You are on page 1of 12

เรื่อง การเก็บข้อมูลแปลงข้าวโพด , ถั่วเหลือง

จัดทาโดย
นางสาวศลิษา รุ่งเรืองแก้วมณี
6522101441 สาขาสัตวศาสตร์ Sec.2

เสนอ
อาจารย์ดร.ธิดารัตน์ ศิริบูรณ์

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชา พร351 พืชไร่เศรษฐกิจ


มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่
ข้าวโพด
ชื่อสามัญ: Maize, Corn
ชื่อวิทยาศาสตร์: Zea Mays L.
ชื่อวงศ์: Gramineae.
สาหรับข้าวโพดที่แปลง ปลูกเป็นข้าวโพดหวาน
ชื่อสามัญ : Sweet corn
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zea mays var. rugosa
ชื่อวงศ์ : Poaceae
ข้าวโพด เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ปลูกฤดูเดียว ลักษณะลาต้นเป็นปล้องสีเขียวจานวน 8 – 20 ปล้อง ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 3 – 4 ซม. สูงประมาณ 150 – 220 ซม. ใบมีสีเขียวลักษณะเรียว ขนาดของใบแตกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ โดยทั่วไปดอกตัวผู้ จะบานก่อนดอกตัวเมียและพร้อมจะผสมภายใน 1 – 3 วัน และทยอย
บานทีละคู่ใช้เวลา 2 – 14 วัน ดอกตัวเมียมีลักษณะเป็นฝัก จากแขนงสั้นๆ บนข้อที่มีใบใหญ่สุด แขนงดังกล่าว
ประกอบด้วยใบ 8 – 13 ใบ เจริญเป็นกาบหุ้มส่วนของดอกตัวเมียและหุ้มฝัก (husk) ก้านเกสรตัวเมียมี
ลักษณะคล้ายเส้นไหม เจริญออกมาด้านส่วนปลายฝัก ประกอบด้วยเมือกเหนียวเพื่อดักจับละอองเกสร การใช้
ประโยชน์และคุณค่าทางอาหาร ข้าวโพดหวานจัดเป็นพืชที่ให้พลังงานสูง และมีปริมาณโปรตีนรองจากถั่ว
ลันเตา ถั่วแขก และกระเทียม นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วยธาตุอาหารที่สูง เช่น ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
และไทอามีน นอกจากนี้พันธุ์ที่มีสีเหลืองมากๆ จะมีวิตามินเอสูง เป็นต้น
การเจริญเติบโตของข้าวโพดที่แปลง

ขึ้นแปลงและเตรียมหน้าดิน 21/11/66

รับเมล็ดพันธุ์และทาการปลูก 28/11/66

ระยะ VE 50 % 02/12/66

ระยะ V1 50 % 04/12/66
ใส่ปุ๋ยข้าวโพดครั้งที่1 12/12/66

ใส่ปุ๋ยข้าวโพดครั้งที่2 09/01/67

ใส่ปุ๋ยข้าวโพดครั้งสุดท้าย 24/01/67

30/01/67
ปรากฏช่อดอกตัวผู้ 7 ต้น
ระยะ VT 50 % 02/02/67
ปรากฏช่อดอกตัวผู้ครบทุกต้น
รวมทั้งหมด 22 ต้น
04/02/67
ปรากฏไหมให้เห็น 6 ต้น
06/02/67
ระยะ R1 50 % ปรากฏไหมให้เห็นรวม 15 ต้น
08/02/67
ปรากฏไหมให้เห็นครบทุกต้น
รวมทั้งหมด 22 ต้น

ไหมข้าวโพดเป็นสีน้าตาล
พร้อมเก็บเกี่ยวแต่เมื่อหักมา 20/02/67
1ฝัก ปรากฏว่าข้าวโพดยังไม่สุก

27/02/67
เก็บเกี่ยวข้าวโพดจานวน 5 ฝัก ชั่งแบบยังไม่ปอกเปลือกได้
2.2 kg

27/02/67
ปอกเปลือกข้าวโพดเพื่อนาไป ชั่งแบบปอกเปลือกแล้วได้
วัดขนาด ความยาวและกว้าง 1.5 kg
ข้าวโพดมีรอยโดนแมลงเจาะ 27/02/67

ฝักที่ดีที่สุดใน 5 ฝัก 27/02/67


ที่เก็บเกี่ยวมา มีความยาว 20.49 cm.
มีความกว้าง 5.39 cm.

ต้นข้าวโพดที่ทาการเก็บเกี่ยว 29/02/67
ผลผลิตหมดแล้ว

การดูแลแปลงข้าวโพดระหว่างปลูก
1.หมั่นกาจัดวัชพืชให้แปลงสะอาดอยู่เสมอ
2.รดน้าอย่างสม่าเสมอเมื่อถึงช่วงอายุที่ข้าวโพดต้องการน้า
3.คอยสังเกตศัตรูและโรคของข้าวโพด
4.พูนต้นข้าวโพดเพื่อให้ลาต้นมีความแข็งแรงมากขึ้น
ปัญหาที่พบภายในแปลง

วัชพืชในแปลงเยอะ มีทั้ง วิธีการแก้ไข


หญ้าเบี้ยหิน หญ้าปากควาย ถอนทิ้ง
หญ้าแห้วหมู

เป็นโรคใบไหม้แผลเล็ก วิธีการแก้ไข
เกิดจากเชื้อรา ตัดใบทิ้ง

ตารางบันทึกข้อมูลข้าวโพด
ลาดับต้น จานวนฝัก ความยาวฝัก ความกว้างฝัก น้าหนักไม่ปอกเปลือก น้าหนักปอกเปลือก
(cm.) (cm.) (g.) (g.)
1 1 18.59 5.19 202.13 177.16
2 1 19.38 5.29 231.87 216.76
3 1 19.59 5.39 215.92 201.02
4 1 19.29 5.79 225.12 214.69
5 1 20.49 5.39 213.87 200.09
ค่าเฉลี่ย 1 19.468 5.41 217.782 201.944
ถั่วเหลือง
ชื่อสามัญ : Soybean
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Glycine max L.
ชื่อวงศ์ : Fabaceae
ถั่วเหลืองเป็นพืชล้มลุก สูง 0.3-0.9 เมตร ลาต้นมีขนปกคลุม ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มี 3 ใบย่อย หูใบ
รูปไข่ขนาด 3-7 มิลลิเมตร ใบย่อยรูปไข่ ฐานใบเป็นรูปลิ่มหรือกลม ปลายใบเรียวแหลม ช่อดอกแบบช่อกระจะ
ก้านช่อดอกยาว 1-3.5 เซนติเมตร วงกลีบเลี้ยงขนาด 4-6 มิลลิเมตร มีขนหยาบแข็ง วงกลีบดอกสีม่วง ม่วง
อ่อน หรือขาว ขนาด 4.5-10 เซนติเมตร กลีบกลางรูปไข่โคนกลีบคล้ายกันกลีบ ปลายกลีบเว้าตื้น กลีบคู่ข้าง
หยักมน กลีบคู่ล่างรูปไข่กลับ รังไข่เหนือวงกลีบ ผลแบบฝักแบบถั่วขนาด 40-75 x 8-15 มิลลิเมตร อวบน้า
ขอบรูปขนาน มี 2-5 เมล็ด รูปร่างรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ขั้วเมล็ดเป็นรูปรี
การเจริญเติบโตของถั่วเหลืองที่แปลง

ขึ้นแปลงและเตรียมหน้าดิน 21/11/66

รับเมล็ดพันธุ์ครั้งที่1 28/11/66

รับเมล็ดพันธุ์ครั้งที่2
แล้วนามาเพาะ เนื่องจากเมล็ด 06/12/66
พันธุ์ครั้งที1่ ปลูกที่แปลงไม่ขึ้น

ลักษณะต้นหลังจากนามาปลูก 22/12/66
ลงแปลงได้ 1 สัปดาห์

ถั่วเหลืองออกฝักครบทุกต้น 24/01/67
แต่เม็ดยังไม่เต็มฝัก
เก็บถั่วครั้งที่1 06/02/67
ได้ 43 g.

เก็บถั่วครั้งที่2 20/02/67
ได้ 42 g.

เก็บถั่วครั้งที่3 27/02/67
ได้ 25.47 g.

ต้นถั่วเหลืองหลังจากเก็บเกี่ยว 29/02/67
ผลผลิตหมดแล้ว
การดูแลถั่วเหลืองในแปลงระหว่างปลูก
1.หมั่นกาจัดวัชพืชให้แปลงสะอาดอยู่เสมอ
2.รดน้าอย่างสม่าเสมอ
3.คอยสังเกตศัตรูและโรคของถั่วเหลือง
4.พูนโคนต้นถั่วเหลืองเพื่อให้ลาต้นมีความแข็งแรงมากขึ้น

ปัญหาที่พบภายในแปลง

วัชพืชในแปลงเยอะ มีทั้ง วิธีการแก้ไข


หญ้าเบี้ยหิน หญ้าปากควาย
ถอนทิ้ง
หญ้าแห้วหมู

ใบถั่วเหลืองโดนหนอนกระทู้ผัก วิธีการแก้ไข
กัดกิน
ทาลายตัวหนอน

ถั่วตาย 1 ต้น วิธีการแก้ไข


เนื่องจากก่อนวันเก็บถั่วรอบ ไม่มี
สุดท้าย ได้ทาการไปถางหญ้า
แล้วเกิดการถางโดนต้นถั่ว
ตารางบันทึกข้อมูลถั่วเหลือง
ลาดับต้น จานวนฝัก/ต้น เมล็ด/ฝัก น้าหนักฝักสด/ต้น g.
1 5 3 12.04
2 7 3 13.71
3 8 3 13.77
4 11 3 14.79
5 9 3 13.98
6 10 3 14.67
7 7 3 13.65
8 9 3 13.86
รวม 66 15 110.47
ค่าเฉลี่ย 8.25 3 13.81

น้าหนักฝักสด รวม 8 ต้น = 110.47 g.

ข้าวฟ่างในแปลง
ถ่ายเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2567

You might also like