You are on page 1of 66

หลักสูตรสังคมศึกษาระดับประถมศึกษา
ศูนย์การเรียนรู้อีซี่ลิชอินเตอร์เฮาส์

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจการดำรงชีวิตของ


มนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อมการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด
เข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลาตามเหตุปัจจัยต่างๆ เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความ
อดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของ
ประเทศชาติ และสังคมโลก

เนื้อหาสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน
และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความ
รับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมโดยได้กำหนดสาระต่าง ๆ ไว้ ดังนี้
• ศาสนา ศี ล ธรรมและจริ ย ธรรม แนวคิ ด พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ ศาสนา ศี ล ธรรม จริ ย ธรรม หลั ก ธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุข เป็นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม
• หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญการเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
• เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่
อย่างจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
• ภูมิศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพของโลก การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ปัญหาทางกายภาพและภัยพิบัติ
ความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ การใช้ภูมสิ ารสนเทศ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับการสร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ความร่วมมือด้าน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในประเทศและระหว่างประเทศ และการจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คุณภาพผู้เรียน
สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ ๓

• มีความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่อาศัย และเชื่องโยง


ประสบการณ์ไปสูโ่ ลกกว้าง
• มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลัก
คำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบการอยู่ร่วมกันและการทำงานกับผู้อื่น มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมของห้องเรียน และได้ฝึกหัดในการตัดสินใจ
• มีความรู้เรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิด
เกี่ยวกับปัจจุบันและอดีต มีความรู้พื้นฐานทางเศรษฐกิจ ได้ข้อคิดเกี่ยวกับรายรับ-รายจ่ายของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็น
ผู้ผลิต ผู้บริโภค รู้จักการออมขั้นต้นและวิธีการเศรษฐกิจพอเพียง
• รู้และเข้าใจในแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์
และภูมิศาสตร์ เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจในขั้นที่สูงต่อไป
• มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางภายภาพของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวและชุมชน และสามารถปรับตัวเท่าทันการ
เปลี่ยนแปลงทางภายภาพ และมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาที่ยั่งยืน

สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ ๖
• มีความรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ทั้งเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพ สังคมประเพณี
และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมือง การปกครอง และสภาพเศรษฐกิจโดยเน้นความเป็นประเทศไทย
• มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่ต นนับ
ถือ รวมทั้งมีส่วนร่วมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิ่งขึ้น
• ปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าที่ในฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทั้งได้
มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของท้องถิ่นตนเอง มากยิ่งขึ้น
• สามารถเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้รับการพัฒนา
แนวคิดทางสังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์
เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่การทำความเข้าใจในภูมิภาคซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต การจัดระเบียบทางสังคม และการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมจากอดีตสู่ปัจจุบัน
• มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางภายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสั งคมในจังหวัดภาคและ
ประเทศไทย สามารถเตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพกับภัยพิบัติต่าง ๆในประเทศไทยและหาแนวทางในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

มาตรฐานและตัวชี้วัดแกนกลาง

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญของหลักธรรมในพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่น และปฏิบัติตามเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๑. บอกพุทธประวัติและประวัติ ๑. บอกความสำคัญของพุทธ ๑. อธิบายความสำคัญของพุทธ ๑. อธิบายความสำคัญของพุทธ ๑. วิเคราะห์ความสำคัญของพุทธ ๑. วิเคราะห์ความสำคัญของพุทธ
ของศาสดาที่ตนนับถือ ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่ ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือใน ศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจำ
๒. ชื่นชมและบอกแบบอย่าง ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ ในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญ เป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิก ฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ชาติและความสำคัญของศาสนาที่
การดำเนินชีวิตและข้อคิดใน ประสูติจนถึงการออกผนวช ของวัฒนธรรมไทย ชน และหลักในการพัฒนาชาติไทย ตนนับถือ
ประวัติ ชาดก เรื่องเล่าและ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่การ ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุ ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่เสด็จ ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุ
ศาสนิกชน ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่าง บำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน ธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือ กรุงกบิลพัสดุ์ จนถึงพุทธกิจ สังขารจนถึงสังเวชนียสถานหรือ
๓. บอกความหมายและ การดำเนินชีวิตและข้อคิดใน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับ ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ สำคัญหรือประวัติศาสดาที่ตนนับ ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ
ความสำคัญของพระรัตนตรัย ประวัติ ชาดก เรื่องเล่า และ ถือ ๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตน ถือ ๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตน
ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ศาสนิกชน ๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่าง ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต ๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตน ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและ
หลักธรรมในศาสนาที่ตนนับถือ ๔. บอกความหมายความสำคัญ การดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก และข้อคิดจากประวัติสาวก ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่อง
๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติ ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชน และข้อคิดจากประวัติสาวก เล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง
เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของ ตามหลักธรรม โอวาท ๓ ใน และศาสนิกชนตามที่กำหนด ตามที่กำหนด ชาดกเรื่องเล่าและศาสนิกชน ๔. วิเคราะห์ความสำคัญของ
สมาธิในพระพุทธศาสนา หรือ พุทธศาสนาหรือตามหลัก ๔. บอกความหมายความสำคัญ ๔. แสดงความเคารพพระ ตัวอย่าง พระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขา
การพัฒนาจิตตาทหลักศาสนาที่ ศาสนาที่ตนนับถือ ของพระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ของ รัตนตรัยปฏิบัติตามไตรสิกขา ๔. อธิบายความสำคัญของ และหลักธรรมโอวาท ๓ ในพุทธ
ตนนับถือ ศาสนาที่ตนนับถือ และหลักธรรมโอวาท ๓ ใน พระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของ ศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนา
พระพุทธศาสนาหรือหลัก ศาสนาที่ตนนับถือ ที่ตนนับถือ
ศาสนาที่ตนนับถือ

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๒ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๕. ชื่ น ชมการทำความดี ข อง ๕ . แส ดงค วาม เค าร พ พ ร ะ ๕. ชื่ น ชมการทำความดี ข อง ๕ . แ ส ด ง ค ว า ม เค าร พ พ ร ะ ๕. ชื่นชมการทำความดีของบุคคล
ตนเองบุค คลในครอบครัวและ รั ต น ต รั ย แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม ตนเอง บุ ค คลในครอบ ครั ว รัตนตรัยและปฏิบัติตามไตรสิกขา ในประเทศตามหลักศาสนาพร้อม
ในโรงเรียนตามหลักศาสนา ห ลั ก ธ ร ร ม โ อ ว า ท ๓ ใ น โรงเรี ย นและชุ ม ชนตามหลั ก แล ะห ลั ก ธรรมโอวาท ๓ ใน ทั้ง บอกแนวปฏิ บั ติในการดำเนิ น
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่ พระพุทธศาสนาหรือหลักธรรม ศาส นา พร้ อ มทั้ ง บอกแนว พระพุ ท ธศาสนาหรื อหลั ก ธรรม ชีวิต
เมตตามี ส ติ ที่ เป็ น พื้ น ฐานของ ของศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติในการดำเนินชีวิต ของศาสนาที่ตนนับถือ ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์
สมาธิ ในพุ ท ธศาสนาหรือ การ ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่ ๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่ ๖. เห็ นคุ ณ ค่าและสวดมนต์ แผ่ แผ่ เมตตาและบริ ห ารจิ ต เจริ ญ
พั ฒ นาจิ ต ตามแนวทางของ เมตตามี ส ติ ที่ เป็ น พื้ น ฐานของ เมตตา มีส ติที่ เป็น พื้น ฐานของ เมตตา มี ส ติ ที่ เป็ น พื้ น ฐานของ ปัญญา มีพื้นฐานของสมาธิในพุทธ
ศาสนาที่ตนนับถือ สมาธิ ใ นพุ ท ธศาสนาหรือ การ สมาธิ ในพุ ท ธศาสนาหรือ การ สมาธิ ในพุ ท ธศาสนาหรื อ การ ศาสนาหรื อ การพั ฒ นาจิ ต ตาม
๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดาและ พั ฒ นาจิ ต ตามแนวทางของ พั ฒ นาจิ ต ตามแนวทางของ พั ฒ นาจิ ต ตามแนวทางของ แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
ความสำคั ญ ของคั ม ภี ร์ ข อง ศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนาที่ตนนับถือ ๗. ปฏิบั ติตน ตามหลักธรรมของ
ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนา ๗. บอกชื่ อ ความสำคั ญ และ ๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ ๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ ศาสนาที่ ตนนั บถื อเพื่อ แก้ ปัญ หา
อื่นๆ ปฏิ บั ติ ต นได้ อ ย่ า งเหมาะสม ศาสนาที่ตนนั บถื อ เพื่ อการอยู่ ศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนา อ บ า ย มุ ข แ ล ะ สิ่ ง เส พ ติ ด
ต่ อ ศ าสน วั ต ถุ ศ าส นส ถาน ร่ ว ม กั น เป็ น ช า ติ ได้ อ ย่ า ง ตนเองและสิ่งแวดล้อม ๘. อธิ บ ายหลั ก ธรรมสำคั ญ ของ
และศาสนบุคคลของศาสนาอื่น สมานฉันท์ ศาสนาอื่นๆโดยสังเขป
๘. อธิ บ ายประวั ติ ศ าสดาของ ๙.อธิบายลักษณะสำคัญ พิธีกรรม
ศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป ของศาสนาอื่นๆ และปฏิบัติตนได้
อย่างเหมาะสมเมื่อต้องเข้าร่วมพิธี

๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๒ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๑. บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัด ๑. ปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมต่อ ๑. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อ ๑. อภิปรายความสำคัญและมีส่วน ๑. จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่ตน ๑. อธิบายความรู้เกี่ยวกับ
หรือศาสนสถานของศาสนาที่ตน สาวกของศาสนาที่ตนนับถือ สาวกศาสนสถานศาสนวัตถุของ ร่วมในการบำรุงรักษา ศาสนสถาน นับถืออย่างเรียบง่ายมีประโยชน์ สถานที่ต่าง ๆ ในศาสนสถานและ
นับถือ ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง ศาสนาที่ตนนับถือได้ถูกต้อง ของศาสนาที่ตนนับถือ และปฏิบัติตนถูกต้อง ปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม
๒. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือ ๒. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี ๒. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนใน ๒. มีมรรยาทของความเป็น ๒. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม ๒. มีมรรยาทของความเป็น
แสดงตนเป็นศาสนิกชนของ พิธีกรรม และวันสำคัญทาง ศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสำคัญ ศาสนิกชนที่ดี และวันสำคัญ ทางศาสนา และ ศาสนิกชนที่ดี
ศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนาได้ถูกต้อง ทางศาสนาได้ถูกต้อง ๓. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี อภิปรายประโยชน์ที่ได้รับจากการ ๓. อธิบายประโยชน์ของการเข้า
๓.ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม ๓. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ พิธีกรรมและวันสำคัญทาง เข้าร่วมกิจกรรม ร่วมในศาสนพิธี พิธีกรรมและ
และวันสำคัญทางศาสนาได้อย่าง หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของ ศาสนาตามที่กำหนดได้ถูกต้อง ๓. มีมารยาทของความเป็น กิจกรรมในวันสำคัญทางศาสนา
ถูกต้อง ศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนิกชนที่ดีตามที่กำหนด และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
๔. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือ
แสดงตนเป็นศาสนิกชนของ
ศาสนาที่ตนนับถือ

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๒ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๑. บอกประโยชน์และปฏิบัติตน ๑. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา ๑. สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตาม ๑. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี ๑. ยกตัวอย่างและปฏิบัติตน ตาม ๑. ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและ กฎระเบียบและหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติใน ประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัว ประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ ชีวิตประจำวันของครอบครัวและ
โรงเรียน ชีวิตประจำวัน และท้องถิ่น ชุมชน และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี ชุมชน
๒. ยกตัวอย่างความสามารถและ ๒. ปฏิบัติตนตามมารยาทไทย ๒. บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ๒.ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ ๒. เสนอวิธีการ ปกป้องคุ้มครอง ๒. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง
ความดีของตนเอง ผู้อ่นื และบอก ๓. แสดงพฤติกรรมในการยอมรับ ของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแส ตามที่ดี ตนเองหรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิ วัฒนธรรมตามกาลเวลาและธำรง
ผลจากการกระทำนั้น ความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติ วัฒนธรรมที่หลากหลาย ๓. วิเคราะห์สิทธิพ้นื ฐานที่เด็กทุกคน เด็ก รักษาวัฒนธรรมอันดีงาม
ของบุคคลอื่นที่แตกต่างกัน โดย ๓. อธิบายความสำคัญของ พึงได้รับตามกฎหมาย ๓. เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผล ๓. แสดงออกถึงมารยาทไทยได้
ปราศจากอคติ วันหยุดราชการที่สำคัญ ๔. อธิบายความแตกต่างทาง ต่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย เหมาะสมกับกาลเทศะ
๔. เคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น ๔. ยกตัวอย่างบุคคลซึ่งมีผลงานที่ วัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น ๔. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และ ๔. อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่
เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและท้องถิ่น ๕. เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่าง เผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนใน
ของตน สันติสุขในชีวิตประจำวัน สังคมไทย
๕. ติดตามข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์
ต่าง ๆในชีวิตประจำวัน เลือกรับ
และใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้
เหมาะสม

๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๒ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๑. บอกโครงสร้างบทบาท และ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ของ ๑. ระบุบทบาทและหน้าที่ของ ๑. อธิบายอำนาจอธิปไตย ๑.อธิบายโครงสร้างอำนาจ ๑. เปรียบเทียบบทบาท หน้าที่
หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวและ ตนเองและสมาชิกในครอบครัว สมาชิก ชุมชนในการมีส่วนร่วม และความสำคัญของระบอบ หน้าที่และความสำคัญของการ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น
โรงเรียน ในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน กิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการ ประชาธิปไตย ปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐบาล
๒. ระบุบทบาทสิทธิ หน้าที่ของ ๒. ระบุผู้มีบทบาท อำนาจใน ประชาธิปไตย ๒. อธิบายบทบาทหน้าที่ของ ๒. ระบุบทบาทหน้าที่และ ๒. มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆที่
ตนเองในครอบครัวและโรงเรียน การตัดสินใจในโรงเรียนและ ๒.วิเคราะห์ความแตกต่างของ พลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง วิธีการเข้าดำรงตำแหน่งของ ส่งเสริมประชาธิปไตยในท้องถิ่น
๓. มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและ ชุมชน กระบวนการ การตัดสินใจในชั้น ๓. อธิบายความสำคัญของ ผู้บริหารท้องถิ่น และประเทศ
ทำกิจกรรมในครอบครัวและ เรียน/โรงเรียนและชุมชนโดย สถาบันพระมหา กษัตริย์ตาม ๓. วิเคราะห์ประโยชน์ที่ชุมชน ๓. อภิปรายบทบาทความสำคัญ
โรงเรียนตามกระบวนการ วิธีการออกเสียงโดยตรงและ ระบอบประชาธิปไตยอันมี จะได้รับจากองค์กรปกครอง ในการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง
ประชาธิปไตย การเลือกตัวแทนออกเสียง พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่วนท้องถิ่น ตามระบอบประชาธิปไตย
๓. ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลง
ในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน
ที่เป็นผลจากการตัดสินใจของ
บุคคลและกลุ่ม

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๑. ระบุสินค้าและบริการที่ใช้ ๑. ระบุทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้า ๑. จำแนกความต้องการและความ ๑. ระบุปัจจัยที่มผี ลต่อการเลือกซื้อ ๑. อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและ ๑. อธิบายบทบาทของผู้ผลิตที่มี
ประโยชน์ในชีวิต และบริการที่ใช้ในชีวิตประจำวัน จำเป็นในการใช้สินค้าและบริการใน สินค้าและบริการ บริการ ความรับผิดชอบ
ประจำวัน ๒.บอกที่มาของรายได้และรายจ่าย การดำรงชีวิต ๒. บอกสิทธิพื้นฐานและรักษา ๒. ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญา ๒. อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่
๒. ยกตัวอย่างการใช้จ่ายเงินใน ของตนเองและครอบครัว ๒. วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง ผลประโยชน์ของตนเองในฐานะ ของเศรษฐกิจพอเพียงในการทำ รู้เท่าทัน
ชีวิตประจำวันที่ไม่เกินตัวและ ๓. บันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง ๓. อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่ ผู้บริโภค กิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว ๓. บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้
เห็นประโยชน์ของการออม ๔. สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่ จำกัดมีผลต่อการผลิตและบริโภค ๓. อธิบายหลักการของเศรษฐกิจ โรงเรียนและชุมชน ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
๓. ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากร เหมาะสมกับรายได้และ การออม สินค้าและบริการ พอเพียงและนำไปใช้ในชีวิต ๓. อธิบายหลักการสำคัญและ
ในชีวิต ประจำวันอย่างประหยัด ประจำวันของตนเอง ประโยชน์ของสหกรณ์
๑๐

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๑. อธิบายเหตุผลความ ๑. อธิบายการแลกเปลี่ยนสินค้า ๑. บอกสินค้าและบริการที่รัฐ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ทาง ๑. อธิบายบทบาทหน้าที่เบื้องต้น ๑. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
จำเป็นที่คนต้องทำงานอย่าง และบริการโดยวิธีต่าง ๆ จัดหา และให้บริการแก่ เศรษฐกิจของคนในชุมชน ของธนาคาร ผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคารและ
สุจริต ๒. บอกความสัมพันธ์ระหว่างผู้ ประชาชน ๒. อธิบายหน้าที่เบื้องต้น ๒. จำแนกผลดี ผลเสียของการกู้ยืม รัฐบาล
ซื้อกับผู้ขาย ๒. บอกความ สำคัญของภาษี ของเงิน ๒. ยกตัวอย่างการรวมกลุ่ม
และบทบาทของประชาชนใน ทางเศรษฐกิจภายในท้องถิ่น
การเสียภาษี
๓. อธิบายเหตุผลการแข่งขัน
ทางการค้าที่มีผลทำให้ราคา
สินค้าลดลง
๑๑

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์

๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง


ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๑.จำแนกสิ่งแวดล้อมรอบตัว ที่ ๑. ระบุสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ๑. สำรวจข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ๑. สืบค้นและอธิบายข้อมูล ๑. สืบค้นและอธิบายข้อมูล ๑. สืบค้นและอธิบายข้อมูล
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และทีม่ นุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏ ในโรงเรียนและชุมชนโดยใช้ ลักษณะทางกายภาพในจังหวัด ลักษณะทางกายภาพใน ลักษณะทางกายภาพของ
และที่มนุษย์สร้างขึ้น ระหว่างโรงเรียนกับบ้าน แผนผัง แผนที่ และรูปถ่าย ของตน ด้วยแผนที่และรูปถ่าย ภูมิภาคของตนด้วยแผนที่และ ประเทศไทยด้วยแผนที่ รูป
๒. ระบุความสัมพันธ์ของ ๒. ระบุตำแหน่งและลักษณะ เพื่อแสดงความสัมพันธ์ ๒. ระบุแหล่งทรัพยากร รูปถ่าย ถ่ายทางอากาศ และภาพจาก
ตำแหน่ง ระยะและทิศของสิ่ง ทางกายภาพของสิ่งต่าง ๆ ของตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง และสถานที่สำคัญในจังหวัด ๒. อธิบายลักษณะทาง ดาวเทียม
ต่าง ๆ ที่ปรากฏในแผนผัง แผนที่ ๒. วาดแผนผังเพื่อแสดงตำแหน่ง ของตนเองด้วยแผนที่และรูปถ่าย กายภาพและสถานที่สำคัญใน ๒. อธิบายความสัมพันธ์
๓. ใช้แผนผังแสดงตำแหน่งของ รูปภาพ และรูปโลก ที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณ ๓. อธิบายลักษณะทางกายภาพ ภูมิภาคของตน ระหว่างลักษณะทางกายภาพ
สิ่งต่าง ๆ ๓. สังเกตและแสดง โรงเรียน และชุมชน ที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากร กับภัยพิบัติในประเทศไทย
๔. สังเกตและบอกการ ความสัมพันธ์ และสถานที่สำคัญในจังหวัด เพื่อเตรียมพร้อมรับมือภัย
เปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์ และ พิบัติ
ในรอบวัน ดวงจันทร์ ทีท่ ำให้เกิด
ปรากฏการณ์
๑๒

๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถกี ารดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกในการจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการ


พัฒนาที่ยั่งยืน

ตัวชี้วัดชั้นปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖
๑. บอกสิ่งแวดล้อมทีเ่ กิดตาม ๑.อธิบายความสำคัญของ ๑. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง ๑. วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทาง ๑. วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทาง ๑. วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาตbและ สิ่งแวดล้อมของชุมชนในอดีต กายภาพที่ส่งผลต่อการดำเนิน กายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับ
ของมนุษย์ ที่มนุษย์สร้างขึ้น กับปัจจุบัน ชีวิตของคนในจังหวัด การตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่น ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
๒. สังเกตและเปรียบเทียบการ ๒.จำแนกและใช้ ๒. อธิบายการใช้ประโยชน์จาก ๒. อธิบายการเปลี่ยนแปลง ของประชากรในภูมิภาคของตน และสังคมในประเทศไทย
เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร สิ่งแวดล้อมในจังหวัดและผลที่ ๒. วิเคราะห์อิทธิพลของ ๒. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง
เพื่อการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม หมดไปที่ใช้แล้วหมดไป และ ธรรมชาติในการสนองความ เกิดจากการเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่ ทางกายภาพของประเทศไทย
๓. มีส่วนร่วมในการดูแล สร้างทดแทนขึ้นใหม่ได้อย่าง ต้องการพื้นฐานของมนุษย์และ ๓. นำเสนอแนวทางการจัดการ ก่อให้เกิดวิถกี ารดำเนินชีวิตใน ในอดีตกับปัจจุบันและผล
สิ่งแวดล้อมทีบ่ ้านและ คุ้มค่า การประกอบอาชีพ สิ่งแวดล้อมในจังหวัด ภูมิภาคของตน ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ห้องเรียน ๓. อธิบายความสัมพันธ์ ๓. อธิบายสาเหตุที่ทำให้เกิด ๓. นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้ ๓. นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้
ระหว่าง มลพิษโดยมนุษย์ เห็นผลจากการรักษาและ เห็นผลจากการรักษาและ
ฤดูกาลกับการดำเนินชีวิตของ ๔. อธิบายความแตกต่างของ ทำลายสภาพแวดล้อมและเสนอ ทำลายทรัพยากรและ
มนุษย์ ลักษณะเมืองและชนบท แนวทางในการจัดการ สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมและเสนอแนวทาง
๔. มีส่วนร่วมในการจัดการ ๕. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ในภูมิภาคของตน ในการจัดการที่ยั่งยืนใน
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ลักษณะทางกายภาพกับการ ประเทศไทย
ดำเนินชีวิตของคนในชุมชน
๖. มีส่วนร่วมในการจัดการ
สิ่งแวดล้อมในชุมชน
๑๓

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติ ตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ๑. บอกพุทธประวัติหรือประวัติของศาสดาที่ตน➢ พุทธประวัติ
นับถือโดยสังเขป  ประสูติ
 ตรัสรู้
 ปรินิพพาน
๑. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและ  สามเณรบัณฑิต
ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและ  วัณณุปถชาดก
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด  สุวัณณสามชาดก
 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช
 เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพร้อม)
๑. บอกความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระ ➢ พระรัตนตรัย
รัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ใน  ศรัทธา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
พระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน ➢ โอวาท ๓
นับถือตามที่กำหนด  ไม่ทำชั่ว
o เบญจศีล
 ทำความดี
° เบญจธรรม
° สังคหวัตถุ ๔
° กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่
และครอบครัว
° มงคล ๓๘
- ทำตัวดี
- ว่าง่าย
- รับใช้พ่อแม่
 ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)
➢ พุทธศาสนสุภาษิต
 อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเป็นที่พึ่งของตน
 มาตา มิตฺตํ สเก ฆเร มารดาเป็นมิตรในเรือน
ของตน
๑๔

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


➢ ฝึกสวดมนต์และแผ่เมตตา
๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตามีสติที่เป็น
พื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการ  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติ
พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  ฟังเพลงและร้องเพลงอย่างมีสติ
ตามที่กำหนด  เล่นและทำงานอย่างมีสติ
 ฝึกให้มีสติในการฟัง การอ่าน การคิด การ
ถามและการเขียน
ป.๒ ๑. บอกความสำคัญของพระพุทธศาสนา  พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์
หรือศาสนาที่ตนนับถือ ของชาติไทย
๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึง ➢ สรุปพุทธประวัติ
การออกผนวชหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ  ประสูติ
o เหตุการณ์หลังประสูติ
o แรกนาขวัญ
o การศึกษา
o การอภิเษกสมรส
o เทวทูต ๔
o การออกผนวช
๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและ  สามเณรราหุล
ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศา  วรุณชาดก
สนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด  วานรินทชาดก
 สมเด็จพระญาณสังวร (ศุข ไก่เถื่อน)
 สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)
๔. บอกความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระ ➢ พระรัตนตรัย
รัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ใน  ศรัทธา
พระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน ➢ โอวาท ๓
นับถือตามที่กำหนด  ไม่ทำชั่ว
° เบญจศีล
 ทำความดี
° เบญจธรรม
° หิริ-โอตตัปปะ
° สังคหวัตถุ ๔
° ฆราวาสธรรม ๔
° กตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์ และ
โรงเรียน
° มงคล ๓๘
๑๕

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


- กตัญญู
- สงเคราะห์ญาติพี่น้อง
 ทำจิตให้บริสุทธิ์
(บริหารจิตและเจริญปัญญา)
➢ พุทธศาสนสุภาษิต
 นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตัญฺญ กตเวทิตา ความ
กตัญญู กตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดี
 พฺรหฺมาติ มาตาปิตโร มารดาบิดาเป็นพรหม
ของบุตร
๕. ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลใน ◆ ตัวอย่างการกระทำความดีของตนเองและ

ครอบครัวและในโรงเรียน ตามหลักศาสนา บุคคลในครอบครัว และในโรงเรียน (ตาม


สาระในข้อ ๔)
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตามีสติที่เป็น ◆ ฝึกสวดมนต์ไหว้พระและแผ่เมตตา

พื้นฐานของสมาธิในพระพุทธ-ศาสนา หรือการ  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและสมาธิ


พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  ฝึกสมาธิเบื้องต้น
ตามที่กำหนด  ฝึกสติเบื้องต้นด้วยกิจกรรม การเคลื่อนไหว
อย่างมีสติ
 ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด
การถาม และการเขียน
๗. บอกชื่อศาสนา ศาสดา และความสำคัญของ ➢ ชื่อศาสนา ศาสดา และคัมภีร์
คัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่นๆ ของศาสนาต่าง ๆ
◆ พระพุทธศาสนา

o ศาสดา : พระพุทธเจ้า

o คัมภีร์ : พระไตรปิฎก

 ศาสนาอิสลาม
o ศาสดา : มุฮัมมัด

o คัมภีร์ : อัลกุรอาน

 คริสต์ศาสนา
o ศาสดา : พระเยซู

o คัมภีร์ : ไบเบิล

 ศาสนาฮินดู
o ศาสดา : ไม่มีศาสดา
o คัมภีร์ : พระเวท พราหมณะ อุปนิษัท
อารัณยกะ
๑๖

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๓ ๑. อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือ  ความสัมพันธ์ของพระพุทธศาสนากับการ
ศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญ ดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น การสวดมนต์
ของวัฒนธรรมไทย การทำบุญใส่บาตร การแสดงความเคารพ
การใช้ภาษา
 พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์
ผลงานทางวัฒนธรรมไทยอันเกิดจากความ
ศรัทธา เช่น วัด ภาพวาด พระพุทธรูป
วรรณคดี สถาปัตยกรรมไทย

๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่การบำเพ็ญเพียรจนถึง  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)


ปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ  การบำเพ็ญเพียร
ตามที่กำหนด  ผจญมาร
 ตรัสรู้
 ปฐมเทศนา
 ปรินิพพาน
๓. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและ  สามเณรสังกิจจะ
ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศา  อารามทูสกชาดก
สนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด  มหาวาณิชชาดก
 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)
 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
๔. บอกความหมาย ความสำคัญของ  ความสำคัญของพระไตรปิฎก เช่น
พระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ เป็นแหล่งอ้างอิง ของหลักธรรมคำสอน
๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัยและปฏิบัติ ➢ พระรัตนตรัย
ตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือ  ศรัทธา
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ➢ โอวาท ๓
 ไม่ทำชั่ว
° เบญจศีล
 ทำความดี
° เบญจธรรม
° สติ-สัมปชัญญะ
° สังคหวัตถุ ๔
° ฆราวาสธรรม ๔
° อัตถะ ๓ (อัตตัตถะ, ปรัตถะ, อุภยัตถะ)
° กตัญญูกตเวทีต่อชุมชน, สิ่งแวดล้อม
° มงคล ๓๘
๑๗

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


- รู้จักให้
- พูดไพเราะ
- อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
 ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญ
ปัญญา)
➢ พุทธศาสนสุภาษิต
 ททมาโน ปิโย โหติ
ผู้ให้ย่อมเป็นที่รัก
 โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ เปล่งวาจาไพเราะให้
สำเร็จประโยชน์
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา ◆ ฝึกสวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระ

มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา รัตนตรัยและแผ่เมตตา
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน  รู้ความหมายและประโยชน์ของสติและสมาธิ
นับถือตามที่กำหนด  รู้ประโยชน์ของการฝึกสติ
 ฝึกสมาธิเบือ้ งต้นด้วยการนับลมหายใจ
 ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง
และการนอน อย่างมีสติ
◆ ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน

การคิด การถาม และการเขียน


๗. บอกชื่อ ความสำคัญและปฏิบัติตนได้อย่าง ◆ ชื่อและความสำคัญของศาสนวัตถุ

เหมาะสมต่อศาสนวัตถุศาสนสถาน และศาสน ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล


บุคคลของศาสนาอื่น ๆ ในพระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม คริสต์
ศาสนา ศาสนาฮินดู
◆ การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อศาสนวัตถุ

ศาสนสถานและศาสนบุคคลในศาสนาอื่น ๆ
ป.๔ ๑. อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือ  พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็น เครื่องยึด
ศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจ เหนี่ยวจิตใจ
ของศาสนิกชน  เป็นศูนย์รวมการทำความดี และพัฒนาจิตใจ
เช่น ฝึกสมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม
 เป็นที่ประกอบศาสนพิธี
(การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า การเวียนเทียน
การทำบุญ)
 เป็นแหล่งทำกิจกรรมทางสังคม เช่น การจัด
ประเพณีท้องถิ่น การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ชุมชน และการส่งเสริมพัฒนาชุมชน
๑๘

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึง  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
ประกาศธรรม หรือประวัติศาสดา ที่ตนนับถือ  ตรัสรู้
ตามทีก่ ำหนด  ประกาศธรรม ได้แก่
° โปรดชฎิล
° โปรดพระเจ้าพิมพิสาร
° พระอัครสาวก
° แสดงโอวาทปาฏิโมกข์
๓. เห็นคุณค่า และปฏิบัติตนตามแบบอย่างการ  พระอุรุเวลกัสสปะ
ดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/  กุฏิทสู กชาดก
เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด  มหาอุกกุสชาดก
 สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม
พระบรมราชชนก
 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
๔. แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย ปฏิบัติตาม ➢ พระรัตนตรัย
ไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ใน o ศรัทธา ๔
พระพุทธศาสนา หรือหลักธรรม ของศาสนาที่ตน  พระพุทธ
นับถือตามที่กำหนด ° พุทธคุณ ๓
 พระธรรม
° หลักกรรม
 พระสงฆ์
➢ ไตรสิกขา
 ศีล สมาธิ ปัญญา
➢ โอวาท ๓
 ไม่ทำชั่ว
o เบญจศีล

o ทุจริต ๓

 ทำความดี
o เบญจธรรม
o สุจริต ๓
o พรหมวิหาร ๔
o กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
o มงคล ๓๘
- เคารพ
- ถ่อมคน
- ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน
๑๙

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


 ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)
➢ พุทธศาสนสุภาษิต
 สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี
ความพร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข
 โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา
เมตตาธรรม ค้ำจุนโลก
๕. ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลใน ◆ ตัวอย่างการกระทำความดีของตนเอง

ครอบครัว โรงเรียนและชุมชนตามหลักศาสนา และบุคคลในครอบครัว ในโรงเรียน


พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิต และในชุมชน
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตามีสติที่เป็น ◆ สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ
พื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิและ
ตามที่กำหนด ปัญญา
 รู้วิธีปฏิบัติของการบริหารจิตและเจริญปัญญา
 ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และการนอน อย่างมี
สติ
 ฝึกการกำหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตาเห็นรูป หูฟัง
เสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิง่
ที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์
 ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน การคิด การ
ถาม และการเขียน
๒๐

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับ ◆ หลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกัน

ถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่าง อย่างสมานฉันท์


สมานฉันท์ o เบญจศีล – เบญจธรรม
o ทุจริต ๓ – สุจริต ๓
o พรหมวิหาร ๔
o มงคล ๓๘
- เคารพ
- ถ่อมตน
- ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน
o พุทธศาสนสุภาษิต : ความพร้อมเพรียงของ
หมู่ให้เกิดสุข เมตตาธรรมค้ำจุนโลก
 กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ

๘. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ  ประวัติศาสดา
โดยสังเขป o พระพุทธเจ้า
o มุฮัมมัด
o พระเยซู
ป.๕ ๑. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ➢ มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจากพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็นมรดกทาง o มรดกทางด้านรูปธรรม เช่น ศาสน
วัฒนธรรมและหลักในการพัฒนาชาติไทย สถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม
o มรดกทางด้านจิตใจ เช่น หลักธรรมคำสั่ง
สอน ความเชื่อ และคุณธรรมต่าง ๆ
 การนำพระพุทธศาสนาไปใช้เป็นแนวทางในการ
พัฒนาชาติไทย
o พัฒนาด้านกายภาพ และสิ่งแวดล้อม เช่น
ภาวนา ๔ (กาย ศีล จิต ปัญญา)
ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) และอริยสัจสี่
o พัฒนาจิตใจ เช่น หลักโอวาท ๓
(ละความชั่ว ทำดี ทำจิตใจให้บริสุทธิ์)
และการบริหารจิตและเจริญปัญญา
๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่เสด็จกรุงกบิลพัสดุ์  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
จนถึงพุทธกิจสำคัญหรือประวัติศาสดาที่ตนนับ  โปรดพระพุทธบิดา (เสด็จกรุงกบิลพัสดุ์)
๒๑

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ถือตามที่กำหนด  พุทธกิจสำคัญ ได้แก่ โลกัตถจริยา ญาตัตถ
จริยา และพุทธัตถจริยา
๓. เห็นคุณค่า และประพฤติตนตามแบบอย่าง  พระโสณโกฬิวิสะ
การดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก  จูฬเสฏฐิชาดก
ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่  วัณณาโรหชาดก
กำหนด  สมเด็จพระสังฆราช (สา)
 อาจารย์เสถียร โพธินันทะ
๔. อธิบายองค์ประกอบ และความสำคัญของ ➢ องค์ประกอบของพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ  พระสุตตันตปิฎก
 พระวินัยปิฎก
 พระอภิธรรมปิฎก
➢ ความสำคัญของพระไตรปิฎก
๒๒

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติ ➢ พระรัตนตรัย
ตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ใน o ศรัทธา ๔
พระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน  พระพุทธ
นับถือตามที่กำหนด o พุทธจริยา ๓
 พระธรรม
o อริยสัจ ๔
o หลักกรรม
 พระสงฆ์
➢ ไตรสิกขา
 ศีล สมาธิ ปัญญา
➢ โอวาท ๓
 ไม่ทำชัว่
o เบญจศีล
o อบายมุข ๔
 ทำความดี
o เบญจธรรม
o บุญกิริยาวัตถุ ๓
o อคติ ๔
o อิทธิบาท ๔
o กตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธศาสนา
o มงคล ๓๘
- ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน
- การงานไม่อากูล
- อดทน
 ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)
➢ พุทธศาสนสุภาษิต
 วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ
คนจะล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
 ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต
ปัญญา คือ แสงสว่างในโลก
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตามีสติที่เป็น ➢ สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
พื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการ และแผ่เมตตา
พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ  รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิและ
ตามที่กำหนด ปัญญา
 รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและ
๒๓

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


เจริญปัญญา
 ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และ
การนอน อย่างมีสติ
 ฝึกการกำหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตา
เห็นรูป หูฟังเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส
กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบใจรับรู้ธรรมารมณ์
 ฝึกให้มีสมาธิในการฟัง การอ่าน
การคิด การถามและการเขียน
๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับ ◆ โอวาท ๓ (ตามสาระการเรียนรู้ข้อ ๕)

ถือ เพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
ป.๖ ๑. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธ-ศาสนาใน ◆ พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจำ
ฐานะเป็นศาสนาประจำชาติ หรือความสำคัญ ชาติ เช่น เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย เป็น
ของศาสนาที่ตนนับถือ รากฐานทางวัฒนธรรมไทย เป็นศูนย์รวม
จิตใจ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมไทย และเป็น
หลัก ในการพัฒนาชาติไทย
๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขารจนถึง  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)
สังเวชนียสถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ  ปลงอายุสังขาร
ตามที่กำหนด  ปัจฉิมสาวก
 ปรินิพพาน
 การถวายพระเพลิง
 แจกพระบรมสารีริกธาตุ
 สังเวชนียสถาน ๔
๓. เห็นคุณค่าและประพฤติตนตามแบบอย่างการ  พระราธะ
ดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/  ทีฆีติโกสลชาดก
เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด  สัพพทาฐิชาดก
 พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม-
พระปรมานุชิตชิโนรส
๔. วิเคราะห์ความสำคัญและเคารพ พระรัตนตรัย ➢ พระรัตนตรัย
ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ใน o ศรัทธา ๔
พระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน  พระพุทธ
นับถือตามที่กำหนด o พุทธกิจ ๕
 พระธรรม
o อริยสัจ ๔
o หลักกรรม
๒๔

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


 พระสงฆ์
➢ ไตรสิกขา
 ศีล สมาธิ ปัญญา
➢ โอวาท ๓
 ไม่ทำชั่ว
o เบญจศีล
o อบายมุข ๖
o อกุศลมูล ๓
 ทำความดี
o เบญจธรรม
o กุศลมูล ๓
o พละ ๔
o คารวะ ๖
o กตัญญูกตเวทีต่อพระมหากษัตริย์
o มงคล ๓๘
- มีวินัย
- การงานไม่มีโทษ
- ไม่ประมาทในธรรม
 ทำจิตให้บริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปัญญา)
➢ พุทธศาสนสุภาษิต
 สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ
คนจะได้เกียรติด้วยสัจจะ
 ยถาวาที ตถาการี
พูดเช่นไร ทำเช่นนั้น
๕. ชื่นชมการทำความดีของบุคคลในประเทศ  ตัวอย่างการกระทำความดีของบุคคลใน
ตามหลักศาสนา พร้อมทั้ง บอกแนวปฏิบัติในการ ประเทศ
ดำเนินชีวิต
๖. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา และ  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
บริหารจิตเจริญปัญญา มีสติที่เป็นพื้นฐานของ และแผ่เมตตา
สมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตาม  รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ
แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กำหนด สมาธิและปัญญา
 รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 ฝึกการยืน การเดิน การนั่ง และการนอนอย่าง
มีสติ
๒๕

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


 ฝึกการกำหนดรู้ความรู้สึกเมื่อตาเห็นรูป หูฟัง
เสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิง่
ที่มากระทบ ใจรับรู้ธรรมารมณ์
 ฝึกให้มสี มาธิในการฟัง การอ่าน
การคิด การถาม และการเขียน
๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับ ◆ หลักธรรม : อริยสัจ ๔ หลักกรรม

ถือ เพื่อแก้ปัญหาอบายมุขและสิ่งเสพติด ◆ โอวาท ๓ : เบญจศีล – เบญจธรรม

อบายมุข ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓


๘. อธิบายหลักธรรมสำคัญของศาสนาอื่นๆ ➢ หลักธรรมสำคัญของศาสนาต่าง ๆ
โดยสังเขป ◆ พระพุทธศาสนา : อริยสัจ ๔

โอวาท ๓ ฯลฯ
◆ ศาสนาอิสลาม : หลักศรัทธา

หลักปฏิบัติ หลักจริยธรรม
◆ คริสต์ศาสนา : บัญญัติ ๑๐ ประการ

๙. อธิบายลักษณะสำคัญของศาสนพิธีพิธีกรรม ➢ ศาสนพิธีของศาสนาต่าง ๆ
ของศาสนาอื่นๆ และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม ◆ พระพุทธศาสนา

เมื่อต้องเข้าร่วมพิธี o ศาสนพิธีที่เป็นพุทธบัญญัติ เช่น บรรพชา


อุปสมบท
o ศาสนพิธีที่เกีย
่ วเนื่องกับพระพุทธศาสนา เช่น
ทำบุญพิธี
เนื่องในวันสำคัญทางศาสนา
o ศาสนาอิสลาม เช่น การละหมาด
การถือศีลอด การบำเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ
o คริสต์ศาสนา เช่น ศีลล้างบาป ศีลอภัยบาป
ศีลกำลัง ศีลมหาสนิท ฯลฯ
o ศาสนาฮินดู เช่น พิธีศราทธ์ พิธีบูชาเทวดา
๒๖

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนทีด่ ี และธำรงรักษา พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ๑. บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัด หรือศาสนสถานของ ➢ การบำเพ็ญประโยชน์ต่อวัด
ศาสนาที่ตนนับถือ หรือศาสนสถาน
 การพัฒนาทำความสะอาด
 การบริจาค
 การร่วมกิจกรรมทางศาสนา
๒. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตน ➢ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
เป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ  ขั้นเตรียมการ
 ขั้นพิธีการ
๓. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญ ➢ ประวัติโดยสังเขปของวันสำคัญ
ทางศาสนา ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง ทางพระพุทธศาสนา
 วันมาฆบูชา
 วันวิสาขบูชา
 วันอาสาฬหบูชา
 วันอัฏฐมีบูชา
➢ การบูชาพระรัตนตรัย
ป.๒ ๑. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนา ➢ การฝึกปฏิบัติมรรยาทชาวพุทธ
ที่ตนนับถือ ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง  การพนมมือ
 การไหว้
 การกราบ
 การนั่ง
 การยืน การเดิน
๒. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวัน  การเข้าร่วมกิจกรรมและพิธีกรรม
สำคัญทางศาสนา ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญทางพุทธศาสนา
 ระเบียบพิธีการบูชาพระรัตนตรัย
 การทำบุญตักบาตร
ป.๓ ๑. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวก ศาสน ➢ ฝึกปฏิบัติมรรยาทชาวพุทธ
สถาน ศาสนวัตถุของศาสนาที่ตน  การลุกขึ้นยืนรับ
นับถือตามที่กำหนดได้ถูกต้อง  การต้อนรับ
 การรับ – ส่งสิ่งของแก่พระภิกษุ
 มรรยาทในการสนทนา
 การสำรวมกิริยามารยาท การแต่งกายที่
เหมาะสม
๒๗

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


เมื่ออยู่ในวัดและพุทธสถาน
 การดูแลรักษาศาสนวัตถุ
และศาสนสถาน
๒. เห็นคุณค่า และปฏิบัติตนในศาสนพิธีพิธีกรรม  การอาราธนาศีล
และวันสำคัญทางศาสนา  การสมาทานศีล
ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง  เครื่องประกอบโต๊ะหมู่บูชา การจัดโต๊ะหมู่บูชา

๓. แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตน ➢ ความเป็นมาของการแสดงตน


เป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ เป็นพุทธมามกะ
➢ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
 ขั้นเตรียมการ
 ขั้นพิธีการ
ป.๔ ๑. อภิปรายความสำคัญ และมีส่วนร่วม  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญ
ในการบำรุงรักษาศาสนสถานของศาสนา ของศาสนสถาน
ทีต่ นนับถือ  การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน
 การบำรุงรักษาศาสนสถาน
๒. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี ตามที่  การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ
กำหนด  การยืน การเดิน และการนั่งที่เหมาะสม ใน
โอกาสต่าง ๆ
๓. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม  การอาราธนาศีล
และวันสำคัญทางศาสนา ตามที่กำหนด  การอาราธนาธรรม
ได้ถูกต้อง  การอาราธนาพระปริตร
 ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตน
ในวันธรรมสวนะ
ป.๕ ๑. จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่ตนนับถืออย่างเรียบ  การจัดพิธีกรรมที่เรียบง่าย ประหยัด มี
ง่าย มีประโยชน์ และปฏิบัติตนถูกต้อง ประโยชน์ และถูกต้องตามหลัก ทางศาสนาที่
ตนนับถือ
๒. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม  การมีส่วนร่วมในการจัดเตรียมสถานที่
และวันสำคัญทางศาสนา ตามที่กำหนด และ ประกอบศาสนพิธี พิธีกรรมทางศาสนา
อภิปรายประโยชน์ที่ได้รับจาก  พิธีถวายสังฆทาน เครื่องสังฆทาน
การเข้าร่วมกิจกรรม  ระเบียบพิธีในการทำบุญงานมงคล
 ประโยชน์ของ การเข้าร่วมศาสนพิธี พิธีกรรม
ทางศาสนา หรือกิจกรรม ในวันสำคัญทาง
ศาสนา
๒๘

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๓. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี ตามที่  การกราบพระรัตนตรัย
กำหนด  การไหว้บิดา มารดา ครู/อาจารย์
ผู้ที่เคารพนับถือ
 การกราบศพ
ป.๖ ๑. อธิบายความรู้เกี่ยวกับสถานที่ต่างๆในศาสน  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถานที่ต่าง ๆภายในวัด
สถาน และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม เช่น เขตพุทธาวาส สังฆาวาส
 การปฏิบัติตนที่เหมาะสมภายในวัด
๒. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี ตามที่  การถวายของแก่พระภิกษุ
กำหนด  การปฏิบัติตนในขณะฟังธรรม
 การปฏิบัติตนตามแนวทาง
ของพุทธศาสนิกชน เพื่อประโยชน์
ต่อศาสนา
๓. อธิบายประโยชน์ของการเข้าร่วมใน ศาสนพิธี  ทบทวนการอาราธนาศีล อาราธนาธรรม และ
พิธีกรรม และกิจกรรมใน อาราธนาพระปริตร
วันสำคัญทางศาสนา ตามที่กำหนด และปฏิบัติ  พิธีทอดผ้าป่า
ตนได้ถูกต้อง  พิธีทอดกฐิน
 ระเบียบพิธีในการทำบุญงานอวมงคล
 การปฏิบัติตนที่ถูกต้องในศาสนพิธีพิธีกรรม และ
วันสำคัญทางศาสนา เช่น วันมาฆบูชา
วันวิสาขบูชา วันอัฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา
วันธรรมสวนะ
 ประโยชน์ของการเข้าร่วมในศาสนพิธี/พิธีกรรม
และวันสำคัญทางศาสนา
๒๙

สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและ ธำรงรักษาประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ๑. บอกประโยชน์และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี  การเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน
ของครอบครัวและโรงเรียน − กตัญญูกตเวทีและเคารพรับฟัง
คำแนะนำของพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ และ
ครู
− รู้จักกล่าวคำขอบคุณ ขอโทษ การไหว้
ผู้ใหญ่
− ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กติกา กฎระเบียบ
ของครอบครัวและโรงเรียน
− มีส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัว
และโรงเรียน
− มีเหตุผลและยอมรับฟังความคิดเห็น
ของผู้อนื่
− มีระเบียบ วินัย มีน้ำใจ
 ประโยชน์ของการปฏิบัติตนเป็นสมาชิก
ที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน
๒. ยกตัวอย่างความสามารถและความดีของ  ลักษณะความสามารถและลักษณะ ความดีของ
ตนเอง ผู้อื่นและบอกผลจากการกระทำนั้น ตนเองและผู้อื่น เช่น
- ความกตัญญูกตเวที
- ความมีระเบียบวินัย
- ความรับผิดชอบ
- ความขยัน
- การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และช่วยเหลือผู้อื่น
- ความซื่อสัตย์สุจริต
- ความเมตตากรุณา
 ผลของการกระทำความดี เช่น
- ภาคภูมิใจ
- มีความสุข
- ได้รับการชื่นชม ยกย่อง
ป.๒ ๑. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ  ข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ หน้าที่ที่ต้อง
และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ปฏิบัติในครอบครัว โรงเรียน สถานที่สาธารณะ
เช่น โรงภาพยนตร์ โบราณสถาน ฯลฯ
๓๐

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๒. ปฏิบัติตนตนตามมารยาทไทย  มารยาทไทย เช่น การแสดงความเคารพ การ
ยืน การเดิน การนั่ง การนอน การทักทาย การ
รับประทาน
๓. แสดงพฤติกรรมในการยอมรับความคิด  การยอมรับความแตกต่างของคนในสังคม ใน
ความเชื่อและการปฏิบัติของบุคคลอื่นที่แตกต่าง เรื่อง ความคิด ความเชื่อ ความสามารถและ
กันโดยปราศจากอคติ การปฏิบัติตนของบุคคลอื่นที่ แตกต่างกัน เช่น
- บุคคลย่อมมีความคิดที่มีเหตุผล
- การปฏิบัติตนตามพิธีกรรมตามความเชื่อ
ของบุคคล
- บุคคลย่อมมีความสามารถแตกต่างกัน
- ไม่พูดหรือแสดงอาการดูถูกรังเกียจผู้อื่น
ในเรื่องของรูปร่างหน้าตา สีผม สีผิว ที่
แตกต่างกัน
๔. เคารพในสิทธิ เสรีภาพของผู้อื่น  สิทธิส่วนบุคคล เช่น
- สิทธิแสดงความคิดเห็น
- สิทธิเสรีภาพในร่างกาย
- สิทธิในทรัพย์สิน
ป.๓ ๑. สรุปประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณีและ  ประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัว เช่น
วัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น การแสดงความเคารพและการเชื่อฟังผู้ใหญ่
การกระทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว
 ประเพณีและวัฒนธรรมในท้องถิ่น เช่น การเข้า
ร่วมประเพณีทางศาสนา ประเพณีเกี่ยวกับการ
ดำเนินชีวิต ประโยชน์ของการปฏิบัติตน
ตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและ
ท้องถิ่น

๒. บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง  พฤติกรรมของตนเองและเพื่อนๆ
และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย ในชีวิตประจำวัน เช่น การทักทาย การทำ
ความเคารพ การปฏิบัติตาม ศาสนพิธี
การรับประทานอาหาร การใช้ภาษา (ภาษาถิ่น
กับภาษาราชการ และภาษาอื่นๆ ฯลฯ )
 สาเหตุที่ทำให้พฤติกรรมการดำเนินชีวิตใน
ปัจจุบันของนักเรียน และผู้อื่นแตกต่างกัน
๓๑

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๓. อธิบายความสำคัญขอวันหยุดราชการที่  วันหยุดราชการที่สำคัญ เช่น
สำคัญ - วันหยุดเกี่ยวกับชาติและพระมหากษัตริย์
เช่น วันจักรี วันรัฐธรรมนูญ วันฉัตรมงคล
วันเฉลิมพระชนมพรรษา
- วันหยุดราชการเกี่ยวกับศาสนา เช่น
วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา
วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา
- วันหยุดราชการเกี่ยวกับประเพณี
และวัฒนธรรม เช่น วันสงกรานต์
วันพืชมงคล

๔. ยกตัวอย่างบุคคลซึ่งมีผลงานที่เป็นประโยชน์  บุคคลที่มีผลงานเป็นประโยชน์แก่ชุมชนและ
แก่ชุมชนและท้องถิ่นของตน ท้องถิ่นของตน
 ลักษณะผลงานที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและ
ท้องถิ่น
ป.๔ ๑. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถี  การเข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของชุมชน
ประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน เช่น การรณรงค์การเลือกตั้ง
 แนวทางการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน
เช่น อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สาธารณสมบัติ
โบราณวัตถุและโบราณสถาน การพัฒนาชุมชน
๒. ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำและผู้ตาม ที่ดี  การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- บทบาทและความรับผิดชอบของผู้นำ
- บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตามหรือ
สมาชิก
- การทำงานกลุ่มให้มีประสิทธิผลและ
ประสิทธิภาพ และประโยชน์ของการทำงาน
เป็นกลุ่ม
๓. วิเคราะห์สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคน พึ่งได้รับ  สิทธิพื้นฐานของเด็ก เช่น สิทธิที่จะมีชีวิต สิทธิ
ตามกฎหมาย ทีจ่ ะได้รับการปกป้อง สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
สิทธิที่จะมีส่วนร่วม
๔. อธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่ม  วัฒนธรรมในภาคต่างๆ ของไทย ที่แตกต่างกัน
คนในท้องถิ่น เช่น การแต่งกาย ภาษา อาหาร
๕. เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุขใน  ปัญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้งใน
ชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวัน
 แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี
๓๒

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๕ ๑. ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ  สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ
บทบาท สิทธิเสรีภาพ และหน้าที่ในฐานะ  หน้าที่ของพลเมืองดี เช่น เคารพ เทิดทูน
พลเมืองดี สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรม
ปฏิบัติตามกฎหมาย
 คุณลักษณะของพลเมืองดี เช่น เห็นแก่
ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
มีความรับผิดชอบ เสียสละ
๒. เสนอวิธีการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่น  เหตุการณ์ที่ละเมิดสิทธิเด็กในสังคมไทย
จากการละเมิดสิทธิเด็ก  แนวทางการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่น
จากการละเมิดสิทธิเด็ก
 การปกป้องคุ้มครองสิทธิเด็กในสังคมไทย
๓. เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการ  วัฒนธรรมไทย ที่มผี ลต่อการดำเนินชีวิตของคน
ดำเนินชีวิตในสังคมไทย ในสังคมไทย
 คุณค่าของวัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิต
๔. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิ  ความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ปัญญาท้องถิ่นของชุมชน  ตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนของตน
 การอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของ
ชุมชน
ป.๖ ๑. ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันเช่น
ชีวิตประจำวันของครอบครัวและชุมชน - กฎหมายจราจร
- กฎหมายทะเบียนราษฎร
- กฎหมายยาเสพติดให้โทษ
- เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ อบต. อบจ.
 ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมาย
๒. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตาม  ความหมายและประเภทของวัฒนธรรม
กาลเวลาและธำรงรักษาวัฒนธรรม อันดีงาม  การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลาที่มีผล
ต่อตนเองและสังคมไทย
 แนวทางการธำรงรักษาวัฒนธรรมไทย
๓. แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมถูก  ความหมายและสำคัญของมารยาทไทย
กาลเทศะ  มารยาทไทยและมารยาทสังคม เช่น การ
แสดงความเคารพ การยืน การเดิน การนั่ง
การนอน การรับของส่งของ การรับประทาน
อาหาร การแสดงกิริยาอาการ การทักทาย
การสนทนา การใช้คำพูด
๓๓

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๔. อธิบายคุณค่าทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน  ประโยชน์และคุณค่าทางวัฒนธรรม
ระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย  ความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างกลุ่มคน
ภาคต่างๆ ในสังคมไทย
 แนวทางการรักษาวัฒนธรรม
๕. ติดตามข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่าง ๆ ใน  ข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น วิทยุ
ชีวิตประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูล ข่าวสารใน โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ แหล่งข่าวต่าง ๆ
การเรียนรู้ได้เหมาะสม สถานการณ์จริง
 ประโยชน์จากการติดตามข้อมูล ข่าวสาร
เหตุการณ์ต่างๆ
 หลักการเลือกรับและใช้ข้อมูล ข่าวสารจากสื่อ
ต่างๆ รวมทั้งสื่อที่ไร้พรมแดน
๓๔

๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา ไว้ซึ่งการปกครอง


ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ๑. บอกโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่  โครงสร้างของครอบครัวและความสัมพันธ์ของ
ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว
 โครงสร้างของโรงเรียน ความสัมพันธ์ของบทบาท
หน้าที่ของสมาชิกในโรงเรียน
๒. ระบุบทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนเองใน  ความหมายและความแตกต่างของอำนาจตาม
ครอบครัวและโรงเรียน บทบาท สิทธิ หน้าที่ในครอบครัว
และโรงเรียน
 การใช้อำนาจในครอบครัวตามบทบาท สิทธิ
หน้าที่
๓. มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมใน  กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตย
ครอบครัวและโรงเรียน ในครอบครัว เช่น การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
ตามกระบวนการประชาธิปไตย ในครอบครัว การรับฟังและแสดงความคิดเห็น
 กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตย
ในโรงเรียน เช่น เลือกหัวหน้าห้อง ประธานชุมนุม
ประธานนักเรียน
ป.๒ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ของตนเอง และสมาชิก  ความสัมพันธ์ของตนเอง และสมาชิก
ในครอบครัวในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ในครอบครัวกับชุมชน เช่น การช่วยเหลือ
กิจกรรมของชุมชน
๒. ระบุผู้มีบทบาท อำนาจในการตัดสินใจใน  ผู้มีบทบาท อำนาจในการตัดสินใจ
โรงเรียน และชุมชน ในโรงเรียน และชุมชน เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้นำท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
ป.๓ ๑. ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนใน  บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน
การมี ส่วนร่วมในกิจ กรรม  การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการ
ต่าง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
๒. วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการการ  การออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออก
ตัดสินใจในชั้นเรียน/โรงเรียนและชุมชนโดย เสียง
วิธีการออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทน
ออกเสียง
๓๕

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๓. ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน/  การตัดสินใจของบุคคลและกลุ่มที่มผี ลต่อการ
โรงเรียนและชุมชนที่เป็นผลจากการตัดสินใจ เปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชน
ของบุคคลและกลุ่ม - การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน เช่น
การเลือกหัวหน้าห้อง การเลือก
คณะกรรมการห้องเรียน
- การเปลี่ยนแปลงในโรงเรียน เช่น เลือก
 ประธานนักเรียน เลือกคณะกรรมการนักเรียน
 การเปลี่ยนแปลงในชุมชน เช่น การเลือก
ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน สมาชิก อบต. อบจ.
ป.๔ ๑. อธิบายอำนาจอธิปไตยและความสำคัญของ  อำนาจอธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตย  ความสำคัญของการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตย
๒. อธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมืองใน  บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการ
กระบวนการเลือกตั้ง เลือกตั้ง ทั้งก่อนการเลือกตั้ง ระหว่างการเลือกตั้ง
หลังการเลือกตั้ง
๓. อธิบายความสำคัญของสถาบัน  สถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทย
พระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี  ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ใน
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สังคมไทย
ป.๕ ๑. อธิบายโครงสร้าง อำนาจ หน้าที่และ  โครงสร้างการปกครองในท้องถิ่น เช่น อบต. อบจ.
ความสำคัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาล และการปกครองพิเศษ เช่น พัทยา
กทม.
 อำนาจหน้าที่และความสำคัญของ การปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
๒. ระบุบทบาทหน้าที่ และวิธีการเข้าดำรง  บทบาทหน้าที่ และวิธีการเข้าดำรงตำแหน่งของ
ตำแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น เช่นนายก อบต. นายกเทศมนตรี
นายก อบจ. ผู้ว่าราชการ กทม.
๓. วิเคราะห์ประโยชน์ที่ชุมชน จะได้รับจาก  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับบริการ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สาธารณประโยชน์ในชุมชน
ป.๖ ๑. เปรียบเทียบบทบาท หน้าที่ขององค์กร  บทบาท หน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล และรัฐบาล
๒. มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริม  กิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริม ประชาธิปไตย ใน
ประชาธิปไตยในท้องถิ่นและประเทศ ท้องถิ่นและประเทศ
๓๖

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๓. อภิปรายบทบาท ความสำคัญในการใช้สิทธิ  การมีส่วนในการออกกฎหมาย ระเบียบ กติกา
ออกเสียงเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย การเลือกตั้ง
 สอดส่องดูแลผู้มีพฤติกรรมการกระทำผิดการ
เลือกตั้ง และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
 ตรวจสอบคุณสมบัติ
 การใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งตามระบอบ
ประชาธิปไตย

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้
อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. ระบุสินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ใน  สินค้าและบริการที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น
ชีวิตประจำวัน ดินสอ กระดาษ ยาสีฟัน
 สินค้าและบริการที่ได้มาโดยไม่ใช้เงิน เช่น
มีผู้ให้หรือการใช้ของแลกของ
 สินค้าและบริการที่ได้มาจากการใช้เงินซื้อ
 ใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการให้คุ้มค่า
๒. ยกตัวอย่างการใช้จ่ายเงินในชีวิต ประจำ  การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันเพื่อซื้อสินค้าและ
วันที่ไม่เกินตัวและเห็นประโยชน์ของการออม บริการ
 ประโยชน์ของการใช้จ่ายเงินที่ไม่เกินตัว
 ประโยชน์ของการออม
 โทษของการใช้จ่ายเงินเกินตัว
 วางแผนการใช้จ่าย
๓. ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวัน  ทรัพยากรที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ดินสอ
อย่างประหยัด กระดาษ เสื้อผ้า อาหาร
 ทรัพยากรส่วนรวม เช่น โต๊ะ เก้าอี้ นักเรียน
สาธารณูปโภคต่าง ๆ
 วิธีการใช้ทรัพยากรทั้งของส่วนตัวและ
ส่วนรวมอย่างถูกต้อง และประหยัดและคุ้มค่า
ป.๒ ๑. ระบุทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้าและบริการ  ทรัพยากรที่นำมาใช้ในการผลิตสินค้าและบริการที่
ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ในครอบครัวและโรงเรียน เช่น ดินสอและ
กระดาษที่ผลิตจากไม้ รวมทั้งเครื่องจักรและ
๓๗

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


แรงงานการผลิต
 ผลของการใช้ทรัพยากรในการผลิตที่หลากหลายที่มี
ต่อราคา คุณค่าและประโยชน์ของสินค้าและบริการ
รวมทั้งสิ่งแวดล้อม
๒. บอกที่มาของรายได้และรายจ่ายของตนเอง  การประกอบอาชีพของครอบครัว
และครอบครัว  การแสวงหารายได้ที่สุจริตและเหมาะสม
 รายได้และรายจ่ายในภาพรวมของครอบครัว
 รายได้และรายจ่ายของตนเอง
๓. บันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง  วิธีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของตนเองอย่างง่าย ๆ
 รายการของรายรับที่เป็นรายได้ที่เหมาะสม และไม่
เหมาะสม
 รายการของรายจ่ายที่เหมาะสมและ ไม่เหมาะสม
๔. สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้  ที่มาของรายได้ที่สุจริต
และการออม  การใช้จ่ายที่เหมาะสม
 ผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้
 การออมและผลดีของการออม
 การนำเงินที่เหลือมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น
การช่วยเหลือสาธารณกุศล
ป.๓ ๑. จำแนกความต้องการและความจำเป็นในการ  สินค้าที่จำเป็นในการดำรงชีวิตที่ เรียกว่าปัจจัย ๔
ใช้สินค้าและบริการในการดำรง ชีวิต  สินค้าที่เป็นความต้องการของมนุษย์อาจ เป็นสินค้า
ที่จำเป็นหรือไม่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
 ประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการ ที่สนอง
ความต้องการของมนุษย์
 หลักการเลือกสินค้าที่จำเป็น
 ความหมายของผู้ผลิตและผู้บริโภค
๒. วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง  ใช้บัญชีรับจ่ายวิเคราะห์การใช้จ่ายที่จำเป็น
และเหมาะสม
 วางแผนการใช้จ่ายเงินของตนเอง
 วางแผนการแสวงหารายได้ที่สุจริตและเหมาะสม
 วางแผนการนำเงินที่เหลือจ่ายมาใช้อย่างเหมาะสม
๓๘

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๓.อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดมีผลต่อ  ความหมายของผู้ผลิตและผู้บริโภค
การผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ  ความหมายของสินค้าและบริการ
 ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่เกิดจาก
ความหายากของทรัพยากรกับความต้องการของมนุษย์
ที่มีไม่จำกัด
ป.๔ ๑. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและ  สินค้าและบริการที่มีอยู่หลากหลายในตลาด
บริการ ที่มีความแตกต่างด้านราคาและคุณภาพ
 ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการที่มี
มากมาย ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้ซื้อ ผู้ขาย และ ตัวสินค้า
เช่น ความพึงพอใจของผู้ซื้อ ราคาสินค้า การ
โฆษณา คุณภาพของสินค้า
๒. บอกสิทธิพื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ของ  สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค
ตนเองในฐานะผู้บริโภค  สินค้าและบริการที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ
 หลักการและวิธีการเลือกบริโภค
๓. อธิบายหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและ  หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
นำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง  การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต
เช่น การแต่งกาย การกินอาหาร การใช้จ่าย
ป.๕ ๑. อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ  ความหมายและประเภทของปัจจัยการผลิต
ประกอบด้วย ที่ดิน แรงงาน ทุนและผู้ประกอบการ
 เทคโนโลยีในการผลิตสินค้าและบริการ
 ปัจจัยอื่น ๆ เช่น ราคาน้ำมัน วัตถุดิบ
 พฤติกรรมของผู้บริโภค
 ตัวอย่างการผลิตสินค้าและบริการที่มีอยู่ในท้องถิ่น
หรือแหล่งผลิตสินค้าและบริการในชุมชน
๒. ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจ  หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พอเพียงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว  การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
โรงเรียนและชุมชน กิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
เช่นการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่ายในบ้าน
โรงเรียน การวางแผน
การผลิตสินค้าและบริการเพื่อลด
ความสูญเสียทุกประเภท การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
 ตัวอย่างการผลิตสินค้าและบริการในชุมชน เช่น หนึ่ง
ตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือโอท๊อป
๓. อธิบายหลักการสำคัญและประโยชน์ของ  หลักการและประโยชน์ของสหกรณ์
สหกรณ์  ประเภทของสหกรณ์โดยสังเขป
๓๙

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


 สหกรณ์ในโรงเรียน (เน้นฝึกปฏิบัติจริง)
 การประยุกต์หลักการของสหกรณ์มาใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
ป.๖ ๑. อธิบายบทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบ  บทบาทของผู้ผลิตที่มีคุณภาพ เช่น
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณ ความรับผิดชอบ
ต่อสังคม วางแผนก่อนเริ่มลงมือทำกิจกรรมต่าง ๆ
เพื่อลดความผิดพลาดและการสูญเสีย ฯลฯ
 ทัศนคติในการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
 ประโยชน์ของการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ
๒. อธิบายบทบาทของผู้บริโภคทีร่ ู้เท่าทัน  คุณสมบัติของผู้บริโภคที่ดี
 พฤติกรรมของผู้บริโภคที่บกพร่อง
 คุณค่าและประโยชน์ของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน
ที่มีต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม
๓. บอกวิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากร  ความหมาย และความจำเป็นของทรัพยากร
อย่างยั่งยืน  หลักการและวิธีใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(ลดการสูญเสียทุกประเภท)
 วิธีการสร้างจิตสำนึกให้คนในชาติรู้คุณค่าของ
ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด
 วางแผนการใช้ทรัพยากร โดยประยุกต์เทคนิคและ
วิธีการใหม่ ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมและ
ประเทศชาติ และทันกับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
๔๐

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจำเป็นของการร่วมมือ
กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. อธิบายเหตุผลความจำเป็นที่คนต้องทำงาน  ความหมาย ประเภทและความสำคัญ
อย่างสุจริต ของการทำงาน
 เหตุผลของการทำงาน
 ผลของการทำงานประเภทต่าง ๆ
ทีม่ ีต่อครอบครัวและสังคม
 การทำงานอย่างสุจริตทำให้สังคมสงบสุข
ป.๒ ๑. อธิบายการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการโดย  ความหมายและความสำคัญของการแลกเปลี่ยน
วิธีต่าง ๆ สินค้าและบริการ
 ลักษณะของการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการโดยไม่
ใช้เงิน รวมทั้ง การแบ่งปัน การช่วยเหลือ
 ลักษณะการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการโดย
การใช้เงิน
๒. บอกความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย  ความหมายและบทบาทของผู้ซื้อและผู้ขาย ผู้ผลิต
และผู้บริโภคพอสังเขป
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในการกำหนด
ราคาสินค้าและบริการ
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย
ทำให้สังคมสงบสุข และประเทศมั่นคง

ป.๓ ๑ บอกสินค้าและบริการที่รัฐจัดหาและ  สินค้าและบริการที่ภาครัฐทุกระดับจัดหา และ


ให้บริการแก่ประชาชน ให้บริการแก่ประชาชน เช่น ถนน โรงเรียน
สวนสาธารณะ การสาธารณสุข
การบรรเทาสาธารณภัย
๒. อธิบายเหตุผลการแข่งขันทางการค้า  ความสำคัญและผลกระทบของการแข่งขันทางการค้าที่
ที่มีผลทำให้ราคาสินค้าลดลง มีผลทำให้ราคาสินค้าลดลง
ป.๔ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ  อาชีพ สินค้าและบริการต่าง ๆ ที่ผลิตในชุมชน
ของคนในชุมชน  การพึ่งพาอาศัยกันภายในชุมชนทาง
ด้านเศรษฐกิจ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่าง
ผู้ซื้อ ผู้ขาย การกู้หนี้ยืมสิน
๔๑

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


 การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนด้วยการใช้สิ่งของที่
ผลิตในชุมชน
๒. อธิบายหน้าที่เบื้องต้นของเงิน  ความหมายและประเภทของเงิน
 หน้าที่เบือ้ งต้นของเงินในระบบเศรษฐกิจ
 สกุลเงินสำคัญที่ใช้ในการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่าง
ประเทศ
ป.๕ ๑. อธิบายบทบาทหน้าที่เบื้องต้นของธนาคาร  บทบาทหน้าที่ของธนาคารโดยสังเขป
 ดอกเบี้ยเงินฝาก และดอกเบี้ยกู้ยืม
 การฝากเงิน / การถอนเงิน
๒. จำแนกผลดีและผลเสียของการกู้ยืม  ผลดีและผลเสียของการกู้ยืมเงินทั้งนอกระบบและใน
ระบบที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ เช่น
การเสียดอกเบี้ย การลงทุน การซื้อของอุปโภค
เพิ่มขึ้นที่นำไปสู่ความฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย เป็นต้น
ป.๖ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค  ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคาร และ
ธนาคาร และรัฐบาล รัฐบาล ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจอย่างสังเขป เช่นการ
แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ รายได้และรายจ่าย
การออมกับธนาคาร การลงทุน
 แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของหน่วยเศรษฐกิจ
 ภาษีและหน่วยงานที่จัดเก็บภาษี
 สิทธิของผู้บริโภค และสิทธิของผู้ใช้แรงงาน
ในประเทศไทย
 การหารายได้ รายจ่าย การออม
การลงทุน ซึ่งแสดง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต
ผู้บริโภค และรัฐบาล
๒. ยกตัวอย่างการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจภายใน  การรวมกลุ่มเชิงเศรษฐกิจเพื่อประสาน ประโยชน์ใน
ท้องถิ่น ท้องถิ่น เช่น กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มแม่บ้าน
กองทุนหมู่บ้าน
๔๒

สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และ
เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุป ข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศ
อย่างมีประสิทธิภาพ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. จำแนกสิ่งแวดล้อมรอบตัว ที่เกิดขึ้นเอง  สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น และทีม่ นุษย์สร้างขึ้น
๒. ระบุความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศของ  ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆ
สิ่งต่าง ๆ รอบตัว เช่น ที่อยู่อาศัย บ้าน เพื่อนบ้าน ถนน
ต้นไม้ ทุ่งนา ไร่ สวน ที่ราบ ภูเขา แหล่งน้ำ

๓. ใช้แผนผังแสดงสิ่งต่าง ๆ ของห้องเรียน  แผนผังแสดงสิ่งต่าง ๆ ของห้องเรียน


๔. สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพ  การเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน เช่น
อากาศในรอบวัน กลางวัน กลางคืน ความร้อนของอากาศ ฝน - เมฆ - ลม

ป.๒ ๑. ระบุสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและที่มนุษย์  สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่ง


สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน ปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน
๒. ระบุตำแหน่งและลักษณะทางกายภาพ  ตำแหน่งและลักษณะทางกายภาพของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏใน
ของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในแผนผัง แผนที่ แผนที่ แผนผัง รูปถ่าย และลูกโลกเช่น ภูเขา ที่ราบ
รูปภาพ และรูปโลก แม่น้ำ ต้นไม้ ทะเล
๓. สังเกตและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโลก  ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ที่ทำให้เกิด และดวงจันทร์ที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ เช่น ข้างขึ้น
ปรากฏการณ์ ข้างแรม ฤดูกาลต่าง ๆ
ป.๓ ๑. สำรวจข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในโรงเรียน  ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชน
และชุมชนโดยใช้แผนผัง แผนที่  แผนที่ แผนผัง และรูปถ่าย
และรูปถ่าย เพื่อแสดงความสัมพันธ์ ของ  ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง
ตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง
 ตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียน
๒. วาดแผนผังง่ายๆ เพื่อแสดงตำแหน่งที่ตั้ง
ของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน และชุมชน เช่น สถานที่ราชการ ตลาด
โรงพยาบาล ไปรษณีย์
ป.๔ ๑. สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพ  ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดตนเอง
ในจังหวัดของตน ด้วยแผนที่และรูปถ่าย
๒. ระบุแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ  แหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัดของตน
ในจังหวัดของตนเองด้วยแผนที่และรูปถ่าย
๓. อธิบายลักษณะทางกายภาพที่ส่งผล ต่อ  ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่งทรัพยากรและ
แหล่งทรัพยากร และสถานที่สำคัญ ในจังหวัด สถานที่สำคัญในจังหวัด
๔๓

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๕ ๑. สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะ  ลักษณะทางกายภาพในภูมิภาคของตน
ทางกายภาพในภูมิภาคของตนด้วยแผนที่ และ
รูปถ่าย
๒. อธิบายลักษณะทางกายภาพและสถานที่  ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อแหล่ง ทรัพยากรและ
สำคัญในภูมิภาคของตน สถานที่สำคัญในภูมิภาค
ของตน
๑. สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพ  เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (แผนที่ รูปถ่าย ทางอากาศ
ของประเทศไทยด้วย แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม) ที่แสดงลักษณะทางกายภาพของ
และภาพจากดาวเทียม ประเทศไทย

ป.๖
๒. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง  ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับภัย
กายภาพกับภัยพิบัติในประเทศไทยเพื่อ พิบัติของประเทศไทย เช่น อุทกภัย แผ่นดินไหว
เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ วาตภัย สึนามิ ภัยแล้ง ดินถล่ม และโคลนถล่ม
 การเตรียมพร้อมรับภัยพิบัติ
๔๔

๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต มี


จิตสำนึกในการจัดการทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ๑. บอกสิ่งแวดล้อมที่เกิดตามธรรมชาติที่  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อความเป็นอยู่
ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ของมนุษย์ เช่น ภูมิอากาศ มีผลต่อลักษณะที่อยู่
อาศัย และเครื่องแต่งกาย
๒. สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง  การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
ของสภาพแวดล้อมเพื่อการปฏิบัติตนอย่าง  อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตน
เหมาะสม อย่างเหมาะสม

๓. มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมที่บ้านและ  การปฏิบัติตนในการรักษาสิ่งแวดล้อมในบ้าน และ


ห้องเรียนบอกสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ ห้องเรียน
ส่งผลต่อความเป็นอยู่ ของมนุษย์
ป.๒ ๑. อธิบายความสำคัญของสิ่งแวดล้อมทาง  ความสำคัญของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและ
ธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นในการดำเนินชีวิต

๒. จำแนกและใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้ว  ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
ไม่หมดไป ที่ใช้แล้วหมดไป และสร้าง - ใช้แล้วไม่หมด เช่น อากาศ แสงอาทิตย์
ทดแทนขึ้นใหม่ได้อย่างคุ้มค่า - ใช้แล้วหมดไป เช่น แร่ ถ่านหิน น้ำมัน
แก๊สธรรมชาติ
- สร้างทดแทนขึ้นใหม่ได้ เช่น น้ำ ดิน
ป่าไม้ สัตว์ป่า
 การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
๓. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างฤดูกาลกับ  ความสัมพันธ์ระหว่างฤดูกาลกับการดำเนินชีวิต
การดำเนินชีวิตของมนุษย์ ของมนุษย์
๔. มีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมใน  ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีต่อ
โรงเรียนอธิบายความสำคัญและคุณค่าของ โรงเรียน
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทางสังคม  การรักษาและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ป.๓ ๑. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม  สิ่งแวดล้อมของชุมชนในอดีตกับปัจจุบัน
ของชุมชนในอดีตกับปัจจุบัน - สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
- สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
๔๕

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๒. อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อม  การใช้ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อมในการดำเนิน
และทรัพยากรธรรมชาติ ในการสนองความ ของมนุษย์ เช่น การคมนาคม บ้านเรือนและการ
ต้องการพื้นฐานของมนุษย์และการประกอบ ประกอบอาชีพในชุมชน
อาชีพ  การประกอบอาชีพที่เป็นผลมาจากสิ่งแวดล้อม
ทางธรรมชาติในชุมชน
๓. อธิบายสาเหตุที่ทำให้เกิดมลพิษโดยมนุษย์  ความหมายและประเภทของมลพิษ โดยมนุษย์
 สาเหตุของการเกิดมลพิษที่เกิดจาก
การกระทำของมนุษย์
๔. อธิบายความแตกต่างของลักษณะเมือง  ลักษณะของเมืองและชนบท เช่น สิ่งปลูกสร้าง
และชนบท การใช้ที่ดิน การประกอบอาชีพ
๕. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง  ภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่มีผลต่อ การดำเนิน
กายภาพกับการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ชีวิตของคนในชุมชน
๖. มีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมใน  ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีต่อ
ชุมชน ชุมชน
 การจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ป.๔ ๑. วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อการ  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคน
ดำเนินชีวิตของคนในจังหวัด ในจังหวัด

๒. อธิบายการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ในจังหวัดและ  การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในจังหวัด และผลที่


ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง เกิดจากการเปลี่ยนแปลง เช่น การตั้งถิ่นฐาน
การย้ายถิ่น
๓. นำเสนอแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัด  การจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัด
อธิบายสภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนที่
ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในจังหวัด
ป.๕ ๑. วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะ
ที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐานและการ การตั้งถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของประชากรใน
ย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาคของตน ภูมิภาคของตน

๒. วิเคราะห์อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ทาง  อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ


ธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนินชีวิตใน ที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนินชีวิตในภูมิภาคของตน
ภูมิภาคของตน
๔๖

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


๓. นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจาก  ผลจากการรักษาและการทำลายสิง่ แวดล้อมใน
การรักษาและทำลายสภาพแวดล้อม และ ภูมิภาคของตน
เสนอแนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อมใน  แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคของตน
ภูมิภาคของตนวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทาง
กายภาพ ที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตั้งถิ่นฐาน
และการย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาค
ป.๖ ๑. วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับลักษณะกิจกรรมทาง
ทางกายภาพกับลักษณะกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคม (ประชากร เศรษฐกิจ สังคม
เศรษฐกิจ และสังคมในประเทศไทย และวัฒนธรรม) ในประเทศไทย
 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
๒. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ  การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของประเทศไทย
ของประเทศไทยในอดีตกับปัจจุบัน และผลที่  ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่มีต่อ
เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม(ประชากร
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม)ของประเทศไทย
ในอดีตและปัจจุบัน
๓. นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจาก  ผลจากการรักษาและทำลายทรัพยากร
การรักษาและทำลายทรัพยากร และ และสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
สิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทาง ในการจัดการ  แนวทางในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมที่
ที่ยั่งยืนในประเทศไทยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ยั่งยืนโดยมีจิตสำนึก รู้คุณค่า
ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับ
สิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ
๔๗

กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชัน้ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่นระดับเขตพื้นที่


ป.๑ - แหล่งวัฒนธรรมในชุมชน
- สิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจในท้องถิ่น
ป.๒ - บุคคลที่ทำคุณประโยชน์ต่อชุมชนในท้องถิ่น
- ภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ ในท้องถิ่น
ป.๓ - ประเพณี และวัฒนธรรมในท้องถิ่น
- บุคคลที่มีผลงานเป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่น
- แผนที่ชุมชน
- สภาพแวดล้อมในชุมชน จากอดีตถึงปัจจุบัน
ป.๔ - ภาษาถิ่น
- หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
- แผนที่จังหวัด
- สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชน
ป.๕ - ภูมิปัญญาด้านภาษา - ภาษาถิ่น
- ภูมิปัญญาด้านช่าง
- ภูมิปัญญาด้านการทำมาหากิน
- สินค้า OTOP (ONE TAMBON ONE PRODUCT)
- งานจักสาน / อาหาร / เครื่องดื่ม
- งานประดิษฐ์
- หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
- แผนที่ภูมิภาค
- สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน
- สภาพแวดล้อมทางกายภาพของภูมิภาค
- ทรัพยากรในชุมชน
๔๘

คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๔๙

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษา เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ความสำคัญ ศาสนา หลักธรรมของพุทธศาสนา พุทธประวัติ พระ


รัตนตรัย พุทธศาสนสุภาษิต วันสำคัญ ประวัติสาวก ชาดก ฝึกสวดมนต์ แผ่เมตตา การปฏิบัติตนเป็นของศาสนิกชน
และศาสนาอื่น บุคคลตัวอย่างในท้องถิ่น ประเทศ ปฏิบัติตนตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ศึกษา ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ยกตัวอย่างความดีของตนเองและผู้อื่น โครงสร้างบทบาทหน้ าที่
ของสมาชิก มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ศึกษา สำรวจ เปรียบเทียบ สินค้ าและบริการที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น ดินสอ สมุดกระดาษ เสื้อผ้า
การได้มาโดยใช้เงินซื้อ หรือได้มาโดยการบริจาค หรือได้มาโดย การแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ การใช้ประโยชน์จาก
สินค้าและบริการให้คุ้มค่า มีการวางแผนการใช้เงิน การประหยัดเก็บออม การทำงานอย่างสุจริต เพื่อให้ครอบครัวและ
สังคมอยู่ได้อย่างเป็นสุข
ศึกษา สำรวจ สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น ระบุความสัมพันธ์ ตำแหน่ง ระยะ
ทิศทางของที่ตั้ง แผนผังสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวในห้องเรียน สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ บอกสิ่ง ที่เกิดขึ้นเอง
ตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อมนุษย์ เปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่อง
แต่งกาย และมีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสภาพแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนการพัฒนา
ค่านิยม กระบวนการประชาธิปไตย กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์
เพื่ อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบั ติต นเป็ นพลเมือ งดี นำหลั กธรรมทางศาสนา และหลั กปรัช ญา
เศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ ในการดำรงชีวิต อยู่ในสังคมร่วมกันอย่างสันติสุข เคารพในสิทธิของความเป็นมนุษย์ เห็น
คุณค่า ชื่นชม วัฒนธรรมประเพณีไทย อนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๕๐

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ส๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษา ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ ประสูติ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาลิกา
และชาดก ศึกษาข้อมูลเดี่ยวกับพระไตรปิฎก และหลักธรรมโอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิตและบุคคลตัวอย่างในการทำ
ความดี ฝึกปฏิบัติมารยาทของชาวพุทธ การเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับศาสนพิธี พิธีกรรม วันสำคัญทางศาสนา เรื่องการ
บูชาพระรัตนตรัย ฝึกบริหารจิต เพื่อให้การดำเนินชีวิตของมนุษย์ การอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม
นำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเองเป็นพลเมืองดี มีความรับ ผิดชอบ มีคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
เกิดความภาคภูมิใจในการกระทำความดีของตนเองและผู้อื่น
ศึกษา สังเกต ความเป็นพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตยของตนเองและผู้อื่นในสังคมปัจจุบั น การยอมรับกฎ
กติกา กฎระเบียบ หน้าที่ความแตกต่างและความหลากหลายทาง ด้านวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อปลูกฝังค่านิยม
สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิต อย่างสันติสุขในสังคมไทย และการช่วยเหลือการเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน
ศึกษา อภิปราย บริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่าทั้งที่บ้าน และโรงเรียนให้เกิดประโยชน์
สูงสุด รายรับจ่ายของตนเองการทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ ในการผลิตการชื้อขายสินค้า วิเคราะห์อภิปรายและจำแนกข้อดี
ข้อเสียการใช้จ่ายการชื้อขายแลกเปลี่ยน และการบริโภคสินค้าและการบริการอย่างมีประสิทธิภาพในการดำเนินชีวิตอย่างมี
ดุลภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาค้นคว้า อภิปราย สรุป สิ่งต่าง ๆ ที่เป็นธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน
ลักษณะของโลกทางกายภาพ การใช้แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย เช่ นภูเขา ที่ราบ แม่น้ำ ต้นไม้ อากาศ และทะเล
ความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์
โดยใช้ก ระบวนการสื บ ค้น กระบวนการคิ ดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ปั ญ หา วิธีการ ทางประวัติ ศ าสตร์
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการประชาธิปไตย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เป็นพลเมืองดีของสังคม รู้ข่าวเหตุการณ์สำคัญของชุมชน ภาคภูมิใจในความ
เป็นไทย มีจิตสาธารณะ อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเป็นสุข
๕๑

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ส๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป ความสำคัญของพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติหรือประวัติ


ของศาสนาที่ตนนับถือ แบบอย่างการดำเนิน ชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง
ความหมาย ความสำคัญของประไตรปิฎก คัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ พระรัตนตรัย หลักธรรมโอวาท ๓ การสวด
มนต์ไหว้พระ แผ่เมตตา สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย การฝึกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธและความสำคัญของศาสนวัตถุ ศาสน
สถาน และศาสนบุคคล
ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย อภิปราย สรุป ประเพณีวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น พฤติกรรมการดำเนิน
ชีวิตของตนเองและผู้อื่น ความสำคัญของวันหยุดราชการ บุคคลที่มีผลงานเป็นประโยชน์แก่ชุมชน และท้องถิ่น บทบาท
หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน ความแตกต่างของกระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชน และผลที่เกิดจาก
การตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป จำแนก อธิบายความต้องการและความจำเป็นในการใช้สินค้าและบริการ
การใช้จ่ายของตนเอง ทรัพยากรทีมีอยู่จำกัดมีผลต่อการผลิต การบริโภค และบริการ สินค้าและบริการที่รัฐจัดบริการแก่
ประชาชน ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ความสำคั ญของภาษีและบทบาทของประชาชนในการเสียภาษี การแข่งขันทาง
การค้า
ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย อภิปราย ตระหนัก เปรียบเทียบการใช้แผนที่ แผนผัง และภาพถ่ายในการหาข้อมูล
ทางภูมิศาสตร์ เขียนแผนผังง่าย ๆ ของสถานที่สำคัญในโรงเรียน และชุมชน ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ การ
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน การพึ่งพาสิ่งแวดล้อมในการดำรงชีวิตของมนุษย์ มลพิษที่เกิด
จากการกระทำ ของมนุษย์ ความแตกต่างของเมืองและชนบท การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชน
โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม กระบวนการพัฒนา
ค่านิยม กระบวนการประชาธิปไตย กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิธีการทางประวัติศ าสตร์
กระบวนการทางภูมิศาสตร์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี นำหลักธรรมทางศาสนาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมร่วมกันอย่างสันติสุข เห็นคุณค่า ชื่นชม วัฒนธรรมประเพณีไทย สืบสาน
ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีจิตสาธารณะ
๕๒

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ส๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษา รู้ เข้าใจ ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิก
ชน พุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดา ที่ตนนับถือตามที่กำหนด ประวัติศาสดาของ
ศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป ความสำคัญและมีส่วนร่วมในการบำรุงรักษาศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ สิทธิพื้นฐานที่
เด็กทุกคนพึงได้รับ ตามกฎหมาย ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถิ่น เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุขในชีวิตประจำวัน อธิบายอำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย อธิบายบทบาทหน้าที่ของ
พลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการ บอกสิทธิพื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะ
ผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ของคน
ในชุมชน หน้าที่เบื้องต้นของเงิน แหล่งทรัพยากรและสิ่งต่าง ๆ แผนที่ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนที่ส่งผลต่อ
การดำเนินชีวิตของคน การใช้ภาษาถิ่นสื่อสารกับคนในท้องถิ่นได้ถูกต้อง การเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดล้อมและผลที่เกิด
จากการเปลี่ยนแปลงนั้น
ใช้กระบวนการวิเคราะห์ แยกแยะ สรุป อธิบาย อภิปราย ระบุ และปฏิบัติ การแสดงความเคารพพระรัตนตรัย
ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ปฏิบัติ
ตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นชาติได้อย่างสมานฉันท์ มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชน
ที่ ดี ต ามที่ ก ำหนด ปฏิ บั ติ ต นในศาสนพิ ธี พิ ธี ก รรมและวั น สำคั ญ ทางศาสนา ตามที่ ก ำหนดได้ ถู ก ต้ อ ง ปฏิ บั ติ ต น
เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ ดี ใช้แผนที่
ภาพถ่าย ระบุลักษณะสำคัญทางกายภาพ ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เห็นคุณค่า ความสำคัญของปฏิบัติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชนตามหลัก
ศาสนา พร้อ มทั้ ง บอกแนวปฏิ บั ติ ในการดำเนิ น ชี วิ ต การสวดมนต์ แผ่ เมตตา การมี ส ติ ที่ เป็ น พื้ น ฐานของสมาธิ ใน
พระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
๕๓

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ส๑๕๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา

ศึ ก ษา วิ เคราะห์ อภิ ป ราย สรุ ป มรดกทางวั ฒ นธรรมที่ ได้ รั บ จากพุ ท ธศาสนาพุ ท ธประวั ติ พุ ท ธศาสนา
พุทธศาสนิกชน ชาดกพระไตรปิฎก พระรัตนตรัย ไตรสิกขา โอวาท ๓ พุทธศาสนสุภาษิต ฝึกพัฒนาจิต ทำสมาธิ สวดมนต์
แผ่เมตตา หลักธรรม ปฏิบัติตน ของศาสนิกชนที่ดีของศาสนสถานต่าง ๆ
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพในการเป็นพลเมืองดี
เคารพเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อนุรักษ์ เผยแพร่ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน โครงสร้าง อำนาจ
บทบาท หน้าที่ ความสำคัญ ของผู้บริหาร ในการปกครองส่วนท้องถิ่นกับการบริการสาธารณะประโยชน์ในชุมชน
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป เกี่ยวกับความหมายและประเภทของปัจจัยการผลิตเทคโนโลยีในการผลิต
สินค้าและบริการ พฤติกรรมของผู้บริโภค หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภทของสหกรณ์ การประยุกต์
หลักการของสหกรณ์มาใช้ในชีวิตประจำวัน บทบาทหน้าที่ของธนาคารดอกเบี้ยเงินฝากและดอกเบี้ยกู้ยืม การฝากเงิน
ผลดีและผลเสียของ การกู้ยืมเงินทั้งนอกระบบและในระบบที่มีต่อเศรษฐกิจ
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป ตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง ภูมิลักษณ์ ความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพ
สังคมในภูมิภาคของตนเอง สภาพแวดล้อมทางกายภาพ อิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่น
ฐาน การย้ายถิ่น ที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิต การสร้างสรรค์วัฒนธรรมในภูมิภาค ผลจากการรักษาทำลายสภาพแวดล้อม และ
แนวทางในการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมในภูมิภาค
คิด วิเคราะห์ กระบวนการพั ฒ นาค่ านิ ยม กระบวนการแก้ปั ญ หา วิธี การโดยใช้ ก ระบวนการสื บ ค้น ทาง
ประวัติศาสตร์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา เป็นศาสนิกชนที่ดี เป็นพลเมืองดีใน
การปกครองประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ดำเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เห็น
คุณค่า ภูมิใจในความเป็นไทย ร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
๕๔

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ส๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ อธิบาย อภิปราย รวบรวมข้อมูล สรุป และเห็นคุณค่าเกี่ยวกับความสำคัญของ


พระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจำชาติ และศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติและประวัติศาสดาของศาสนาที่ตน
นับ ถือ ความสำคัญ ของพระรัต นตรัย หลัก ธรรมที่ส ำคัญ ของศาสนา ไตรสิก ขา โอวาท ๓ พุท ธศาสนสุภ าษิต
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนพิธี วันสำคัญทางศาสนา มารยาทที่ดีของพระพุทธศาสนิกชน
ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ประโยชน์ของการปฏิบัติตามกฎหมาย ความหมายและ
ประเภทของวัฒนธรรม เรียนรู้เกี่ยวกับระบบการเมือง การปกครองในสังคมปัจจุบัน การปกครองระบบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญ ของการเป็นพลเมืองที่ดี ตลอดจนความแตกต่างและความ
หลากหลาย ทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตย สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ การดำเนิน
ชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
อธิบ ายบทบาทของผู ้ผ ลิต ผู ้บ ริโ ภค ทรัพ ยากร หลัก การใช้ท รัพ ยากร หลัก การ และประโยชน์
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคาร และรัฐบาล การดำรงชีวิต อย่างมีดุลยภาพ และการไทยและภูมิภาค
ต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่ และเครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ ในนำหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
บอกลักษณะของโลกทางกายภาพ และสรุปลักษณะทางกายภาพ แหล่ง ทรัพยากร และภูมิอากาศของ
ประเทศระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษ ย์กับสภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติ และสิ่ง ที่มนุษ ย์ส ร้างขึ้น การ
นำเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่ อการพัฒนาที่ยั่งยืน
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการขัดเกลา ทางสังคม กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการประชาธิปไตย
เพื่อให้ผู้เรีย นมีค วามรู้ ความเข้า ใจ มีค ่า นิยมที่ดีง าม มีทักษะกระบวนการ และมีค วามสามารถตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม ภาคภูมิใจในระบอบการปกครองประชาธิปไตย
๕๕

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา ส๑๑๑๐๑ ชื่อวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
ลำดับ ชือ่ หน่วย น้ำหนัก
สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง)
ที่ การเรียนรู้ คะแนน
๑. ตามรอยศาสดาพา การรู้ถึงความสำคัญของพระศาสดา พระธรรมของศาสนา ๗ ๑๐
สุขใจ พุทธ บอกแบบอย่างการดำรงชีวิต ความหมายความสำคัญ
ตามหลักธรรมโอวาท๓เห็นคุณค่าของการสวดมนต์ แผ่
เมตตาและพัฒนาจิต
๒. คนดีศรีธรรมะ การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี บำเพ็ญประโยชน์ต่อ ๗ ๑๐
ศาสนา ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสำคัญ
ทางศาสนาได้ถูกต้อง

๓ พลเมื อ งดี ต ามวิ ถี การปฏิบัติตนตามหน้าที่พลเมือง โดยการเป็นสมาชิกที่ดี ๕ ๑๐


ประชาธิปไตย ของครอบครัว โรงเรียน และประเทศชาติตามกระบวนการ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

๔ ทรัพยากร การบริหารจัดการทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เห็นประโยชน์ของ ๔ ๑๐


การออม การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพตามหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๕. สินค้าชุมชน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจของคนในชุมชนโดยการ ๕ ๑๐
แลกเปลี่ยนสินค้า บริการ ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างผู้
ซื้อและผู้ขาย
๖. รอบรู้รอบโลก แผนที่ แผนผัง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สามารถแยกแยะ ระบุ ๕ ๑๐
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ

๗. มนุษย์กับ ปฏิสัมพันธ์ระหว่ามนุษย์กับสิ่งแวดล้อมก่อให้เกิด ๕ ๑๐
สิ่งแวดล้อม จิตสำนึกในการร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน

รวมระหว่างปี ๓๘ ๗๐
ปลายภาค ๒ ๓๐

รวม ๔๐ ๑๐๐
๕๖

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา ส๑๒๑๐๑ ชื่อวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

ชื่อหน่วย เวลา น้ำหนัก


ลำดับที่ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
๑. ศาสนานำชีวิตพิชิตสุข การรู้ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่
ตนนับถือ พุทธประวัติหรือประวัติศาสดา ประวัติ ๖ ๑๒
สาวก ชาดก เรื่องเล่าและ ศาสนิกชนตัวอย่าง หลัก
สำคัญของคัมภีร์ ก่อให้เกิดการปฏิบัติอย่างถูกต้อง
เหมาะสมตามหลักศาสนา
๒. หลักธรรมนำสู่ความ เห็นความความสำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย
สมานฉันท์ ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทาง ๖ ๑๒
ศาสนา ยึดมั่นในหลักธรรมของศาสนาก่อให้เกิด
แนวทางในการปฏิบัติ ชื่นชมการทำความดีของ
ตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน ตามหลัก
ศาสนาส่งผลให้บุคคลในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
และเป็นการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถือไว้
๓ การบริหารจิตเจริญ เห็นคุณค่าการสวดมนต์ แผ่เมตตา การพัฒนาจิตตาม
ปัญญา แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ มีสติเป็นพื้นฐานของ ๒ ๖
สมาธิ ส่งผลต่อการพัฒนาจิตและการอยู่ร่วมกันอย่า
สันติสุข
๔ การปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ สิทธิ
๖ ๑๐
เสรีภาพบทบาท อำนาจ หน้าที่ ของบุคคลใน
โรงเรียนและชุมชนในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำ
ให้ทุกคนอยู่ร่วมกัน ในสังคมอย่างมีความสุข และการ
เป็นผู้มีมารยาทไทยเป็นประเพณีและวัฒนธรรมที่
ควรธำรงรักษา
๕. การผลิตสินค้าและบริการ ต้องรู้จักใช้ทรัพยากรอย่าง
คุ้มค่าเพื่อรักษาสิง่ แวดล้อมและรายได้ของครอบครัว ๖ ๘
ต้องมาจากการประกอบอาชีพที่สุจริตและการรู้จักใช้
จ่ายอย่างเหมาะสม รู้จักการทำบัญชีรับ-จ่ายจะช่วย
ให้เกิดการรู้จักการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม และการใช้
จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้ รู้จักการออมเป็นการ
บริหารจัดการเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
๕๗

ชื่อหน่วย เวลา น้ำหนัก


ลำดับที่ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
๖. การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการโดยใช้เงินและไม่ใช้
เงินมีความสำคัญและจำเป็นต่อการดำเนินชีวิต ผู้ซื้อ ๒ ๖
กับผู้ขายมีบทบาทสำคัญในการกำหนดราคาสินค้า
และบริการ
๗. สิ่งที่ปรากฏระหว่างโรงเรียนและบ้านเป็น สิ่งที่
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น การ ๔ ๖
รู้ความสัมพันธ์ของตำแหน่งและลักษณะทางกายภาพ
ของสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏในลูกโลก แผนที่ แผนผังและ
ภาพถ่าย และความสัมพันธ์ของโลก ดวงอาทิตย์และ
ดวงจันทร์ทำให้เกิดปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ

๘. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทางสังคมมีความสำคัญ
และจำเป็นต่อการประกอบอาชีพในการดำรงชีวิต ๖ ๑๐
การเลือกใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าต้องแยกแยะและ
เลือกใช้อย่างเหมาะสมฤดูกาลมีความสัมพันธ์กับการ
ดำเนินชีวิตของมนุษย์วิธีการฟื้นฟู ปรับปรุง
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน

รวมระหว่างปี ๓๘ ๗๐

ปลายภาค ๒ ๓๐

รวม ๔๐ ๑๐๐
๕๘

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา ส๑๓๑๐๑ ชื่อวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

ชื่อหน่วย สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนักคะแนน


ลำดับที่
การเรียนรู้ (ชัว่ โมง)

๑. ศาสนานำชีวิต พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือมี


พิชิตสุข ความสำคัญในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญของ ๖ ๑๐
วัฒนธรรมไทย มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงาน
ทางวัฒนธรรมไทย การศึกษาพระไตรปิฏกหรือคัมภีร์
ของศาสนา พุทธประวัติ ประวัติสาวก ชาดก/เรื่อง
เล่าและศาสนิกชนตัวอย่างช่วยให้เห็นถึงความมุ่งมั่น
ในความเพียรพยายามเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของชีวิต
ก่อให้เกิดศรัทธาและปฏิบัติตามและเป็นการธำรงไว้
ซึ่งศาสนาที่ตนนับถือ
หลักธรรมนำสู่ การยึดมั่นในหลักธรรม และปฏิบัติตน ที่ถูกต้อง
๒. ความสมานฉันท์ เหมาะสม เป็นศาสนิกชนที่ดีตามหลักศาสนาเกิด ๘ ๑๐
จากการความรู้ความเข้าใจและความศรัทธาส่งผล
ต่อการยอมรับหลักการศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อความ
สงบของชีวิตในการปฏิบัติตนในชีวิตประจำวันและ
เป็นการธำรงรักษาไว้ซึ่งศาสนาที่ตนนับถือ
รักษ์วัฒนธรรม บุคคลที่มผี ลงานที่เป็นประโยชน์และเป็นแบบอย่าง
๔ นำสุข แก่ชุมชนและท้องถิ่น เข้าใจการปฏิบัติตนตาม ๔ ๑๐
ประเพณีและวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย ทั้งของ
ครอบครัวและของท้องถิ่นส่งผลต่อการดำเนินชีวิต
ของตนเอง และผู้อื่นทำให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

วิถีประชาธิปไตย บทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วม
๕ ในชุมชน ในกิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย ๓ ๖
การตัดสินใจในชั้นเรียนโรงเรียนและชุมชนโดยวิธีการ
ออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียงการ
ตัดสินใจของบุคคลและกลุ่มมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน
๕๙

ชื่อหน่วย สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนักคะแนน


ลำดับที่
การเรียนรู้ (ชัว่ โมง)
รู้ใช้ รูจ้ ่าย ไม่อบั ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตสินค้าและบริการมีจำกัดแต่
๖. จน ความต้องการของมนุษย์มีไม่จำกัด จึงจำเป็นต้อง ๔ ๘
เลือกใช้เฉพาะสิ่งที่มีความจำเป็นในการดำรงชีวิตของ
มนุษย์การแข่งขันทางการค้ามีผลกระทบทำให้ราคา
สินค้าลดลงและการรู้จักวิเคราะห์บัญชีการใช้จ่าย
ประจำวันเป็นการควบคุมการใช้จ่ายอย่างเหมาะสม
ช่วยรัฐเพื่อ สินค้าและบริการที่จำเป็นขั้นพื้นฐานภาครัฐต้อง
๗ พัฒนาชีวิต จัดหาและให้บริการแก่ประชาชนและประชาชนควร ๓ ๖
รู้จักวิเคราะห์บัญชีการใช้จ่ายประจำวันเป็นการ
ควบคุมการใช้จ่ายอย่างเหมาะสมและมีหน้าที่เสีย
ภาษี ให้รัฐ เพื่อนำมาพัฒนาเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
เครื่องมือทาง การใช้แผนที่ แผนผังและภาพถ่ายในการหาข้อมูล
๘. ภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ รู้จัก ๓ ๖
เขียนแผนผังที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งของสถานที่จะช่วย
ในการค้นหาสถานที่ต่างๆ และรวดเร็ว ภูมิประเทศ
และภูมิอากาศมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของคนใน
ชุมชน
รักษ์สงิ่ แวดล้อม ภูมิประเทศและภูมิอากาศมีอิทธิพลต่อ
๙. การดำรงชีวิตของคนในชุมชนจึงควรเข้าใจการ ๔ ๘
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชน จากอดีตถึง
ปัจจุบันมีลักษณะที่แตกต่างกัน ของเมืองและชนบท
สภาพทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติมี
ความสัมพันธ์กับความต้องการพื้นฐานและการประกอบ
อาชีพของมนุษย์ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดล้อมในชุมชนมลพิษและการเกิดมลพิษ
เป็นผลจากการกระทำของมนุษย์
รวมระหว่างปี ๓๘ ๗๐

ปลายภาค ๒ ๓๐
รวม ๔๐ ๑๐๐
๖๐

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา ส๑๔๑๐๑ ชื่อวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ลำดับที่ ชื่อหน่วย สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนักคะแนน


การเรียนรู้ (ชั่วโมง)

๑ ศาสนานำชีวิตพิชิตสุข ศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจของศาสนิกชน การศึกษา ๑๒ ๑๔


พุทธประวัติ ประวัติ ประวัติศาสดาของศาสนาอื่น
ประวัติสาวกและคำสอนต่าง ๆ มาเป็นแบบอย่าง
ในการดำเนินชีวิต
๒ หลั ก ธรรมนำสู่ ค วาม การปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ศาสน ๑๐ ๑๒
สมานฉันท์ พิธี และพิธีกรรมในวันสำคัญของศาสนา ทำให้
สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสมานฉันท์

๓ คุณค่าของ เห็นคุณค่าของการฝึกปฏิบัติ การพัฒนาจิต ตาม ๖ ๘


การพัฒนาจิต แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือและชื่นชมการทำ
ความดีของผู้ปฏิบัติตามหลักการพัฒนาจิตของ
ศาสนา
๔ วิถีประชาธิปไตย การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ของ ๑๖ ๒๐
พลเมืองดีและเห็นความสำคัญของสิทธิเด็ก
เป็นการปฏิบัติตนตามวิถีประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
๕ สันติสุขบนความ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของคนในชุมชนต้อง ๖ ๘
แตกต่างทาง คำนึงถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่ม
วัฒนธรรม คนในท้องถิ่น

๖ เลือกซื้อเลือกใช้ด้วย การเลือกซื้อสินค้าและบริการต้องคำนึงถึงสิทธิ ๘ ๑๐
หัวใจที่พอเพียง พื้นฐานและการรักษาผลประโยชน์ของผู้บริโภค
โดยยึดหลักเศรษฐกิจการเงินของชุมชน
๗ เศรษฐกิจชุมชน อาชีพ สินค้าและบริการต่าง ๆ ที่ผลิต ในชุมชน ๖ ๘
มีความสำคัญกับระบบเศรษฐกิจการเงินของ
ชุมชน
๖๑

ลำดับที่ ชื่อหน่วย สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนักคะแนน


การเรียนรู้ (ชั่วโมง)

๘ จังหวัดของเรา แผนที่ ภาพถ่าย สามารถระบุลักษณะสำคัญทาง ๘ ๑๐


กายภาพแหล่งทรัพยากรเพื่อเชื่อมโยง ให้เห็น
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในจังหวัด

๙ รักษ์สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ๖ ๘
ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในจังหวัด จึงต้อง
ร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

รวมระหว่างปี ๗๗ ๗๐
ปลายภาค ๓ ๓๐
รวม ๘๐ ๑๐๐
๖๒

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา ส๑๕๑๐๑ ชื่อวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ชื่อหน่วย เวลา น้ำหนักคะแนน


ลำดับที่ การเรียนรู้ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ชั่วโมง)

๑. ศาสนานำชี วิ ต ศาสนาเป็นหลักในการพัฒนาชาติไทย การศึกษา


พิชิตสุข ๑๒ ๑๐
พุทธประวัติ ประวัติศาสดาองค์ประกอบของ
พระไตรปิฎกการประพฤติตนตามแบบพุทธสาวก
ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างด้วยความ
ศรัทธาเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
๒. หลั ก ธรรมนำสู่ การแสดงความเคารพและปฏิบัติตามหลักธรรม
ความสมานฉันท์ พิธีกรรมในศาสนพิธี ปฏิบัติตนในวันสำคัญทาง ๑๖ ๑๒
ศาสนา มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี เป็น
การธำรงรักษาศาสนา

๓. คุ ณ ค่ า ของการ การสวดมนต์ การแผ่เมตตา การทำสมาธิ ส่งผลดี


พัฒนาจิต ต่อการพัฒนาจิตและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ๓ ๓
๔. วิถีประชาธิปไตย การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ
๑๖ ๑๕
เสรีภาพ การปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่นจาก
การละเมิดสิทธิเด็ก รู้โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ของ
การปกครองส่วนท้องถิ่นบทบาท หน้าที่ และ
วิธีการเข้าดำรงตำแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น
ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เพื่อการดำรงชีวิตในสังคมอย่างสันติสุข

๕. การผลิต การผลิตสินค้าและบริการต้องเข้าใจและใช้
การบริการ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพตามแนวคิดของ ๘ ๘
แบบพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการของ
สหกรณ์
๖๓

ชื่อหน่วย เวลา น้ำหนักคะแนน


ลำดับที่ การเรียนรู้ สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (ชั่วโมง)

๖. ธนาคาร การเข้าใจสถาบันทางเศรษฐกิจ บทบาท


ธนาคารผลดีและผลเสียของการกู้ยืมเป็น ๖ ๖
ความจำเป็นในระบบเศรษฐกิจ
๗. ภูมิภาคของเรา การรู้ ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ลักษณะภูมิลักษณ์ที่
สำคัญในภูมิภาค ทำให้เข้าใจความสัมพันธ์ของ ๘ ๘
ลักษณะทางกายภาพ กับลักษณะทางสังคม ใน
ภูมิภาค

๘. รักษ์สิ่งแวดล้อม การเข้าใจสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ใน
ภูมิภาค อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ๘ ๘
ก่อให้เกิดการอนุรักษ์และรักษาสภาพแวดล้อม
รวมระหว่างปี ๗๗ ๗๐
ปลายภาค ๓ ๓๐
รวม ๘๐ ๑๐๐
๖๔

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา ส๑๖๑๐๑ ชื่อวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ชื่อหน่วย สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนักคะแนน


ลำดับที่
การเรียนรู้ (ชั่วโมง)
๑. ศาสนานำชีวิตพิชิตสุข ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ศาสนาที่ผู้เรียน
นับถือในฐานะของศาสนาประจำชาติการศึกษา ๑๐ ๘
และปฏิบัติตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและ
ข้อคิดจาก พุทธประวัติและประวัติศาสดา
ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชน
ตัวอย่าง ปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมในสถานที่
ต่างๆ ในศาสนสถานเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุข
๒. หลักธรรมนำสู่ความ การแสดงความเคารพพระรัตนตรัย
สมานฉันท์ การประกาศตนต่อสาธารณชนว่ายอมรับ ๑๕ ๑๒
พระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของศาสนา ตามมารยาทไทย
ในการเข้าร่วม ศาสนพิธีกรรมและกิจกรรม
ในวันสำคัญทางศาสนาต้องปฏิบัติให้เหมาะสม
ถูกกาลเทศะ มีอิทธิพลที่ผู้ปฏิบัติตาม สามารถ
นำไปแก้ปัญหาอบายมุขและสิ่งเสพติด ส่งผลให้
มีการสำรวม กาย วาจา ใจ เป็นการสืบทอด
วัฒนธรรมอันดีงาม

๓ การพัฒนาจิต เจริญ ศาสนามีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตที่ดีของบุคคล


ปัญญา ในประเทศ การพัฒนาจิตเจริญปัญญา ตาม ๖ ๖
แนวทางของศาสนาอย่างมีสติทำให้เกิดความสงบ
สุขในชีวิต

๔ ศาสนาในประเทศไทย ศึกษาหลักธรรมสำคัญของศาสนาอื่น ศาสนพิธี


พิธีกรรมของศาสนาอื่นๆ และปฏิบัติตนได้อย่าง ๖ ๖
เหมาะสมเมื่อต้องเข้าร่วมพิธี
๖๕

ชื่อหน่วย สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนักคะแนน


ลำดับที่
การเรียนรู้ (ชั่วโมง)
๕ กฎหมายใกล้ตัว การปฏิบัติตามกฎหมาย กิจกรรมส่งเสริม
ประชาธิปไตยทั้งในระดับท้องถิ่นและประเทศ ๘ ๑๐
การใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง เป็นปัจจัยสำคัญ
ของกระบวนการทางประชาธิปไตย ทำให้อยู่
ร่วมกันอย่างสันติสุข ส่งผลให้เกิดความมั่นคง
ในวิถีประชาธิปไตย
๖. ผู้ผลิต ผู้บริโภค บทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
ต้องคำนึง ถึงจรรยาบรรณและสิง่ แวดล้อม ๗ ๘
ส่งผลให้การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากร
อย่างมีประสิทธิภาพ และคุ้มค่าก่อให้เกิดผล
ต่อการดำเนินชีวิตอย่างดุลยภาพ และ
ผู้บริโภคต้องรู้เท่าทัน ในการบริโภคที่สง่ ผลให้
การบริหารจัดการทรัพยากรเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า
๗ ความสัมพันธ์ทาง ผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคาร และรัฐบาล มี
เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์กัน และมีความสำคัญต่อระบบ ๖ ๖
เศรษฐกิจการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจเป็นการ
บริหารจัดการเพื่อประสานประโยชน์ใน
ท้องถิ่น
๘. เครื่องมือทาง เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์เป็นสิ่งที่นำไปสู่การ
ภูมิศาสตร์ การค้นหาลักษณะสำคัญทางกายภาพและ ๖ ๖
สังคมของประเทศ ลักษณะทางกายภาพมีผล
ต่อปรากฏการณ์ธรรมชาติของประเทศ
๙. รักษ์สงิ่ แวดล้อม สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติทำให้เกิดสิ่งแวดล้อม
ทางสังคมในประเทศการดัดแปลงหรือ ๖ ๘
ปรับเปลี่ยนสภาพธรรมชาติมีผลต่อเศรษฐกิจ
สังคม อาชีพ วัฒนธรรม และประชากรใน
ประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน ควรวางแผน
การใช้ทรัพยากรบุคคลอย่างมีจิตสำนึกให้เกิด
ประสิทธิภาพ
รวมระหว่างปี ๗๗ ๗๐
ปลายภาค ๓ ๓๐
รวม ๘๐ ๑๐๐
๖๖

ภาคผนวก

You might also like