให้
ปฏิกริ ิยาที่ 1 SnO2(s) + 2H2(g) ⇋ Sn (s) + 2H2O(g) K1 = 8.120
ปฏิกริ ิยาที่ 2 H2(g) + CO2(g) ⇋ H2O(g) + CO(g) K2 = 0.771
ปฏิกริ ิยาที่ 3 2CO(g) + SnO2(s) ⇋ 2CO(g) + Sn (s) K3 = ?
ค่า K3 มีค่าเท่ าใด และการเปลีย่ นแปลงสมดุลเมื่อเติมโลหะดีบุกเข้ าไปในระบบของปฏิกริ ิยาที่ 3
จะเป็ นอย่างไร

ค่าคงที่สมดุล (K3 ) การเปลีย่ นแปลงสมดุลเมื่อเติมโลหะดีบุก


1. 0.0732 สมดุลไม่ เปลีย่ นแปลง
2. 0.0732 สมดุลย้อนกลับ
3. 6.26 สมดุลไม่ เปลีย่ นแปลง
4. 13.7 สมดุลย้อนกลับ
5. 13.7 สมดุลไม่ เปลีย่ นแปลง
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 20
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

22. กระบวนการซาบาเทียร์ เป็ นกระบวนการผันกลับได้ ที่มีแก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ และแก๊ส


ไฮโดรเจนเป็ นสารตั้งต้ น ได้ แก๊สมีเทนและไอน้าเป็ นผลิตภัณฑ์ โดยกระบวนการนีค้ ายพลังงาน
165 กิโลจูลต่ อ 1 โมล ของคาร์ บอนไดออกไซด์

วิธีการทั้ง 2 วิธีในข้ อใดที่ทาให้ สามารถผลิตแก๊สมีเทนได้ ในปริมาณมากขึน้

วิธีการที่ 1 วิธีการที่ 2
1. เพิม่ ความดัน เพิม่ อุณหภูมิ
2. เพิม่ ความดัน ลดอุณหภูมิ
3. ลดความดัน ลดอุณหภูมิ
4. ลดความดัน เติมแก๊ส H2
5. เพิม่ อุณหภูมิ เติมแก๊ส H2

23. โมเลกุลหรื อไอออนใดที่ไม่ สามารถเป็ น “กรด” ตามทฤษฎีกรด-เบสเบรินสเตด-ลาวรี

1. NH3

2. CO2

3. NH4+

4. H2O

5. HNO2
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 21
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

24. สารละลายกรดผสมมีกรด CH3COOH เข้ มข้ น 1.00 โมลาร์ และกรด ๓


HCI
HCl เข้ มข้ น 0.100 โมลาร์

การแตกตัวของกรด CH3COOH ในสารละลายนีท้ อี่ ุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส


มีค่าร้ อยละการแตกตัวเท่ าใด

ุ หภูมิ 50 °C = 1:60 × 10-5


กาหนดให้ Ka ของ CH3COOH ที่อณ เ

1. 1.60 × 10-4

2. 4.00 × 10-3

3. 1.60 × 10-2

4. 0.400

5. 10.4
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 22
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

25. กาหนดให้ H3PO4 มี pKa1 = 2.2 pKa2 = 7.2 pKa3 = 12.2 ตามลาดับภาพ
และ 100.2 = 1.6

สารละลายผสมในข้ อใดเป็ นสารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH เท่ ากับ 7.0

สารละลายผสมระหว่าง

สารละลายที่ 1 สารละลายที่ 2
ปริมาตร 100.00 mL ปริมาตร 100.00 mL

1. NaH2PO4 1.6 M Na2HPO4 1.0 M

2. NaH2PO4 1.0 M Na2HPO4 1.6 M

3. NaH2PO4 1.6 M Na3PO4 1.0 M

4. Na2HPO4 1.0 M Na3PO4 1.6 M

5. Na2HPO4 1.6 M Na3PO4 1.0 M


รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 23
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

26. กาหนดให้ อินดิเคเตอร์ 2 ชนิด คือ A และ B มีช่วงการเปลีย่ นสี ดังตาราง

ชนิดของอินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ที่เปลีย่ นสี สี ที่เปลีย่ น

A 1.5 – 2.8 แดง – เหลือง

B 2.4 – 3.7 เหลือง – น้าเงิน

ตน
ถ้ าปิ เปตต์ สารละลาย HCl
HCI เข้ มข้ น 0.20 โมลาร์ ปริมาตร 5.00 มิลลิลติ ร ใส่ ลงไปในขวดกาหนด
ปริมาตร จากนั้นเติม NaOH 36.0 มิลลิกรัม ลงไปผสมจนเป็ นเนื้อเดียวกัน แล้วปรับปริมาตร
ด้ วยน้ากลัน่ จนได้ 100.00 มิลลิลติ ร เมื่อนาสารละลายที่ได้ มาแบ่ งเป็ น 2 ส่ วน หยดอินดิเคเตอร์
แต่ ละชนิดลงไป สารละลายที่ได้ จะเป็ นสี อะไร

สี ของสารละลายเมื่อหยดอินดิเคเตอร์

A B
1. สี แดง สี เหลือง

2. สี ส้ม สี เหลือง

3. สี ส้ม สี เขียว

4. สี เหลือง สี เขียว

5. สี เหลือง สี น้าเงิน
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 24
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

27. สารประกอบหรื อไอออนของแมงกานีส (Mn) ในข้ อใดทาหน้ าที่เป็ นตัวรีดิวซ์


1. MnCO3 + 2H+ Mn2+ + H2O + CO2
2. 5BiO3- + 2Mn2+ + 14H+ 2MnO4- + 5Bi3+ + 7H2O
3. MnO2 + H2O2 +2H+ Mn2+ + 2H2O + O2


2- 2+ 2+
4. 2CU
Cu + MnO4 + 4H2O 2CU 80H-
Cu + Mn + 8OH

5. 2MnO4- + 6I- + 4H2O 80H-


2MnO2 + 3I2 + 8OH
28. พิจารณาตารางต่ อไปนี้ ฌื๊
ปฏิกริ ิยาครึ่งเซลล์รีดักชัน E0 (V)
Ni2+ + (aq) +2e- Ni(s) - 0.25
Fe2+ + (aq) +2e- Fe(s) - 0.44
Cr3+ + (aq) +3e- Cr(s) - 0.74
Zn2+ + (aq) +2e- Zn(s) - 0.76
AI3+ + (aq) +3e- AI(s) - 1.66

วิธีการใดป้องกันการการผุกร่ อนของเหล็กได้ น้อยที่สุด


1. ชุบเหล็กด้ วยสั งกะสี
2. ชุบเหล็กด้ วยโครเมียม
3. ทาสี น้ามันลงบนแท่ งเหล็ก
4. นาลวดนิกเกิลมาพันรอบแท่ งเหล็ก
5. นาลวดอะลูมิเนียมมาพันรอบแท่ งเหล็ก
ฬํ๊ฏื๊
ฬุ
สื
ตู้
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 25
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

29. เมื่อจุ่มแท่ งโลหะ 4 ชนิด ลงในสารละลายไอออนบวกของโลหะที่มีความเข้ มข้ น 1 โมลาร์

ได้ ผลดังตาราง

สารละลายไอออนบวก ( 1 M )
โลหะ
A B C D

A ✓ ✓

C ✓

D ✓ ✓ ✓

กาหนดให้ ✓ หมายถึง สั งเกตเห็นของแข็งเกาะที่แท่ งโลหะ


หมายถึง สังเกตไม่ เห็นการเปลีย่ นแปลง

ข้ อใดเรียงลาดับโลหะตามความสามารถในการเป็ นตัวรีดิวซ์ จากมากไปน้ อยได้ ถูกต้ อง

1. B C A D
2. B C D A
3. C B D A
4. D A C B
5. D A B C
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 26
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

30. จัดชุดการทดลอง โดยนาแท่ งโลหะผสมซึ่งประกอบด้ วย โลหะเงิน โลหะ M และ โลหะ N ต่ อกับ


แบตเตอรี่ 1 ก้อนที่ข้วั บวก และแท่ งแกรไฟต์ ต่อที่ข้วั ลบ แล้วจุ่มขั้วไฟฟ้าทั้งสองลงในสารละลาย
ที่มีไอออน M2+ และ N2+ ความเข้ มข้ น 1 โมลาร์ เท่ ากัน เมื่อเวลาผ่านไปได้ผลดังภาพ

จากผลการทดลองข้ อใดถูกต้ อง

1. ถ้ าต่ อเซลล์ดังแผนภาพ M(s)| M2+ (aq) || Ag+ (aq)|Ag(s) เซลล์นจี้ ะเป็ นเซลล์กลั วานิก

2. ถ้ าต่ อเซลล์ดังแผนภาพ N(s)| N2+ (aq) || Ag+ (aq)|Ag(s) เซลล์นจี้ ะเป็ นเซลล์ อิเล็กโทรลิติก

3. ถ้ าต่ อเซลล์ดังแผนภาพ M(s)| M2+ (aq) || N2+ (aq)|N(s) เซลล์นจี้ ะเป็ นเซลล์ อเิ ล็กโทรลิติก

4. ไอออน M2+ เป็ นตัวออกซิไดซ์ ที่ดีที่สุด

5. โลหะ Ag เป็ นตัวรีดิวซ์ ทดี่ ีทีสุด


รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 27
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

31. ไอไซเมอร์ โครงสร้ างของ butonoic acid ที่เป็ นเอสเทอร์ มีกไี่ อไซเมอร์

1. 2 2. 3

3. 4 4. 5

5. 6

32. กาหนดสู ตรโครงสร้ างของน้ามันชนิดหนึ่ง เป็ นดังนี้

กาหนดให้ มวลต่ อโมลของน้ามันนี้ เท่ ากับ 826 กรัมต่ อโมล


ถ้ าต้ องการผลิตเนยเทียมจากน้ามันชนิดนี้ โดยนานา้ มัน 1.652 กรัม มาทาปฏิกริ ิยาการเติมกับ
แก๊สไฮโดนเจนจนได้ น้ามันที่เมื่อทาปฏิกริ ิยาไฮโดรลิซิสแล้วได้ กรดไขมันอิ่มตัว
ในปฏิกริ ิยาการเติมต้ องใช้ แก๊สไฮโดรเจนกีม่ ิลลิโมล
1, 2.00 2. 4.00

3. 6.00 4. 8.00

5. 14.0
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 28
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

33. สี ย้อม 2 ชนิด ที่ไม่ ทาปฏิกริ ิยากัน และไม่ ทาปฏิกริ ิยากับน้าและเฮกเซน มีสูตรโครงสร้ างดังภาพ

O
MMM

หากผสมสี ย้อมทั้งสองชนิดในภาชนะที่มีน้าและเฮกเซนผสมกัน ผลจากการสั งเกตข้ อใดถูกต้ อง


กาหนดให้ ความหนาแน่ นของเฮกเซนเท่ ากับ 655 กิโลกรัมต่ อลูกบาศก์เมตร

1. 2.

3. 4.

5.
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 29
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

34. สารประกอบไฮโดรคาร์ บอนชนิดหนึ่งมีสมบัติ ดังนี้


1) สารนี้ 1 โมล เมื่อเผาไหม้ อย่างสมบูรณ์ จะได้ แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซค์ 9 โมล และน้า 6 โมล
2) สารนีท้ าปฏิกริ ิยากับสารละลายโบรมีนในที่สว่าง ซึ่งอัตราส่ วนโดยโมลของสารนีก้ บั
โบรมีนเป็ น 1:1 และสารผลิตภัณฑ์ ที่เกิดขึน้ มี 1 โครงสร้ างเท่ านั้น
ข้ อใดคือโครงสร้ างของสารประกอบไฮโดรคาร์ บอนชนิดนี้

1.

2.

3.

4.

5.
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 30
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

35. พิจารณาสมบัติของสาร A-E ดังนี้


1) สาร A เป็ นสารที่มีกลิ่นเหมือนแอปเปิ ล เมื่อนามาต้ มในสารละลาย NaOH จนปฏิกริ ิยา
เกิดสมบูรณ์ และเติมอีเทอร์ ลงไป จะได้ เกลือในชั้นน้า และสาร B ในชั้นอีเทอร์
2) นาชั้นน้าในข้ อ 1) มาสะเทินด้ วยกรด MM
HCI
HCl แล้ วสกัดด้ วยอีเทอร์ และระเหยแห้ งจะได้ สาร C

3) เมื่อนาสาร B กับ D มาต้ มในสารละลายกรดจะได้ pentyl butanoate ที่มีกลิน่ เหมือนแพร์


4) เมื่อนาสาร C กับ E มาต้ มในสารละลายกรดจะได้ propyl hexanoate ที่มกี ลิน่ เหมือน
สั บปะรด
ข้ อใดถูกต้ อง
1. สาร A คือ propyl hexanoate
2. สาร B มีจุดเดือดต่ากว่าสาร E
3. CH3 (CH2)2CONH2 ต้ มในกรดแล้วได้ สาร D
4. CH3 CH2COOCH3 ต้ มในกรดแล้วได้ สาร E
5. ต้ มสาร D และ E ในกรดได้ pentyl hexanoate
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 31
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

36. แอสปาแทมใช้ เป็ นน้าตาลเทียมที่ให้ ความหวานมากกว่าน้าตาลซูโครส 180 เท่า มีโครงสร้ างเคมี


ดังแสดง

ข้ อใดกล่าวไม่ ถูกต้ องเกีย่ วกับแอสปาแตม

1. สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนกับน้าได้

2. พบหมู่ฟังก์ ชันเช่ นเดียวกันกับ ethanamine

3. พบหมู่ฟังก์ ชันเช่ นเดียวกันกับ ethanoic acid

4. พบหมู่ฟังก์ ชันเช่ นเดียวกันกับ ethyl ethanoate

5. เกิดปฎิกริ ิยาไฮโดรลิซิสในเบสจนสมบูรณ์ ได้ ผลิตภัณฑ์ ที่มีโครงสร้ างต่ างกัน 2 ชนิด


รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 32
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

37. สารคู่ใดไม่ สามารถนามาใช้ เป็ นมอนอเมอร์ ในการผลิตพอลิเมอร์ ได้

สาร 1 สาร 2

1.

2.

3.

4.

5.
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 33
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

38. การเรียกชื่ อพอลิเมอร์ ทาได้ โดยเติมคาว่า poly- (พอลิ-) หน้ าชื่ อมอนอเมอร์ ของพอลิเมอร์ น้ นั ๆ
เช่ น พอลิเมอร์ ที่มี styrene (สไตรีน) เป็ นมอนอเมอร์ จะเรียกว่า polystyrene (พอลิสไตรีน)
พอลิเมอร์ ต่อไปนีค้ วรมีชื่อเรียกว่าอย่างไร

1. poly (ethyl hexene) (พอลิเอทิลเฮกซีน)


2. polyhexane (พอลิเฮกเซน)
3. polyhexene (พอลิเฮกซีน)
4. polyoctane (พอลิออกเทน)
5. polyoctene (พอลิออกทีน)
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 34
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

39. พิจารณาโครงสร้ างพอลิไวนิลแอลกอฮอล์

ข้ อใดเป็ นสารเคมีที่เหมาะต่ อการนามาพัฒนาสมบัติของพอลิไวนิลแอลกอฮอล์


โดยใช้ ปฏิกริ ิยาควบแน่ น
1. 2-methylpantane
2. 3-methylpent-1-yne
3. 1,2-dimethylbenzene
4. 1-methylcyclohexene
5. 2-methylpropanoic acid
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 35
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

40. ในการไทเทรด จะต้ องบันทึกปริมาตรเริ่มต้ นและปริมาตรสุ ดท้ ายของสารละลายที่บรรจุใน


บิวเรตต์ เมื่อไทเทรตจนถึงจุดยุติ ถ้าระดับของสารละลายหลังการไทเทรตจนถึงจุดยุติเป็ นดัง
ภาพ

ข้ อใดบันทึกปริมาตรสุ ดท้ ายของการไทเทรตได้ ถูกต้อง


1. 22.9 มิลลิลติ ร
2. 23.1 มิลลิลติ ร
3. 22.70 มิลลิลติ ร
4. 22.90 มิลลิลติ ร
5. 23.10 มิลลิลติ ร
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 36
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เป็ นคาตอบ


จานวน 5 ข้ อ (ข้ อ 41 – 45) ข้ อละ 4 คะแนน รวม 20 คะแนน

41. ออกเทน ( C8H18 ) 0.200 โมล เกิดปฏิกริ ิยาการเผาไหม้ อย่างสมบูรณ์ กบั แก๊สออกซิเจนที่มากเกินพอ
จากปฏิกริ ิยาดังกล่าว เกิดแก๊สคาร์ บอนไดออกไซค์ กี่กรัม

42. ในการหาปริมาณหมู่ –COOH ในโครงสร้ างของพอลิเมอร์ ชนิดหนึ่ง ทาได้โดย


1) นาพอลิเมอร์ 2.5 กรัม มาแช่ ในสารละลาย NaOH ความเข้ มข้ น 0.3 โมลาร์ ปริมาตร
50.00 มิลลิลติ ร จนหมู่ –COOH เกิดปฏิกริ ิยาทั้งหมด
2) กรองของแข็งออกและเก็บสารละลาย NaOH ที่เหลือจากปฏิกริ ิยา
3) ปิ เปตต์ สารละลายที่ได้ 10.00 มิลลิลติ ร ไปไทเทรตกับสารละลาย ๓
HCI
HCl 0.050 โมลาร์ พบว่ า

ที่จดุ ยุตใิ ช้ ปริมาตรกรด ฑืศฒ๊


HCI 40.00 มิลลิลติ ร
HCl

กาหนดให้ พอลิเมอร์ ชนิดนีม้ ีเฉพาะหมู่ –COOH ทีส่ ามารถทาปฏิกริ ิยากับสารละลาย NaOH


พอลิเมอร์ นี้ 1.0 กรัม มีปริมาณหมู่ –COOH อยู่กมี่ ิลลิโมล

43. พิจารณาสมการรีดอกซ์ ดังต่ อไปนี้


aH+ + bCr2O72- + cCI
Cl
-
dCr3+ + eCI
Cl 2 + fH2O

เมื่อดุลสมการข้ างต้ น โดยให้ a b c d e และ f เป็ นจานวนเต็มที่น้อยที่สุด


ผลรวมของ a b c d e และ f เป็ นเท่ าใด
รหัสวิชา 59 เคมี หน้ า 37
วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.

44. โรงงาน 2 แห่ ง ผลิตสาร Z เหมือนกันด้ วยปฏิกริ ิยาที่แตกต่ างกัน 2 ปฏิกริ ิยา ซึ่งมีสมการเคมีแสดง
ปริมาณสั มพันธ์ และค่าคงที่สมดุล (K) ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ดังตาราง

โรงงานที่ 1 A(aq) + B(aq) ⇋ Z(aq) ; K = 100.0


โรงงานที่ 2 A(aq) + C(aq) ⇋ Z(aq) ; K = 25.0

สารทุกชนิดละลายน้าและแต่ ละโรงงานเริ่มการผลิต โดยใช้ อตั ราส่ วนจานวนโมลของสารตั้งต้ น


เป็ น 1 : 1 เพื่อให้ ได้ สาร Z ที่มีความเข้ มข้ น 1.00 โมลาร์ ปริมาตร 1.00 ลิตร เท่ ากัน
ถ้ าสารตั้งต้ น B มีราคาเป็ น 3.00 เท่ าของ C ต้ นทุนของสาร B ในโรงงานที่ 1 เป็ นกีเ่ ท่ าของต้ นทุน
ของสาร C ในโรงงานที่ 2

45. เรื อดาน้าลาหนึ่งจาลองบรรยากาศเทียมด้ วยการผสมแก๊สไนโตรเจนและแก๊ สออกซิเจนเข้ าด้ วยกัน


ให้ มีความดันย่อยของแก๊สออกซิเจน 164.2 มิลลิเมตรปรอท เพื่อให้ ลกู เรื อสามารถหายใจได้ ปกติ
ที่มีความดัน 760 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส
ถ้ าบนเรื อมีลูกเรื อ 19 คน แต่ ละคนมีอตั ราการใช้ อากาศหายใจ 1.00 × 104 ลิตรต่ อวัน จะต้ องเตรียม
ถังออกซิเจนเหลวอย่างน้ อยกีล่ งั จึงจะมีอากาศเพียงพอต่ อการหายใจนาน 12 วันพอดี
กาหนดให้ R = 0.0821 L atm mol-1 K-1
และถังออกซิเจนเหลว 1 ถัง บรรจุแก๊สออกซิเจน 20.0 กิโลกรัม

You might also like