You are on page 1of 4

การวิจัยเรื่อง “ระดับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาวิทย์วิทยาลัยสหวิทยาการ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”

คำชี้แจง: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การศึกษา 3 ประการ 1) ศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจของนักศึกษาวิทยาลัยสห


วิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2) ศึกษาระดับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษาวิทยาลัยสห
วิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของนักศึกษาวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลั บ
กรุณาทำเครื่องหมาย ลงใน หน้าช่องว่าง และกรอกข้อมูลให้สมบูรณ์ตรงตามความเป็นจริงและตรงตาม
ทัศนะของท่านมากที่สุด
แบบสอบถามแบ่งเป็น 4 ตอน ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้ข้อมูล 5 ข้อ
ตอนที่ 2 ระดับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง 19 ข้อ
ตอนที่ 3 พฤติกรรมการตัดสินใจ 5 ข้อ
ตอนที่ 1

กรุณาทำเครื่องหมาย ลงใน หน้าช่องว่าง และเติมข้อความในช่องว่างที่ตรงกับความเป็นจริงของท่านมาก


ที่สุด
1. เพศ ชาย หญิง LGBT
2. อายุปัจจุบัน…………ปี
3. ชั้นปีการศึกษา ชั้นปีที่ 1 ชั้นปีที่ 2 ชั้นปีที่ 3 ชั้นปีที่ 4
4. หลักสูตรที่ศึกษา
ปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ (ภาษาไทย) ปรัชญา การเมือง และเศรษฐศาสตร์ (นานาชาติ)
สหวิทยาการ (ภาษาไทย) วิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (ภาษาไทย)
5. ศูนย์การศึกษา
ท่าพระจันทร์ ศูนย์ลำปาง ศูนย์รังสิต
ตอนที่ 2 ระดับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง

กรุณาทำเครื่องหมาย ลงใน หน้าช่องว่าง ให้สมบูรณ์ตรงตามความจริงและตรงตพฤติกรรมของท่านมาก


ที่สุด
ระดับพฤติกรรม
คำถาม ทุกวัน บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคย
(4) (3) (2) (1)
1. รับฟังหรือรับทราบข่าวสารทางการเมืองระดับชาติ
2. รับฟังหรือรับทราบข่าวสารทางการเมืองระดับท้องถิ่น
3. การไปลงคะแนนเลือกตั้งที่มีสิทธิในระดับชาติ
4. ชักชวนให้ผู้อื่นสนทนาเหตุการณ์บ้านเมือง
5. ชักชวนให้ผู้อื่นใช้สิทธิออกเสียงให้ผู้สมัครที่ท่านสนับสนุน ใน
การเลือกตั้งระดับชาติ
6. ชักชวนให้ผู้อื่นใช้สิทธิออกเสียงให้ผู้สมัครที่ท่านสนับสนุน ใน
การเลือกตั้งระดับท้องถิ่น
7. ช่วยโฆษณาให้พรรคการเมืองหรือ ผู้สมัครการเมืองในการ
เลือกตั้งระดับชาติ
8. ช่วยโฆษณาให้พรรคการเมืองหรือ ผู้สมัครการเมืองในการ
เลือกตั้งระดับท้องถิ่น
9. เสนอข้อคิดเห็น ต่อนักการเมืองหรือพรรคการเมือง
10. สนับสนุนโดยการบริจาคเงินให้พรรคการเมืองหรือกิจกรรม
ทางการเมือง
11. ติ ด ตามการหาเสี ย งของนั ก การเมื อ งในการเลื อ กตั้ ง
ระดับชาติ
12. ติดตามการหาเสียงของนักการเมืองในการเลือกตั้งท้องถิ่น
13. ทำงานให้พรรคการเมืองที่เป็นสมาชิกพรรรคเป็นประจำ
เสมอ
14. เข้ามีส่วนร่วมในการวางแผนของพรรคหรือประชุมสามัญ
พรรคที่เป็นสมาชิกพรรค
15. ช่วยหาเสียงให้กับผู้สมัครรับเลือกตั้งระดับชาติ
16. ช่วยหาเสียงให้กับผู้สมัครรับเลือกตั้งระดับท้องถิ่น
17. ช่วยหาเงินเข้าเป็นกองทุนพรรค
18. สมัครเข้าแข่งขันรับเลือกตั้งเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ในระดับชาติ
ระดับพฤติกรรม
คำถาม ทุกวัน บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคย
(4) (3) (2) (1)
19. สมัครเข้าแข่งขันรับเลือกตั้งเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ในระดับท้องถิ่น
* หมายเหตุ * รวมถึงสังคมออนไลน์ด้วย คือ โพสต์ รีโพสต์ แชร์ แสดงความคิดเห็น หรือติดต่อข้อความส่วนตัวผ่าน
แพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ

ตอนที่ 3 พฤติกรรมการตัดสินใจ

กรุณาทำเครื่องหมาย ลงใน หน้าช่องว่าง ให้สมบูรณ์ตรงตามความจริงและตรงตพฤติกรรมของท่านมาก


ที่สุด
ระดับพฤติกรรม
คำถาม ทุกครั้ง บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคย
(4) (3) (2) (1)
1. เมื่อเกิดปัญหาขึ้น ท่านทบทวนสาเหตุของปัญหาเสมอว่าเกิด
จากอะไร
2. เมื ่ อ เกิ ด ปั ญ หา ท่ า นได้ ส ร้ า งทางเลือ กที ่ จ ะช่ ว ยในการ
แก้ปัญหา
3. ท่ านแบ่ ง ระดับความสำคัญในแต่ละทางเลื อกด้ วยการให้
คะแนนทางเลือก โดยมีการให้คะแนนสูงที่สุดสำหรับทางเลื อก
ที ่ ท ่ านเห็ น ว่าจะแก้ ปั ญหาให้ท ่า นได้ ดีด ีท ี ่ สุ ด และลดหลั่ น
คะแนนของทางเลือกอื่น ๆ ลงไป
4. ในการแก้ปัญหาท่านมีการสร้างทางเลือกในการแก้ปั ญหา
มากกว่าหนึ่งทางเลือก
5. ท่ า นนำทางเลือ กทั ้ ง หมดวิ เ คราะห์ จ ุ ด อ่ อ นจุ ด แข็ ง และ
ประเมินว่าควรจะเลือกทางเลือกใด

ขอบคุณทุกท่านที่กรุณาสละเวลาให้ข้อมูล
คณะผู้วิจัย

You might also like