You are on page 1of 5

ที่มาและความสำคัญ

คอนกรีตเป็ นหนึ่งในวัสดุก่อสร้างที่มีความสำคัญมากที่สุด ในแต่ละปีอุตสาหกรรมคอนกรีตมีการ


ผลิตเป็ นจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ตามความต้องการของประชกร โดยเฉพาะ
ประเทศกำลังพัฒนาที่มีความต้องการใช้คอนกรีตจำนวนมาก ในขณะที่ปัจจุบันประเทศจีนและ
อินเดียมีความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ปริมาณมาก เพื่อตอบรับกับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะ
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อย่างไรก็ตามในความเป็ นจริงแล้วในการผลิตปูนชีเมนต์ 1 ตัน จะ
สร้างก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO ) มากถึง 0.96 ตัน สู้ชั้นบรรยากาศ (Gartner, 2004)
ในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์นั้นจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไชด์สู่บรรยากาศประมาณร้อยละ 5-8
ของการปล่อยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์จากแหล่งอื่นๆ ไม่เพียงเท่านั้นอุตสหกรรมปูนซีมณ์ต์ยัง
ได้ปล่อยกำมะถันออกไซด์ (SO ) และไนโตรเจนออกไซด์ (NO ) อีกด้วย ซึ่งก๊าซเหล่านี้เป็ น
สาเหตุของการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและยังทำให้เกิดฝนกรด (Rashad & Zeedan,
201) ดังนั้นการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ของภาคอุตสาหกรรมปูนซีมนต์ จึงมีความสำคัญเป็ นอย่างยิ่งทำให้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ
ดินขาวผาและวัสดุซีมนต์อื่นๆ มาใช้ในการแทนที่ปูนซีเมนต์หรือใช้เป็ นวัตถุดิบของการผลิตซี
มนต์ชนิดใหม่ ดินขาวผาสามารถทำปฏิกิริยาเคมีส่งผลต่อการปรับปรุงโครงสร้างจุลภาค ยิ่งไป
กว่านั้นยังส่งผลไปถึงสมบัติทางกลและความทนทานของคอนกรีต นอกเหนือจากการปรับปรุง
สมบัติทางกายภาพและทางเคมีแล้ว การใช้ดินขาวเผาหรือวัสดุซีมนต์อื่นๆ สามารถนำมาซึ่งการ
ลดการใช้ปูนซีมนต์ได้อีกทาง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาความต้องการใช้ปูนชีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในประเทศอินเดีย จีน และประเทศกำลัง
พัฒนาทั้งหลาย
2. เพื่อศึกษาการเกิดมลพิษในสิ่งแวดล้อมเนื่องจากการปล่อยก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ การ
พัฒนาวัสดุประสานชนิดใหม่เพื่อเป็ นทางเลือกเพิ่มเติมนอกเหนือจากปูนชีเมนต์ปอร์ตแลนด์
โดยใช้โซเดียมซิลิเกตและโซเดียมไฮดรอกไชด์
3. เพื่อศึกษา จีโอพอลิเมอร์ดินขาวเผาเป็ นวัสดุที่น่าสนใจนำมาใช้ในงานวิศวกรรมโยธาและ
ประยุกต์เข้ากับงานด้านโครงสร้า
สมมุติฐาน
1. การใช้สารทางเลือกก่อให้เกิดมลพิษ
2. ความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ในประเทศกำลังพัฒนามีจำนวนมาก
3. จีโอพอลิเมอร์สามารถใช้ทดแทนปูนซีเมนต์
ตัวแปร
ตัวแปรต้น
-ความเข้มข้นของสารกระตุ้น
-อัตราส่วนที่ใช้
ตัวแปรตาม
- กำลังอัดของจีโอเพอลิเมอร์
- การทำงานของจีโอพอลิเมอร์
ตัวแปรควบคุม
- ตัวกระตุ้น โซเดียมไฮดรอกไซด์และโซเดียมซิลิเกต
- ปริมาณสารที่ใช้
วิธีการทดลอง
ผลให้ไ.
1. Wang, Li, & Yan (2005) ได้ทำการศึกษาจีโอพอลิมอร์จากดินขาวเผาโดยการผสม
โซเดียมไฮดรอกไซด์ และโซเดียมซิลิเกตในอัตราส่วน 4.15: 1 โดยน้ำหนัก ซึ่งการศึกษานี้
เป็ นการใช้โซเดียมไฮดรอกไชด์ความเข้มข้น 4-14 โมลาร์ใน
2. Pacheco-Torgal, Moura, Ding, & Jalai (2011) สามารถสรุปได้ว่าการใช้ โซ
เดียมไฮดรอกไชด์ความเข้มข้น 12 โมลร์ทำให้กำลังอัดจีโอพอลิเมอร์ดินขาวเผามีกำลังอัดมาก
ที่สุด ทั้งนี้การใช้
ความเข้มข้นสูงเกินไปทำให้จีโอพอลิเมอร์ทำงานยากทำให้ส่งผลต่อกำลังอัด
3.Granizo, Blanco-Varela, & Martinez-Ramire/ (2007) ได้กล่าวว่าการใช้
โซเดียมชิลิเกตและโซเดียมไฮดรอกไซด์ผสมเข้าด้วยกันสามารถห้สมบัติทางกลได้ดีกว่าการใช้
โซเดียมไฮดรอกไชด์เพียงอย่างเดียว และยิ่งไปกว่านั้นค่ากำลังดัดสูงขึ้นเมื่อความเข้นข้นของ
โซเดียม (Na) สูงขึ้น Duxson, Provis, 4.Lukey, Mallicoat, Kriven, & van
Deventer (2005) รายงานว่าความเข้มข้นของสารละลายจะมีผลต่อการกระจายของรูโพรง
ในจีโอพอลิมอร์จากดินขาวเผา และผลของความเข้มข้นดังกล่าวยัง
ส่งผลทำให้ความหนาแน่นของโครงสร้างเจลล์ (gel ลดลง และยังรายงานเพิ่มเติมอีกว่ากำลัง
อัดของจีโอพอลิเมอร์จะเพิ่มขึ้นเป็ นเส้นตรงประมาณร้อยละ 400 เมื่ออัตราส่วน SJ/AI =
1.15 เพิ่มเป็ น 1.0 ซึ่งเป็ นค่าที่ให้กำลังอัดสูงสุด ก่อนที่กำลังอัดจะเริ่มลดลงที่อัตราส่วนของ
S/AI = 2.15 และเมื่อรายงานในรูปของอัตราส่วน SIO /AI O, พบว่าที่อัตราส่วน 3.0-3.8
สามารถให้กำลังอัดสูงสุด 50
5.ผลให้ได้กำลังอัดสูง Wang, Li, & Yan (2005) ได้ทำการศึกษาจีโอพอลิมอร์จาก
ดินขาวเผาโดยการผสมโซเดียมไฮดรอกไซด์ และโซเดียมซิลิเกตในอัตราส่วน 4.15: 1 โดย
น้ำหนัก จากการศึกษาพบว่าสมบัติทงกลดังภาพที่ 1 เช่นค่ากำลังอัด กำลังดัดและความหนา
แน่นของจีโอพอลิเมอร์ดีขึ้นเมื่อความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์เพิ่มขึ้น ซึ่งการศึกษานี้
เป็ นการใช้โซเดียม
ไฮดรอกไชด์ความเข้มข้น 4-14 โมลาร์ในการศึกษาของ Pacheco-Torgal, Moura,
Ding, & Jalai (2011) สามารถสรุปได้ว่าการใช้โซเดียมไฮดรอกไชด์ความเข้มข้น 12 โม
ลร์ทำให้กำลังอัดจีโอพอลิเมอร์ดินขาวเผามีกำลังอัดมากที่สุด ทั้งนี้การใช้ความเข้มข้นสูงเกินไป
ทำให้จีโอพอลิเมอร์ทำงานยากทำให้ส่งผลต่อกำลังอัด
6. Granizo, Blanco-Varela, & Martinez-Ramire/ (2007) ได้กล่าวว่าการใช้
โซเดียมชิลิเกตและโซเดียมไฮดรอกไซด์ผสมเข้าด้วยกันสามารถห้สมบัติทางกลได้ดีกว่าการใช้
โซเดียมไฮดรอกไชด์เพียงอย่างเดียว และยิ่งไปกว่านั้นค่ากำลังดัดสูงขึ้นเมื่อความเข้นข้นของ
โซเดียม (Na) สูงขึ้น Duxson, Provis, Lukey, Mallicoat, Kriven, & van
Deventer (2005) รายงานว่าความเข้มข้นของสารละลายจะมีผลต่อการกระจายของรูโพรง
ในจีโอพอลิมอร์จากดินขาวเผา และผลของความเข้มข้นดังกล่าวยัง
ส่งผลทำให้ความหนาแน่นของโครงสร้างเจลล์ (gel ลดลง และยังรายงานเพิ่มเติมอีกว่ากำลัง
อัดของจีโอพอลิเมอร์จะเพิ่มขึ้นเป็ นเส้นตรงประมาณร้อยละ 400 เมื่ออัตราส่วน SJ/AI =
1.15 เพิ่มเป็ น 1.0 ซึ่งเป็ นค่าที่ให้กำลังอัดสูงสุด ก่อนที่กำลังอัดจะเริ่มลดลงที่อัตราส่วนของ
S/AI = 2.15 และเมื่อรายงานในรูปของอัตราส่วน SIO /AI O, พบว่าที่อัตราส่วน 3.0-3.8
สามารถให้กำลังอัดสูงสุด.
สรุปผล
การใช้ดินขาวเผาเป็ นวัสดุตั้งต้นในการผลิตจิโอพอลิเมอร์ ที่มีการศึกษาในเชิงลึกโดยนักวิจัย
จากทั่วโลกนั้น สามารถ
สรุปในประเด็นต่างๆ ได้ดังนี้
1. อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเผาดินขาวอยู่ในช่วง 700-900 องศาเซลเชียสขึ้นอยู่กับแหล่ง
กำเนิดของดินขาว
2. ดินขาวต้องมีการเผาอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ขึ้นไป เป็ นที่น่าสังเกตว่าการเผาเป็ นเวลานานไม่มี
ผลต่อกำลังอัดของจีโอ
พอลิเมอร์
3. ค่ากำลังอัดสูงขึ้นเมื่อขนาดอนุภาคละเอียดมากขึ้นความละเอียดที่ส่งผลโดยตรงพื้นที่ผิวมี
ผลอย่างมากต่อกำลังอัด
4. ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไชด์ที่ 12 โมลาร์มีความเหมาะสมที่สุด
5. อัตราส่วนโดยโมลาร์ของ SI0 /A1 0 , ที่เหมาะสมที่สุดอยู่ในช่วงประมาณ 3-5
6. อัตราส่วนของเหลวต่อของแข็งที่ 0.8 โดยน้ำหนัก สามารถให้กำลังได้ดีที่สุด
7. การบ่มที่อุณหภูมิ 60-80 องศาเซลเซียส สามารถกำลังสูงช่วงต้นทันที ในขณะที่บ่ม
อุณหภูมิต่ำ กำลังกำลังจะค่อยๆ
เพิ่มขึ้น

You might also like