You are on page 1of 98

KEN MAX (THAILAND) CO.

, LTD

Environmental Aspect Identification


ISO 14001 : 2015
การประเมินประเด็นปั ญหาสิงแวดล้อม

PONGSIT KAMNUENGTHAM
30 APR 2024
TEL / LINE ID 0817230515
แนะนําประวัตทิ ปรึ
ี กษา อบรม

ชื อ นาย พงศ์ สิทธิ คํานึงธรรม อายุ 55 ปี


ประว ัติทางการศึกษา

ปริญญาตรี: วิศวกรรมศาสตร ์บัณฑิต


สาขา การจัดการอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยบูรพา

ปริญญาโท: วิศวกรรมศาสตร ์มหาบัณฑิต


สาขา วิศวอุตสาหการ (MIE)
มหาวิทยาลัยบูรพา

ปริญาเอก : มหาวิทยาลัย ปทุมธานี ปดร. (กําลังศึกษา)

ประว ัติการดู งานต่างประเทศ ด้านคุณภาพ

1997 DENSO corporation Japan (Quality Assurance


System)
2000 ISUZU motors corp. Japan (QS 9000)
2007 Audi company Germany (VDA 6.3 , VDA 6.5)
30-4-24 2 2
ประวต
ั ก
ิ ารทํางาน

ระยะเวลาทํางาน 32 ปี ในด้านวิศวกรรมการควบคุมคุณภาพ
- อดีต ตําแหน่ง ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การฝ่ ายควบคุมคุณภาพ บ.เด็นโซ่ ประเทศไทย จํากัด
- อดีต ตําแหน่งผูจ้ ดั การฝ่ ายประกันคุณภาพ , ผูแ้ ทนฝ่ ายบริ หารด้านคุณภาพ และ สิ งแวดล้อม
SUMINO AAPICO

งานปั จจุบนั :
- วิทยากร อบรม ระบบการจัดการ ISO 9001:2015 IATF 16949:2016
Core tools,VDA 6.3 QCI Etc.

30-4-24 3
ความสามารถการฝึ กอบรม

ISO 9001, IATF And Core tools


1.ข้อกําหนดและการประยุกต์ระบบ IATF 16949 : 2016
2.การตรวจติดตาม Internal audit and 2nd Party audit IATF 16949:2016
3.การบริหารความเสียง (Risk and Opportunity)
4.การวางแผน ผลิตภัณฑ์ใหม่ APQP 2Ed. AND New 3Ed.
5 การเสนอขออนุมตั ิชินส่วน PPAP
6.การวิเคราะห์ศกั ยภาพ และ ผลกระทบ FMEA AIAG AND VDA 1st Edition
2019 AND FMEA 4th edition
7.การควบคุมกระบวนการทางสถิติ SPC
8.การวิเคราะห์การวัด MSA
9.VDA 6.3, 6.5
10. CQI -9 11-12 15 23 ETC.
11.8D Report , Why Why Analysis

30-4-24 4
A G E N DA
ทําไมต้องมีการจ ัดการ

สงแวดล้ อม ?

ISO14001:2015

30-4-24 6
จุดประสงค์ในการดําเนินระบบ ISO14001:2015

1. ป้ องกันมลพิษ และควบคุมให้เกิดขึนน้ อยที สุด


2. ใช้ทรัพยากรพลังงานอย่างเหมาะสม
3. ลดข้อร้องเรียนทางด้านสิงแวดล้อม และ สามารถอยู่
ร่วมกับชุมชนได้
4. เป็ นผูน้ ําในระบบการจัดการสิงแวดล้อม
5. สร้างความมันใจให้กบ ั หน่ วยงานราชการในการปฏิบตั ิ ตาม
กฎหมาย
6. บุคลากรได้รบ ั ผลกระทบจากมลพิษน้ อยลง
7. ประหยั
30-4-24
ดค่าใช้จ่าย ลดต้นทุนในการทํางาน 7

ปัญหาสงแวดล้
อม

30-4-24 8

สงแวดล้ ิ
อมก ับปัญหาสงแวดล้
อม

30-4-24 9

ชนOzone ถูกทําลาย ปัญหาระด ับโลก

30-4-24 10
Climate change ปัญหา
สภาพอากาศโลก เปลียนแปลง ระด ับโลก

30-4-24 11
Climate change ปัญหา
ระด ับโลก

30-4-24 12
Climate change ปัญหา
ระด ับโลก

Carbon Dioxide
การปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดอ๊อกไซด์

30-4-24 13
Climate change ปัญหา
ระด ับโลก
Global Temperature

30-4-24 14

ท่มา:http://climate.nasa.gov/
Climate change ปัญหา
ระด ับโลก

Arctic Sea Ice

30-4-24 15

ท่มา:http://climate.nasa.gov/
ปัญหา
Acid rain ฝนกรด ระด ับโลก

30-4-24 16
ั ป่า ถูกทําลาย
ทร ัพยากรป่าไม้และสตว์

30-4-24 17
ั ป่า
ทร ัพยากรป่าไม้และสตว์

ภูเขาห ัวโล้น จ.น่าน อ.ด่านซา้ ย จ.เลย

ทีมา ทีมา
http://www.manager.co.th/travel/viewnews.aspx?Ne http://www.astvmanager.com/HotShare/ViewNe
wsID=9560000055136 ws.aspx?
NewsID=9580000124037&Html=1&TabID=3&
30-4-24 18
มลพิษอากาศ
การเผาป่า ภาคเหนือ หมอกคว ัน
ี งใหม่
จ.เชย

30-4-24 19
มลพิษทางนํา

30-4-24 20
ปัญหาขยะ

30-4-24 21

การจ ัดการสงแวดล้
อมระด ับโลก
Sustainable
Management

Environmental
Management
System

30-4-24 22

การจ ัดการสงแวดล้
อมระด ับโลก


2515 การประชุมสหประชาชาติวา่ ด ้วยสงแวดล ้อมมนุษย์ กรุง
สตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน

2535 การประชุมสหประชาติวา่ ด ้วยสงแวดล ้อมและการพัฒนา
(Rio) ริโอเดจาเนโร ประทศบราซล ิ
2540 การประชุมริโอ+5 (Rio+5) นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
2545 การประชุมสุดยอดโลกว่าด ้วยการพัฒนาท่ยั ี งยืน
(Rio+10) โจฮนั เนสเบอร์ก แอฟริการใต
2555 การประชุมสหประชาชาติวา่ ด ้วยการพัฒนาทียังยืน (Rio+20)
ริโอเดจาเนโร บราซล ิ

2558 การประชุมสหประชาชาติวา่ ด ้วยการเปล่ยนแปลงสภาพ
ภูมอ
ิ ากาศ กรุงปารีส ฝรังเศส
30-4-24 23
ต ัวอย่าง เครืองมือทีใชใ้ นการจ ัดการสงิ แวดล้อม

 ISO14001:2015
 Clean Technology
 กฎหมายสงิ แวดล้อม
 การประเมินว ัฏจ ักรชวี ต
ิ (Life Cycle
Assessment)
 การออกแบบเชงิ นิเวศ (Eco Design)
 ประสทิ ธิภาพเชงิ นิเวศเศรษฐกิจ
(Eco Efficiency)
30-4-24 24
การปฏิบ ัติให้สอดคล้องก ับ
ข้อกําหนด มาตรฐานการ
จ ัดการสงิ แวดล้อม
Environmental
Implement

ISO14001:2015

30-4-24 25

มาตรฐานการจ ัดการสงแวดล้
อมต่างๆ

30-4-24 26

ข้อกําหนดระบบการจ ัดการสงแวดล้
อม
ISO14001:2015
1. ขอบเขต (Scope)
2. การอ้างอิง (Normative reference)
ั และนิยาม (Term and definitions)
3. คําศพท์
4. บริบทขององค์กร ผูม
้ ส ่ นได้สว
ี ว ่ นเสย

5. ความเป็นผูน
้ ํา (Leader ship)
6. การวางแผน (Planning)
่ นการสน ับสนุน (Support)
7. สว
8. การปฏิบ ัติการ (Operation Control)
9. การประเมินผลการดําเนินงาน (Evaluation)
การปรบปัรง
10.30-4-24 ุ (Improvement) 27

การเปลียนแปลงเวอร์ชนจาก 2004 2015

การนํา วงจรชวี ต

บริบท องค์กร
องค์กร
Contex of
leader
Life
organization
ship Cycle

30-4-24 28
Life Cycle คือ ?

30-4-24 29
มาตรฐาน อ้างอิง Life Cycle

30-4-24 30

การเปลียนแปลงเวอร์ชนจาก 2004 2015

วงจร
ชวี ต

Life
Cycle

30-4-24 31
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 32
Assessment
การประเมินความเสียง (Risk assessment)
– นิยมใช้ในประเด็นสิงแวดล้อม และเป็ นเครืองมือในการตัดสินใจอืนๆ
รัฐบาลอังกฤษนิยมใช้โดยเฉพาะอย่างยิงในเรืองของอนามัยและความ
ปลอดภัย โดยมีการประเมินวัตถุดบิ ทีใช้ในกระบวนการ เช่น การประเมิน
คุณสมบัติ และอันตรายต่อสุขภาพ โดยมากใช้ข้อมูลจากเอกสารความ
ปลอดภัย (Safety data sheet)

การประเมินสิงแวดล้อม (Environmental assessment)


– ใช้หลักการคล้ายกัน เช่น ซีเอฟซีมีผลต่อสุขภาพ และความปลอดภัย
อย่างไร ทีแตกต่างจากการประเมินความเสียงก็คอื องค์กรมักระบุขนาด
ความรุ นแรงและความสําคัญ
30-4-24 33
ทําความเข้าใจกับ “ความเสี ยง”
 Harm – ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หรือ
สิงแวดล้อม
 Hazard – สิงทีสามารถก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล
หรือสิงแวดล้อม
 Environment Hazard – กลุ่มของปรากฎการณ์ซงึ
สามารถนําไปสู่การทําลายสิงแวดล้อมทังทางตรงหรือทางอ้อม
 Risk – โอกาสทีจะเกิดความเสียหายขึนจากสิงทีสามารถ
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล หรือสิงแวดล้อม
30-4-24 34
การปฏิบ ัติให้สอดคล้องก ับข้อกําหนด บทที 4 บริบท
ISO14001:2015 องค์กร
่ ผลต่อการความสําเร็ จ
ต ัวอย่าง การระบุประเด็นทีสง

ของระบบการจ ัดการสงแวดล้ อม(ข้อกําหนด 4.1)

30-4-24 35
ิ องปฏิบ ัติให้สอดคล้องก ับข้อกําหนด บทที 4 บริบท
สงต้
ISO14001:2015 องค์กร

30-4-24 36
ต ัวอย่าง การวิเคราะห์ บริบทองค์กร

30-4-24 37
ต ัวอย่างการวิเคราะห์ บริบทองค์กร

30-4-24 38
การปฏิบ ัติให้สอดคล้องก ับข้อกําหนด บทที 4 บริบท
ISO14001:2015 องค์กร

การทําความเข้าใจเก่ยวก ับความต้องการและความคาดหว ังของผูม ี ว่ นได้สว่ นเสย
้ ส ี
(ข้อกําหนด 4.2)

30-4-24 39
การปฏิบ ัติให้สอดคล้องก ับข้อกําหนด บทที 4 บริบท
ISO14001:2015 องค์กร

30-4-24 40
ต ัวอย่าง การวิเคราะห์ผม
ู้ ส ่ นได้สว
ี ว ่ นเสย

30-4-24 41
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 42
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 43
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 44
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 45
ลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม
(Environmental Aspect)
ความสําคัญ :
 ในองค์กรใดๆอาจมีแหล่งกําเนิดมลพิษหลายแหล่ง
 ถ้าไม่ทราบถึงแหล่งของมลพิษในองค์กร ความคิดจะ
ควบคุมหรือ ปรับปรุ งพัฒนาให้ดขี นึ ย่อมเป็ นไปไม่ได้
 ถ้าไม่มกี ารจัดอันดับความสําคัญของลักษณะปั ญหา
สิงแวดล้อม เหล่านัน ทําให้ยากทีจะตัดสินใจกระทําการ
ควบคุมจุดใดก่อนกัน
30-4-24 46
องค์กรจะต้องกําหนดวิธีการเพือ
ระบุลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อมทีเกิดจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์
และบริการ ซึงสามารถควบคุมได้โดยตรง หรือโดยอ้อม เช่น
- พิจารณาลักษณะปั ญหาทีเกิดในสภาวะปกติ ผิดปกติ และ
ฉุกเฉิน
- ตรวจวิเคราะห์ลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อมทีมีนัยสําคัญ
- มันใจว่ามีการกําหนดวัตถุประสงค์ สําหรับปั ญหา
สิงแวดล้อมทีมีนัยสําคัญ
- มีการจัดทําข้อมูลทันสมัยอยู่เสมอ

30-4-24 47
1. กําหนดขอบข่าย ประเด็นปั ญหาสิงแวดล้อม

2. วิเคราะห์ประเด็นปั ญหาสิงแวดล้อม
ขันตอน การ
พิจารณา
ลักษณะปั ญหา 3. วิเคราะห์หาประเด็นสิงแวดล้อมทีสําคัญ
สิงแวดล้อม
4. สรุ ปประเด็นปั ญหาสิงแวดล้อมทีสําคัญ

Normal Abnormal Emergency

Objectives&Target Operation Control Emergency Prepareness


s & Response
5. ทบทวนประเด็นปั ญหาสิงแวดล้อม
30-4-24 48
ลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม
(Environmental Aspect)

 ISO 14001 กําหนดให้องค์กรต้องทําการค้นหาลักษณะปั ญหา


สิงแวดล้อมและจัดอันดับความสําคัญ
 แต่ให้สิทธิองค์กรเป็ นผู้พจิ ารณาและตัดสินใจเอง ในการปฏิบัตติ าม
ข้อกําหนดของ ISO 14001 แต่ทงนี ั การดําเนินการขององค์กรต้อง
ประกอบด้วย
- ความเหมาะสม (Appropriate)
- มีเหตุผลรับฟั งได้ (Logical)
- และมีหลักเกณฑ์แน่นอนสามารถทําซําอีกได้ (Repeatable)
30-4-24 49
ระบุลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม (Pollution)
พิจารณามลพิษทีเกิดจากกิจกรรมต่างๆภายในองค์กรทังทางตรง
และทางอ้อม และในภาวะปกติ ผิดปกติ และภาวะฉุกเฉิน เช่น
- การระบายสู่แหล่งนํา (รวมถึงแหล่งนําใต้ดนิ ) เช่น นําทิง สาร
แขวนลอย นํามัน สารเคมี ขยะ
- การปนเปื อนสู่ดนิ เช่น นํามัน สารเคมี ขยะ โลหะหนัก
- การปล่อยสู่บรรยากาศ
- มลภาวะทางเสียงและการสันสะเทือน เช่น จากเครืองจักร จาก
การขนส่ง
- การจัดการของเสีย เช่น เศษจากการผลิตนํามันทีใช้แล้ว ขยะ
30-4-24 50
ระบุลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม (Pollution)

- การใช้วัตถุดบิ และทรัพยากรธรรมชาติ เช่น หิน ทราย นํามัน ไฟฟ้ า ถ่าน


หิน นํา (รวมนําใต้ดนิ )
- ประเด็นทางทัศนียภาพ
- ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) เช่น ชุมชนมีความ
สนใจหรือกังวลเกียวกับสิงแวดล้อมเรืองใดเรืองหนึงเป็ นพิเศษหรือไม่
- ลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อมทีมีกฎหมายเป็ นตัวกําหนด และพบว่า
องค์กรยังดําเนินการละเมิดกฎหมายอยู่ และยังไม่มีการควบคุมทีเหมาะสม
แต่อย่างใด
30-4-24 51
การบ่งชีปั ญหาสิงแวดล้อม (Identifying Environmental Aspects)

การบ่งชีปั ญหาสิงแวดล้อมสามารถพิจารณาได้จากปั จจัย


4 ประการ คือ
(1) แหล่งทีก่อให้เกิดปั ญหา (Source) จะต้องระบุเป็ นกิจกรรมที
ก่อให้เกิดปั ญหาสิงแวดล้อมนัน หรืออาจระบุเป็ นสถานที เครืองจักร พืนที
ในการทํางานทีก่อให้เกิดปั ญหาสิงแวดล้อมดังตัวอย่างต่อไปนี
• เครืองจักรทีทําให้เกิดเสียงดัง
• แหล่งผลิตนําเสีย
• แหล่งทีมีการหกหล่นของสารเคมี
• ระบบบําบัดนําเสีย
30-4-24 52
การบ่งชีปั ญหาสิงแวดล้อม (Identifying Environmental Aspects)

(2) เส้นทางเดินของมลพิษ (Pathway) เป็ นเส้นทางทีมลพิษ


เหล่านันจะเดินทางไปสู่เป้ าหมายทีก่อให้เกิดผลกระทบ อาจเป็ น
ทางท่อนํา นําบนดิน หรือเป็ นอากาศหรือพืนดิน ฯลฯ

(3) เป้ าหมาย (Targets) หมายถึง เป้ าหมายทีมลพิษเหล่านันจะไป


และก่อให้เกิดผลกระทบทังทางด้านทีดีขึน และทางด้านทีเป็ น
ผลเสียส่วนใหญ่ จะหมายถึง คน ชุมชน สัตว์ พืช
ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศ เป็ นต้น
30-4-24 53
การบ่งชีปั ญหาสิงแวดล้อม (Identifying Environmental Aspects)

(4) ผลกระทบ (Impacts) เมือเป้ าหมายได้รับมลพิษแล้ว ผลต่อมาก็


คือเกิดบางอย่างขึนกับเป้ าหมายเหล่านัน ซึงส่วนใหญ่จะมี
ผลกระทบทางด้านลบ ซึงผลกระทบทีเกิดขึนก็จะเกิดแก่เป้ าหมายที
ได้วางไว้ เช่น ผลกระทบต่อระบบนิเวศทีมีตอ่ พืช สัตว์ ความ
หลากหลายทางชีวภาพ สัตว์ป่าหรือทีอยู่อาศัย ความสวยงามตาม
ธรรมชาติ แหล่งท่องเทียว

30-4-24 54
Source การหกหล่ นของสารฆ่ า ไอร้ อนจากสารระเหย สารเคมีรัวไหลจากท่ อส่ ง
แมลง ซึงมีกลินสารเคมี

Pathway สารเคมีสําหรับฆ่ าแมลง ไอระเหยออกสู่ ท่อ สารเคมีในท่ อรัวลงสู่ พืนดิน


ไหลลงสู่ แหล่ งนําตาม ปล่ อยทีอยู่บริเวณ และซึมลงสู่ แหล่ งนําบนดิน
ธรรมชาติ เพดาน และใต้ ดนิ
Target ปลาและสั ตว์ นําอืนๆใน ชุมชนทีอยู่บริเวณรอบ ชุมชนทีอยู่ใกล้ เคียงและใช้
แหล่ งนําธรรมชาติ โรงงาน นําบนดินและนําบาดาล

Impact ปลาและสั ตว์ นําอืนๆตาย ชุมชนและคนบริเวณ ผู้คนได้ รับสารพิษจากการใช้


หรื อพิการ ใกล้ เคียงได้ กลินเหม็น นําในการอุปโภคและบริโภค
จากสารเคมี
30-4-24 55
การประเมินเพือหาลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม

 สภาวะปกติ หมายถึง สภาวะทีเกิดขึนเป็ นประจําขององค์กรนันๆ เช่น นําเสียจาก


ห้องนํา ขยะจากสํานักงาน เป็ นต้น
 สภาวะผิดปกติ หมายถึง สภาวะทีเกิดขึนเป็ นครังคราว เช่น การเริมเดินเครืองจักร
(Start up) การหยุดเดินเครืองจักร (Shutdown) ไฟฟ้ าดับ หยุดซ่อมบํารุ ง เครืองเสีย
สารเคมีหกรัวไหล เป็ นต้น
 สภาวะฉุกเฉิน หมายถึง เป็ นภาวะผิดปกติทมีี ผลกระทบต่อสิงแวดล้อมอย่างรุ นแรง
หรือเป็ นสภาวะทีอาจเกิดขึนโดยไม่คาดฝั น และไม่สามารถระบุเวลาทีเกิดขึนได้ เช่น
อุบัตเิ หตุ พายุ การระเบิด นําท่วม ไฟไหม้
ประเด็นสําคัญคือ ในแต่ละลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม ต้องพิจารณาให้
ครอบคลุมทัง 3 สภาวะ
30-4-24 56
แบบจําลองการวิเคราะห์กระบวนการ
input process Output
แหล่ง วัตถุดบิ

นํา ผสม
มลพิษ
พลังงาน ให้ความร้อน ไอนํา
ความร้อน
สารเติมแต่ง ขึนรูป มลพิษ
นํา ความร้อน
สารทําความเย็น ทําให้เย็น
สารทําความเย็น
วัสดุหบี ห่อ
(พลาสติก ไม้ บรรจุหบี ห่อ ขยะ
กระดาษ)
นํามัน ขนส่ง ไอเสีย
30-4-24 57
30-4-24 58
ขอบเขตการพิจารณา
1. การควบคุม - ตรง
- อ้อม
2. ปั ญหา - เคยเกิดในอดีต
- ปั จจุบัน
- อนาคต
3. สถานการณ์ททํี าให้เกิดปั ญหา - Normal Operation
- Abnormal Operation
- Emergency / Accident
4. ผลกระทบ - Air (อากาศ) Water (นํา) Land (ดิน) flora fauna Humans
and their interrelation (พืช สัตว์ มนุษย์และความสัมพันธ์ระหว่างพวก
เขา)
30-4-24 59
การพิจารณา ลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม
การพิจารณาความสําคัญของปั ญหาสิงแวดล้อมใด ควรตระหนักไว้เสมอว่า
 ต้องตามความเป็ นจริงทีสุดเท่าทีจะทําได้
 สิงทีละเมิดกฎหมายซําแล้วซําเล่า ต้องจัดไว้ในลําดับความสําคัญสูงสุด
 การพิจารณาจัดอันดับความสําคัญควรพิจารณาโดยบุคคลเป็ นทีม ไม่
ควรตัดสินด้วยความเห็นของคนเพียงคนเดียว
 ปั ญหามลพิษทีมีขอบเขตกว้างขวางหรือใหญ่โต ควรพิจารณาว่ามี
ความสําคัญ
 ลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อมทีเกิดขึนจากภาวะฉุกเฉิน ควรพิจารณาว่ามี
ความสําคัญ
30-4-24 60
การพิจารณา ลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม

มีวธิ ีการประเมินความสําคัญของลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อม


หลายวิธี ได้แก่
 การประเมินความเสียง (Risk assessment)
 การประเมินกระบวนการ (Process assessment)
 การประเมินสินค้าหรือผลผลิต (Product assessment)
 การประเมินสิงแวดล้อม (Environmental assessment)

30-4-24 61
ตัวอย่าง วิธีหาผลกระทบสิงแวดล้อม
ข้ อพิจารณา รายการ ลักษณะปัญหา ผลกระทบต่ อ
สิ งแวดล้ อม
กิจกรรม การเคลือนย้ าย รัวไหลโดยอุบัตเิ หตุ ต่ อ ดิน นํา อากาศ
วัตถุมพี ษิ

ผลิตภัณฑ์ ตัวผลิตภัณฑ์ เปลียนสู ตรเพือลด ลด


ขนาด ทรัพยากรธรรมชาติ

บริการ การบํารุงรักษา ไอเสี ย ลดปริมาณมลพิษใน


ยานพาหนะ อากาศ
30-4-24 62
ตัวอย่างการชีบ่งลักษณะปั ญหา สิงแวดล้อม
แบบฟอร์มการชีบ่งปั ญหาสิงแวดล้อม – Environmental aspect Activity no.
identification An - 4

INPUT ACTIVITY OUTPUT


1. เครืองจักร การล้างถัว - ได้ถวที
ั สะอาด
2. นํา 1. นําล้างถัว ( นําเสีย )
3. ถัว 2. กากถัวทีลอยนํา ( ของเสีย )
4. Pump และสายยาง 3. เศษดิน
5. ไฟฟ้ า 4. เสียงจากเครืองจักร
6. ตระแกรงรองเศษและกาก 5. การหมดอายุการใช้งานของสายยาง
7. ถังพลาสติกใส่ถวั 6. การหมดอายุการใช้งานของตระแก
8. ถุงมือพลาสติก ( ใช้ในการ รง
ปฏิบัติงาน ) 7. ถังพลาสติกทีหมดอายุการใช้งาน
8. ถุงมือทีรัว,ขาดและหมดอายุการใช้
งาน

30-4-24 63
ตัวอย่าง วิธีหาผลกระทบสิงแวดล้อม

30-4-24 64
ี งล ักษณะปัญหา สงแวดล้
ต ัวอย่างการชบ่ ิ อม

30-4-24 65
ตัวอย่างการชีบ่งลักษณะปั ญหา สิงแวดล้อม

30-4-24 66
ตัวอย่างการชีบ่งลักษณะปั ญหา สิงแวดล้อม

30-4-24 67
ต ัวอย่าง Life Cycle

30-4-24 68
ต ัวอย่าง Life Cycle

30-4-24 69
ต ัวอย่าง Life Cycle

30-4-24 70
ต ัวอย่างการ ประเมิน Life Cycle

30-4-24 71

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม
แบบฟอร์มการระบุผลิตภ ัณฑ์/กิจกรรม

30-4-24 72

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม


แบบฟอร์มการระบุล ักษณะปัญหาสงแวดล้
อม

30-4-24 73

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

1.การประเมิน ลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดล้อม


1.1 พิจารณากรณีทเป็ี นลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดล้อมประเภท มลภาวะ
1.1.1 ความรุ นแรง (S) ของลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดลอ้มประเภท
มลภาวะพิจารณาจาก 3 ปั จจัย ดังนี
S1 เกณฑ์การประเมินผลกระทบต่อสิงมีชวี ติ มีหลักเกณฑ์การให้คะแนน
ดังนี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
ไม่มผี ลกระทบ 0
มีผลกระทบเล็กน้อย 1
มีผลกระทบค่อนข้างมาก 2
มีผลกระทบมาก 3
30-4-24 74

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

S2 เกณฑ์การประเมินผลกระทบต่อสิงแวดล้อม มีหลักเกณฑ์
การให้คะแนน ดังนี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
ไม่มผี ลกระทบ 0
มีผลกระทบเลก็น้อย 1
มีผลกระทบค่อนข้างมาก 2
มีผลกระทบมาก 3

30-4-24 75

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

S3 เกณฑ์การประเมินการถูกร้องเรียน มีหลักเกณฑ์การให้
คะแนน ดังนี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
ไม่เกียวข้อง/ไม่เคย/ไม่สามารถถูกร้องเรียน 0
เคย/มีบ้าง/สามารถเกิดผลกกระทบ แต่ไม่ถูกร้องเรียน/ 1
ไม่สามารถถูกร้องเรียน
เคย/สามารถเกิ ด ผลกระทบและเคย หรื อ สามารถถู ก 2
ภายในร้องเรียน
เคย/สามารถเกิดผลกระทบ และเคย หรื อ สามารถถู ก 3
ภายนอกร้องเรียน

30-4-24 76

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

1.2 โอกาสทีจะเกิดลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดล้อม พิจารณาจาก 3 ปั จจัย ดังนี


L1 เกณฑ์การประเมินโอกาสของการเกิดผลกระทบต่อสิงแวดล้อม ที
แพร่กระจายออกไปจากแหล่งกําเนิด มีหลักเกณฑก์ารให้คะแนน ดงันี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
อยู่ในระบบปิ ด ไม่มโี อกาสเกิดผลกระทบ 0
เป็ นก้อน/เม็ดของแข็ง แพร่กระจายได้น้อย 1
เป็ นของเหลว แพร่กระจายได้ปานกลาง 2
เป็ นฝุ่ น /ก๊าซ /คลืน แพร่กระจายได้มาก 3

30-4-24 77

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

L2 เกณฑ์การประเมินความถีของการเกิดผลกระทบต่อสิงแวดล้อม
มีหลักเกณฑก์ารให้คะแนน ดังนี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
ระบบปิ ด จึงไม่มคี วามถีทีจะเกิดผลกระทบ 0
(เลือกข้อนีถ้าประเมินขอ้ L1 เลือกคะแนน 0)
สภาวะทีเกิดน้อย จึงมีความถีทีจะเกิดน้อย 1
สภาวะทีเกิดปานกลาง จึงมีความถีทีจะเกิดปาน 2
กลาง
สภาวะทีเกิดมาก จึงมีความถีทีจะเกิดมาก 3
30-4-24 78

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

L3 เกณฑก์ารประเมินความสามารถในการควบคุมผลกระทบ
ต่อสิงแวดล้อม มีหลักเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี
เกณฑ์การประเมิน คะแนน
มีการควบคุมทีเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ 0

มีการควบคุมทีเพียงพอ แต่มปี ั ญหาในบางครัง 1

การควบคุมไม่เพียงพอ และควบคุมปั ญหาไม่ได้ 2

ไม่มกี ารควบคุมใดๆ 3

30-4-24 79

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

1.3. การรวมคะแนนรวมของลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดล้อม ประเภทมลภาวะต่อ


สิงแวดล้อมได้จาก
คะแนนรวม (Score) = คะแนนผลรวม ความรุนแรงของเหตุการณ์ (S total) X คะแนน
ผลรวม โอกาสทีจะเกิดเหตุการณ์ (L total)
= (S1+S2+S3) x (L1+L2+L3)

1.4. พิจารณาผลคะแนน เพือใช้พจิ ารณา ว่าจะเป็ นลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อมทีมี


นัยสําคัญหรือไม่ โดยพิจารณาจากคะแนนรวม (Score) มากกว่า 36 ขึนไป
30-4-24 80

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

2.1 การประเมินกรณีทเป็
ี นลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดล้อมประเภทการ
ใชท้รัพยากร หรือ และการใชพ้ลังงาน ใช้เกณฑ์ดังนี
2.1.1.ความรุ นแรงของลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดล้อมประเภทการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติหรือการใชพ้ลังงาน พิจารณาจาก 3 ปั จจัย ดังนี

S1 เกณฑ์การประเมินประเภทของ ทรัพยากรธรรมชาติทใช้

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
เป็ นสิงทีมีอยู่ทวไปหามาได้
ั งา่ ย 1
เป็ นสิงทีมีวัฏจักรการเกิด หรือสร้างขึนได้ 2
เป็ นสิงทีเกิด หรือสร้างทดแทนได้ยากมาก 3
30-4-24 81

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

S2 เกณฑ์การประเมินความสามารถในการใช้ซาํ (Reuse) / หมุนเวียน


กลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก (Recycle)

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
Reuse/Recycle ได้ ก ลั บ มาเหมื อ นเดิ ม ( Reuse 1
/Recycle ได้งา่ ย)

Reuse/Recycleได้กลับมาไม่เหมือนเดิม 2
( Reuse/Recycle ได้ยาก)

Reuse/Recycle ไม่ได้ 3
30-4-24 82

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

S3 เกณฑ์การประเมินการได้มาของทรัพยากรธรรมชาติทใช้
ี ดังนี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
มี หรือ ผลิตจากวัตถุดบิ ในประเทศ 1
ผลิตโดยต้องใช้ทงวั
ั ตถุดบิ ใน และต่างประเทศ 2

ต้องนําเข้า หรือ ผลิตจากวตัถุดบิ จาก 3


ต่างประเทศ

30-4-24 83

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

2.2 โอกาสทีจะเกิดลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดล้อม ประเภทการใช้ทรัพยากรหรือ


การใช้พลังงาน พิจารณาจาก 3 ปั จจัย ดังนี
L1 เกณฑ์การประเมินปริมาณการใช้ มีหลักเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
ใช้คงทีไม่เพิมขึน 1
ใช้เพิมขึนเป็ นครังคราว 2
ใช้เพิมขึนตลอด เรือยๆอย่างต่อเนือง 3
30-4-24 84

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

L2 เกณฑ์การประเมินความถีของการใช้ มีหลกัเกณฑก์ารให้
คะแนน ดังนี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
ใช้เป็ นครัังคราว (รายเดือน) 1
ใช้เป็ นช่วง ๆ (รายสัปดาห์) 2
ใช้ต่อเนืองตลอดเวลา (รายวัน) 3

30-4-24 85

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

L3 เกณฑก์ารประเมินความสามารถในการควบคุมผลกระทบต่อ
สิงแวดล้อม มีหลักเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี

เกณฑ์การประเมิน คะแนน
มีการควบคุมทีเพียงพอ และมี 1
ประสิทธิภาพ
การควบคุ ม ไม่ เ พี ย งพอ และควบคุ ม 2
ปั ญหาไม่ได้
ไม่มกี ารควบคุมใดๆ 3

30-4-24 86

การประเมิน ล ักษณะปัญหาด้านสงแวดล้
อม

2.3. การรวม คะแนนรวมของลักษณะปั ญหาด้านสิงแวดล้อม ใช้ทร้ พั ยากร


ธรรมชาติ หรือการใช้พลังงานได้จาก
คะแนนรวม (Score) = คะแนนผลรวม ความรุนแรงของเหตุการณ์ (S total)
X คะแนนผลรวม โอกาสทีจะเกิดเหตุการณ์ (L total)
= (S1+S2+S3) x (L1+L2+L3)
2.4. พิจารณาผลคะแนน เพือใช้พิจารณาว่า จะเป็ นลักษณะปั ญหาสิงแวดล้อมที
มีนยั สําคัญหรือไม่ โดยพิจารณาจาก มีคะแนนรวม (Score) มากกว่า 36 ขึนไป

30-4-24 87
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 88
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 89
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 90
การกําหนดวัตถุประสงค์เป้ าหมาย

30-4-24 91
30-4-24 92
30-4-24 93
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 94
ต ัวอย่าง เอกสารอบรม

30-4-24 95
ข้อกําหนด ISO 14001:2015 ทีเกียวข้อง

30-4-24 96

ต ัวอย่าง ตารางการสอสาร

30-4-24 97
30-4-24 98

You might also like