You are on page 1of 20

AC A D E M IC Y E A R 2 0 2 1

ANIMAL BREEDING AND


GENETICS
ดร.ปัญญา แซ่ลิ้ม
อาจารย์พิเศษคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
Senior Geneticist, MOWI Genetics AS
บทนำ: ภำพรวมของหลักกำร
ปรับปรุ งพันธุ์
ข้อความหลักสาหรับบทนี้ (Take home messages)
1) คาถามพื้นฐานที่สาคัญในการปรับปรุงพันธุ์คือ สัตว์ตัวไหนดี
ที่สุด? และ เราจะปรับปรุงพันธุ์ประชากรหนึ่งได้อย่างไร?
2) การคัดพันธุ์และการผสมพันธุ์เป็นสองสิ่งที่สาคัญในการทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงในเชิงพันธุศาสตร์
3) เมื่อเราต้องการประเมินแผนการปรับปรุงพันธุ์ทางเลือก เรามี
ความจาเป็นที่จะต้องพิจารณาอัตราการผสมเลือดชิดและความ
หลายหลายในเชิงชีววิทยาด้วย
“WHAT IS THE BEST ANIMALS ?”
▪ “Best” is a relative term
▪ ไม่มีสัตว์ตัวไหนดีที่สุดในทุกๆสถานการณ์
• ดีที่สุดในสิ่งแวดล้อมแรกอาจจะไม่ดีที่สุดในอีกสิ่งแวดล้อม
▪ เมื่อเราพิจารณารูปร่างหรือลักษณะของสัตว์
• Trait: ลักษณะใดก็ตามที่สามารถสังเกตหรือวัดค่าได้
• Observable trait: รูปร่างหรือลักษณะ เช่น สีขน (coat colour),
ขนาด, ลักษณะกล้ามเนื้อ
• Measurable trait: ลักษณะปริมาณที่สัตว์ได้มีการแสดงออก เช่น
น้าหนักตัว, ปริมาณน้านม, เวลาที่ใช้วิ่งใน 1 ไมล์ เป็นต้น
“ WHAT IS THE BEST ANIMALS ? ”
▪ ถ้ามีสัตว์ตัวหนึ่งน้าหนักตัว 10 kg และมีขนสีแดง
• Trait คืออะไร ? ก ชนะ แ อาการ จะไป ป บป ง น

ตอบ • Trait = น้าหนักตัว สีขน

• 10 kg กับ สีแดง คือลักษณะปรากฏ (phenotype)


ของ trait
า ของ Traitiphenotyp
ที่
ลั
นำ
พั
ค่
ต่
รั
ธ์
รุ
“ WHAT IS THE BEST ANIMALS ? ”
▪ ในการปรับปรุงพันธุ์ สิ่งที่เราสนใจคือการเปลี่ยนแปลงประชากรในเชิงพันธุกรรม
• ในมุมมองเชิงพันธุศาสตร์ เราสนใจทั้ง phenotype และ genotype ที่ต้องการ

(P)henotype = (G)enotype + (E)nvironment

P: ลักษณะปรากฏ (phenotype)
G: อิทธิพลเนื่องจากพันธุกรรม (genetic or genotype effects)
E: อิทธิพลเนื่องจากสิ่งแวดล้อม (environmental effects)
“ WHAT IS THE BEST ANIMALS ? ”
▪ Genotype ครอบค ม Genes
→ ง แวะ comhinatiun
• Genes หรือ gene combinations ที่มีผลต่อ
ลักษณะปรากฏที่เราสนใจ อาจ จะ น มาก ก า 1 แห ง

• ตัวอย่าง: Tropically adapted genotype


• Genotype ที่มี genes ที่มีอิทธิพลต่อลักษณะ
ต้านทานความร้อน, โรคปรสิต
ร์
มียี
ที่
ตำ
ท็
ว่
น่
ลุ
“ WHAT IS THE BEST ANIMALS ? ”
▪ สัตว์ตัวไหนดีที่สุด?
• พิจารณา0 Trait ใดที่มีความสาคัญและ00 phenotype ใดเป็นที่ต้องการ
• ในม้าสายพันธุ์ Thoroughbred: เร็ว, มีความทนทาน และมีหัวใจแข็งแรงสาหรับการวิ่งระยะไกล
• ในสุกร: สุ←ขภาพดี โตเร็วและมีคุณภาพเนื้อที่ดี
g
*

• Trait ขึ้นอยู่กับความเห็นของผู้ปรับปรุงพันธุ์
•-ความสาคัญของ trait จะขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อม, ระบบการจัดการ, รวมไปถึงความสาคัญเชิงเศรษฐกิจ
•“best genotype” ต้องมีข้อมูล อ สา ญ า ญ
เ น
การ จารณา า เขา เ า อง จาร นา หวาย อ าง า เทว

ด เ น
อ ล อง
• เป้าหมายในการปรับปรุงพันธุ์ (breeding objectives)
} เ บโต เ น ห า นอน ก
บ ง 1ใน ว หนด ศทาง เ น ป บป ง ฬ ห เ น การ า ห อ อก เ าหมาย เ น
กร มาก

า แผน การ ป บป ง บ ำ แรก าง บ ศทาง การ ป บป ง จะ าง น อ ว ความ า แ ละ องการ ป บป ง น แบบ ไหน

economic value =
เ น ว หนด า ใน การ ป บป ง นโต แ จาก จะ ผล ปอ
เศรษฐ จ หา
สำ
ว่
ที่พิ
คื
พิ
ต้
สำ
ท่
ว่
คั
ก็รุ
จำ
ข้
ต้
ทิ
กำ
ตั
หั
ลิ
กั
ท์
ถ้
ที่
สุ
ลู
จ่
ทิ
กั
ที่ต่
ริ
นั
ว่
ตั
ก่
กั
ต่
ก็
ที่ต้
พั
ว่
กำ
ตั
ร์
พิ
มี
นำ
ป็
ป้
ป็
ป็
ป็
ป็
ต่
ป็
ติ
รั
ย่
ต่
ต่
รั
รั
มู
ฟุ์
ว้
รื
รั
รั
คั
มั
ธ์
มู
ป็
รุ
รุ
รุ
คั
รุ
รุ
กิ
“ ปรับปรุ งประชำกรเชิงพันธุ ศำสตร์ ”
▪ เราสามารถปรับปรุงประชากรในชั่วอายุนั้นได้หรือไม่?
• เพื่อจะปรับปรุงประชากรในเชิงพันธุศาสตร์ ผลการปรับปรุงจะเกิดขึ้นในชั่วอายุถัดไป
• การคัดพันธุ์ (selection) = เลือกเป็นพ่อแม่, มีลูกเท่าไหร่, อยูในประชากรนาน
เท่าไร
• การผสมพันธุ์ (mating) = จับคู่ผสมพันธุ์ตัวไหน
กระบวน การ แรก ญใน ป บป ง
การ น อ การ อก อ แ น

น เ อไ
ห อ
ห ง จาก น การ บม กชนะ กา น อแ ตาม เรา องการ
ที่สำ
พั
พ่
ล็
ก็ก็
รุ่
ฟั
พั
ก็ทำ
พิ
นำกั
ลั
พ่
รุ่
ท่
ที่
พ้
ม่
ว่
ลั
รื
รั
ด้
คั
ธ์
ธุ์
ม่
รุ
(ARTIFICIAL) SELECTION
▪ ใช้ในการทาเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงพันธุศาสตร์ในระยะยาว
• สัตว์ที่มี genes ที่ดีที่สุดสาหรับลักษณะทีต่ ้องการ
- • มีความถี่ genes ที่ต้องการมากขึ้นในชั่วอายุถัดไป
• Genes ที่ดี หมายถึงมีค่าศักยภาพทางพันธุกรรม (Estimated Breeding Value) ที่ดีด้วย
• คัดพันธุ์โดยอาศัยค่า EBVs
โดยลา E13 แ

N
ต ปก ลง ใน การ ดเ อก ตาม ธรรมชา บ การ ป บป ง น ตาม เรา องการ ทางแ กาก
น สอน กอง สาย mwa
กน
ไป


ใ สา
""

ต รอด อ
เพราะ ตาม ธรรม
สอ การ ด | อก สามารถ มา

การ ดเ อก อ การ เรา โอกาส ใน การ ายทอด กษณะ ทาง น กรรม เพราะ จะ น ก 100 ๗ว จาก ปอ แ

เ อก มา ว จน น องการ ห อในโ มา บน นเอง


น ก เอ
วั
คั
ค่
กั
ชิ้
ตำก่
มี
ต้
ที่
รี
ฟั
ทำ
ตี
ล็
คั
สิ
มีชี
คั
ลู
สู่รุ่
พั
ลั
ถ่
ที่
คื
ลู
ฟั
ที่กั
ฟั
ร็ที่ต้
ยื
ตั
นั้
ที่ดี
ลื
ม้
รุ่
รื
วิ
ห้
ธิ
ด้
รั
ยู่
ธุ
มี
ลื
ถุ
ลื
รุ
ติ
MASS SELECTION
▪ เพื่อความเข้าใจเรื่องการคัดพันธุ์ พิจารณาการคัดพันธุ์ในรูปแบบที่ง่ายที่สุด
• Mass selection หรือ phenotypic selection
• คัดพันธุ์โดยอิงจากลักษณะปรากฏของสิ่งมีชิวิตแต่ละตัว
• ไม่ต้องการข้อมูลของเครือญาติ
• เช่น การคัดพันธุ์น้าหนักของสิ่งมีชีวิต
เป ยนแปลง ของ สอง อา ไป เ องจาก น
MASS SELECTION เรา เ น การ

ใน น กไป เ ก อแ น
กทม ของ ชน

นไท
1

จาก การ
จาก ภายนอก ห อ

Generation General population Selected individuals เพราะ ขนาด ว ผล



ความ บ อวน เ ม น
1
ห อ ขนาด
ภายนอก น
กทม ม น บ าน
2

3
ดำ
ร์
กํ่
ดำ
กั
รุ่
พัมั
พ่
รุ
ฟั
ทำ
มี
ตั
ป์
ฟั
กั
ขึ้
สั
มี
ป็
ย่
กั
ป็
นื่
ล็
พิ่
ม่
พี
ห้
รื
ยุ
รื
ลี่
พั
ธ์
MASS SELECTION
▪ น้าหนักตัวมีความสัมพันธ์การค่า EBVs
• ขึ้นอยู่กับค่าอัตราพันธุกรรม (heritability หรือ h2)
• h2 มีค่าสูง, phenotype เป็นข้อมูลที่เชื่อมโยงถึง EBVs ที่ดี
• น้าหนักตัวหนูเป็นลักษณะถ่ายทอดทางพันธุกรรม
• ไม่ใช่ทุกๆลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
SELECTION
▪ Polygenic traits
• ลักษณะที่ถูกควบคุมโดยยีนหลายยีน
• ลักษณะปริมาณ เช่น น้าหนัก, ปริมาณน้านม, ความสูง
• ความแปรปรวนของลักษณะปริมาณเกิดขึ้นจากการแยกตัว
ของยีนหลายตาแหน่ง

▪ Single gene traits


• ลักษณะที่ถูกควบคุมโดยจานวนยีนไม่กี่ยีนหรือเพียงแค่ยีนเดียว
• เขา (horned/polled)ในวัว เรา น mw เ น สาร นะ เขา ว ว นน เขา เ น ก เ น
จะ
ชนะ

• Single gene disorder ยกชนะ ปรากฏ


แ ไฟ แตก าง เ น ไ แ ขอ สามารถ
ออก มา แตก าง ไ
น https://www.groupe-esa.com/ladmec/bricks_modules/brick05/co/ZBO_Brick05_9.html
คุ
วั
วั
ลั
ที่
ที่
นำ
ก็
ที่
กั
ป็
ป็
ด่
ป็
ด้
ก่
ต่
ต่
MATING กระบวน การ
บ ผสม น โดย จารณา อาสา หรา เ ก ใน หลาย ปแบบ

▪ กระบวนการเลือกคู่ผสมสัตว์ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นพ่อแม่พันธุ์
• Mating system
• ผลิตสัตว์ที่มีค่า EBVs สูง
• รวมลักษณะที่ดีเข้าไว้ด้วยกัน (crossbreeding)
• ค่าเฉลี่ยของลูกสูงกว่าพ่อแม่ที่เป็น pure-bred (heterosis หรือ hybrid vigour)
↳ กระบวน
การ
ก สา EBY
งก า อแ

Charolais (bull) Angus (dam)


พั
คู่
จั
พิ
ที่สู
มี
ที่ลู
รู
พ่
วิ
ว่
ธุ์
ม่
MULTIPLE TRAIT SELECTION
ไ ง น และไ เ น
▪ Single trait selection ฟอง
ผล ต
• การคัดเลือกลักษณะเดียวอาจจะไม่ได้มีผลแค่
ลักษณะเดียว
• มีความสัมพันธ์เชิงพันธุศาสตร์กับลักษณะอื่น
• การคัดเลือกการเจริญเติบโตในวัวอาจส่งผลต่อ
การคลอด (dystocia)
▪ Multiple
๒ trait selection จาร เ นห ก
นา แบบ

• พิจารณาหลายลักษณะและหลีกเลี่ยงลักษณะที่
อาจมีผลต่อตัวสัตว์ (animal welfare)
ป็
ยิ
มีชี
ดี
นี้
พิ
ป็
ป็
ม่
ม่
ลั
วิ
INBREEDING ( อง ห กเ ยง )
▪ การผสมพันธุ์สิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์กันมากกว่าค่าเฉลี่ยของประชากร
• Inbred จะมี heterozygous loci น้อยกว่า non-inbred
• ความหลากหลายของ gametes น้อยลง ส่งผลให้เกิดความหลากหลายในรุ่นลูกน้อยลง
• ความแปรปรวนทางพันธุกรรม (Genetic variation) ลดลง
• ผลกระทบที่ชัดเจนจะเป็นกรณีลักษณะที่ควบคุมด้วย deleterious recessive alleles
เช่น lethal genes น บน ง
ใน น อและ อ
น กโดย ท พล ทาง

ผล
กชนะแนหมด YY )
น กรรมแคม หา หวย ทาง น กรรม ใน - จะ ลด ลง
ต้
อิ
ลู
รุ่
ต่
มี
พ่
รุ่
กิ่
อิ
พั
ลั
พั
ลู
ธุ
ลี
ธุ
ธิ
ลี่
INBREEDING
เรา จะ ห ก เ ยง การ ผสม น ใ เ ด

ใ ย ด โอกาสเ ด
¥1 )
Inbrecding
ตาย

โอกาสเ า 25% ไ หาย

เ อ อง น การ ลด ความหลากหลาย

ทาง น กรรม
ร์ที่ทำ
พั
หัทำ
ที่สุ
นั
ป้
พั
ก่
กิ
ลี่
ม่
กิ
พื่
ลั
ห้
ห้
ธุ
กั
INBREEDING DEPRESSION
▪ ความดีเด่นด้อยลงเนื่องจากการผสมเลือดชิด
• อาจเห็นผลไม่ชัดเจน
• ในกรณีของ polygenic traits หากมีการถ่ายทอด recessive alleles
• แต่ละ gene มีผลกระทบน้อย (minor effect) แต่หากสะสมหลายๆตาแหน่ง
อาจทาให้ความดีเด่นของสายพันธุ์ลดลง
BIODIVERSITY ?

Locally adapted
Improved breeds
native population

มีควำมโดดเด่นในสิ่งแวดล้อมหนึ่ งๆ
เป็ นแหล่งพันธุกรรมที่อำจเป็ นที่ตอ้ งกำรในอนำคต
ชา ไป ประ ก ไ ใน หลาย คน

THIS COURSE
▪ เน้นการแนะนาพื้นฐานทางด้านพันธุศาสตร์ปริมาณเพื่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์
• ปศุสัตว์ (livestock)
• สัตว์เลี้ยง (companion animals)
• สวนสัตว์ (zoo populations)
• ประชากรที่ใกล้สูญพันธุ์ (captive population of endangered breeds)
ที่นำ
วิ
ด้
ยุ
ต์

You might also like