You are on page 1of 12

Probability 1

เซต (Sets)
เซต เป็ นค ำที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ห้ นิ ย ำม เรำมั ก จะใช้ เ ซตแทนสิ่ งที่ อ ยู่ ร่ วมกั น ซึ่ งหมำยถึ ง กลุ่ ม ของสิ่ งของต่ ำ งๆ
ที่เรำสำมำรถกำหนดสมำชิกชัดเจน

กำรดำเนินกำรของเซต (Operation on Set)


1. ยูเนียน (Union) 2. อินเตอร์เซกชัน (Intersection)
A  B = x  U | x  A  x  B A  B = x  U | x  A  x  B

3. ผลต่ำง (Difference) 4. คอมพลีเมนต์ (Complement)


A − B = x  U | x  A  x  B A C = x  U | x  A

5. เซตย่อย (Subset)
AB

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 2

ความน่ าจะเป็ น (Probability)


การทดลองสุ่ ม (Random experiment) ในทำงสถิติ หมำยถึง กำรทดลองใดๆ ที่เป็ นไปอย่ำงสุ่ม โดยที่กำร
ทดลองใดๆ นั้น เรำไม่ ท รำบว่ ำ จะเกิ ด เหตุ ก ำรณ์ ใ ดขึ้ น ทรำบเพี ย งผลลัพ ธ์ ที่ เ ป็ นไปได้ท้ ัง หมดของ
เหตุกำรณ์วำ่ มีอะไรบ้ำง เช่น กำรทดลองโยนเหรี ยญ 1 เหรี ยญ 2 ครั้ง, กำรทดลองโยนลูกเต๋ ำ 1 ลูก 1 ครั้ง
ปริภูมิตัวอย่ าง (Sample Space) หมำยถึง เซตของเหตุกำรณ์ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมด นิยมเขียนแทนด้วย S
เหตุการณ์ (Event) หมำยถึง เซตย่อย (Subset) ของ Sample Space
ตัวอย่าง 1 กำรทดลองโยนเหรี ยญ 1 เหรี ยญ 2 ครั้ง สนใจหน้ำของเหรี ยญ เรำไม่ทรำบว่ำในกำรโยนเหรี ยญ
ครั้งนั้นจะออกหัว (H) หรื อ ก้อย (T) แต่ทรำบผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมด คือ HH, HT, TH, TT
ดังนั้น Sample Space S = HH, HT, TH, TT
ตัวอย่าง 2 กำรทดลองโยนลูกเต๋ ำ 1 ลูก 1 ครั้ง สนใจแต้มของลูกเต๋ ำ เรำไม่ทรำบว่ำในกำรโยนลูกเต๋ ำครั้งนั้น
จะออกแต้มอะไร แต่ทรำบผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมด คือแต้ม 1, 2 , 3, 4, 5, 6
ดังนั้น Sample Space S = 1, 2, 3, 4, 5, 6

ความน่ า จะเป็ น (Probability) คือ โอกำสที ่ จ ะเกิ ด เหตุก ำรณ์ น้ ั น ๆ ค่ำ ควำมน่ ำ จะเป็ นนิ ย มเขีย นอยู่ใ นรู ป
สัดส่ วนหรื อทศนิ ยม และ ค่ำของควำมน่ ำจะเป็ นนั้นจะอยู่ในช่วง 0 ถึง 1
โดยที่ 0 หมำยถึ ง ไม่เกิ ดเหตุกำรณ์ น้ ันแน่ นอน และ 1 หมำยถึ ง เกิ ดเหตุกำรณ์ น้ ันแน่ นอน
ควำมน่ำจะเป็ นของเหตุกำรณ์ A
n (A)
P (A) =
n ( S)
โดยที่ n ( A ) คือ จำนวนเหตุกำรณ์ A และ n (S) คือ จำนวนเหตุกำรณ์ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมด
ความสัพพจน์ ของความน่ าจะเป็ น
1. P ( A )  0 เสมอ
2. P (S) = 1
3. ถ้ำ A , A , ..., A เป็ นเหตุกำรณ์ที่ไม่เกิดร่ วมกัน (mutually exclusive events)
1 2 n

A i  A j =  โดยที่ i  j ; i, j = 1, 2, ..., n
 n 
จะได้วำ่
n
P  Ai  =
 i =1 
 P (A )
i =1
i

กฏเบื้องต้นของความน่ าจะเป็ น
1. P ( A  B) = P ( A ) + P ( B ) − P ( A  B )
2. P ( A  B) = P ( A ) + P ( B )
3. P ( A  B  C ) = P ( A ) + P ( B ) + P ( C ) − P ( A  B ) − P ( A  C ) − P ( B  C ) + P ( A  B  C )
4. P ( A ) = 1 − P ( A )
C

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 3

แบบฝึ กหัด1
1. ไพ่สำรับหนึ่งมี 52 ใบ สุ่มหยิบไพ่มำ 1 ใบ จงหำควำมน่ำจะเป็ นควำมเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1.1 สุ่มได้ไพ่ A

1.2 สุ่มได้ไพ่ J หรื อ Q หรื อ K

2. กำรทดลองโยนลูกเต๋ ำ 1 ลูก 1 ครั้ง สนใจแต้มของลูกแต้ม จงหำควำมน่ำจะเป็ นควำมเงื่อนไขดังต่อไปนี้


2.1 เกิดแต้ม 2

2.2 เกิดแต้มมำกกว่ำเท่ำกับ 5

2.3 เกิดแต้มน้อยกว่ำเท่ำกับ 6

3. ในห้องเรี ยนหนึ่งมีเด็กผูช้ ำย 10 คน และ เด็กผูห้ ญิง 20 คน ครึ่ งนึงของชำยและหญิงสำยตำสั้น จงหำควำม


น่ำจะเป็ นเมื่อเลือกเด็กนักเรี ยนมำ 1 คน ตำมเงื่อนไขดังต่อไปนี้
3.1 เป็ นเด็กผูช้ ำยสำยตำสั้น

3.2 เป็ นด็กผูห้ ญิงสำยตำปกติ

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 4

ความน่ าจะเป็ นแบบมีเงื่อนไข (Conditional Probability)


ความน่ าจะเป็ นแบบมีเงื่อนไข (Conditional Probability)
ถ้ำ A และ B เป็ นเหตุกำรณ์ใดๆ ใน S ควำมน่ำจะเป็ นที่จะเกิดเหตุกำรณ์ A เมื่อ B เกิดขึ้นแล้ว
P ( A  B)
P ( A | B) = โดยที่ P ( B )  0
P ( B)

คุณสมบัตคิ วามน่ าจะเป็ นแบบมีเงื่อนไข


1. P ( A | B )  0 เสมอ
2. P (S | B ) = 1
3. ถ้ำ A , A , ..., A เป็ นเหตุกำรณ์ที่ไม่เกิดร่ วมกัน (mutually exclusive events)
1 2 n

A  A =  โดยที่ i  j ; i, j = 1, 2, ..., n
i j

จะได้วำ่ P  
n n

 i =1
Ai | B  =

 P (A
i =1
i | B)

ตัวอย่างที่ 1 ในกำรทดลองทอยลุกเต๋ ำที่ไม่เที่ยงตรง 1 ลูก พบว่ำแต้มของลูกเต๋ ำออกเฉพำะแต้มคู่ จึงอยำก


ทรำบควำมน่ำจะเป็ นที่จะทอยลูกเต๋ ำได้แต้ม 2 มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด

ตัวอย่ างที่ 2 ธนำคำรแห่งหนึ่งได้พบว่ำโอกำสที่ลูกหนี้ จะกูย้ ืมมำกกว่ำหนึ่ งแสนบำทเท่ำกับ 0.4 โอกำสที่จะ


เบี้ยวชำระหนี้ จำกกำรกูย้ ืมเท่ำกับ 0.2 โอกำสที่ลูกหนี้จะกูย้ มื มำกกว่ำหนึ่งแสนบำทและเบี้ยวชำระหนี้ เท่ำกับ
0.15 ถ้ำบริ ษทั ประกันภัยปล่อยกู้ แล้วทรำบว่ำลูกหนี้จะกูย้ มื ไม่เกินหนึ่ งแสนบำทจงหำควำมน่ำจะเป็ นจะเบี้ยว
ชำระหนี้

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 5

ทฤษฎี กฎการคูณ (Law of Multiplication)


P ( A  B) = P ( A ) P ( B | A ) ; P ( B)  0

P ( A  B) = P ( B) P ( A | B) ; P ( A )  0

; P ( A )  0 และ P ( A  B)  0
P ( A  B  C ) = P ( A ) P ( B | A ) P ( C | A B )

จากทฤษฎีที่กล่าวมา ถ้ามีเหตุกำรณ์ A , A ,..., A จะได้วำ่


1 2 n

P ( A1  A 2  ...  A n −1  A n ) = P ( A1 ) P ( A 2 | A1 ) P ( A 3 | A1  A 2 ) ..... P ( A n | A1  A 2  ...  A n −1 )

ตัวอย่างที่ 3 ทำกำรทดลองสุ่มไพ่ 3 ใบ จำกสำรับที่มี 52 ใบ แบบไม่ใส่คืน จงหำควำมน่ำจะเป็ นที่ใบแรกสุ่ ม


ได้คิง ใบที่สองสุ่มได้แจ็ค และใบที่ 3 สุ่มได้เอซโพดำ

แบบฝึ กหัด 2
1. ถ้ า A และ B เป็ นเหตุ ก ารณ์ ใ ดๆ 1 1
P ( A) = , P ( B ) = , P ( A  B ) =
1
จงหา ,
P ( B | A) P ( A  B ) ,
3 2 4
, ,
P ( A | B  ) P ( A | B  ) P ( B  | A )

2. โอกาสที่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ จะสอบตกวิชาฟิ สิ กส์ เป็ น 0.5 โอกาสที่นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์


จะสอบตกวิช าเคมี เป็ น 0.4 และโอกาสที่ นัก ศึ ก ษาคณะวิ ท ยาศาสตร์ จะสอบตกทั้ง สองวิ ช าเป็ น 0.3
ถ้าสุ่มนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์มา 1 คน จงหา
ก. ความน่าจะเป็ นที่เขาจะสอบตกวิชาฟิ สิ กส์ถา้ เขาทราบว่าวิชาเคมีสอบตกแล้ว

ข. ความน่าจะเป็ นที่เขาจะสอบตกวิชาฟิ สิ กส์หรื อสอบได้วิชาเคมี

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 6

3. บริ ษทั แห่ งหนึ่ งต้องการศึกษาวิธีการชาระเงินค่าสิ นค้าของลูกค้าว่ามีความสัมพันธ์จานวนเงินที่ชาระ


สิ นค้า หรื อไม่ จึงได้รวบรวมข้อมูลจานวนลูกค้า แสดงดังในตารางต่อไปนี้
จานวนเงิน วิธีการชาระเงิน
รวม
ในการซื้อสิ นค้า เงินสด บัตรเครดิต
ไม่เกิน 1,000 บาท 100 30 130
มากกว่า 1,000 บาท 60 110 170
รวม 160 140 300
ถ้ำทำกำรสุ่มลูกค้ำมำ 1 คน
ก. จงหำควำมน่ำจะเป็ นลูกค้ำชำระเงินสด เมื่อทรำบว่ำลูกค้ำคนนี้ซ้ือสิ นค้ำไม่เกิน1000 บำท

ข. จงหำควำมน่ำจะเป็ นลูกค้ำไม่ชำระเงินสด เมื่อทรำบว่ำลูกค้ำคนนี้ซ้ือสิ นค้ำมำกกว่ำ 1000 บำท

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 7

เหตุการณ์ ที่เป็ นอิสระต่อกัน (Indendent)


ถ้ำ กำรเกิ ด ขึ้ น ของเหตุ ก ำรณ์ (A หรื อ B) ไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ เหตุ ก ำรณ์ (B หรื อ A) ดัง นั้ น จะได้ ว่ ำ
P ( A | B ) = P ( A ) หรื อ P ( B | A ) = P ( B )
P ( A  B) P ( A  B)
จำก P ( A | B) = − − − (1) P (B | A) = − − − ( 2)
P ( B) P (A)
P ( A  B) P ( A  B)
P (A) = P ( B) =
P ( B) P (A)
P ( A  B ) = P ( A ) P ( B) P ( A  B ) = P ( A ) P ( B)

จำกกำรพิสูจน์สรุ ปได้วำ่ A และ B เป็ นเหตุกำรณ์ที่อิสระต่อกัน ก็ต่อเมื่อ


P ( A  B ) = P ( A ) P ( B)

และจากทฤษฎีที่กล่าวมา ถ้ามีเหตุกำรณ์ A , A ,..., A เป็ นอิสระต่อกัน n เหตุการณ์ ก็ต่อเมื่อ


1 2 n

 n

P  A i  = P ( A1  A 2  ...  A n )
 i =1 
= P ( A1 )  P ( A 2 )  ...  P ( A n )
n
=  P (A )
i=
i

ตัวอย่ างที่ 4 จำกข้อมูลกำรวิจยั เกี่ยวกับผูท้ ี่ติดสุ รำและผูท้ ี่ เมำแล้วขับของคนในเมืองพบว่ำ ผูท้ ี่ติดสุ รำเป็ น
ร้อยละ 20 ผูท้ ี่เมำแล้วขับเป็ นร้อยละ 10 ผูท้ ี่ติดสุ รำทั้งหมดเป็ นผูท้ ี่เมำแล้วขับเป็ นร้อยละ 5 อยำกทรำบว่ำกำร
ติดสุรำมีควำมสัมพันธ์กบั กำรเมำแล้วขับหรื อไม่
ทฤษฎี ส่ วนเติมเต็มของเหตุการณ์ ที่เป็ นอิสระต่ อกัน
ถ้ำทรำบว่ำ A และ B เป็ นเหตุกำรณ์เป็ นอิสระต่อกันจะได้ว่ำ
A และ B  เป็ นอิสระต่อกัน ดังนั้น P ( A  B ) = P ( A ) P ( B )

A  และ B เป็ นอิสระต่อกัน ดังนั้น P ( A  B ) = P ( A  ) P ( B )

A  และ B  เป็ นอิสระต่อกัน ดังนั้น P ( A  B ) = P ( A ) P ( B )

แบบฝึ กหัด3
1. ชายคนหนึ่งมีความน่าจะเป็ นที่จะยิงปี นเข้าเป้าเท่ากับ 0.6 ถ้าชายคนนี้ทาการยิงปี นจานวน 4 ครั้ง จง
หาความน่าจะเป็ นตามเงื่อนไขต่อไปนี้
1.1 ชายคนนี้ยงิ ปี นเข้าเป้าทั้งหมด

1.2 ชายคนนี้ยงิ ปี นเข้าเป้าครั้งแรกและครั้งสุ ดท้าย

1.3 ชายคนนี้ยงิ ปื นเข้าเป้า 2 ครั้ง

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 8

2. ฝ่ ำยสิ นเชื่อของธนำคำรแห่ งหนึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลลูกค้ำที่ขอสิ นเชื่อ ได้ขอ้ มูลดังนี้


วิธีคิดอัตรำดอกเบี้ย อำคำรชุด ทำวเฮำส์ บ้ำนเดี่ยว รวม
แบบลอยตัว 0.21 0.40 0.09 0.70
แบบคงที่ 0.09 0.10 0.11 0.30
รวม 0.30 0.50 0.20 1.00
จงตรวจสอบว่ำประเภทของบ้ำนที่ขอสิ นเชื่ออิสระต่อวิธีคิดอัตรำดอกเบี้ยหรื อไม่

ทฤษฎีของเบย์ (Bayes' Theorem)


กำหนดให้ A , A , ..., A เป็ นส่ วนแบ่งกั้นใน S คือ
1 2 n Ai  A j =  โดยที่ i  j ; i, j = 1, 2, ..., n และ
B เป็ นเหตุกำรณ์ใน S ซึ่ง P ( B)  0

P ( AK | B) =
P ( AK ) P ( B | AK )
n

 P (A ) P (B | A )
i =1
i i

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 9

แบบฝึ กหัด
1. บริ ษทั ผลิตขวดน้ ำส่ งออก มีเครื่ องจักร 4 เครื่ อง โดยเครื่ องที่ 1, 2, 3 และ 4 ผลิตขวดน้ ำได้ 25%, 45%,
20% และ 10% ตำมลำดับ จำกข้อมูลกำรผลิ ตพบว่ำ แต่ละเครื่ องจะมี ขวดน้ ำที่ ผลิ ตไม่ไ ด้คุ ณภำพ ซึ่ ง
เครื่ องที่ 1, 2, 3 และ 4 มี ขวดน้ ำที่ ผลิ ตแล้วไม่ได้คุณภำพอยู่ 1%, 3%, 2% และ 1% ตำมลำดับ หำกสุ่ ม
หยิบขวดน้ ำมำ 1 ขวด พบว่ำเป็ นชิ้นที่ได้คุณภำพ
1.1 จงหำควำมน่ำจะเป็ นที่ขวดน้ ำดังกล่ำวจะผลิตด้วยเครื่ องที่ 1
1.2 จงหำควำมน่ำจะเป็ นที่ขวดน้ ำดังกล่ำวจะผลิตด้วยเครื่ องที่ 3

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 10

2. โรงงำนผลิตชำเขียวพร้อมดื่มมีโรงงำนผลิต 3 โรงงำน โดยโรงงำนที่ 1, 2 และ3 ผลิตสิ นค้ำได้ 10 %,


30% และ 60% ของปริ มำณกำรผลิตทั้งหมดของโรงงำน ในกำรผลิตชำเขียวจะมีบำงขวดที่มีปริ มำตร
บรรจุไม่เป็ นไปตำมที่ตอ้ งกำร ซึ่ งโรงงำนที่ 1 , 2 และ 3 มีจำนวนชำเขียวที่มีปริ มำตรบรรจุไม่เป็ นไป
ตำมที่ตอ้ งกำรอยู่ 2% , 4% และ 1% ตำมลำดับ หำกสิ นค้ำทั้งหมดที่ผลิตได้ถูกเก็บรวมไว้ในโกดังสิ นค้ำ
ผูจ้ ดั กำรทัว่ ไป สุ่ มหยิบชำเขียวมำ 1 ขวดจำกโกดังพบว่ำมีปริ มำตรบรรจุที่ไม่เป็ นไปตำมที่ตอ้ งกำร จง
หำควำมน่ำจะเป็ นที่ชำเขียวขวดนั้นจะผลิตจำกโรงงำนที่ 2

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 11

3. นักเรี ยนห้องที่ 1, 2, 3 และ4 มีจานวน 50 คน, 50 คน, 40 คน และ 60 คนตามลาดับในแต่ละห้องมีนกั เรี ยนที่มี
เกรดเฉลี่ยเกิน 3.5 อยู่ 30%, 20%, 10% และ 5% ตามลาดับ หากสุ่ มนักเรี ยนมา 1 คน แล้วพบว่านักเรี ยนคน
นั้นมีเกรดเฉลี่ยเกิน 3.5 จงหา
3.1 ความน่าจะเป็ นที่จะเป็ นนักเรี ยนจากห้องที่ 1
3.2 ความน่าจะเป็ นที่จะเป็ นนักเรี ยนจากห้องที่ 2
3.3 ความน่าจะเป็ นที่จะเป็ นนักเรี ยนจากห้องที่ 3
3.4 ความน่าจะเป็ นที่จะเป็ นนักเรี ยนจากห้องที่ 4

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat


Probability 12

4. บริ ษทั หนึ่ งใช้วิธีเก็บเงิ นลูกหนี้ คา้ งชาระ 3 วิธี คือ วิธีพบส่ วนตัว 60% ติดต่อทางโทรศัพท์ 25% และ
ส่ ง จดหมายทวงถาม 15% โอกาสที่ จ ะสั ม ฤทธิ์ ผลแต่ ล ะเป็ นร้ อ ยละ 80%, 50%, 40% ตามล าดั บ
ถ้าบริ ษทั เพิ่งได้รับชาระหนี้จากลูกค้าคนหนึ่ง
4.1 จงหาความน่าจะเป็ นที่จะเป็ นการทวงถามแบบพบส่วนตัว
4.2 จงหาความน่าจะเป็ นที่จะเป็ นการทวงถามทางโทรศัพท์
4.3 จงหาความน่าจะเป็ นที่จะเป็ นการทวงถามทางจดหมาย

ไม่อนุญาติให้นาเอกสารไปเผยแพร่ เพื่อใช้ในการหาผลประโยชน์หรื อหวังผลกาไรใดๆทั้งสิ้น TG Tutor Stat

You might also like