You are on page 1of 28

บทที่ 4

อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ

“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานพระราชดาริว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพี ย ง


และได้ให้แนวคิดในการทาเกษตรผสมผสานซึ่งเป็นแนวทางหลักหรือหลักในการบริหารจัดการที่ดิน และน้า
สาหรับการทาเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งการจัดการพื้นที่จะแบ่งพื้นที่ออกเป็น
30 : 30 : 30 : 10 กล่าวคือ แบ่งพื้นที่เพื่อขุดน้าประมาณ 30% ท านา 30% ปลู ก พื ช ไร พื ช สวน 30%
และเป็นที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ ประมาณ 10%”
จากข้อความข้างต้นมีการกล่าวถึง “อัตราส่วน” และ “ร้อยละ” ซึ่งจากข้อความดังกล่าวแล้ว เรา
อาจพบข้อความอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสองคาดังกล่าวอีก เช่น
ในถนนคนเดิ นอาจเห็ นป้ า ย “น้ าส้ ม 3 ขวด 50 บาท” หรื อ ในการสั่ ง ซื้ อ สิ นค้ า ออนไลน์
“เครื่องยนต์ปั๊มน้า อุปกรณ์การเกษตร รุ่นxxx ลดราคา 18% จากราคา 5,150 บาท”
ดังนั้นเพื่อความเข้าใจในความหมายของข้อความข้างต้นมากยิ่งขึ้น ในบทนี้จะกล่ าวถึงความหมาย
และตัวอย่างเกี่ยวกับ อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ ต่อไป

4.1 อัตราส่วน
“วิธีใช้น้าหมักชีวภาพสูตร A ให้นาน้าหมักชีวภาพจานวน 0.1 ลิต ร ผสมกั บ น้ า 10 ลิ ต ร” จาก
ข้อความนี้เป็นความสัมพันธ์ของปริมาณน้าหมัก ชีวภาพกับปริมาณน้า
“เงาะโรงเรียน 3 กิโลกรัม 100 บาท” จากข้อความนี้เป็นความสัมพันธ์ของปริมาณเงาะกับราคา
จะเห็นว่าข้อความทั้งสองข้างต้นเป็นข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ของปริมาณสองปริมาณซึ่งอาจ
มีหน่วยหน่วยเดียวกันหรือต่างกัน

อัตราส่วน (ratio) คือ ความสัมพันธ์ที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณ ซึ่ ง ปริ ม าณทั้ ง


สองอาจมีหน่วยเดียวกันหรือ ต่างกันก็ได้

x
อัตราส่วนของปริมาณ x ต่อปริมาณ y เขียนแทนด้วย x:y หรือ โดยที่ x และ y เป็น
y
จานวนจริงบวก เรียก x ว่าจานวนแรกหรือจานวนที่หนึ่งของอัตราส่ ว น และเรี ย ก y ว่ า จ านวนหลั ง
หรือจานวนที่สองของอัตราส่วน
125

ในการเขียนอัตราส่วนนั้น ตาแหน่งของจานวนในอัตราส่วนมีความสาคั ญ กล่ า วคื อ เมื่ อ x y


แล้วอัตราส่วน x : y ไม่ใช่อัตราส่วนเดียวกันกับ y : x

พิจารณาข้อความที่กาหนดแล้วเขียนอัตราแสดงความสัมพันธ์
ตัวอย่างที่ 1 วิธีใช้น้าหมักชีวภาพสูตร A ให้นาน้าหมักชีวภาพจานวน 0.1 ลิตร ผสมกับน้า 10 ลิตร
อัตราส่วนของปริมาณน้าหมักชีวภาพต่อปริมาณน้าเป็น 0.1 : 10
ตัวอย่างที่ 2 มะม่วงทองดา 3 ผล มะม่วงมหาชนก 2 ผล
อัตราส่วนของจานวนมะม่วงทองดากับมะม่วงมหาชนกเป็น 3 : 2
ตัวอย่างที่ 3 เงาะโรงเรียน 3 กิโลกรัม 100 บาท
อัตราส่วนของน้าหนักเงาะเป็นกิโลกรัมต่อราคาเงาะโรงเรียนเป็นบาท เป็น 3 : 100
ตัวอย่างที่ 4 บ่อปลากว้าง 2 เมตร ยาว 450 เซนติเมตร
อัตราส่วนของความกว้างเป็นเมตรต่อความยาวเป็นเซนติเมตร เป็น 2 : 450
ตัวอย่างที่ 5 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ซีซีพี มีผลผลิตเฉลี่ย 1,500 กิโลกรัมต่อไร่
อัตราส่วนของน้าหนักผลผลิตเป็นกิโลกรัมต่อพื้นที่เป็นไร่ เป็น 1500 : 1
ตัวอย่างที่ 6 ค่าแรงงานในการทางานวันละ 450 บาท
อัตราส่วนของจานวนวันในการทางานเป็นวันต่อค่าแรง เป็น 1 : 450

การเขียนอัตราส่วนแสดงความสัมพันธ์ของปริมาณอาจแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้


1. อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบสองปริมาณที่มี ห น่ ว ยเหมื อ นกั น เมื่ อ เขี ย นให้ อ ยู่ ใ นรู ป
อัตราส่วนแล้วไม่จาเป็นต้องเขียนหน่วยกากับไว้ เช่น อัตราส่วนของปริมาณน้าหนักชีวภาพต่อปริ ม าณน้ า
0.1 : 10
2. อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่มีหน่วยเหมือนกัน เมื่อเขียนให้อยู่ ใ น
รูปอัตราส่วนแล้ว จะต้องเขียนหน่วยกากับไว้ที่คาอธิบาย เช่น อัตราส่วนของน้าหนักผลผลิตเป็นกิโลกรั ม
ต่อพื้นที่เป็นไร่ เป็น 1,500 : 1 หรืออาจเขียนหน่วยกากับไว้ ใ นอั ต ราส่ ว นเช่ น อั ต ราส่ ว นของน้ าหนั ก
ผลผลิตต่อพื้นที่เป็น 1,500 กิโลกรัม : 1 ไร่ และนอกจากนี้ เ รายั ง ใช้ ค าว่ า อั ต รา (rate) แทนค าว่ า
อัตราส่วน ที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณ เช่น อัตราเฉลี่ยของผลผลิตช้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์
ซีซีพี 1,500 กิโลกรัมต่อไร่ อัตราค่าแรงงาน 330 บาทต่อวัน อั ต ราค่ า โดยสาร 100บาทต่ อ เที่ ย ว
เป็นต้น
นอกจากการเขียนอัตราส่วนในข้างต้นแล้วยังมีการใช้คาว่า มาตราส่ ว น (scale) เพื่ อ แสดงการ
เปรียบเทียบระยะทางในแผนทีหรือแผนผังกับระทางจริง ซึ่งมาตราส่วนอาจจะแสดงการเปรี ย บเที ย บใน
หน่วยเหมือนกัน หรือหน่วยต่างกันก็ได้ เช่น ในแบบแปลนบ้านแสดงมาตราส่ ว นก ากั บ ไว้ เ ป็ น 1 : 100
126

หมายความว่า ถ้าวัดระยะในแผนที่ได้ 1 เซนติเมตร ระยะจริงจะเท่ากับ 100 เซนติ เ มตร หรื อ ในแผนที่


แสดงมาตราส่วน 1 เซนติเมตร : 2 กิโลเมตร หมายความว่ า ระยะทางในแผนที่ 1 เซนติ เ มตร แทน
ระยะทางจริง 2 กิโลเมตร

4.1.1 อัตราส่วนที่เท่ากัน

“ในการปลูกข้าวอินทรีย์ มีการเตรียมดินโดยการไถกลบต้นปุ๋ยพืชสดก่อนการปลูกข้าว ซึ่งอาจจะ


ปลูกต้นโสนอัฟริกัน โดยพื้นที่ 1 ไร่ ใช้เมล็ดพันธุ์ต้นโสนอัฟริกัน 7 กิโลกรัม ”
จากข้อความดังกล่าว สามารถเขียนอัตราส่วนพื้นที่เป็นไร่ต่อปริมาณเมล็ดพันธุ์เป็น กิโลกรับ เป็น
1:7
หากสุชาติมีที่ดิน 5 ไร่ จะต้องใช้เมล็ดพันธุ์ต้นโสนอัฟริกัน ดังนี้

พื้นที่ (ไร่) 1 2 3 4 5

ปริมาณเมล็ดพันธุ์ต้นโสนอัฟริกัน (กิโลกรัม) 7 14 21 28 35

จากตารางสังเกตว่า อัตราส่วนของพื้นที่เป็นไร่ต่อปริมาณเมล็ดพันธุ์ต้นโสนอัฟริกันเป็น กิโลกรัม


เป็น
1 : 7 หรือ 2 : 14 หรือ 3 : 21 หรือ 4 : 28 หรือ 5 : 35

ซึ่งอัตราส่วนเหล่านี้ได้มาจากการใช้ปริมาณเมล็ดพันธุ์ต้นโสนอัฟริกันในพื้นที่แบบเดียวกัน คือ
พื้นที่ 1 ไร่ ใช้เมล็ดพันธุ์ต้นโสนอัฟริกัน 7 กิโลกรัม
พิจารณา อัตราส่วน 2 : 14 สามารถเขีย นได้เป็น 1  2 : 7  2
อัตราส่วน 3 : 21 สามารถเขียนได้เป็น 1  3 : 7  3
อัตราส่วน 4 : 28 สามารถเขียนได้เป็น 1  4 : 7  4
อัตราส่วน 5 : 35 สามารถเขียนได้เป็น 1  5 : 7  5
นอกจากนี้ อัตราส่วน 1 : 7 สามารถเขียนได้เป็น 2  2 : 14  2
หรือ 3  3 : 21  3
หรือ 4  4 : 28  4
หรือ 5  5 : 35  5
127

และจากที่ทราบแล้วว่า อัตราส่วนของปริมาณ x ค่าปริมาณ y เขียนแทนด้วย x: y หรือ


x
ดังนั้น เราอาจเขียนอัตราส่วนของพื้นที่เป็นไร่ต่อปริมาณเมล็ดพันธุ์เป็นกิโลกรัม เป็น 1 ซึ่งการเขียน
y 7
อัตราส่วนในรูปเศษส่วนนี้ทาให้สะดวกต่อการนาไปใช้คานวณ นั่นคือ
1 1 2 2
 
7 7  2 14
1 1 3 3
 
7 7  3 21
1 1 4 4
 
7 7  4 28
1 1 5 5
 
7 7  5 35

2 22 1
หรือ  
14 14  2 7
3 33 1
 
21 21  3 7
4 44 1
 
28 28  4 7
5 55 1
 
35 35  5 7

จะเห็นว่า อัตราส่วนที่ได้จากการคูณจานวนแรกและจานวนหลังของอัตราส่วน x : y ด้วย


จานวนเดียวกัน โดยที่จานวนนั้นไม่ใช่ศูนย์ หรือการหารจานวนแรกและจานวนหลังของอัตราส่วน
x : y ด้วยจานวนเดีย วกัน โดยที่จานวนนั้นไม่ใช่ศูนย์ จะเป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน กับอัตราส่วน x : y
ดังนั้น
1:7  2:14  3:21  4:28  5:35
1 2 3 4 5
หรือ    
7 14 21 28 35

การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กาหนด ทาได้ 2 วิธี คือ


วิธีที่ 1 หลักการคูณ
คูณแต่ละจานวนในอัตราส่วนใดด้วยจานวนเดียวกัน โดยที่จานวนนั้นไม่เท่ากับศูนย์
วิธีที่ 2 หลักการหาร
หารแต่ละจานวนในอัตราส่วนใดด้วยจานวนเดียวกัน โดยที่จานวนนั้นไม่เท่ากับศูนย์
128

ตัวอย่างที่ 7 จงหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน 5 : 8 มาอีก 3 อัตราส่วนโดยใช้หลักการคูณ


วิธีทา 5:8  52 :82  10 :16
5:8  53:83  15: 24
5:8  54 :84  20 : 24

ดังนั้น อัตราส่วนอีก 3 อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน 5 : 8 คือ 10 : 16 15 : 24 และ 20:24

35
ตัวอย่างที่ 8 จงหาอัตราส่วน มาอีก 3 อัตราส่วนโดยใช้หลักการหาร
120
35 35  4 8.75
วิธีทา  
120 120  4 30
35 35  5 7
 
120 120  5 24
35 35  10 3.5
 
120 120  10 12
35 8.75 7
ดังนั้น อัตราส่วนอีก 3 อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน คือ และ 3.5
120 30 24 12

ตัวอย่างที่ 9 จงหาอัตราส่วน 28 : 12 มาอีก 2 อัตราส่วน


วิธีทา 28 :12  28  4 : 12  4  7:3
28 :12  28  4 : 12  4  112:48

ดังนั้น อัตราส่วนอีก 2 อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วน 28 : 12 คือ 7:3 และ 112:48

ตัวอย่างที่ 10 การทาน้าหมักจากพืชสดสีเขียวสูตร A ให้ใช้พืชสด 9 กิโลกรัม ผสมกับกากน้าตาล (หรือ


ใช้น้าอ้อย หรือ น้าตาลทรายแดงก็ได้) 3 กิโลกรัม ถ้ามีกากน้าตาลอยู่ 12 กิโลกรัม จะต้องใช้พืชสดกี่
กิโลกรัมโดยใช้กากน้าตาลที่มีอยู่ให้หมด
วิธีทา จากสูตรการทาน้าหมักใช้พืชสด 9 กิโลกรัม ผสมกับกากน้าตาล 3 กิโลกรัม
เขียนอัตราส่วนของปริมาณพืชสดต่อกากน้าตาล เป็น 9 : 3
ต้องการทาน้าหมักโดยต้องการใช้กากน้าตาล 12 กิโลกรัม
9 9 4 36
เนื่องจาก  
3 3 4 12
ดังนั้น จะต้องใช้พืชสด 36 กิโลกรัม
129

ตัวอย่างที่ 11 ร้านขายอุปกรณ์ทางการเกษตรแห่งหนึ่งขายถาดเพาะกล้าชนิด 200 หลุม ในราคา


โหลละ 600 บาท ภุชงค์ต้องการซื้อถาดเพาะกล้า 60 แผ่น ภุชงค์จะต้องจ่ายเงินเท่าใด และถ้าปรีชา
ต้องการซื้อถาดเพาะกล้าในราคาเดียวกันนี้บ้าง แต่มีเงินเพียง 300 บาท ถ้าร้านค้าแห่งนี้ยอมขายปลีกให้
ในราคาเดียวกัน ปรีชาจะชื้อถาดเพาะกล้าได้กี่แผ่น
วิธีทา ร้านขายถาดเพาะกล้าในราคาโหลละ 600 บาท
12
เขียนอัตราส่วนของจานวนถาดเพาะกล้าเป็นแผ่นต่อราคาเป็นบาท ได้เป็น
600
12 12  5 60
เนื่องจาก  
600 600  5 3, 000

ดังนั้น ภุชงค์ต้องการจ่ายเงิน 3,000 บาท


และปรีชาต้องการซื้อถาดเพาะกล้าในราคาเดียวกับภุชงค์แต่มีเงินเพียง 3,000 บาท
12 12  2 6
เนื่องจาก  
600 600  2 300
ดังนั้น ปรีชาซื้อถาดเพาะกล้าได้ 6 แผ่น

ตัวอย่าง 12 นายธีระขับรถเพื่อส่งมะพร้าวน้าหอมจากอาเภอระโนด จังหวัดสงขลาไปอาเภอเมือง


ยะลา ระยะทาง 210 กิโลเมตร ในอัตราเร็ว 70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ธีระจะใช้เวลาเท่าใด และถ้าธีระขับ
รถเป็นเวลา 6 นาที จะได้ระยะทางเท่าใด
วิธีทา ธีระขับในอัตราเร็ว 70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
เขียนอัตราส่วนของระยะทางเป็นกิโลเมตรต่อเวลาเป็นชั่วโมง เป็น 70 : 1
ธีระขับรถจากอาเภอระโนดไปยังอาเมืองยะลา ระยะทาง 210 กิโลเมตร
70 70  3 210
เนื่องจาก  
1 1 3 3
ดังนั้น นายธีระขับรถจากอาเภอระโนดไปยังอาเภอเมืองยะลา ใช้เวลา 3 ชั่วโมง
ต่อไปหาระยะทางเมื่อ นายธีระขับรถ 10 นาที เนื่องจากอัตราส่วนของระยะทางเป็น
กิโลเมตรต่อเวลาเป็นนาที เป็น 70 : 60
70 70  10 7
จะได้  
60 60  10 6
ดังนั้น ในเวลา 6 นาที นายธีระจะขับได้ระยะทาง 7 กิโลเมตร
130

ตัวอย่างที่ 13 สูตรการทาปุ๋ยอินทรีย์สูตรหนึ่ง มีส่วนผสมดังนี้


ผลไม้ หรือ ผัก 3 กิโลกรัม
กากน้าตาล หรือ น้าตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม
หัวเชื้อจุลินทรีย์ 1 กิโลกรัม
น้าสะอาด 10 กิโลกรัม
จงตอบคาถามต่อไปนี้
1) ถ้าใช้ผลไม้หรือผัก 12 กิโลกรัม ต้องใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์กี่กิโลกรัม
2) ถ้าใช้กากน้าตาล 0.5 กิโลกรัม ต้องใช้น้าสะอาดกี่กิโลกรัม
3) ถ้าใช้น้าสะอาด 20 กิโลกรัม ต้องใช้ผลไม้หรือผักและกากน้าตาลรวมกี่กิโลกรัม
วิธีทา 1) อัตราส่วนของน้าหนักผลไม้หรือผักต่อน้าหนักหัวเชือ้ จุลินทรีย์ เป็น 3 : 1
3 3 4 12
เนื่องจาก  
1 1 4 4
ดังนั้น ถ้าใช้ผลไม้หรือผัก 12 กิโลกรัม ต้องใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ 4 กิโลกรัม
2) อัตราส่วนของน้าหนักกากน้าตาล ต่อ น้า น้าหนักน้าสะอาด เป็น 1 : 10
1 1 2 0.5
เนื่องจาก  
10 10  2 5
ดังนั้น ถ้าใช้กากน้าตาล 0.5 กิโลกรัม ต้องใช้น้าสะอาด 5 กิโลกรัม
3) อัตราส่วนของน้าหนักน้าสะอาด ต่อ น้าหนักรวมของผลไม้หรือผักและกากน้าตาล
เป็น 10 : 4
10 10  2 20
เนื่องจาก  
4 4 2 8
ดังนั้น ถ้าใช้น้าสะอาด 20 กิโลกรัม ต้องใช้ผลไม้หรือผัก และกากน้าตาล รวม
8 กิโลกรัม

การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนโดยใช้การคู ณไขว้
ให้ w, x, y และ z เป็นจานวนจริงบวก สามารถตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนโดยใช้การ
คูณไขว้ แล้วพิจารณาผลคูณไขว้ ดังนี้
x w
กาหนดอัตราส่วน และ
y z
x w
จากการคูณไขว้
y z
จะได้ x z และ yw
131

พิจารณาผลคูณไขว้ ตามหลักการดังนี้
x w
1. ถ้า x z  yw แล้ว 
y z
x w
2. ถ้า x z  yw แล้ว 
y z

ซึ่งจากหลักการข้างต้น ทาให้ได้อีกว่า
x w
ถ้า  แล้ว x z  y w
y z

ตัวอย่างที่ 14 อัตราส่วนต่อไปนี้เป็นอัตราส่วนที่เท่ากันหรือไม่
4 7
1) และ
8 14
5 9
2) และ
8 16

4 7
วิธีทา 1) จากการคูณไขว้
8 14
จะได้ 4 14  56
และ 8  7  56
ทาให้ได้ว่า 4 14  8  7
4 7
ดังนั้น 
8 14
4 7
นั้นคือ และ เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน
8 14

5 9
2) จากการคูณไขว้ 16
8
จะได้ 5 16  80 .
และ 8  9  72
ทาให้ได้ว่า 5 16  8  9
5 9
ดังนั้น 
8 16
5 9
นั้นคือ และ ไม่เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน
8 16
132

4.1.2 อัตราส่วนของจานวนหลายๆ จานวน

พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
กวินทาเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎี ใหม่ ซึ่งปลูกพืชหลายชนิดในพื้นที่ 7 ไร่ กวิ นนั บ
จานวนไม้ผลเฉพาะต้นทุเรียน ต้นมังคุด และต้นกล้วยหอมทอง เป็นดังนี้
ต้นทุเรียน 20 ต้น
ต้นมังคุด 15 ต้น
ต้นกล้วยหอม 32 ต้น
จากข้อมูลข้างต้นสามารถเขียนอัตราส่วนจานวนไม้ผลได้ดังนี้
อัตราส่วนของจานวนต้นทุเรียนต่อจานวนต้นมังคุดเป็น 20 : 15
อัตราส่วนของจานวนต้นมังคุดต่อจานวนต้นกล้วยหอมทองเป็น 15 : 32
นอกจากนี้ยังสามารถเขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบจานวนของไม้ผลทั้งสามชนิดดังนี้
อัตราส่วนของจานวนต้นทุเรียนต่อจานวนต้นมังคุดต่อจานวนต้นกล้วยหอมเป็น 20 : 15 : 32
เรียกอัตราส่วนเช่นนี้ว่า อัตราส่วนของจานวนหลายๆ จานวน

อัตราส่วนของจานวนหลายๆ จานวน คือ อัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณมากกว่า


สองปริมาณ โดยตาแหน่งของจานวนในอัตราส่วนนี้มีความสาคัญเช่นเดียวกับอัตราส่วนของจานวนสอง
จานวน

หากมีอัตราส่วนของจานวนหลายๆ จานวน ก็สามารถเขียนอัตราส่วนของจานวนทีละสองจานวน


จากอัตราส่วนนั้นได้
เช่น สูตรน้าหมักชีวภาพเพื่อดับกลิ่นสูตรหนึ่งมีอัตราส่วนเป็นดังนี้
เศษอาหาร พืช ผัก ผลไม้ ต่อ กากน้าตาล ต่อ น้า เป็น 3 : 1 : 10
หากเขียนอัตราส่วนข้างต้นเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสองปริมาณได้ เช่น
อัตราส่วนของ เศษอาหาร พืช ผัก ผลไม้ ต่อ กากน้าตาลเป็น 3 : 1
อัตราส่วนของ กากน้าตาล ต่อ น้า เป็น 1 : 10
อัตราส่วนของ เศษอาหารพืช ผัก ผลไม้ ต่อ น้า เป็น 3 : 10
จากอัตราส่วนสองอัตราส่วนใด ๆ ที่แสดงการการเปรียบเทียบของสิ่งสามสิ่งเป็นคู่ ๆ หากเรา
ต้องการเขียนอัตราส่วนของปริมาณทั้งสามจากสองอัตราส่วนเหล่านั้น ให้ทาปริมาณของสิ่งที่เป็นตัวร่วม
ในสองอัตราส่วนให้เป็นปริมาณที่เท่ากัน
133

จากอัตราส่วนของจานวนสามจานวน x : y : z สามารถเขียนอัตราส่วนของจานวนที่ละสอง
จานวนได้เป็น x : y , y : z และ y : z
ให้ n เป็นจานวนจริงบวกใดๆ
จะได้ว่า x : y  xn : yn
และ x : z  xn : zn
ดังนั้น x : y : z  xn : yn : zn
ในทานองเดียวกัน หากมีอัตราส่วนของจานวนที่มากกว่าสามจานวนก็ใช้หลักการเดียวกันนี้

ตัวอย่างที่ 15 มณีตรวจสอบราคาผักประจาวัน พบว่า อัตราส่วนของราคาหน่อไม้ฝรั่งต่อราคาถั่ว


ลันเตาเป็น 5 : 4 และอัตราส่วนของราคาถั่วลันเตาต่อราคาบล็อคโคลี่ เป็น 2 : 1 จงเขียนอัตราส่วน
ของราคาหน่อไม้ฝรั่ง ต่อราคาถั่วลันเตา ต่อราคาบล็อกโคลี่
วิธีทา อัตราส่วนของราคาหน่อไม้ฝรั่งต่อราคาถั่วลันเตา เป็น 5: 4
อัตราส่วนของราคาถั่วลันเตาต่อราคาบล็อกโคลี่ เป็น 2 : 1
จากอัตราส่วนที่สองจะเห็นว่า ราคาถั่วลันเตาเป็นราคาที่นาไปเปรียบเทียบกับราคา
หน่อไม้ฝรั่งและราคาบล็อคโคลี่ ดังนั้นจะต้องทาราคาถั่วลันเตาซึ่งเป็นตัวร่วมให้เท่ากันก่อน โดยจะคูณ
แต่ละจานวนในอัตราส่วน 5: 4 ด้วย 2 และคูณแต่ละจานวนในอัตราส่วน 2 : 1 ด้วย 4 จะได้
ว่าราคาถั่วลันเตาในอัตราส่วนทั้งสองเป็น 8 เท่ากัน แล้วจึงนามาเขียนเป็นอัตราส่วนของจานวนสาม
จานวนต่อเนื่องกัน ดังนี้
อัตราส่วนของราคาหน่อไม้ฝรั่งต่อราคาถั่วลันเตา เป็น 5:4  5  2 : 4  2  10 :8
อัตราส่วนของราคาถั่วลันเตาต่อราคาบล็อกโคลี่ เป็น 2 :1  2  4 :1 4  8 : 4
ดังนั้น อัตราส่วนของราคาหน่อไม้ฝรั่ง ต่อราคาถั่วลันเตาต่อราคาบล็อกโคลี่ เป็น 10 : 8 : 4

ตัวอย่างที่ 16 ประวิทย์แบ่งพื้นที่ในการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ดงั อัตราส่วนต่อไปนี้ อัตราส่วนพื้นที่ปลูก


ไม้ผลต่อพื้นที่เลี้ยงสัตว์ เป็น 2 : 3 และอัตราส่วนพื้นที่ปลูกพืชสวนครัวต่อพื้นที่ เลีย้ งสัตว์เป็น 3 : 2 จง
เขียนอัตราส่วนของพื้นที่ปลูกไม้ผลต่อพื้นที่เลี้ยงสัตว์ต่อพื้นที่ปลูกพืชสวนครัว และอัตราส่วนพื้นที่ปลูกไม้
ผลต่อพื้นที่ปลูกพืชสวนครัว
วิธีทา อัตราส่วนพื้นที่ปลูกไม้ผลพื้นที่เลี้ยงสัตว์ เป็น 4: 3
อัตราส่วนพื้นที่ปลูกพืชสวนครัวต่อ พื้นที่เลี้ยงสัตว์ เป็น 3: 2
นั่นคือ อัตราส่วนพื้นที่เลี้ยงสัตว์ ต่อพื้นที่ปลูกพืชสวนครัวเป็น 2: 3
จะได้ อัตราส่วนพื้นที่ปลูกไม้ผลต่อพื้นที่เลี้ยงสัตว์เป็น 4:3  2 3:3 3 6:9
ดังนั้น อัตราส่วนของพื้นที่ปลูกไม้ผลต่อพืน้ ที่เลี้ยงสัตว์ต่อพื้นที่ปลูกพืชสวนครัว
เป็น 8: 6 : 9
134

และอัตราส่วนของพื้นที่ปลูกไม้ผลต่อพื้นที่ปลูกพืชสวนครัวเป็น 8: 9

ตัวอย่างที่ 17 สุทัศน์เลี้ยงปลาในบ่อพลาสติก โดยมีอัตราส่วนของความกว้างต่อความยาวต่อความลึ ก


เป็น 1 : 2 : 0.5 ถ้าบ่อเลี้ยงปลานี้มีความยาว 4 เมตร จงหาความกว้างและความลึกของบ่อเลี้ยงปลา
และหากสุทัศน์ต้องการซื้อตาข่ายพลาสติกมาล้อมรอบบ่อเลี้ยงปลานี้อย่างน้อยกี่เมตร
วิธีทา จากอัตราส่วนของความกว้างต่อความยาวต่อความลึกเป็น 1: 2 : 0.5
ถ้าบ่อเลี้ยงปลามีความยาว 4 เมตร จะได้
1: 2 : 0.5  1 2 : 2  2 : 0.5  2
 2 : 4 : 1
ดังนั้น บ่อเลี้ยงปลานี้ มีความกว้าง 2 เมตร และความลึก 1 เมตร
ต้องการซื้อตาข่ายพลาสติกมาล้อมรอบบ่อเลี้ยงปลานี้
เนื่องจาก บ่อเลี้ยงปลามีความกว้าง 2 เมตร และความยาว 4 เมตร
จะได้ว่า ความยาวรอบบ่อปลา  2(2  4)  12 เมตร
ดังนั้น สุทัศน์ต้องการซื้อตาข่ายพลาสติกมาล้อมรอบบ่อเลี้ยงปลานี้อย่างน้อย 12 เมตร

ตัวอย่างที่ 18 สูตรเตรียมอาหารให้โคที่มีน้าหนัก 200 กิโลกรัมขึ้นไป ในการเตรียมอาหารข้น


100 กิโลกรัม จะต้องใช้วัตถุดิบข้าวโพดบด มันเส้ นตากแห้ ง ราละเอี ย ด กากถั่ ว เหลื อ งบด และ
สารอาหารอื่นๆ ในอัตราส่วน 9 : 9 : 4 : 2 : 1 จงหาปริมาณของส่วนผสมแต่ละชนิด
วิธีทา รวมวัตถุดิบที่ผสม 9  9  4+ 2 1  25 ส่วน
จากวัตถุดิบ 25 ส่วน เป็นอาหารผสม 100 กิโลกรัม
1100
ถ้าวัตถุดิบ 1 ส่วน เป็นอาหารผสม  4 กิโลกรัม
25

ดังนั้น ข้าวโพดบด 9 ส่วน มีปริมาณ 9  4  36 กิโลกรัม


มันเส้นตากแห้ง 9 ส่วน มีปริมาณ 9  4  36 กิโลกรัม
ราละเอียด 4 ส่วน มีปริมาณ 4  4  16 กิโลกรัม
กากถั่วเหลืองบด 2 ส่วน มีปริมาณ 2 4  8 กิโลกรัม
และ สารอาหารอื่นๆ 1 ส่วน มีปริมาณ 1 4  4 กิโลกรัม
135

4.2 สัดส่วน
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
“เกษตรกรรายหนึ่ง ทดลองปลูกข้าวเหนียว 4 สายพันธุ์ โดยแบ่งที่นาสาหรับปลูกข้าวเหนียวพันธุ์
กข.6 จานวน 12 ไร่ ปลูกข้าวเหนียวพันธุ์เขาวงกาฬสินธุ์ จานวน 3 ไร่ ปลูกข้าวเหนียวพันธุ์เขี้ยวงู 6 ไร่
และปลูกข้าวเหนียวพันธุ์ก่า 9 ไร่ ”
จากข้อมูลข้างต้น จะได้ว่า
อัตราส่วนของที่นาที่ใช้ปลูกข้าวเหนียวพันธุ์ กข.6 ต่อ ข้าวเหนียวพันธุ์เขาวงกาฬสิ นธุ์ เป็น
2
2:3 หรือ
3
6
อัตราส่วนของที่นาที่ใช้ปลูกข้าวเหนียวพันธุ์ เขี้ยวงู ต่อ ข้าวเหนียวพันธุ์ก่า เป็น 6:9 หรือ
9

เมื่อพิจารณาอัตราส่วนสองอัตราส่วนโดยวิ ธีการคูณไขว้ พบว่า


2  9  3 6
ดังนั้น 2 : 3  6 :9
2 6
หรือ =
3 9
และเราจะเรียกสองอัตราส่วนที่เท่ากันนี้ว่า เป็นสัดส่วนกัน

สัดส่วน (proportion) คือ ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วน


ให้ a : b และ c : d เป็นอัตราส่วน
ถ้า a : b กับ c : d เป็นสัดส่วนกันจะเขียนให้อยู่ในรูปของสัดส่วนได้เป็น
a c
a :b  c :d หรือ 
b d

4.2.1 การหาค่าของตัวแปร เมื่อจานวนใดจานวนหนึ่งของสัดสวนเป็นตัวแปร


เมื่อจานวนที่ไม่ทราบค่าซึ่งแทนด้วยตัวแปรอยู่ในสัดส่วน สามารถหาค่าของตัวแปรได้ โดยวิธีหา
วิธีหนึ่งคือ ใช้การคูณไขว้แล้วแก้สมการ
x 2
ตัวอย่างที่ 19 จงหาค่าของ x โดยสัดส่วน 
21 3
x 2
วิธีทา จาก 
21 3
จะได้ x 3  2  21
2  21
x 
3
 14
136

ดังนั้น ค่าของ x คือ 14

5 6
ตัวอย่างที่ 20 จงหาค่าของ a ในสัดส่วน 
8 a
5 6
วิธีทา จาก 
8 a
จะได้ 5 a  68
68
a 
5
 9.6
ดังนั้น ค่าของ a คือ 9.6

12 30
ตัวอย่างที่ 21 จงหาค่าของ w ในสัดส่วน 
w 17.5
12 30
วิธีทา จาก 
w 17.5
จะได้ 12 17.5  w  30
12 17.5
w 
30
7
ดังนั้น ค่าของ w คือ 7

24 x
ตัวอย่างที่ 22 จงหาค่าของ x ในสัดส่วน 
52 13
24 x
วิธีทา จาก 
52 13
จะได้ 24 13  52  x
24 13
x 
52
 6
ดังนั้น ค่าของ x คือ 6
137

4.2.2 ชนิดของสัดส่วน
1) สัดส่วนตรง
พิจารณาตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนมะพร้าวน้าหอมเป็นผล และราคาเป็ น
บาท ดังนี้
จานวนมะพร้าวน้าหอม
ราคา (บาท)
(ผล)
1 20
2 40
3 60
4 80
5 100

จากตาราง จะเห็นว่า ถ้าจานวนมะพร้าวน้าหอมเพิ่มขึ้ น แล้ ว ราคาจะเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ ถ้ า


จานวนมะพร้าวน้าหอมเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า แล้ว ราคาจะเพิ่ ม ขึ้ นเป็ นสองเท่ า หรื อ ถ้ า จ านวนมะพร้ า ว
น้าหอมเพิ่มขึ้นเป็นสามเท่า แล้วราคาก็จะเพิ่มขึ้นเป็นสามเท่า หรือถ้าจานวนมะพร้ า วน้ าหอมลดลงครึ ง
หนึ่ง แล้วราคาก็จะลดลงครึ่งหนึ่งด้วย
นั่นคือ การเปลี่ยนแปลงค่าของจานวนมะพร้าวน้าหอมและราคาเป็นไปในทางเดี ย วกั น
กล่าวคือ ถ้าจานวนมะพร้าวน้าหอมเพิ่มขึ้นกี่เท่า ราคาก็จะเพิ่ ม ขึ้ นเป็ น จ านวนที่ เ ท่ า กั น และถ้ า จ านวน
น้าหอมลดลงกี่เท่า ราคาก็จะลดลงเป็นจานวนเท่าที่เท่ากันด้วย
ถ้าให้ Q แทน จานวนมะพร้าวน้าหอม
และ P แทน ราคามะพร้าวน้าหอม
โดยที่ P1 แทน ราคาของมะพร้าวน้าหอม Q1 ผล
และ P2 แทน ราคาของมะพร้าวน้าหอม Q2 ผล
Q1 P
จากตารางข้างต้นจะได้ว่า  1
Q2 P2
1 20
เช่น 
3 60
2 40

5 100
Q1 P1
นั่นคือ  นี้เป็นสัดส่วนตรง
Q2 P2
138

Q1 P Q1 Q
จาก  1 สามารถเขียนสัดส่วนนี้ในรูปอื่นได้ เช่น  2
Q2 P2 P1 P2

สัดส่วนตรง คื อ อั ต ราส่ ว นคู่ ที่ เ ท่ า กั น ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยปริ ม าณสองชุ ด ที่ มี ก าร


เปลี่ยนแปลงค่าไปในทางเดียวกัน กล่าวคือ เมื่อปริมาณหนึ่งเพิ่มขึ้น อีกปริม าณหนึ่ ง ก็ เ พิ่ ม ขึ้ นด้ ว ย เป็ น
จานวนที่เท่ากัน และถ้ามีปริมาณหนึ่งลดลง อีกปริมาณหนึ่งก็ลดลงด้วยเป็นปริมาณที่เท่ากัน

ตัวอย่างที่ 23 มูลไส้เดือนดิน 5 ถุง ราคา 120 บาท แล้วมูลไส้เดือนดิน 13 ถุ ง ราคากี่บาท โดยเป็นมู ล


ไส้เดือนแบบเดียวกัน
วิธีทา ให้ มูลไส้เดือนดิน 13 ถุง ราคา p บาท
จากโจทย์ มูลไส้เดือนดิน 5 ถุง ราคา 120 บาท
เขียนเป็นสัดส่วนได้ดังนี้

13 p
จะได้ 
5 120
13  120  p  5
13  120
p 
5
p  312
ดังนั้น มูลไส้เดือนดิน 13 ถุง ราคา 312 บาท

ตัวอย่างที่ 24 แปลงผักสาธิตเนื้อที่ 2 ไร่ ใช้ปุ๋ยหมัก 26 กิโลกรัม และจะทาแปลงผักแบบเดี ย วกั นใน


บริเวณใกล้เคียง จะต้องใช้ปุ๋ยหมักเท่าใด ถ้าแปลงผักมีเนื้อที่ 15 ไร่
วิธีทา ให้ แปลงผักเนื้อที่ 15 ไร่ ใช้ปุ๋ยหมัก x กิโลกรัม
จากโจทย์ แปลงผักสาธิตเนื้อที่ 2 ไร่ ใช้ปุ๋ยหมัก 26 กิโลกรัม
เขียนเป็นสัดส่วนได้ ดังนี้

=
15 x
=
2 26
15  26 = x 2
15  26
x =
2
= 195
139

ดังนั้น แปลงผักเนื้อที่ 15 ไร่ จะต้องใช้ปุ๋ยหมัก 195 กิโลกรัม

ตัวอย่างที่ 25 ถ้าระบบน้าหดอัตโนมัติตั้งเวลาให้น้าหยด 3 ครั้ง ในทุก ๆ 10 นาที อยากทราบว่าระบบ


น้าหยดนี้จะหยดกี่ครั้งในเวลา 1 ชั่วโมง
วิธีทา ให้ระบบหยดนี้จะหยด k ครั้ง ในเวลา 1 ชั่วโมง หรือ 60 นาที
จากโจทย์ระบบจะหยด 3 ครั้ง ในเวลา 10 นาที
k 60
เขียนเป็นสัดส่วน ได้ดังนี้ =
3 10
k 10 = 3  60
3  60
k =
10
= 18
ดังนั้น ระบบน้าหยดนี้จะหยด 18 ครั้ง ในเวลา 1 ชั่วโมง

2) สัดส่วนผกผัน
พิจารณาตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จานวนคนที่เก็บผลผลิตองุ่นแปลงหนึ่ ง โดย
แต่ละคนเก็บได้ในปริมาณที่เท่าๆ กัน และเวลาที่ใช้ในการเก็บผลิตแปลงนี้จนเสร็จเป็นนาที ดังนี้

จานวนคน (คน) เวลาที่ใช้ (นาที)


1 240
2 120
3 80
4 60
5 48
6 40

จากตารางจะเห็นว่า ถ้าจานวนคนเพิ่มขึ้น แล้วเวลาที่ใช้จะลดลง หรือถ้า จ านวนคนเพิ่ ม


จากเดิม แล้วเวลาที่ใช้จะลดลงเป็นครึ่งหนึ่งของเวลาเดิม หรือถ้าจานวนคนเพิ่มจากเดิมเป็ นสามเท่ า แล้ ว
เวลาที่ใช้จะลดลงเป็นหนึ่งสามของเวลาเดิม หรือถ้าจานวนคนลดลงครึ่งหนึ่ง แต่เวลาที่ใช้กลับเพิ่มขึ้นเป็น
สองเท่าของเวลาเดิม
140

นั่นคือ การเปลี่ยนแปลงค่าของจานวนคน และเวลาที่ใช้เป็นไปในทางกลับกัน กล่ า วคื อ


1
ในการทางานหนึ่งงาน ถ้าจานวนคนทางานเพิ่มขึ้นเป็น p เท่า เวลาที่ใช้ในการท างานก็ จ ะลดลงเป็ น
p
1
เท่าของเวลาเดิม และถ้าจานวนคนทางานลดลงเป็น เท่าเวลาที่ใช้ในการท างานก็ จ ะเพิ่ ม ขึ้ นเป็ น q
p
เท่าของเวลาเดิม

ถ้าให้ K แทน จานวนคน


และ T แทน เวลาที่ใช้ในการเก็บผลิตผล
โดยที่ T1 แทน เวลาที่คน K1 คน ใช้ในการเก็บผลผลิต
และ T2 แทน เวลาที่คน K 2 คน ใช้ในการเก็บผลผลิต
K1 T2
จากตารางข้างต้นจะเห็นได้ว่า 
K 2 T1
2
เช่น = 48
5 120
4
= 40
6 60
K1 T2
นั่นคือ  เป็นสัดส่วนผกผัน
K 2 T1

สัดส่วนผกผัน คือ อัตราส่วนที่เท่ากัน ซึ่งประกอบด้วยปริมาณสองชุดที่มีการเปลี่ยนแปลงค่ า ไป


1
ในทางที่กลับกัน กล่าวคือ เมื่อปริมาณหนึ่งเพิ่มขึ้นเป็น p เท่าอีกปริ ม าณหนึ่ ง กลั บ ลดลงเป็ น เท่ า
p
1
ของปริมาณเดิม และถ้าปริมาณหนึ่งลดลงเป็น เท่า อีกปริมาณกลับขึ้น เป็น q เท่าของปริมาณเดิม
p

ตัวอย่างที่ 26 โทนี่ขับรถส่งสับปะรด จากจังหวัดหนึ่ ง ไปยั ง อี ก จั ง หวั ด หนึ่ ง ด้ ว ยอั ต ราเร็ ว เฉลี่ ย 80


กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งใช้เวลา 6 ชั่วโมง หากโทนี่ขับรถในเส้นทางเดิมด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 60 กิโลเมตรต่ อ
ชั่วโมง จะใช้เวลาเท่าใด
วิธีทา ให้ โทนี่ขับรถด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลา x ชั่วโมง
จากโจทย์ โทนี่ขับรถด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลา 6 ชั่วโมง
เขียนเป็นสัดส่วนได้ ดังนี้

=
x 80
จะได้ =
6 60
141

80
x = 6
60
= 8
ดังนั้น หากโทนี่ขับรถด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 60 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะใช้เวลา 8 ชั่วโมง

ตัวอย่างที่ 27 ไร่อิ่มสุขปลูกข้าวออแกนิค โดยให้คนงาน 8 คน ดานาแปลงหนึ่ ง แล้ ว เสร็ จ ใช้ เ วลา 10


ชั่วโมง ถ้ามีคนงานเพิ่มอีก 12 คน จะดานาแปลงนี้เสร็จในเวลากี่ชั่วโมง
วิธีทา จากเดิมมีคนงาน 8 คน มาเพิ่มอีก 12 คน รวมเป็น 8 12  20 คน
ให้ คนงาน 20 คน ดานาแล้วเสร็จใช้เวลา k ชั่วโมง
จากโจทย์ คนงาน 6 คน ดานาแล้วเสร็จใช้เวลา 10 ชั่วโมง
เขียนเป็นสัดส่วนได้ ดังนี้

=
6 k
=
20 10
6
k =  10
20
= 3
ดังนั้น จะดานาแปลงนี้เสร็จในเวลา 3 ชั่วโมง

4.3 ร้อยละ
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
“ปี พ.ศ.2559 ประเทศไทยมีเนื้อที่ปลูกข้าวหน้าปี รวมทั้งประเทศ 58,645,474, ไร่ ซึ่ ง ในแต่ ล ะ
ภาคมีเนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปี คิดเป็นร้ อยละของเนื้อที่เพาะปลูกโดยรวมทัง้ ประเทศ ได้แก่ ภาคเหนือร้อย
ละ 22.21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ 62.37 ภาคกลางร้อยละ 14.13 และภาคใต้ 1.29 ”
“ตาข่ายกันแมลงขนาดกว้าง 150 เซนติเมตร ยาว 25 เซนติ เ มตร ลดราคา 28 % จากราคา
ปกติม้วนละ 450 บาท”
จากข้อความข้างต้นจะเห็นว่า มีการนาร้อยละมาใช้ในชีวิต ประจ าวั นอยู่ ม าก เช่ น การซื้ อ ขาย
กาไร ขาดทุน อัตราดอกเบี้ย เป็นต้น หรือแม้แต่ในด้านการเกษตรก็นาเรื่องร้อยละ เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่มาก
เช่นกัน ดังนั้น เพื่อการนาไปใช้ที่ถูกต้อง จึงควรเข้าใจความหมาย ศึกษาและเข้ า ใจการค านวณเกี่ ย ว กั บ
ร้อยละต่อไป
142

ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ (percent) คือ อัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริ ม าณใดปริ ม าณ


หนึ่งต่อ 100

20
เช่น ร้อยละ 20 หรือ 20% เขียนแทนด้วย 20 :100 หรือ
100
0.5
ร้อยละ 0.5 หรือ 0.5% เขียนแทนด้วย 0.5 :100 หรือ
100
9
ร้อยละ 9 หรือ 9% เขียนแทนด้วย 9 :100 หรือ
100

4.3.1 การเขียนอัตราส่วนให้อยู่ในรูปเศษส่วน
การเขียนอัตราส่วนให้อยู่ในรูปร้อยละ ทาได้โดยการเขียนจานวนหลังของอัตราส่วนนั้นเป็ น 100
จะได้จานวนแรกของอัตราส่วนเป็นค่าร้อยละ ความต้องการ

ตัวอย่างที่ 28 จงเปลี่ยนอัตราส่วนต่อไปนี้ให้อยู่ในร้อยละ
5 5  10 50
1) = = = 50%
10 10  10 100
3 3  25 75
2) = = = 75%
4 4  25 100
5 5  50 250
3) = = = 250%
2 2  50 100
9 95 45
4) = = = 45%
20 20  5 100
7
100
7 7  50
5) = = 8 = 87.5%
8 8  100 100

4.3.2 การเขียนร้อยละให้เป็นอัตราส่วน
การเขียนให้เป็นร้อยละ โดยนาค่าของร้อยละมาเขียนเป็นจานวนแรกของอัตราส่วน และให้ 100
เป็น จานวนหลังของอัตราส่วน

ตัวอย่างที่ 29 จงเปลี่ยนร้อยละต่อไปนี้ให้เป็นอัตราส่วน
3
1) ร้อยละ 3 =
100
45
2) 45% =
100
7 0.7
3) % = 0.7% =
10 100
143

10.75
4) ร้อยละ 10.75 =
100
110
5) 110% =
100

4.3.3 การคานวณเกี่ยวกับร้อยละ
ตัวอย่างที่ 30 80% ของ 720 เท่ากับเท่าใด
วิธีทา วิธีที่ 1 ใช้ความรู้เรื่องสัดส่วน
80% ของ 720 เท่ากับเท่าใด หมายความว่า ถ้ามี 80 ส่วนใน 100 ส่วน
แล้วจะมีกี่ส่วนใน 720 ส่วน
ให้ มี x ส่วน ใน 720 ส่วน
x 80
เพื่อเป็นสัดส่วนได้ ดังนี้ =
720 100
80
จะได้ x =  720
100
= 576
ดังนั้น 80% ของ 720 เท่ากับ 576

วิธีที่ 2 ให้ 80% ของ 720 เท่ากับ x


80
จะได้  720 = x
100
x = 576
ดังนั้น 80% ของ 720 เท่ากับ 576

ตัวอย่างที่ 31 40 คิดเป็นร้อยละเท่าใดของ 250


วิธีทา วิธีที่ 1 ใช้ความรู้เรื่องสัดส่วน
40 คิดเป็นร้อยละเท่าใดของ 250 หมายความว่า ถ้ามี 40 ส่วนใน 250 ส่วน
แล้วจะมีกี่ส่วน ใน 100 ส่วน
ให้มี x ส่วน ใน 100 ส่วน
x 40
เขียนเป็นสัดส่วนได้ดังนี้ =
100 250
40
จะได้ x = 100
250
= 16
ดังนั้น 40 คิดเป็นร้อยละ 16 ของ 250
144

วิธีที่ 2 ให้ 40 คิดเป็นร้อยละ x ของ 250


x
จะได้ 40 =  250
100
40
x = 100
250
= 16
ดังนั้น 40 คิดเป็นร้อยละ 16 ของ 250

ตัวอย่างที่ 32 1,160 คิดเป็นร้อยละ 80 ของจานวนใด


วิธีทา วิธีที่ 1 ใช้ความรู้เรื่องสัดส่วน
1,160 คิดเป็นร้อยละ 80 ของจานวนใด หมายความว่ า ถ้ า มี 80 ส่ ว นใน 100 ส่ ว น
แล้วจะมี 1,160 ส่วนในกี่ส่วน
ให้ มี 1,160 ส่วน ใน y ส่วน
80 1,160
เขียนเป็นสัดส่วนได้ดังนี้ =
100 y
จะได้ 80  y = 110 1,160
1,160 100
y =
80
= 1, 450
ดังนั้น 1,160 คิดเป็นร้อยละ 80 ของ 1,450

4
ตัวอย่างที่ 33 คิดเป็นร้อยละเท่าใด
5
วิธีทา วิธีที่ 1 ใช้ความรู้เรื่องสัดส่วน
4
คิดเป็นร้อยละเท่าใด หมายความว่า ถ้ามี 4 ส่วนใน 5 ส่วน
5
แล้วจะมีกี่ส่วนใน 100 ส่วน
ให้มี k ส่วน ใน 100 ส่วน
4 k
เขียนเป็นสัดส่วนได้ดังนี้ =
5 100
4
จะได้ k =  100
5
= 80
4
ดังนั้น คิดเป็นร้อยละ 80
5
145

4
วิธีที่ 2 ให้ คิดเป็นร้อยละ k
5
4 k
จะได้ =
5 100
4
k =  100
5
= 80
4
ดังนั้น คิดเป็นร้อยละ 80
5

4.3.4 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ
ตัวอย่างที่ 34 ปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยมีเนื้อที่ปลูกข้าวนาปี รวมทั้งประเทศ 58,645,474 ไร่ ซึ่ ง เนื้ อ
ที่เพาะปลูกข้าวนาปีในภคใต้คิดเป็นร้อยละ 1.29 ของเนื้อที่เพาะปลูกข้าวนาปีทั้งประเทศ จงหาว่าภาคใต้
มีพื้นที่พาะปลูกข้าวนาปีกี่ไร่
วิธีทา ให้ภาคใต้มีพื้นที่ปลูกข้าวนาปี a ไร่
ภาคใต้มีพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปีคิดเป็นร้อยละ 1.29 ของ 58,645,474
หมายความว่า
ถ้าพื้นที่ปลูกข้าวนาปีทั้งประเทศ 100 ไร่ จะเป็นพื้นที่เพาะปลูกในภาคใต้ 1.29 ไร่
ถ้าพื้นที่ปลูกข้าวนาปีทั้งประเทศ 58,645,474 ไร่ จะเป็นพื้นที่เพาะปลูกในภาคใต้ a ไร่
a 1.29
เขียนเป็นสัดส่วนได้ =
58, 645, 474 100
1.29  58, 645, 474
จะได้ a =
100
 756,526.61
นั่นคือ ภาคใต้มีพื้นที่เพาะปลูกข้าวนาปี ประมาณ 756,526.61 ไร่

ตัวอย่างที่ 35 มาลีซื้อที่ดินแปลงหนึ่งเพื่อทาฟาร์มกล้วยไม้ จ่ายเงินมัดจาที่ดินไป 72,000 บาท คิดเป็ น


20% ของราคาที่ดินแปลงหนึ่ง จงหาว่าที่ดินแปลงนี้ราคาเท่าใด
วิธีทา ให้ที่ดินแปลงนี้ราคา p บาท
จ่ายเงินมัดจา 20% ของราคาที่ดินแปลงนี้ หมายความว่า
ที่ดินราคา 100 บาท จ่ายค่ามัดจา 20 บาท
ถ้าที่ดินราคา p บาท จ่ายค่ามัดจา 72,000 บาท
72, 000 20
เขียนเป็นสัดส่วนได้เป็น =
p 100
146

72, 000 100


จะได้ p =
20
= 360,000
นั่นคือ ที่ดินแปลงนี้ราคา 360,000 บาท

ตัวอย่างที่ 36 ตาข่ายกันแมลงขนาดกว้าง 150 เซนติเมตร ยาว 25 เมตร ลดราคา 28% จากปกติราคา


ม้วนละ 450 บาท อยากทราบว่า หลังลดราคาแล้วราคากี่บาท
วิธีทา ให้ตาข่ายกันแมลงหลังลดราคา ราคา k บาท
ตาข่ายกันแมลงลดราคา 28% หมายความว่า
ตาข่ายกันแมลง ราคา 100 บาท จะต้องจ่ายเงิน 100 – 28 = 72 บาท
ถ้า ตาข่ายกันแมลง ราคา 450 บาท จะต้องจ่ายเงิน k บาท
k 72
เขียนเป็นสัดส่วนได้ดังนี้ =
450 100
72  450
จะได้ k =
100
= 324
ดังนั้น หลังลดราคาแล้วตาข่ายกันแมลงราคา 324 บาท

ตัวอย่างที่ 37 อุดมเพาะต้นอ่อนทานตะวันจาหน่ายครั้งแรก ได้เงินมา 3,700 บาท ปรากฏว่ า ได้ ก าไร


25% อยากทราบว่าต้นทุนในการเพาะต้นอ่อนทานตะวันครั้งนี้เป็นเท่าใด
วิธีทา ให้ต้นทุนในการเพาะต้นทานตะวันครั้งนี้ เป็นเงิน x บาท
x
อัตราส่วนของต้นทุนต่อรายได้ ในการจาหน่ายต้นอ่อนทานตะวัน เป็น
3, 700
ได้กาไร 25% หมายความว่า ถ้าต้นทุน 100 บาท รายได้ในการจาหน่ายต้นอ่อนทานตะวัน
เป็น 125 บาท
100
จะได้ อัตราส่วนของต้นทุนต่อรายได้ในการจาหน่ายต้ นอ่อนทานตะวัน เป็น
125
x 100
เขียนเป็นสัดส่วนได้ดังนี้ =
3, 700 125
100
x = 3,700
125
= 2,960
ดังนั้น ต้นทุนในการเพาะต้นอ่อนทานตะวันนี้เป็นเงิน 2,960 บาท
147

ตัวอย่างที่ 38 สายหยุดฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งประเภทฝากประจา 12 เดือน 32,000 บาท ได้ รับ


ดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี เมื่อครบหนึ่งปี สายหยุดจะได้รับดอกเบี้ยกี่บาท
วิธีทา ให้ดอกเบี้ยสายหยุดได้รับเลือกครบหนึ่งปี เป็น r บาท
ธนาคารจ่ายดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี หมายความว่า
เมื่อครบหนึ่งปี ถ้าฝากเงิน 100 บาท จะได้รับดอกเบี้ย 2 บาท
ถ้าฝากเงินไว้ 32,000 บาท เมื่อครบหนึ่งปีสายหยุดจะได้รับดอกเบี้ย r บาท
2 r
เขียนเป็นสัดส่วนได้ดังนี้ =
100 32, 000
2  32, 000
จะได้ r =
100
= 640
ดังนั้น เมื่อครบหนึ่งปีสายหยุด จะได้รับดอกเบี้ย 640 บาท

ตัวอย่างที่ 39 ปิติขายผลไม้ เมื่อปีที่แล้วได้เงิน 30,000 บาท แต่ปี นี้ข ายได้ 42,000 บาท ปิ ติ ข ายได้
มากกว่าปีที่แล้วร้อยละเท่าใด
วิธีทา ให้ ปิติขายได้มากกว่าปีที่แล้วร้อยละ x
หมายความว่า ปีที่แล้วขายได้ 100 บาท ปีนี้ขายได้มากกว่าปีที่แล้ว x บาท
ถ้าปีที่แล้วขายได้ 30,000 บาท ปีนี้ขายได้มากกว่าปีที่แล้ว 42,000 – 30,000 = 12,000 บาท
x 12, 000
เขียนเป็นสัดส่วนได้ดังนี้ =
100 30, 000
12, 000 100
x =
30, 000
= 40
ดังนั้น ปิติขายได้มากกว่าปีที่แล้วร้อยละ 40
148

บทสรุป
ในบทนี้ เป็นการศึกษา เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ โดยมีรายละเอียดที่ศึกษาคือ อัตราส่วน
สัดส่วน และร้อยละ ซึ่งเป็นเรื่องที่เรามักพบเจออยู่เสมอในชีวิตประจาวัน โดยมีตัวอย่างในการ
คานวณที่สามารถนาไปใช้ได้ เพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้ต่อไป

แบบฝึกหัด

1. จากข้อความที่กาหนด จงเขียนอัตราส่วนแสดงความสัมพันธ์
1.1 เงาะ 3 กิโลกรัม 100 บาท
อัตราส่วนของน้าหนักเงาะเป็นกิโลกรัมต่อราคาเป็นบาท เป็น ......................
1.2 รถบัส 1 คัน โดยสารได้ 40 คน
อัตราส่วน............................................................................ เป็น 1 : 40
1.3 อัตราแลกเปลี่ยนเงิน 10 บาท ต่อ 1.25 ริงกิ ตมาเลเซีย
อัตราส่วน................................................................................ เป็น ......................
1.4 ค่าโดยสารรถประจาทางตลอดสายคนละ 20 บาท
อัตราส่วน................................................................................. เป็น ......................
1.5 รถยนต์วิ่งด้วยอัตราเร็ว 90 กิโลเมตร ต่อ ชั่วโมง
อัตราส่วน.................................................................................. เป็น ......................
1.6 การผสมปุ๋ยอินทรีย์สูตรหนึ่ง ใช้หญ้าสด 50 กิโลกรัม ต่อ มูลไก่ 5 กิโลกรัม
อัตราส่วน................................................................................ เป็น ......................
149

2. อัตราส่วนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เท่ากันหรือไม่ (โดยให้ทาเครื่องหมาย  ในช่องที่เท่ากัน หรือ ไม่


เท่ากัน)

อัตราส่วน เท่ากัน ไม่เท่ากัน


2 18
1. และ
5 45
4 16
2. และ
7 49
13 78
3. และ
15 90

4. 7 : 12 และ 28 : 48

5. 35 : 49 และ 7:5

3. โทนี่ซื้อปุ๋ยชนิดหนึ่งมาจากร้าน A มา 5 กิโลกรัม ราคา 150 บาท เมื่อใช้หมด โทนี่จึงไปซื้อปุ๋ ย


แบบเดิม จาก ร้าน B ซึ่งอยู่ใกล้บ้าน ในราคา 280 บาท ได้มา 7 กิโลกรัม ราคาปุ๋ยทั้งสองร้านนี้ เท่ากัน
หรือไม่ เพราะเหตุใด และโทนี่ควรจะเลือกซื้อปุ๋ยจากร้านใดจึงจะได้ปุ๋ยราคาถูกกว่า

4. พิจารณาสิ่งที่กาหนดให้ แล้วตอบคาถาม
4.1 สังขยาสูตรหนึ่ง มีส่วนผสมดังนี้
3
ไข่ไก่ 1 ฟอง ไข่เป็ด 2 ฟอง หัวกะทิ ถ้วยตวง
4
1
น้าตาลปี๊บ ถ้วยตวง
4

อัตราส่วนของจานวนไข่ไก่ต่อจานวนไข่เป็ด เป็น ...........................................


อัตราส่วนของจานวนไข่เป็ดเป็นฟองต่อปริมาณหัวกะทิเป็นถ้วยตวง เป็น ...............................
อัตราส่วนของปริมาณหัวกะทิต่อปริมาณน้าตาลปี๊บ เป็น ...........................................
อัตราส่วนของจานวนไข่ไก่เป็นฟองต่อไข่เป็ดเป็นฟองต่อปริมาณหัวกะทิเป็นถ้วยตวงต่อปริมาณ
น้าตาลปี๊บ เป็นถ้วยตวง เป็น ...........................................................
150

4.2 การทาหัวเชื้อน้าหมัก มีส่วนผสมดังนี้


อัตราส่วนของปริมาณกากน้าตาล ต่อปริมาณเศษซากพืช ผัก ผลไม้ เป็น 1 : 3
อัตราส่วนของปริมาณเศษซากพืช ผัก ผลไม้ ต่อปริมาณน้า เป็น 1 : 3

ดังนั้น อัตราส่วนของปริมาณกากน้าตาลต่อปริมาณเศษซากพืช ผัก ผลไม้ ต่อปริมาณน้า


เป็น .............................................
4.3 อัตราส่วนของอายุมาลีต่ออายุมาลัย เป็น 4 : 3
อัตราส่วนของอายุขวัญต่ออายุมาลัย เป็น 7 : 6
ดังนั้น อัตราส่วนของอายุมาลีต่ออายุมาลัยต่ออายุขวัญ เป็น .............................................
จากอัตราส่วนของอายุมาลีต่ออายุมาลัยต่ออายุขวัญ ในข้างต้น ถ้ามาลีอายุ 40 ปี แล้วขวัญ
และ มาลัยอายุเท่าใด
4.4 อัตราส่วนของจานวนใบต้นถั่ว กระถาง A ต่อกระถาง B เป็น 5 : 6
อัตราส่วนของจานวนใบต้นถั่ว กระถาง B ต่อกระถาง C เป็น 8 : 7

ดังนั้น อัตราส่วนของจานวนใบต้นถั่ว กระถาง A ต่อกระถาง B ต่อกระถาง C


เป็น .............................................
จากอัตราส่วนของจานวนใบต้นถั่ว กระถาง A ต่อกระถาง B ต่อกระถาง C ในข้างต้น ถ้า
จานวนใบของต้นถั่ว กระถาง A มี 60 ใบ แล้วจานวนใบต้นถั่ว กระถาง B และ กระถาง C เป็นเท่าใด

5. จงหาค่าตัวแปรในสัดส่วนที่กาหนดให้
a 10 81 9
5.1  5.2 
27 18 h 42
5 f 18 4.5
5.3  5.4 
7 35 100 k

6. จงหาผลลัพธ์
6.1 85% ของ 250 เป็นเท่าไร
6.2. 720 เป็นร้อยละเท่าไร ของ 900
6.3 ร้อยละ 0.5 ของ 9,000 เป็นเท่าไร
6.4 18 เป็นร้อยละเท่าไร ของ 360

7. สุนันขายไก่เล้าหนึ่งได้กาไร 2,200 บาท คิดเป็นร้อยละ 20 ของต้นทุน จงหาราคาต้นทุน


151

8. ในรามีโปรตีนอยู่ร้อยละ 12.5 เมื่อใช้รา 30 กิโลกรัม ผสมลงในอาหารสัตว์สูต รหนึ่ ง จงหาว่ า อาหาร


สัตว์สูตรนี้มีปริมาณโปรตีนที่ได้จากราเท่าใด

3
9. แตงโมกองหนึ่งเน่าเสีย จงหาว่าแตงโมกองนี้เน่าเสียร้อยละเท่าใด
20

You might also like