You are on page 1of 9

ทําความรู ้จกั ส.ว.

ชุดใหม่ พร้อมที่มาแบบใหม่โดยการให้ “เลือกกันเอง”

• 28.6K views

• May 30, 2023

0
Shares
สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) แต่งตั้งชุดพิเศษ 250 คน ใกล้จะหมดวาระในช่วงกลางปี 2567 และ ส.ว.ชุดใหม่ที่มา
แบบใหม่เป็ น ส.ว.ตามบทหลักภายใต้รัฐธรรมนูญปี 2560 จะเข้ามาปฏิบตั ิหน้าที่ต่อในฐานะสภาสู ง แม้อาํ นาจ
ตามบทเฉพาะกาล เช่น การเลือกนายกฯ ร่ วมกับ ส.ส. นั้นจะสิ้ นผลไปตาม ส.ว.แต่งตั้งชุดแรก แต่อาํ นาจหลัก
อื่นๆ ยังคงมีอยูเ่ ต็มมือ
ส.ว.ชุดใหม่ 200 คน มาจากกลุ่มอาชีพต่างๆ และกลุ่มพิเศษคัดเลือกกันเอง

หลังจากที่ครบวาระห้าปี นับตั้งแต่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง ชุดแรกที่ถูกแต่งตั้งมาใช้อาํ นาจเฉพาะกิจสาน


ต่อช่วงรอยต่อของการดําเนินงานตามรัฐธรรมนูญ 2560 ก็จะหมดอายุไป โดยที่มาของ ส.ว.ชุดใหม่ ก็ไม่
เหมือน ส.ว. ชุดพิเศษ ตามบทเฉพาะกาลอีกต่อไป และมีจาํ นวนลดลงเหลือเพียง 200 คน แตกต่างจาก ส.ว. ชุด
พิเศษตามบทเฉพาะกาลที่มีถึง 250 คน

รัฐธรรมนูญ 2560 กําหนดหลักการที่มาและจํานวนวุฒิสภาตามบทบัญญัติหลัก โดยให้ ส.ว.มีจาํ นวน 200


คน วาระดํารงตําแหน่งคราวละห้าปี ซึ่งจะเริ่ มนับอายุต้งั แต่วนั ที่กรรมการเลือกตั้ง (กกต.) ประกาศผล มีที่มา
จากการที่ผสู ้ มัครตามแต่ละกลุ่มอาชีพ “เลือกกันเอง” โดยบุคคลที่มีความรู ้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์
อาชีพ ลักษณะหรื อประโยชน์ร่วมกัน ทํางานหรื อเคยทํางานด้านต่างๆ ที่หลากหลายของสังคม ซึ่ งรายละเอียด
การจัดสรรกลุ่มอาชีพต่างๆ จํานวนและหลักเกณฑ์ข้นั ตอนการเลือกกันเองอย่างชัดเจนจะถูกลงไว้ใน
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งวุฒิสภา พ.ศ. 2561 (พ.ร.ป.วุฒิสภา)

พ.ร.ป.วุฒิสภา มาตรา 10 และมาตรา 11 กําหนดให้ผสู ้ มัคร ส.ว.สามารถเลือกสมัครเป็ นตัวแทนจากกลุ่มต่างๆ


ได้ โดยแบ่งออกเป็ นกลุ่มอาชีพต่างๆ ซึ่งมีจาํ นวน 18 กลุ่ม และกลุ่มพิเศษอีกสองกลุ่มคือ กลุ่มสตรี และกลุ่ม
ผูส้ ู งอายุ คนพิการหรื อผูท้ ุพพลภาพรวมถึงกลุ่มชาติพนั ธุ์ รวมจํานวนทั้งหมด 20 กลุ่ม ดังนี้

1. กลุ่มการบริ หารราชการแผ่นดินและความมัน่ คง เช่น อดีตข้าราชการ เจ้าหน้าที่รัฐ หรื ออื่นๆ ในทํานอง


เดียวกัน
2. กลุ่มกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม เช่น ผูพ้ ิพากษา อัยการ ตํารวจ ผูป้ ระกอบวิชาชีพกฎหมาย หรื อ
อื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
3. กลุ่มการศึกษา เช่น ครู อาจารย์ นักวิจยั ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
4. กลุ่มการสาธารณสุ ข เช่น แพทย์ทุกประเภท เทคนิคการแพทย์ พยาบาล เภสัชกร หรื ออื่นๆ ในทํานอง
เดียวกัน
5. กลุ่มอาชีพทํานา ปลูกพืชล้มลุก หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
6. กลุ่มอาชีพทําสวน ป่ าไม้ ปศุสตั ว์ ประมง หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
7. กลุ่มพนักงานลูกจ้างที่ไม่ใช่ราชการหรื อหน่วยงานรัฐ ผูใ้ ช้แรงงาน อื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
8. กลุ่มผูป้ ระกอบอาชีพด้านสิ่ งแวดล้อม ผังเมือง อสังหาฯ และสาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน
หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
9. กลุ่มผูป้ ระกอบกิจการขนาดกลางและขนาดย่อยตามกฎหมาย หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
10. กลุ่มผูป้ ระกอบกิจการอื่นนอกจาก (9)
11. กลุ่มผูป้ ระกอบธุรกิจหรื ออาชีพด้านการท่องเที่ยว เช่น มัคคุเทศก์ ผูป้ ระกอบกิจการอื่นหรื อพนักงาน
โรงแรม หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
12. กลุ่มผูป้ ระกอบอุตสาหกรรม หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
13. กลุ่มผูป้ ระกอบอาชีพด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การสื่ อสาร การพัฒนานวัตรกรรม หรื ออื่นๆ ใน
ทํานองเดียวกัน
14. กลุ่มสตรี
15. กลุ่มผูส้ ู งอายุ คนพิการหรื อผูท้ ุพพลภาพ กล่◌ุมชาติพนั ธุ์ กลุ่มอัตลักษณ์อื่น หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
16. กลุ่มศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี การแสดงและบันเทิง นักกีฬา หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
17. กลุ่มประชาสังคม กลุ่มองค์กรสาธารณประโยชน์ หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
18. กลุ่มสื่ อสารมวลชน ผูส้ ร้างสรรค์วรรณกรรม หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
19. กลุ่มผูป้ ระกอบวิชาชีพ ผูป้ ระกอบอาชีพอิสระ หรื ออื่นๆ ในทํานองเดียวกัน
20. กลุ่มอื่นๆ

โดยผูส้ มัครจะต้องมีไม่มีลกั ษณะต้องห้ามต่างๆ ตามมาตรา 14 เช่น ไม่เป็ นข้าราชการ ไม่เป็ นสมาชิกพรรค


การเมือง และต้องมีคุณสมบัติครบตามมาตรา 13 ดังนี้

• มีสญ ั ชาติไทยโดยการเกิด
• อายุไม่ต่าํ กว่า 40 ปี ในวันสมัครรับเลือก
• มีความรู ้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ หรื อทํางานในด้านที่สมัครไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
• ผูส้ มัครต้องมีลกั ษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ คือ เกิดในอําเภอที่สมัครรับเลือก,มีชื่ออยูใ่ นทะเบียน
บ้านในอําเภอที่สมัครรับเลือกเป็ นเวลาติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่าสองปี นับถึงวันสมัครรับเลือก,เคยทํางาน
หรื อเคยมีชื่ออยูใ่ นทะเบียนบ้านอยูใ่ นอําเภอที่สมัครรับเลือก แล้วแต่กรณี เป็ นเวลาติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่า
สองปี ,เคยศึกษาในสถานศึกษาที่ต้ งั อยูใ่ นอําเภอสมัครรับเลือกเป็ นเวลาติดต่อกันไม่นอ้ ยกว่าสองปี
การศึกษา

ทั้งนี้ คุณสมบัติเรื่ องความรู ้ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ หรื อทํางานไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี นั้น จะไม่ถูกนํามาใช้
กับผูท้ ี่สมัครในกลุ่มสตรี หรื อกลุ่มผูส้ ู งอายุ คนพิการหรื อผูท้ ุพพลภาพ กล่◌ุมชาติพนั ธุ์ และกลุ่มอัตลักษณ์อื่น
นอกจากนี้ หากเป็ นผูป้ ระกอบอาชีพที่อยูใ่ นข่าย “อื่น ๆ หรื อในทํานองเดียวกัน” จะต้องเป็ นไปตามประกาศ
ของคณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) ด้วย

เปิ ดที่มา ส.ว. ให้เวียนเลือกกันเอง ตั้งแต่ระดับอําเภอ ระดับจังหวัด จนถึงระดับประเทศ

ที่มาของ ส.ว.ชุดใหม่ เมื่อผูส้ มัครคุณสมบัติผา่ นฉลุยก็จะเข้าสู่ กระบวนการเลือกกันเองภายใน 20 กลุ่ม ซึ่ง


ผูส้ มัครแต่ละคนมีสิทธิเลือกสมัครได้แค่หนึ่งกลุ่มและในหนึ่งอําเภอเท่านั้น (มาตรา 15) โดยทุกกลุ่มจะทําการ
เลือกกันเองตั้งแต่ในระดับอําเภอ พอได้ตวั แทนระดับอําเภอก็ไปคัดเลือกกันเองต่อในระดับจังหวัด จากนั้น
ค่อยไปคัดเลือกกันเองต่อในระดับประเทศ จนได้สมาชิกครบ 200 คน ซึ่งขั้นตอนต่างๆ มีดงั นี้

ด่ านแรก เลือกกันเองในระดับอําเภอ (มาตรา 40)

ขั้นแรก เลือกกันเองภายในกลุ่มเดียวกัน เพื่อให้ได้หา้ อันดับแรกของแต่ละกลุ่ม

• เริ่ มด้วยการเลือกกันเองภายในกลุ่มที่ผสู ้ มัครเลือกสมัครก่อน ซึ่งจะเลือกบุคคลในกลุ่มเดียวกันได้ไม่เกิน


สองคน โดยจะลงคะแนนให้ตวั เองก็ได้ แต่ไม่สามารถลงคะแนนให้ผใู ้ ดได้เกินหนึ่งคะแนน
• ผูไ้ ด้คะแนนสู งสุ ดห้าอันดับแรก ถือเป็ นผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของแต่ละกลุ่ม

ขั้นที่สอง เลือกผูส้ มัครต่างกลุ่ม เพื่อให้ได้สามอันดับแรกของแต่ละกลุ่มไปเลือกกันต่อในระดับจังหวัด

• กลุ่มแต่ละกลุ่มเมื่อได้ผไู ้ ด้รับเลือกขั้นต้นแล้ว จะถูกจัดแบ่งออกตามสาย แบ่งออกเป็ นไม่เกินสี่ สาย และ


ให้มีจาํ นวนกลุ่มเท่าๆ กัน
• ผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของแต่ละกลุ่มจะต้องเลือกผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของกลุ่มอื่นที่อยูใ่ นสายเดียวกัน โดยให้
เลือกบุคคลจากกลุ่มอื่นในสายเดียวกัน กลุ่มละหนึ่งคน ห้ามเลือกคนที่อยูก่ ลุ่มเดียวกันหรื อเลือกตนเองใน
ขั้นนี้
• ผูไ้ ด้คะแนนสามลําดับแรกของแต่ละกลุ่ม ถือเป็ นผูไ้ ด้รับเลือกในระดับอําเภอสําหรับกลุ่มนั้น และเข้าสู่
การคัดเลือกต่อในระดับจังหวัดต่อไป

ด่ านที่สอง เลือกกันเองในระดับจังหวัด (มาตรา 41)

ขั้นแรก เลือกกันเองภายในกลุ่มเดียวกัน เพื่อให้ได้หา้ อันดับแรกของแต่ละกลุ่ม


• ผูไ้ ด้รับเลือกระดับอําเภอแต่ละกลุ่ม ลงคะแนนเลือกกันเองภายในกลุ่ม ซึ่งจะเลือกบุคคลในกลุ่มเดียวกัน
ได้ไม่เกินสองคน โดยจะลงคะแนนให้ตวั เองก็ได้แต่ไม่สามารถลงคะแนนให้ผใู ้ ดได้เกินหนึ่งคะแนน
• ผูไ้ ด้คะแนนสู งสุ ดห้าอันดับแรก ถือเป็ นผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของแต่ละกลุ่ม

ขั้นที่สอง เลือกผูส้ มัครต่างกลุ่ม เพื่อให้ได้สองอันดับแรกของแต่ละกลุ่มไปเลือกกันต่อในระดับประเทศ

• กลุ่มแต่ละกลุ่มเมื่อได้ผไู ้ ด้รับเลือกขั้นต้นแล้ว จะถูกจัดแบ่งออกตามสาย แบ่งออกเป็ นไม่เกินสี่ สาย และ


ให้มีจาํ นวนกลุ่มเท่าๆ กัน
• ผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของแต่ละกลุ่มจะต้องเลือกผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของกลุ่มอื่นที่อยูใ่ นสายเดียวกัน โดยให้
เลือกบุคคลจากกลุ่มอื่น กลุ่มละหนึ่งคน ห้ามเลือกคนที่อยูก่ ลุ่มเดียวกันหรื อเลือกตนเอง
• ผูไ้ ด้คะแนนสู งสุ ดสองลําดับแรกของแต่ละกลุ่ม ถือเป็ นผูไ้ ด้รับเลือกในระดับจังหวัดสําหรับกลุ่มนั้น และ
เข้าสู่ การคัดเลือกต่อในระดับประเทศต่อไป

ด่ านที่สาม เลือกกันเองในระดับประเทศ (มาตรา 42)

ขั้นแรก เลือกกันเองภายในกลุ่มเดียวกัน เพื่อให้ได้ 40 คนแรกของแต่ละกลุ่ม

• ผูไ้ ด้รับเลือกระดับจังหวัดแต่ละกลุ่ม ลงคะแนนเลือกกันเองภายในกลุ่ม ซึ่งจะเลือกบุคคลในกลุ่มเดียวกัน


ได้ไม่เกิน 10 คน โดยจะลงคะแนนให้ตวั เองก็ได้แต่ไม่สามารถลงคะแนนให้ผใู ้ ดได้เกินหนึ่งคะแนน
• ผูไ้ ด้คะแนนสู งสุ ด 40 อันดับแรก ถือเป็ นผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของแต่ละกลุ่ม ในขั้นนี้หากแต่ละกลุ่มได้ไม่
ครบ 40 คน ก็ให้ถือตามจํานวนเท่าที่มี แต่จะน้อยกว่า 20 คนไม่ได้ โดยผูอ้ าํ นวยการเลือกตั้ง
ระดับประเทศจะจัดให้ผทู ้ ี่ไม่ได้รับเลือก ซึ่งยังอยู่ ณ สถานที่เลือกนั้น เลือกกันเองใหม่จนกว่ากลุ่มนั้นจะ
มีจาํ นวนอย่างตํ่าถึง 20 คน

ขั้นที่สอง เลือกผูส้ มัครต่างกลุ่ม โดย 10 คนแรก ที่ได้รับคะแนนสู งสุ ดของแต่ละกลุ่ม ถือเป็ นผูไ้ ด้รับเลือกให้
เป็ น ส.ว.

• กลุ่มแต่ละกลุ่มเมื่อได้ผไู ้ ด้รับเลือกขั้นต้นแล้ว จะถูกจัดแบ่งออกตามสาย แบ่งออกเป็ นไม่เกินสี่ สาย และ


ให้มีจาํ นวนกลุ่มเท่าๆกัน
• ผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของแต่ละกลุ่มจะต้องเลือกผูไ้ ด้รับเลือกขั้นต้นของกลุ่มอื่นที่อยูใ่ นสายเดียวกัน โดยให้
เลือกบุคคลจากกลุ่มอื่น กลุ่มละไม่เกินห้าคน ห้ามเลือกคนที่อยูก่ ลุ่มเดียวกันหรื อเลือกตนเองในขั้นนี้
• ผูไ้ ด้คะแนนสู งสุ ด 10 ลําดับแรกของแต่ละกลุ่ม ถือเป็ นผูไ้ ด้รับเลือกให้เป็ น ส.ว. สําหรับกลุ่มนั้น และผูท้ ี่
ได้ลาํ ดับที่ 11 ถึง 15 จะเป็ นผูท้ ี่อยูใ่ นบัญชีสาํ รองของกลุ่มนั้น

โดยสรุ ป เมื่อผ่านการเลือกกันเองของกลุ่มผูส้ มัคร ส.ว.ทั้งหมดสามด่านแล้ว ก็จะได้ตวั แทนจากแต่ละกลุ่ม


กลุ่มละ 10 คน เป็ นตัวจริ งที่จะเข้ามาดํารงตําแหน่งเป็ น ส.ว. ยกตัวอย่างเช่น นาย A เคยเป็ นครู ทํางานมาแล้ว
20 ปี อยากเป็ น ส.ว. ดังนั้น นาย A จึงไปสมัครตามอําเภอที่ตนพํานัก เพื่อเข้ารับเลือกในกลุ่มอาชีพที่ตน
เชี่ยวชาญคือกลุ่มการศึกษา เมื่อตรวจคุณสมบัติผา่ นก็ตอ้ งเข้าสู่ กระบวนการคัดเลือกกันเองสามด่าน ซึ่งนัน่
หมายความว่า นาย A จะเป็ นทั้งผูม้ ีสิทธิเลือก ส.ว.และเป็ นผูม้ ีสิทธิได้รับเลือกให้เป็ น ส.ว.ไปพร้อมกัน และ
การที่ ‘นาย A’ จะเป็ น ส.ว.ได้น้ นั นาย A ต้องติด Top 40 ของประเทศที่ได้รับความไว้วางใจจากคนในกลุ่ม
อาชีพเดียวกัน และยังต้องได้รับความไว้วางใจจากผูส้ มัครกลุ่มอื่นๆ ถูกเลือกจนกลายเป็ น Top 10 ของกลุ่ม
การศึกษา และเป็ นหนึ่งใน 200 คนที่ได้รับตําแหน่ง ส.ว. ในที่สุด

ส.ว.แบบคัดเลือกกันเอง จะเป็ นตัวแทนที่ดีกว่าเดิมจริ งหรื อ?

การได้มาซึ่ง ส.ว. ด้วยวิธีการ “คัดเลือกกันเอง” นับว่าเป็ นทางเลือกใหม่ที่แปลกและแหวกแนวที่สุดนับตั้งแต่


รัฐธรรมนูญ 2540 เป็ นต้นมา โดยวิวฒั นาการของที่ ส.ว. ในปี 2540 เริ่ มต้นที่ ส.ว. มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด
จากนั้นในปี 2550 จึงเปลี่ยนมาเป็ นเลือกตั้งส่ วนหนึ่งและสรรหาอีกส่ วนหนึ่ง แต่ทว่า ที่มา ส.ว.แบบใหม่น้ ีจะ
ไม่งอ้ การเลือกตั้งจากประชาชนทั้งหมด โดยมีชยั ฤชุพนั ธ์ อดีตประธานคณะกรรมการร่ างรัฐธรรมนูญ ให้
สัมภาษณ์ ถึงที่มา ส.ว.แบบใหม่น้ ีวา่ “ประชาชนเขาจะเข้ามามีส่วนร่ วมได้โดยตรง และไม่ตอ้ งอิงกับพรรค
การเมืองเพราะไม่ตอ้ งหาเสี ยง เขาก็คุยกันเฉพาะแต่ในกลุ่มบุคคลที่สมัคร กลไกในลักษณะนี้จะทําให้ส.ว.
ปลอดจากการเมือง มาจากทุกสาขาอาชีพ มาจากคนทัว่ ประเทศ และกลุ่มบุคคลเหล่านี้กค็ ือ ‘ประชาชน’ ”

อย่างไรก็ตาม ก็ยงั มีคาํ ถามที่ตามมาภายหลังว่า ส.ว. ในฐานะที่เป็ นผูแ้ ทนปวงชนชาวไทย จะยังยึดโยงกับเสี ยง


ประชาชนมากน้อยเพียงใดในเมื่อจํากัดสิ ทธิเลือกตั้ง ส.ว.ไว้ให้เฉพาะผูส้ มัครรับเลือกตั้งด้วยกันเองเท่านั้น
[อ้างอิง: ภูวดล คงแสง “ปั ญหาเกี่ยวกับวิธีการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2560”, วารสารนาคบุตรปริ ทศั น์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรี ธรรมราช ปี ที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน –
ธันวาคม 2565 , หน้า 146.]

นอกจากนี้ ปัญหาซื้อเสี ยงอาจมีโอกาสเกิดขึ้นได้ง่ายกว่าเดิม เพราะจํานวนคนที่ผสู ้ มัครต้อง “ซื้ อ” มีขนาดเล็ก


ลง กล่าวคือ หากเป็ นระบบการเลือกตั้ง ผูส้ มัครชิงตําแหน่ง ส.ว. จะต้องมัน่ ใจว่า ตนจะได้รับเสี ยงจาก
ประชาชนตามจํานวนประชากรในแต่ละพื้นที่ซ่ ึงมีขนาดใหญ่ แต่พอเปลี่ยนเป็ น “การคัดเลือกกันเอง” ในกลุ่ม
อาชีพ ยิง่ กลุ่มอาชีพใดมีผสู ้ มัครน้อย การซื้อเสี ยงก็จะยิง่ ทําได้ง่ายมากขึ้นไปอีก

ส.ว. ชุดใหม่ ไม่มีอาํ นาจโหวตเลือกนายกฯ ร่ วมกับ ส.ส.

อํานาจเฉพาะกิจที่มาตามบทเฉพาะกาลนั้นหลังจากที่ครบวาระห้าปี ของ ส.ว.ชุดแรกเริ่ มของรัฐธรรมนูญปี 60


ก็จะสิ้ นผลไปตามความของบทเฉพาะกาลซึ่งมีไว้เพื่อใช้บงั คับในช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น โดยอํานาจ
ชัว่ คราวที่เคยเป็ นเครื่ องมือสําคัญ มีดงั นี้
• การเลือกนายกรัฐมนตรีตาม มาตรา 272 โดยมาตรานี้ระบุไว้วา่ ในห้าปี แรกการเลือกนายกรัฐมนตรี
จะต้องเป็ น “การประชุมร่ วมกันของทั้งสองสภา” ซึ่งจะต้องมีมติเห็นชอบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิก
เท่าที่มีอยูข่ องสองสภาทําให้ ส.ว. มีอาํ นาจในการร่ วมเลือกนายกรัฐมนตรี ดว้ ย
• การติดตาม เสนอแนะ และการพิจารณาร่ าง พ.ร.บ.ที่ดาํ เนินการเกีย่ วกับการปฏิรูปประเทศ มาตรา
270 เพื่อบรรลุเป้าหมายการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและหมวดปฏิรูปประเทศซึ่งจัดทํามาตั้งแต่ใน
ยุคของ คสช.
• การพิจารณาร่ าง พ.ร.บ.บางเรื่ องทีถ่ ูกยับยั้งไว้ มาตรา 271 กําหนดให้ในกรณี การออกกฎหมายเกี่ยวกับ
การทุจริ ตคอร์ รัปชัน่ ถ้าหากเป็ นกรณี ที่การแก้ไขหรื อเพิ่มเติมโทษนั้นจะทําให้ผกู ้ ระทําผิดพ้นความผิด
ุ ิสภาไม่เห็นด้วยกับร่ างฉบับที่ผา่ นสภาผูแ้ ทนราษฎร หรื อกรณี การ
หรื อไม่ตอ้ งรับโทษ หรื อเป็ นกรณี ที่วฒ
ออกกฎหมายใดๆ ที่วฒ ุ ิสภาลงมติมากกว่าสองในสามว่าจะมีผลกระทบต่อการดําเนินกระบวนการ
ยุติธรรมอย่างร้ายแรง เมื่อวุฒิสภาส่ งคืนให้กบั สภาผูแ้ ทนราษฎร ให้ลงมติใหม่โดย ส.ว. กับ ส.ส. พิจารณา
ร่ วมกัน และร่ างกฎหมายนั้นจะเห็นชอบได้เมื่อมีมติไม่นอ้ ยกว่าสองในสามของสมาชิกทั้งสองสภาเท่าที่มี
อยูร่ วมกัน หรื ออย่างน้อย 501 เสี ยง

อํานาจหลักของ ส.ว. ชุดใหม่ยงั อยู่ แก้รัฐธรรมนูญผ่านได้ใช้เสี ยง 1 ใน 3 เช่นเดิม

กรอบการคิดเรื่ องอํานาจหน้าที่ของ ส.ว. จะมีส่วนสัมพันธ์กบั ที่มาของอํานาจ โดยปกติแล้วฐานคิดก็คือ “ถ้า


ส.ว.มีอาํ นาจมากก็ตอ้ งยึดโยงกับประชาชนให้มากที่สุด” เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ซ่ ึงกัน
และกัน แต่ในรัฐธรรมนูญ 2560 อํานาจของ ส.ว. กลับเพิ่มขึ้นจากเดิมอีก โดยอํานาจหลักๆ มีดงั นี้

หนึ่ง พิจารณาและกลัน่ กรองกฎหมาย โดยเป็ นการร่ วมพิจารณากับสภาผูแ้ ทนราษฎร ในกรณี ที่เป็ นการ
พิจารณาร่ างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (มาตรา 132) ส่ วนการกลัน่ กรองกฎหมายคือ การพิจารณา
กลัน่ กรองเป็ นชั้นที่สองต่อจากสภาผูแ้ ทนราษฎร และหากไม่เห็นด้วยก็มีอาํ นาจเพียงยับยั้งไว้ (มาตรา 136 และ
มาตรา 143)

โดยอํานาจใหม่ที่เพิม่ เติมขึ้นมาใหม่โดยผลของรัฐธรรมนูญปี 2560 คือ การเข้ามามีส่วนร่ วมพิจารณาการแก้ไข


รัฐธรรมนูญหากมีผเู ้ สนอเข้ามา โดยวาระที่หนึ่งและวาระที่สามจะต้องได้รับความเห็นชอบจากสมาชิกทั้งสอง
สภาไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เช่น ถ้ามี ส.ส. ครบจํานวน 500 และ ส.ว. ครบจํานวน
200 รวม 700 คน จะต้องได้เสี ยงของ ส.ส. และ ส.ว. รวมกัน 351 เสี ยงขึ้นไป และในจํานวนดังกล่าว จะต้องมี
เสี ยงของ ส.ว. ไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งในสามของจํานวน ส.ว. ที่มีอยู่ หรื ออย่างน้อย 67 คน จึงจะสามารถแก้ไข
รัฐธรรมนูญได้ (มาตรา 256)
สอง อํานาจตรวจสอบฝ่ ายบริหาร เช่น การตั้งกระทูถ้ าม (มาตรา 150) หรื อ เปิ ดอภิปรายทัว่ ไป เพื่อให้ ครม.
แถลงข้อเท็จจริ งหรื อชี้แจงปั ญหาสําคัญเกี่ยวกับการบริ หารราชการแผ่นดินโดยไม่มีการลงมติ (มาตรา 153)

สาม อํานาจให้ ความเห็นชอบเพื่อแต่ งตั้ง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและกรรมการในองค์กรอิสระ นอกจากนี้

ส.ว. มีอาํ นาจในการให้ความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระในการจัดทํา “มาตรฐานทางจริ ยธรรม”


เพื่อบังคับใช้ต่อองค์กรอิสระ ซึ่งเป็ นกลไกใหม่ที่เกิดขึ้นในรัฐธรรมนูญนี้ และมาตรฐานทางจริ ยธรรมที่จดั ทํา
ขึ้นเสร็ จแล้ว ก็จะมีผลบังคับใช้ต่อนักการเมืองทั้งคณะรัฐมนตรี ส.ส. และ ส.ว. เองด้วย (มาตรา 219)

นอกจากนี้ยงั มีอาํ นาจอื่นๆ เพิ่มเติม ซึ่งเกี่ยวกับการทําหน้าที่ในวุฒิสภาเอง เช่น การตั้งกรรมาธิการ (มาตรา


129) หรื อการทํางานร่ วมกันกับสภาผูแ้ ทนราษฎรอื่นๆ เช่น หากมีกรณี ที่เกิดปัญหาสําคัญเกี่ยวกับการบริ หาร
ราชการแผ่นดิน ที่คณะรัฐมนตรี เห็นสมควรจะฟังความเห็น ให้นายกรัฐมนตรี แจ้งต่อประธานรัฐสภา เพื่อเปิ ด
ประชุมสภาและให้ ส.ส. กับ ส.ว. ให้ความเห็นในเรื่ องดังกล่าวได้ แต่จะไม่สามารถทําการลงมติในปั ญหานั้น
ได้ (มาตรา 165)

You might also like