You are on page 1of 2

1

การปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.ยา ตั้งแต่ พ.ศ.2510 – 2562 รวม 6 ฉบับ

1. พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510


2. พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2518
3. พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 3 )พ.ศ. 2522
4. พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2527
5. พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2530
6. พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562

พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2518


เนื้อหาสาระที่สำคัญของพระราชบัญญัติยาได้ปรับแก้ไข เรื่องผู้อนุญาต(3 จาก กทม เป็ นเขต กทม.)
พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 3 )พ.ศ. 2522
เนื้อหาสาระที่สำคัญของพระราชบัญญัติยาได้ปรับแก้ไข เรื่อง ความหมาย ของคำต่างๆ ใน ยา
คุณสมบัติของผู้รับอนุญาต (9 ข้อ) เงื่อนไขการขอต่อใบอนุญาตเกิน 1 ด.ต่อไม่ได้ ข้อปปฏิบัติของผู้รับ
อนุญาต
พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2527
เนื้อหาสาระที่สำคัญของพระราชบัญญัติยาได้ปรับแก้ไข เรื่องการขยายเวลา เปิ ดร้าน ขึ้นอยู่กับชุมชน มี
เภสัชกร ประจำร้านอย่างน้อย 3 ชม.(ผ่อนผันถึง 2529)
พระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. 2530

เนื้อหาสาระที่สำคัญของพระราชบัญญัติยาได้กำหนดประเภท
ยาไว้ 9 ประเภท เพื่อความสะดวกในการควบคุม ได้แก่
1. ยาแผนปัจจุบัน 6. ยาบรรจุเสร็จ
2. ยาแผนโบราณ 7. ยาสมุนไพร
3. ยาสามัญประจำบ้าน 8. ยาใช้ภายนอก
4. ยาอันตราย 9. ยาเฉพาะที่
5. ยาควบคุมพิเศษ
กำหนดให้มีคณะกรรมการควบคุมพระราชบัญญัติยา เพื่อ
ควบคุมการผลิต และการขายยา โดยเภสัชกรและผู้ประกอบโรคศิลปะ
2

พ.ร.บ.ยา (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562


เนื้อหาสาระที่สำคัญของพระราชบัญญัติยาได้ปรับแก้ไข เรื่อง ““ผู้ประกอบโรค
ศิลปะแผนโบราณ” มาตรา ๑๑/๒การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
เพื่อปฏิบัติการตามมาตรา ๑๑/๒ อย่างน้อยต้องมีผู้แทน
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ผู้แทน
สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้
บริโภค ผู้แทนสมาคมหรือผู้ประกอบการที่มีวัตถุประสงค์
ในการผลิตยา การขายยา การนาหรือสั่งยาเข้ามาในราช
อาณาจักร ทั้งนี้ ในคณะอนุกรรมการพิจารณากาหนดค่า
ขึ้นบัญชีและค่าใช้จ่าย ให้มีผู้แทนกระทรวงการคลังเป็ น
อนุกรรมการเพิ่มขึ้นด้วย

You might also like