You are on page 1of 4

วัน/เดือน/ปี เหตุการณ์สําคัญทีเกียวข้องกับพระเจนดุริยางค์ หมายเหตุ

4 พ.ค. ( ) วันเกิดของ จาคอป ไฟท์ (Jacob Viet) บิดาของพระเจนดุริยางค์ เชือสายเยอรมัน สัญชาติอเมริกนั สมัย ร.
พ.ศ. ( ) ปี เกิดของนางทองอยู่ วาทยะกร มารดาของพระเจนดุริยางค์ เชือสายรามัญบังคับไทย สมัย ร.
พ.ศ. ( ) จาคอป ไฟท์เดินทางมายังประเทศสยาม ต่อมาเข้ารับราชการเป็ นครู แตรวงวังหน้า สมัย ร.
ก.ค. ( ) วันเกิดของพระเจนดุริยางค์ สมัยร.
เม.ษ. 2431 ( ) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว รัชกาลที 5 โปรดเกล้าฯ ให้จดั ระเบียบการปกครองโดยตังกระทรวงขึนใหม่ 12 กระทรวง ทุก สมัยร.
กระทรวงแบ่งงานออกไปเป็ นกรมต่างๆ ในสังกดั ของกระทรวงวังยังมีกรมมหรสพ ซึงมีหน้าทีเกียวกบั ดนตรี รวมทังการจัดแสดง *จากสารานุกรมดนตรี
มหรสพต่างๆ ในพระราชพิธี งานต้อนรับแขกเมืองหรื องานเฉลิมฉลองในวาระสําคัญต่างๆ ของทางราชการ รวมทังมีหน้าทีเกณฑ์งาน รัชกาล
มหรสพ หรื อวงดนตรี เอกชน เข้ามาช่วยงานหลวงเป็ นงานๆไป เช่น งานพระเมรุ ฯลฯ โดยมีเจ้าพระยาเทเวศร์ วงศ์วิวฒั น์ (ม.ร.ว.หลาน
กุญชร) เป็ นเจ้ากรมมหรสพ ทําหน้าทีควบคุมดูแลกรมนีมาตลอดจนถึงปลายสมัยรัชกาลที 5 ในปี 2452 จึงทูลลาออกเพราะป่ วย

พ.ศ. ( )– ( ) เข้าศึกษาระดับการศึกษาสามัญทีโรงเรี ยนอัสสัมชัญ เรี ยนภาษาฝรั งเศส สมัยร.


พ.ศ. ( ) ปี เตอร์ ไฟท์ (พระเจนดุริยางค์) เมืออายุ ขวบได้เริ มเรี ยนดนตรี จากบิดา พร้อมๆก ับพีชายทัง สมัยร.
โดยเริ มจากฝึ กหัดซอไวโอลิน ขนาด ¾ ต่อมาอีก ปี จึงฝึ กหัดซอเชลโลและยึดเป็ นเครื องดนตรี ประจําตัวตลอดมา
พ.ศ. ( ) - ( ) ศึกษาต่อในหลักสูตรภาษาอังกฤษ ทีโรงเรี ยนอัสสัมชัญ รวมเวลาทีเรี ยนโรงเรี ยนอัสสัมชัญทังสิ น ปี สมัยร.
พ.ศ. ( ) พระเจนดุริยางค์อายุราว ปี เริ มฝึ กฝนเปี ยโน สมัยร.
พ.ศ. ( ) - ( ) เป็ นครู สอนภาษาอังกฤษทีโรงเรี ยนอัสสัมชัน เป็ นเวลา ปี สมัยร.
ม.ค. ( ) รองอธิการบดีโรงเรี ยนอัสสัมชันได้ฝากพระเจนดุริยางค์เข้ารับราชการทีกรมรถไฟหลวง แผนกกองเดินรถ (Traffic Department) สมัยร.
ธ.ค. ( ) ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็ น “ขุนเจนรถรัฐ” สมัย ร.
พ.ศ. 2447( ) เริ มต้นมีระบบการเรี ยนการสอนเพือส่งเสริ มและเผยแพร่ วชิ าดนตรี ไทยในสถาบันการศึกษาเกิดขึน โดยเฉพาะวิชาเครื องสายไทยและ สมัย ร.
การขับร้องเพลงไทยทีได้รับการบรรจุให้เป็ นบทเรี ยนสําหรับการฝึ กหัดฝี มือ และความชํานาญในหลักสูตรมูลศึกษา “ความประสงค์คอื *จากสารานุกรมดนตรี
จะให้ร้องเพลงทีง่ายๆได้ จะได้เกิดความใคร่ ตอ่ ความงาม ความไพเราะให้ร้องเพลงดอกสร้อยเป็ นทํานองต่างๆ ได้ตลอด” (วิทยาจารย์, รัชกาล
2447)
ต.ค. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญเงินช้างเผือก สมัย ร.
27 พ.ย. 2450 ( ) พระอภัยพลรบ (พลอย เพ็ญกุล) แต่งตําราดนตรี ทูลเกล้าฯ ถวายรัชกาลที มีชือตําราว่า “ดนตรี วิทยา” สําหรับพลโทพระอภัยพลรบเป็ น สมัย ร.
มหาดเล็กในรัชกาลที 5 มีความรู ้ภาษาอังกฤษแตกฉานมากได้ไปศึกษาวิชาการทหารและดนตรี ตะวันตกทีประเทศอินเดีย เมือกลับมา *จากสารานุกรมดนตรี
เมืองไทยได้ทาํ หน้าทีสอนเพลงแตร และวิชาวาดเขียนทีโรงเรี ยนนายร้อย ท่านได้แต่งตําราดนตรี ชือ “ดนตรี วิทยา” ถวาย รัชกาล
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว เมือ พ.ศ. 2450 เป็ นทีพอพระราชฤทัย และโปรดเกล้าฯ ให้ใช้เป็ นตําราเรี ยนในโรงเรี ยนสังกดั
กระทรวงธรรมการ คําว่าดนตรี วิทยาทีใช้ทุกวันนีพบครังแรกในงานวิชาการของท่าน
พ.ศ. ( ) จาคอป ไฟท์ บิดาของพระเจนดุริยางค์ถึงแก่กรรม อายุ ปี สมัย ร.
ต.ค. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญราชาภิเษกรัชกาลที (ขณะทียังสังกดั กรมรถไฟหลวง) สมัย ร.
ต.ค. รัชกาลที เสด็จสวรรคต และรัชกาลที ทรงขึนครองราชย์ สมัย ร. –ร.
พ.ศ. ( ) รัชกาลที ทรงสถาปนาวงดนตรี ในพระราชสํานักชือว่า “วงเครื องสายฝรั งหลวง” สังกดั กรมมหรสพ สมัย ร.

20 ก.พ. 2456 เจ้าพระยารามราฆพ เป็ นพระยาประสิทธิศุภการในสมัยรัชกาลที 6ได้เลือนเป็ นผูบ้ ญั ชาการมหรสพ มีหน้าทีควบคุมกรมนีซึงเมือ สมัย ร.
เริ มต้น แบ่งย่อยออกเป็ น (1)กองโขนและละคร (2)กองปี พาทย์และเครื องสาย (3)กองพัสดุและช่าง (4)กองเครื องสายฝรั ง
ต่อมาทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั ตังโรงเรี ยนขึนในกรมมหรสพ เพือสอนวิชาร้องรําและดนตรี ทังให้เรี ยนวิชาศิลปะ วิชาสามัญ
ทัวไป และเรี ยนภาษาอังกฤษกบั ครู ชาวต่างประเทศด้วย (ต่อมาคือโรงเรี ยนพรานหลวง มีนกั เรียนทหารกระบี หัดโขนบทลิง เป็ นกอง
ใหม่)
พ.ศ. ( ) กองทัพบกได้จา้ งครู ดนตรี ชาวอิตาเลียนชือ Alberto Nazzari มาแทนจาคอป ไฟท์ สมัย ร.
พ.ศ. ( ) Alberto Nazzari กลับอิตตาลี ถูกเกณฑ์ไปร่ วมรบในสงครามโลกครังที สมัย ร.
พ.ศ. ( ) วงเครื องสายฝรั งหลวงเกิดความระสําระสายเนืองจากขาดครู ฝึกสอน
ส.ค. ( ) เป็ นวันสิ นสุดการปฏิบตั ิราชการทีกรมรถไฟหลวงของพระเจนดุริยางค์ รวมอายุงานทีปฏิบตั ิราชการกรมรถไฟหลวง ปี เดือน สมัย ร.
ก.ย. ( ) รัชกาลที โปรดเกล้าฯให้ขุนเจนรถรัฐ(พระเจนดุริยางค์) ไปรับราชการทีกรมมหรสพ ในตําแหน่งผูช้ ่วยปลัดกรม กองเครืองสายฝรั ง สมัย ร.
หลวง ทําหน้าทีฝึ กอบรมนักดนตรี ให้วงเครื องสายฝรั งหลวงแห่ งพระราชสํานัก

ต.ค. ( ) ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็ น “หลวงเจนดุริยางค์” สมัย ร.


วัน/เดือน/ปี เหตุการณ์สําคัญทีเกียวข้องกับพระเจนดุริยางค์ หมายเหตุ
ม.ค. ( ) Alberto Nazzari เดินทางกลับถึงประเทศสยาม สมัย ร.
พ.ศ. ( ) ก่อตังแตรวง (Brass Band) ขกรมเสือป่ าพรานหลวงและกรมม้าหลวง สมัย ร.
พ.ศ. ( ) Alberto Nazzari ได้มีการจัดแสดงอุปรากรเรื อง “Cavalleria Rusticana”ของ Mascagni โดยวงดุริยางค์ทหารม้ารวม ร่ วมกบั วง สมัย ร.
เครื องสายฝรั งหลวง
ต.ค. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญรัตนาภรณ์ชนั สมัย ร.
28 มิ.ย. ( ) Alberto Nazzari เสียชีวิต สมัย ร.
ก.ย. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญช้างเผือก ชัน (บ.ช.) สมัย ร.
ม.ค. ( ) ร. โปรดเกล้าฯแต่งตังหลวงเจนดุริยางค์เป็ นปลัดกรม กองเครื องสายฝรั งหลวง สมัย ร.
มิ.ย. ( ) ได้รับพระราชทานเข็มพระนามชัน สมัย ร.
ธ.ค.-มิ.ย. ( )-สิ นรัช มีการจัดแสดงดนตรี แบบ Popular Concert ณ สถานทีกาแฟนรสิงห์ (Café Norasingh) มุมถนนศรี อยุธยา แถวลานพระบรม สมัย ร.
สมัยร. รู ปทรงม้า และได้รับการออกข่าวทางหน้าหนังสือพิมพ์อยูบ่ อ่ ยครัง
ต.ค. ( ) ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็ น “พระเจนดุริยางค์” สมัย ร.
พ.ศ. ( ) วงเครื องสายฝรั งหลวงเป็ นทีโปรดปรานของรัชกาลที อย่างมากได้รับการโปรดเกล้าฯให้วงดนตรี เครื องสายฝรั งหลวงออก สมัย ร.
บรรเลงในงานสําคัญต่างๆ เช่น งานเฉลิมพระชนม์พรรษา งานสภากาชาด ออกแสดงทีสวนสราญรมย์ และงานทีสวนจิตรลดา
ตลอดจนงานในสถานเอกอัคราชทูตประเทศต่างๆ ฯลฯ
ต.ค. ( ) ได้รับพระราชทานมงกุฎไทย ชัน (จ.ม.) สมัย ร.
มิ.ย. ( 5) ได้รับตราศิลปวิทยาฝรั งเศสชันที ได้รับแต่งตังเป็ น Officer de I’Instruction Publique สมัย ร.
พ.ย. ( 5) รัชกาลที เสด็จสวรรคต และรัชกาลทิ ทรงขึนครองราชย์ สมัย ร. -ร.
พ.ศ. ( 5) กรมมหรสพ กรมเสือป่ าพรานหลวง และม้าหลวงถูกยุบลง มีการปลดศิลปิ นในกรมโขนและปี พาทย์ออกจํานวนมาก สมัย ร.
พ.ย. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญราชาภิเศก รัชกาลที และเหรี ยญศารทูลมาลาเสือป่ าครบ ปี บริ บรู ณ์ สมัย ร.

พ.ศ. ( ) วงเครื องสายฝรั งหลวงถูกย้ายจากสโมสรเสือป่ าไปอยูใ่ นบ้านหลังหนึงในกรมอัศวราช (ราชตฤณมัย) วงเครื องสายฝรั งหลวงถูก สมัย ร.
กาํ หนดหน้าทีอืนๆนอกจากเล่นดนตรี ซึงส่งผลเสียต่อวงดนตรี พระเจนดุริยางค์จึงนําความกราบบังคมทูลฯผ่านราชองครักษ์
จนกระทังวงเครื องสายฝรั งหลวงมีหน้าทีบรรเลงดนตรี แต่เพียงอย่างเดียว
ส.ค. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญรัตนาภรณ์ ชัน รัชกาลที สมัย ร.
26 พ.ย. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญเหรี ยญดุษฎีมาลาศิลปวิทยา สมัย ร.
พ.ศ. ( ) พระเจนดุริยางค์ได้ถูกเชิญให้ไปช่วยปรับปรุ งวงโยธวาทิตและวงดุริยางค์ของกองทัพเรื อสัปดาห์ละ ครัง สมัยร.
ก.ย. ( ) ได้รับพระราชทานตราช้างเผือก (จ.ช.) สมัย ร.
พ.ศ. ( )– ( ) วงเครื องสายฝรั งหลวงมีโอกาสออกแสดงดนตรี ได้รับโปรดเกล้าฯให้เปิ ดการแสดง Symphony Concert (มีงานออกแสดง สมัย ร.
ประจําทุกปี )สําหรับประชาชนขึน ณ โขนหลวงมิสกวันและศาลาสหทัย รายได้มอบเพือการกุศล จนได้รับการชมเชยจากชาว
ต่างประเทศ ผ่านหนังสือพิมพ์หลายสํานัก อาทิ Bangkok Times Siam Observer และ Bangkok Daily Mail (ต่อมาผลจากการ
เปลียนแปลงการปกครองทําให้การแสดง Symphony Concert ถูกยุบลง)
วัน/เดือน/ปี เหตุการณ์สําคัญทีเกียวข้องกับพระเจนดุริยางค์ หมายเหตุ
ส.ค. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญจักรพรรดิมาลา สมัย ร.
ม.ค. ( ) มีการจดบันทึกเพลงไทยเป็ นโน้ตสากลพระเจนดุริยางค์รับหน้าทีสําคัญในการจดบันทึก ลงนามคําสังโดย กรมพระยาดํารงรา สมัย ร.
ชานุภาพ นายกราชบัณฑิตยสภา โดยใช้สถานทีวังวรดิศ

2 ม.ค. ( ) สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงมีจดหมายถึงเจ้าพระยาวรพงษ์พพิ ฒั น์ (เย็น อิศรเสนา) เสนาบดีกระทรวงวัง ปรึกษา สมัย ร.


เรื องการจดบันทึกเพลงไทยเป็ นโน้ตสากล *จากสารานุกรมดนตรี
รัชกาล
19 ก.พ. 2473( ) คณะกรรมการเริ มงานประชุมจดบันทึกโน้ตเพลงไทยโน้ตสากลครังแรกทีท้องพระโรงวังวรดิส ตังแต่เวลา . – . น. โดย สมัย ร.
มีหม่อมเจ้าพัฒนายุ ดิสกุล เป็ นประธาน มีหลวงประดิษฐไพเราะ หลวงบํารุ งจิตเจริ ญ จางวางทัว เป็ นผูบ้ อกทางเพลง และพระเจน *จากสารานุกรมดนตรี
ดุริยางค์เป็ นแม่กองในการบันทึก นักดนตรี ได้แก่ นายเอือ นายสังข์ นายโฉลก นายสริ นายสมพงษ์ เกิดหนังสือโน้ตเพลงชุดโหม รัชกาล
โรงเย็น และเพลงเรื องทําขวัญ งานนีหยุดลงเมือเกิดเหตุการณ์เปลียนแปลงการปกครอง พ.ศ.
พ.ย. ( ) ได้รับพระราชทานตรามงกุฎชัน (ต.ช.) สมัย ร.
ก.ย. ( ) ได้รับพระราชทานตราช้างเผือก ชัน (ต.ช.) สมัย ร.
ปลายปี พ.ศ. ( ) หลวงนิเทศกลกิจ(กลาง โรจนเสนา)ได้ทาบทามพระเจนดุริยางค์ให้แต่งเพลงชาติแต่พระเจนดุริยางค์ได้ปฏิเสธ สมัยร.
มิ.ย. ( ) เกิดการเปลียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็ นประชาธิปไตย โดยคณะราษฎร สมัย ร.
มิ.ย. ( ) วันหลังจากการปฏิวตั ิ หลวงนิเทศกลกิจทวงถามเพลงชาติจากพระเจนดุริยางค์ จึงขอเวลาอีก วัน สมัยร.
(วันจันทร์) ก.ค. ( ) พระเจนดุริยางค์แต่งเพลงชาติเสร็จ(ใช้เวลาแต่งบนรถรางขณะเดินทางไปทํางาน)และได้มอบให้หลวงนิเทศกลกิจ พร้อมกาํ ชับว่า สมัยร.
ห้ามระบุชือผูแ้ ต่งเด็ดขาด
(วันพฤหัสบดี) ก.ค. เพลงชาติถูกนําไปบรรเลง ณ พระทีนังอานันตสมาคม บรรเลงโดยวงดุริยางค์กองทัพเรื อ และสมาชิกคณะราษฎรต่างพอใจให้ สมัยร.
( ) เป็ นเพลงชาติ
(วันศุกร์) ก.ค. ( ) หนังสือพิมพ์ศรี กรุ งลงข่าวระบุชือพระเจนดุริยางค์เป็ นผูแ้ ต่งเพลงชาติไทย เหตุการณ์ดงั กล่าวทําให้พระเจนดุริยางค์ถูก สมัยร.
เจ้าพระยาวรพงศ์พิพฒั น์ เสนาบดีกระทรวงวังเรี ยกไปตําหนิอย่างรุ นแรง
25 ต.ค. 2475 ประกาศกระทรวงธรรมการ ให้เพิมวิชาขับร้อง เรี ยนด้วยโน้ตสากลไว้ในหมวดวิชาเลือกของวิชาครู เพือเลือนวิทยฐานะของครู สมัยร.
ดนตรี และเป็ นการจูงใจให้มาเรี ยนดนตรี ดว้ ยโน้ตมากขึนในการนี สามัคคยาจารย์ (ปัจจุบนั คือคุรุสภา) ได้เชิญพระเจนดุริยางค์ *จากสารานุกรมดนตรี
(ปิ ติ วาทยะกร) ไปสอนทฤษฎีการดนตรี สากลให้ครู เป็ นเวลา 2 ปี ติดต่อกนั จนสมาชิกของสมาคมสามารถอ่านโน้ตเพลงและขับ รัชกาล
ร้องเพลงตามโน้ตได้ (ชลหมู่ ชลานุเคราะห์ หนังสือศิลปวัฒนธรรม เล่ม 7 ฉลองกรุ งรัตนโกสินทร์ 200 ปี พ.ศ. 2525 โรงพิมพ์
ยูไนเต็ด โปรดัคชัน)
ต.ค. ( ) มีคาํ สังปลดพระเจนดุริยางค์ออกจากราชการรับเบียบํานาญ ฐานรับราชการครบ ปี (ทังทีขณะนันมีอายุเพียง ปี ) สมัยร.
มี.ค. ( ) รัชกาลที ทรงสละราชสมบัติ และรัชกาลที ทรงขึนครองราชย์ สมัย ร. -ร.
พ.ศ. ( ) วงดนตรี สากล(วงเครื องสายฝรั งหลวง)ถูกย้ายจากสํานักพระราชวังไปสังกดั กรมศิลปากร เปลียนชือวงจากวงเครืองสายฝรั งหลวง สมัยร.
เป็ น “วงดนตรี สากลกรมศิลปากร”
พ.ศ. ( ) ผูบ้ ริ หารกรมศิลปากร(หลวงวิจติ รวาทการเป็ นอธิบดีกรมศิลปากรสมัยนัน)มีขอ้ เสนอ ทางให้วงดนตรี สากลกรมศิลปากร คือ ) สมัยร.
ปลดนักดนตรี ออกครึ งหนึง ) คงจํานวนสมาชิกวงไว้เท่าเดิมแต่ลดเงินเดือนลงครึ งหนึง มีการตังคณะกรรมการพิจารณาและพระ
เจนดุริยางค์ได้แจงรายละเอียดโดยสาธิตการบรรเลงของวงดุริยางค์ จนกระทังประธานกรรมการทีประชุมอนุญาตคงจํานวน
สมาชิกตามเดิม แต่ลดจํานวนนักเรี ยนฝึ กหัดลงเหลือเพียง - คน
พ.ศ. ( ) พระเจนดุริยางค์ได้กอ่ ตังสถานศึกษาวิชาการดนตรี ณ ตึกว่างชันบนของบริ ษทั สยามอิมปอร์ต (เดิม) เชิงสะพานมอญ ชือว่า สมัยร.
“วิทยาสากลดนตรี สถาน”
พ.ศ. ( ) มีคาํ สังจากผูบ้ ริหารกรมศิลปากรให้แบ่งจํานวนนักดนตรี ไปสังกดั หน่วยงานอืนๆ คือ นักดนตรี จาํ นวน คนถูกย้ายไปสังกดั สมัยร.
ประจําละครกรมศิลป์ อีก คนถูกสังให้ไปประจํากรมโฆษณาการ(เตรี ยมก่อตังวง Jazz Band) ประกอบกบั สมาชิกในวงบางคน (*ยุคสวิง Pianist Nat King
Cole,Benny Goodman,etc.)
ลาออก ถูกปลด และเสียชีวิต ทําให้วงดนตรี อ่อนแอลงอย่างมาก
มี.ค. ( ) พระเจนดุริยางค์ออกเดินทางไปดูงานต่างประเทศเป็ นเวลา เดือน สมัยร.
ม.ค. ( ) พระเจนดุริยางค์กลับจากเดินทางไปดูงานต่างประเทศ สมัยร.
พ.ศ. ( ) พระเจนดุริยางค์ตงโรงเรี
ั ยนขึนในโขนหลวงมิสกวันใช้อุปกรณ์จากโรงเรี ยนวิทยาสากลดนตรีสถาน เพือฝึ กหัดนักเรี ยนดนตรี สมัยร.
และเขียนคําร้องไปยังผูบ้ ริ หารกรมศิลปากรเพือขอค่าตอบแทนให้กบั นักเรี ยนฝึ กหัดถึง ฉบับแต่ไม่สาํ เร็จ ต่อมาพระเจนดุริยางค์
ถูกปลดจากตําแหน่งหัวหน้ากองดุริยางค์มาดํารงตําแหน่งอาจารย์ใหญ่แทนซึงขาดอํานาจในการปกครอง
พ.ค./มิ.ย.พ.ศ. ( ) พระเจนดุริยางค์ถูกสังย้ายไปรับราชการทีกองทัพอากาศ ทีก ําลังสถาปนากองภาพยนตร์ ระหว่างทีอยูก่ องทัพอากาศพระเจน สมัยร.
ดุริยางค์ได้เขียนตําราดนตรี หลายเล่ม
พ.ศ. 2483( ) หนังเรื องพระเจ้าช้างเผือก สร้างโดยนายปรี ดี พนมยงค์ นับเป็ นหนังไทยพูดในฟิ ล์มเรื องเดียวทีสร้างขึนในปี นี เพลงในภาพยนตร์ สมัยร.
เรื องนี ชือเพลงศรี อยุธยา แต่งโดย พระเจนดุริยางค์ (ปิ ติ วาทยะกร) *จากสารานุกรมดนตรี
รัชกาล
4 เม.ย. 2484( ) หนังเรื องพระเจ้าช้างเผือก ออกฉายครังแรก เพลงทีพระเจนดุริยางค์ประพันธ์หรือเรี ยบเรี ยงขึนใหม่สาํ หรับวงออร์เคสตรา และ สมัยร.
เพลงเสริ มของตะวันตกทีมีมาแต่เดิมเพือใช้ประกอบภาพยนต์ เพลงทีเรี ยบเรี ยงขึนมาใหม่นนมี ั เพลงศรี อยุธยา เพลงเชิดจีน เพลงอ *จากสารานุกรมดนตรี
โยธยาคู่ฟ้า (จากขับไม้บณั เฑาะว์) ส่วนเพลงเสริ มได้แก่ Orphens in the underworld ของ Offenbach, Can Can เพลงฝรั งเศส, รัชกาล
เพลงจากอุปรากร William Tales ของ Rossini, เพลงแตรสังข์รับเสด็จ, เพลงต้นวรเชษฐ์ออกเพลงเร็วและลา, เพลงลาวลาวครวญ
มัณฑนา โมรากุลร้องก ับวงเครืองสายไทย, เพลงปี กลองนางหงส์
พ.ค. ( ) รัชกาลที เสด็จสวรรคต ทีประเทศอังกฤษ สมัยร.
ธ.ค. ( ) เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา (Pacific War) สมัยร.
ก.ค. ( ) พระเจนดุริยางค์เกษียณอายุราชการจากกองทัพอากาศ สมัยร.
พ.ศ. ( ) พระเจนดุริยางค์ถูกเชิญให้มาปรับปรุ งวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร สมัยพระยาอนุมานราชธน เป็ นอธิบดีกรมศิลปากร สมัยร.
มิ.ย. ( ) รัชกาลที เสด็จสวรรคต รัชกาลที เสด็จขึนครองราชย์ สมัยร. -ร.
มี.ค. ( ) นางทองอยู่ วาทยะกร มารดาของพระเจนดุริยางค์ถึงแก่กรรม สมัย ร.
พ.ศ. ( ) พลตํารวจเอกหลวงชาติตระการโกศล อธิบดีกรมตรวจได้ยมื ตัวพระเจนดุริยางค์จากกรมศิลปากรไปวางโครงการจัดตังวงดุริยางค์ สมัย ร.
กรมตํารวจขึนโดยมาช่วยราชการตอนเช้า บ่ายไปปฏิบตั ิงานทีกรมศิลปากร
ต.ค. ( ) พิธีสวนสนามของกรมตํารวจโดยมีวงโยธวาทิตของกรมตํารวจบรรเลงนําขบวนเป็ นครังแรก สมัย ร.
18 ธ.ค. ( ) มีการหารื อเพือสนองพระราชกระแสเกียวกบั เรืองการสอนวิชาดนตรี มายังปลัดกระทรวงวัฒนธรรม สมัย ร.
ม.ค. ( ) ได้รับพระราชทานตรามงกุฎชัน สมัย ร.
มี.ค. ( ) มีการประชุมหัวหน้ากองทีรับผิดชอบโครงการจัดตังโรงเรี ยนสอนวิชาดนตรี แต่ไม่ปรากฏชือพระเจนดุริยางค์ในคณะกรรมการ สมัย ร.
เม.ษ. ( ) ได้รับพระราชทานตัตติยพรจุลจอมเกล้า ชัน สมัย ร.
ต.ค. ( ) ได้รับพระราชทานเหรี ยญรัตนาภรณ์ ชัน รัชกาลที สมัย ร.
ปลายปี พ.ศ. ( ) กรมตํารวจให้มอบหมายให้พระเจนดุริยางค์เป็ นครู ฝึกดนตรี ให้แก่โรงเรี ยนพลตํารวจตามภูมิภาคต่างๆท่านจึงรวบรวมตําราแบบ สมัย ร.
ฝึ กต่างๆเพือใช้ในโครงการดังกล่าว
ก.พ. ( ) กรมตํารวจได้ขอโอนพระเจนดุริยางค์มาจากกรมศิลปากรมาปฏิบตั ิราชการทีกรมตํารวจในตําแหน่งผูอ้ าํ นวยการฝึ กสอนการ สมัย ร.
ดนตรี
ธ.ค. พระเจนดุริยางค์ถึงแก่กรรม สมัย ร.
15 ก.พ. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวรัชกาลที ทรงพระราชทานเพลิงศพด้วยพระองค์เอง เสด็จเป็ นการส่วนพระองค์ สมัย ร.

You might also like