You are on page 1of 86

การฝึ กยกระดับฝี มือ

หล ักสูตร คาราคุร ิ ไคเซ็น


( Karakuri Kaizen )

วันทีอ
่ นุมต
ั ิ 11/พ.ค./2564
ประว ัติวท
ิ ยากร Trainer History
ประสบการณ์สอนและผลงาน
•ผู ้สอนระบบ 5ส ภายในโรงงาน (5S Master สสท)
•ผู ้สอนระบบ TPM ภายในโรงงาน (สสท)
•ผู ้สอน TPS (TBKK Production System) (DTAT)
•ผู ้สอนระบบ QCC (Quality Control Circle) ) (DTAT)
•ผู ้สอน Quality Awareness, ผู ้สอนเครือ
่ งมือวัด ) (DTAT)
•ผู ้สอน Trainer STEM ในสถานศก ี ษา (DTAT)
•ผู ้สอน Team Building (DTAT)
•ผู ้สอน Monizukuri DNA (DTAT)
•ผู ้สอนระบบการ Kaizen&Karakuri Kaizen Supplier (DTAT)
(สสท) =สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป
่ น)
ุ่ (DTAT)=DENSO Training Academy Thailand)

นายไชยา เขพ ันดุง ห ัวข้อบรรยาย


(อาจารย์ หยอย) •ระบบ 5ส,สาหรับหัวหน ้างาน,ระบบ 5ส การตรวจประเมิน
•ระบบ TPM ทั่วไป,สาหรับหัวหน ้างาน
•ระบบ สาหรับการตรวจประเมิน
•TPS พนักงาน, TPS สาหรับหัวหน ้างาน
•QCC (Quality Control Circle ), QCC 7 Tool,เครือ
่ งมือวัด
•Monozukuri DNA, Quality course& PD Course
•Training STEP ในสถานศก ี ษา
•Quality Awareness
•Kaizen และการประเมิน

•การนา Karakuri Kaizen ไปใชในงาน
วัตถุประสงค์
เพือ
่ ให ้ผู ้รับการฝึ กมีความรู ้ ทักษะตลอดจนมีทัศนคติทด ี่ ต
ี อ
่ การประกอบ
กลไกคาราคุรไิ คเซน ็ และนาไปใชเพื้ อ ่ ปรับปรุง ในการผลิตได ้

1.1 เข ้าใจหลักการและแนวคิดของ กลไกคาราคุร ิ ระดับพืน ้ ฐาน


1.2 นาเทคนิคทีเ่ รียนรู ้ไปพัฒนาและปรับปรุงโดยใช ้ กลไกคาราคุร ิ
1.3 ออกแบบ กลไกคาราคุร ิ ระดับพืน ้ ฐานได ้

เป้ าหมาย
1.1 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม ต ้องเข ้าอบรมไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 80%
1.2 ผ่านการประเมิณผลทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบต ั ไิ ม่น ้อยกว่าร ้อยละ 80%
ความเป็ นมา Karakuri
คาว่า Karakuri เป็ นภาษาญีป ่ น ุ่ เขียนด ้วยตัวคันจิทม ี่ รี ากศัพท์จากคาเสนด ้ ้าย ซงึ่ หมายความ
ว่าการชก ั ใยโดยเสนด ้ ้ายโดยมีทมี่ าคือตุก ๊ ตาทีเ่ กิดจากความคิดสร ้างสรรค์ของผู ้สร ้าง โดยการใช ้ กลไก
ง่ายๆในการทาให ้เกิดการเคลือ ่ นไหวทีล ่ ะเอียดซบ ั ซอน ้
สงิ่ ทีเ่ ป็ นสญ
ั ลักษณ์ของคาราคุรใิ นญีป ่ น ุ่ คือ ตุก
๊ ตา Karakuri ทีม ่ ี "ตุก
๊ ตายกชา" และ เด็กยิงธนู
(บันทึกเกีย ้
่ วกับกลไกทีใ่ ชในพวกนาฬ ิ
กาและตุ ๊ ตาเชงิ กล) ยุค เอโดะ ราวๆปี พศ 2340 ตุก
ก ๊ ตานีถ้ อ
ื ว่าเป็ น
ต ้นตารับหุน่ ยนต์ในปั จจุบันเลยก็วา่ ได ้

ตุก
๊ ตายกชา ตุก
๊ ตายิงธนู
ลักษณะพิเศษดังกล่าวของ Karakuri คือ การเคลือ่ นไหวแบบ อนาล็อค ทีไ่ ม่มแ ่ นเชงิ
ี รงขับเคลือ
่ มอเตอร์ หรือ เซ็นเซอร์ แต่ เป็ น การใช ้ เกลียวสปริง หรือ ฟั นเฟื อง
วิทยาศาสตร์ หรือ อุปกรณ์ควบคุม เชน
ที่มา : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ )
ความหมาย
Karakuri คือ ถ ้าแปลความหมายง่ายๆสน
ั่ ๆก็คอ
ื กลไกนั่นเอง

Karakuri (คาราคุร)ิ
เราให ้นิยามคาว่า Karakuri ก็คอ ื กลไกพืน
้ ฐาน เชน ่ รอก พืน

เอียง คาน สปริง เฟื อง ตุ ้มน้ าหนัก ฯลฯ มาทาให ้เกิดมาทาให ้เกิดการ
เคลือ
่ นไหวอย่างต่อเนือ่ งให ้เป็ นระบบ และเพิม
่ ประสท ิ ธิภาพการ
ทางานโดยมีเป้ าหมายคือ
LCA (Low Cost Automation หรืออุปกรณ์เครืองจักรในราคาถูก)

องค์กรสว่ นใหญ่จงึ เปลีย ้ าราคุรใิ นการเคลือ


่ นมาใชค ิ้ งาน
่ นย้าย และผลิตชน
การควบคุมแบบต่างๆ
Karakuri Kaizen
เป็ น Low cost Automation
่ ว่ ยให ้ทางานได ้สะดวกและรวดเร็ว ปลอดภัย ลดงานเสย
ทีช ี ง

Manual Control Automatic Control Karakuri Kaizen


Automation Low-Cost Automation
ลักษณะเด่น Karakuri Kaizen
1. ทาได ้ง่าย : กลไกง่ายๆ ไม่ซบั ซอน
้ สามารถแก ้ไขซอ
่ มแซมได ้เอง
2. สามารถสร ้างได ้เอง : เพียงแค่ความคิดสร ้างสรรค์ในการออกแบบ
สามารถประดิษฐ์ผลงานขึน ้ ้
้ มาใชได
3. มีต ้นทุนทีต
่ า่ :(วัสดุ,เวลา,ค่าแรง,พลังงาน) ตามแนวคิด Slim&Simple
4. ประหยัดพลังงาน : การขับเคลือ่ นเกิดจากกลไก ไม่ได ้ใชพลั ้ งงาน
มอเตอร์ หรือ ไฟฟ้ า ทีเ่ ป็ นแหล่งของกาลัง
5. พัฒนาบุคลากร : พนักงานเกิดการพัฒนา และปรับปรุงสภาพหน ้างาน
ของตนเอง จึงเป็ นการพัฒนาตนเอง และเกิดความภาคภูมใิ จในงาน
ผลที่ได้จากการทา Karakuri Kaizen
• ชว่ ยปร ับปรุงและพ ัฒนา กระบวนการผลิตให้ม ี
ต้นทุนตา ่
• ชว ่ ยพ ัฒนาท ักษะของพน ักงานเมือ
่ เกิดปัญหาและ
อุปสรรคในการทางาน
• ปร ับปรุงสภาพแวดล้อม ความปลอดภ ัย
• ปร ับปรุงเครือ
่ งมือลดแรงงาน
• กระตุน ั
้ ศกยภาพในการพ ัฒนาของบริษ ัท
• ควบคุมจากการมองเห็น
• ลดความสูญเปล่าด้วยการทาให้เป็นอ ัตโนม ัติ

“ปร ับปรุงกระบวนการทางาน ต้องคิดและทาทุกๆว ัน”


Cycle Karakuri Kaizen
ค้นหารูปแบบหรือ
ความต้องการ

แก้ไขปัญหาให้ ปรึกษาพูดคุยระบุ
ตรงจุด ปัญหา

ร่างและคิด
ติดตงั้ วิธแ
ี ก้ไขพร้อม
วาดรูป

ออกแบบ
โครงสร้าง

“ พน ักงานจะได้ร ับความรูแ
้ ละเทคนิคเพือ ่ เสริมกิจกรรมไคเซ็นได้ดว้ ยต ัวเอง”
่ สง
สร้างคนอย่างไร ในการเรียนรู ้ Karakuri kaizen

กระบวนการทีจ่ ะนาไปสู่ Karakuri Kaizen ได้นน


ั้ ถ้ามองทีต
่ ัวบุคคล บุคคลนนต้
ั้ องมี
คุณสมบ ัติอย่างไร ถึงจะครบเงือ
่ นไขในการทาให้เกิด Karakuri Kaizen ได้

Skills
ท ักษะ

Improvement Production

Karakuri
kaizen
Knowledge Ingenuity
ความรู ้ แนวคิด,ฉลาด
Idea
่ ะนาไปสู่ Karakuri Kaizen
องค์ประกอบทีจ

ประกอบด้วย 3 สิง่ ดังนี้

1. Ingenuity แนวคิด,ฉลาด

ต ้องมีจน ิ ตนาการ Idea การทีจ ็ ได ้นัน


่ ะเกิดคาราคุรไิ คเซน ้ ผู ้คิดต ้องสมั ผัส
กับปั ญหาหรือข ้อจากัดต่างๆ ความเหนือ ่ ยยาก ความต ้องการทีอ ่ ยากทางานได ้ง่าย
และสบายขึน ้ ซงึ่ สงิ่ เหล่านีเ้ ป็ นต ้นกาเนิดของความคิดหรือไอเดียต่างๆ ทีม ่ คี วาม
สร ้างสรรค์
การกาหนดความคิดทีเ่ ป็ นหลักการหรือกลไกให ้เป็ นรูปแบบได ้ จะมีผล
ต่อการเกิดไอเดียเป็ นอย่างมาก

“แรกๆอาจคิดไม่ออก แต่ถา้ พยายามบ่อยๆจะสาเร็จได้”


่ ะนาไปสู่ Karakuri Kaizen
องค์ประกอบทีจ

แนวคิดในการเกิด Idea

• เปลีย ่ นทิศทาง ย ้อนกลับ แทนที่


• เปลีย ่ นจากด ้านขวาและด ้านบน
• เปลีย ่ นจากแนวตัง้ เป็ นแนวนอน
• การเกิดเรือ ่ งซ้าๆ กัน
• ทาให ้แรงมากขึน ้ โดยใชหลั้ กการของคาน

• ใชประโยชน์ จากการเปลีย่ นรูปร่างหรือรูปทรง
• เคลือ ่ นทีจ ้
่ ากจุดหนึง่ ไปอีกจุดหนึง่ เป็ นเสนตรง
อ ้อม ฯลฯ
่ ะนาไปสู่ Karakuri Kaizen
องค์ประกอบทีจ

2. Knowledge

2.1 ) ร่างและคิดวิธกี ารแก ้ไขปั ญหานัน


้ โดยการวาดรูป
2.2 ) นากลไกแต่ละแบบวางในตาแหน่งทีเ่ ราต ้องการให ้วัตถุ
เคลือ
่ นทีอ ั พันธ์กน
่ ย่างสม ั
2.3) ออกแบบโครงร่างหรือโครงสร ้างของสงิ่ ทีจ ่ ะทา

ดังนัน
้ เราควรทีจ
่ ะมีความรู ้ ดูและมองออก ถึงการทีจ ้
่ านากลไกแบบไหนมาใชงาน

“ถ้าเรารูห
้ ล ักการทางานของกลไก เราก็จะรูว้ า
่ จะเอาอะไรเข้ามา
่ ยในการสร้าง Karakuri Kaizen ”
ชว
่ ะนาไปสู่ Karakuri Kaizen
องค์ประกอบทีจ

3.Skills

สามารถทางาน Handmade ได ้ดี รุ ้จักเลือกวัสดุ เลือก


แบบเป็ น รู ้ว่าวัสดุมาประกอบอะไรได ้บ ้าง ซงึ่ ไม่ได ้อาศย
ั เทคนิค
พิเศษเข ้ามาเกีย ่ วข ้อง

“การเริม
่ ลงมือทาทุกว ันๆ เรามีท ักษะความชานาญ”
กุญแจหล ักเพือ
่ การสร้างสรรค์ Karakuri kaizen

• คิดแบบพืน ้ ฐาน จริงจ ัง อดทน จนกว่าจะมีไอเดียใหม่ๆเกิดขึน ้


• การเลียนแบบ คือ จุดเริม ่ ต้นทีด
่ ใี นการคิดไอเดียต่อไป ด ังนน ่ั
สงิ่ สาค ัญคือต้องอย่าละอายในการทาเลียนแบบต ัวอย่างทีด ่ ี
• กุญแจสาค ัญของ Karakuri kaizen นน ่ ั จะซอ ่ นอยูใ่ น
ชวี ต ิ ประจาว ัน หรือ ในของเล่น
• ใชล ้ ักษณะพิเศษของชน ิ้ งานให้เป็นประโยชน ์
• ภาพในอุดมคติของผูป ้ ฎิบ ัติงานเองและการให้กาล ังใจจาก
ห ัวหน้า
• ทดลองทาจากโมเดลจาลองแบบง่ายๆก่อน
ทบทวนความเข้าใจ
ข้อใดคือ Karakuri Kaizen?

1 2 3
ทบทวนความเข้าใจ
ลักษณะเด่น Karakuri Kaizen
1. ทาได ้ง่าย : กลไกง่ายๆ ไม่ซบั ซอน
้ สามารถแก ้ไขซอ
่ มแซมได ้เอง
2. สามารถสร ้างได ้เอง : เพียงแค่ความคิดสร ้างสรรค์ในการออกแบบ
สามารถประดิษฐ์ผลงานขึน ้ ้
้ มาใชได
3. มีต ้นทุนทีต
่ า่ :(วัสดุ,เวลา,ค่าแรง,พลังงาน) ตามแนวคิด Slim&Simple
4. ประหยัดพลังงาน : การขับเคลือ่ นเกิดจากกลไก ไม่ได ้ใชพลั ้ งงาน
มอเตอร์ หรือ ไฟฟ้ า ทีเ่ ป็ นแหล่งของกาลัง
5. พัฒนาบุคลากร : พนักงานเกิดการพัฒนา และปรับปรุงสภาพหน ้างาน
ของตนเอง จึงเป็ นการพัฒนาตนเอง และเกิดความภาคภูมใิ จในงาน
“ ทาไมต้องทาไคเซ็น ”
คือ การเลือกงานที่ตอ้ งการทาให้ดีข้ ึน มาทาการปรับปรุง
แก้ไข โดยการลดหรือกาจัดความสูญเปล่า ทาอย่างต่อเนื่ อง
และสมา่ เสมอ
ยากลาบาก สะดวก สบาย
เสีย่ ง ปลอดภัย
ทางานเดิมๆซ้าๆ ทางานง่าย สนุ ก น่ าสนใจ
คือ ไคเซ็น
การปรับปรุงวิธีการถึงแม้จะเพียงเล็ก น้อยก็ตาม
และทาให้ปญั หานั้นหมดไป ไม่เกิดขึ้นอีก
ตัวอย่าง เสียเวลาใน
การเช็ดน้ าบนโต๊ะ

ภาชนะ ภาชนะ

โต๊ะวางภาชนะ โต๊ะวางภาชนะ

น้ าขัง
เจาะรูน้ าไหลผ่าน

โต๊ะวางภาชนะมีน้ าขัง ไม่มีน้ าขังบนโต๊ะวางภาชนะ


ไม่ถกู สุขลักษณะหากมีน้ าขัง ถูกสุขอนามัย
การไคเซ็น
เครื่องมือกาจัดความสูญเปล่า [Muda]

ECRS
ECRS
เป็ นหลักการที่ประกอบด้วย การกาจัด (Eliminate) , การ
รวมกัน (Combine) , การจัดใหม่ (Rearrange) และ การทาให้งา่ ย
(Simplify) ซึ่งเป็ นหลักการง่ายๆ ที่สามารถใช้ในการเริ่มต้นลดความ
สูญเปล่าหรือ MUDA ลงได้เป็ นอย่างดี
1. การกาจัด [Eliminate]
คือ การตัดขัน้ ตอนการทางานที่ไม่จาเป็ นในกระบวนการออกไป (ลด , ยกเลิก)
ทาให้มนั หายไปได้ ไหม ?

สภาพปัจจุบนั ปรับปรุง
GUIDE

จัดทา Guide ให้ช้ ินงานสามารถ


เปลี่ยนทิศทางชิ้นงานด้วยมือ
เปลี่ยนทิศทางได้เอง
ตัวอย่าง การกาจัด [Eliminate]
2. การรวมกัน [Combine]
คือ การรวมขัน้ ตอนการทางานเข้าด้วยกัน เพื่อประหยัดเวลาหรือแรงงานในการทางาน
ลองเอามารวมกันได้ ไหม ?
เอามาประกอบเข้ากันได้ ไหม ?
ถ้าทาพร้อมกันละ?
สภาพปัจจุบนั ปรับปรุง

ขันด้วยประแจทอร์ค 2 ตัว
โดยขันทีละตัว ขัน 2 ตัวพร้อมกันในเวลาเดียวกัน
ตัวอย่าง การรวมกัน [Combine]
3. การจัดใหม่ [Rearrange]
คือ การจัดขัน้ ตอนการผลิตใหม่เพื่อให้ลดการเคลื่อนที่ท่ไี ม่จาเป็ น หรือ การรอคอย
ถ้าสลับลาดับละ ?
ถ้าเปลี่ยนวิธีเป็ นวิธีอน่ื ละ ?
ถ้าหยิบสลับกับสิง่ อืน่ ละ ?

สภาพปัจจุบนั ปรับปรุง
หมุนกลับ ไม่มีการหมุน
A A B
B

หมุนกลับ หมุนกลับ
C C
เมื่อทาการขันชิ้นงานเสร็จต้อง ทาการสลับลาดับงานให้เหลือ
หมุนทัง้ หมด 2 ครัง้ ถึงจบ Process การหมุนแค่เพียง 1 ครัง้
ตัวอย่าง การจัดใหม่ [Rearrange]
4. การทาให้งา่ ย [Simplify]
คือ การปรับปรุงการทางานให้งา่ ยและสะดวกขึ้น โดยอาจจะออกแบบจิ๊ก (jig) หรือ fixture
เข้าช่วยในการทางานเพื่อให้การทางานสะดวกและแม่นยามากขึ้น
ถ้าทาให้เป็ น Unit Simple ละ ?
ถ้าทาตัวจับยืดง่ายๆละ ?

สภาพปัจจุบนั ปรับปรุง

ต้องใช้ประแจขันยึด ทาอุปกรณ์จบั ยืดง่ายๆ


ชิ้นงานกับแผ่นรอง เพียงใช้มือโยก
ตัวอย่าง การทาให้งา่ ย [Simplify]
ตัวอย่าง
รถ โกลคาร์ดในสวนสนุ กที่ให้เด็กขับชนกันทุกๆเย็นจะมีการ เก็บน็ อต ที่
หลุดจากรถไปซ่อม โดยต้อง
“ พลิกรถ ” ดูว่าหลุดจากคันไหนซึ่งมี 20 คันวันไหนโชคร้ายก็เจอคันสุดท้าย
โชคดีกเ็ จอตัง้ แต่คนั แรก...

3
2
1
1
ตัวอย่าง จะ ไคเซ็น
ยังไงดีนะ ?

เราอาจจะไคเซ็นง่ายๆ โดยการ
“ทาสีน็อต” และ “ทาสีรถ” ให้ เหมือนกัน

3
2
1
1
ตัวอย่าง แต่กม็ ีคนแย้งว่า
“ มันเป็ นไคเซ็นที่ ไม่ได้แก้ปญั หาที่ตน้ ตอ ควรจะคิดน็ อตชนิ ดที่ ไม่หลุดถึงจะเป็ นการไคเซ็นที่ดี ”
แต่ แน่ นอน เราก็ควรมีการไคเซ็น ทัง้ 2 แบบ โดยการ
“พัฒนาน็ อตแบบพิเศษไปด้วย”
“ ไคเซ็นเบื้องต้นโดยการทาสีไปก่อน ”

ปกติ ทาสี

(แต่กอ็ าจจะใช้เวลานาน) ซึ่งระหว่างนี้ ก็ควรทาการ


ข้อคิดที่ได้จากตัวอย่างการ
Kaizen

“ ความคิดที่ดีแต่ยงั ไม่ถกู นามาปฏิบตั ิ



มีค่าน้อยกว่าความคิดเล็กๆที่ถกู นามาปฏิบตั แิ ล้ว

“ ทาได้ ทาทันที ”
วิธก ่ ผ่านแรง
ี ารสง
• คาน ดุลนา้ หน ัก • โรลเลอร์ สายพานเอียง
• ฟันเฟื อง บ ันได
• รอก • ก ังห ัน
• ลูกเบีย้ ว • ความต่างระด ับ
• การเชอ ื่ มโยง • ความต่างอุณหภูม ิ
• ค ันโยก รางเลือ ่ น • ก ังห ันนา้
• แรงสน ่ ั สะเทือน • แรงคืนต ัว
• เชอ ื ก ลวด บาร์ ลูกกลม • สภาวะก๊าซ/ของเหลว
• รางไหล • เกลียว
• อืน
่ ๆ • สปริง ยาง พลาสติก
• ลูกสูบ
แหล่งกาเนิดแรง

• แรงโน้มถ่วง • แรงข ับ
• แรงยืดหยุน ่ • แรงด ันนา้ ม ัน/อากาศ
• แรงจากการเคลือ ่ นไหว • แรงเสย ี ดทาน
ของเครือ่ งจ ักร • ไฟฟ้าสถิต
• แรงด ัน • แรงตึงผิว
• การลอยนา้ • แรงขยาย/หดต ัว
• แรงแม่เหล็ก • การย้ายจุดศูนย์ถว่ ง
(ปรอท)
้ ฐานในการออกแบบ Karakuri Kaizen
หล ักพืน
1. ชุดคาน (Lever)

2. กว้าน ล้อ และเพลา winches, wheels and axles

3. รอก ,ถ่วงนา้ หน ัก (Pulley & Weight balance)

4. สปริง (Spring)

้ เอียง , แรงโน้มถ่วง (Inclined Earth gravity)


5. พืน

6.การเปลีย
่ นทิศทางการเคลือ
่ นที่ (Conversion of the Direction to move)

่ ถ่ายกาล ัง (Rotation Transfer)


7. การหมุนสง

8. ของไหล (Fluid)

9. หล ักฟิ สก ์ น
ิ สอ ื่ ๆ
การแบ่งคานตามตาแหน่งของ
จุดหมุน แรงพยายาม แรงต้านทาน

คานอ ันด ับ 1 คานอ ันด ับ 2 คานอ ันด ับ 3


่ าแหน่งของแรงพยายาม แรงต้าน และจุดหมุนให้ถก
ใสต ู ต้อง

E
F

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม


คานอ ันด ับ 1 : จุดหมุนอยูร่ ะหว่างแรงพยายามและแรงต้าน

E
F
W E

W
F

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม

้ ก ับระยะทางจากจุดหมุน
การได้เปรียบ ขึน
คานอ ันด ับ 1 : จุดหมุนอยูร่ ะหว่างแรงพยายามและแรงต้าน

W E
500g F 500g

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม

้ ก ับระยะทางจากจุดหมุน
การได้เปรียบ ขึน
คานอ ันด ับ 1 : จุดหมุนอยูร่ ะหว่างแรงพยายามและแรงต้าน

1 2

W E
500g F 250g

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม

ี ระยะทาง
การได้เปรียบแรง แต่เสย
คานอ ันด ับ 1 : จุดหมุนอยูร่ ะหว่างแรงพยายามและแรงต้าน

1 2 3

W E
500g F 125g

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม

ี ระยะทาง
การได้เปรียบแรง แต่เสย
ต ัวอย่างของคานอ ันด ับ 1

F E E
E

F
W W
W

กรรไกรต ัดเล็บ การแจวเรือ ตาชง่ ั แบบสองแขน


ภาพใดคือคานอ ันด ับ 1

W
F W

E
F

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม


คานอ ันด ับ 2 : แรงต้านทานระหว่างจุดหมุนและแรงพยายาม

F W
E
F

E W

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม

ี ระยะทาง
ได้เปรียบแรง แต่เสย
คานอ ันด ับ 2 : แรงต้านทานระหว่างจุดหมุนและแรงพยายาม

E
250g
W
F 500g

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม

ี ระยะทาง
ได้เปรียบแรง แต่เสย
คานอ ันด ับ 2 : แรงต้านทานระหว่างจุดหมุนและแรงพยายาม

1 2

W E
F 500g 125g

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม

ี ระยะทาง
ได้เปรียบแรง แต่เสย
ต ัวอย่างของคานอ ันด ับ 2

E E

F W

รถเข็นปูน
ภาพใดคือคานอ ันด ับ 2

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม


คานอ ันด ับ 3 : แรงพยายามอยูร่ ะหว่างแรงต้านและจุดหมุน

E
F
W
E F W

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม

ี เปรียบแรง
ได้ระยะทาง แต่เสย
ต ัวอย่างของคานอ ันด ับ 3

E
F
F
W
E E

ไม้กวาดด้ามยาว ทีค
่ บ
ี นา้ แข็ง
ภาพใดคือคานอ ันด ับ 3

F W E

จุดหมุน แรงต้านทาน แรงพยายาม


คานประเภทต่างๆในร่างกาย
คานประเภทต่างๆในร่างกาย

คานอ ันด ับ 1

เมือ ้ ลง
่ เราแหงนหน้าขึน
คานประเภทต่างๆในร่างกาย

คานอ ันด ับ 2

การเขย่งเท้า
คานประเภทต่างๆในร่างกาย

คานอ ันด ับ 3

การงอข้อศอก
สรุปเรือ
่ ง คาน
คานอ ันด ับ 1 E
นิยาม : จุดหมุนอยูร่ ะหว่างแรง
พยายามและแรงต้าน F
สงิ่ ทีไ่ ด้ : การได้เปรียบ ขึน
้ ก ับ
ระยะทางจากจุดหมุน
W

คานอ ันด ับ 2 E
นิยาม : แรงต้านทานระหว่างจุด F
หมุนและแรงพยายาม
สงิ่ ทีไ่ ด้ : ได้เปรียบแรง แต่เสย

ระยะทาง W

คานอ ันด ับ 3 E
นิยาม : แรงพยายามอยูร่ ะหว่าง F
แรงต้านและจุดหมุน
สงิ่ ทีไ่ ด้ : ได้ระยะทาง แต่
เสย ี เปรียบแรง W
้ ฐานในการออกแบบ Karakuri Kaizen
หล ักพืน
2. กว้าน ล้อ และเพลา Winch
้ กการเดียวกันกับคานงัด แต่เป็ นแบบหมุน ยิง่ มีรัศมีในการหมุน
ใชหลั
มากเท่าไร จะยิง่ ผ่อนแรงมากขึน

F
r F
R
r
__ _ ___ _ ___ _
___
F r

R R
W W
W
ออกแรงน้อย โดยใชร้ ะยะทางมาก = ได้เปรียบแรง แต่เสย
ี ระยะเคลือ
่ นที่
้ ฐานในการออกแบบ Karakuri Kaizen
หล ักพืน
2. กว้าน ล้อ และเพลา Winch

2.1) กลไกของกว้าน : ด้านจ ับของสว่าน


มือหมุนในระยะทีม ่ ากกว่าต ัวตอกสวานทีอ่ ยู่
สว่านมือ ตรงกลาง ด ังนน ่ ั สว่ นทีเ่ ป็นคมเจาะของ
ปลายดอกสว่านจึงมีแรงในการหมุน
มากกว่าทีด
่ า้ ม

ทีด
่ ัด 2.2) ต่อต้ามต่อยาวทีป
่ ลายเพลาหมุนเพือ

เหล็ก ผ่อนแรงหมุน

2.3) พวงมาล ัย : ระยะทางหมุนพวงมาล ัย


พวงมาล ัย
รถยนต์ มากกว่าระยะทางหมุนเพลาผ่อนแรงหมุนได้
3. รอก ,ถ่วงนา้ หน ัก (Pulley & Weight balance)

1. รอกเดีย
่ วตายต ัว

2. รอกเดีย
่ วเคลือ
่ นที่

3. รอกพวง
รอก ,ถ่วงนา้ หน ัก (Pulley & Weight balance)
3.1 รอกเดีย
่ วตายต ัว
รอกเดีย
่ วตายต ัว

รอกเดีย่ วตายตัวคือรอกทีม ่ รี อก 1 ตัวขณะทีร่ อก


แกนของรอกจะไม่ขยับขึน ้
้ ลงหรือซายขวาแกนมั นจะอยู่
d1
คงทีต
่ ายตัวอันนีเ้ ขาเรียกว่ารอกเดีย ่ วตายตัวจะใชกั้ บงาน
ลักษณะทีต่ ้องการการเปลีย ่ นทิศทางเคลือ ่ นทีอ ่
่ ย่างเชน
การขนปูน,การชก ั ธงชาติขน ่ อดเสา
ึ้ สูย F

d2

่ ยเปลีย
ชว ่ นทิศทางแต่ไม่ผอ
่ นเเรง
รอก ,ถ่วงนา้ หน ัก (Pulley & Weight balance)
ต ัวอย่าง รอกเดีย
่ วตายต ัว

่ ยเปลีย
ชว ่ นทิศทางแต่ไม่ผอ
่ นเเรง
รอก ,ถ่วงนา้ หน ัก (Pulley & Weight balance)
3.2 รอกเดีย
่ วเคลือ
่ นที่

รอกเดีย
่ วเคลือ
่ นที่

รอกเดีย ่ วเคลือ่ นทีเ่ ดีย


๋ วเครือ่ งทีก ่ ็คอื รอกที่
ตัวลอกเนีย ่ เคลือ ่ นขึน้ ลงโดยอิสระต่างจากตัวแรกนะ
ครับตัวแรกเป็ นโรคเดียวทีย ่ ด ึ ติดอยูก่ บ ั ทีไ่ ม่สามารถ
เคลือ
่ นทีไ่ ด ้รอบที่ 2 เป็ นรอกเดีย ่ วเคลือ ่ นทีค ่ อื ตัวรอก
เคลือ่ นทีข่ น ึ้ ลง

่ ยผ่อนเเรงครึง่ หนึง่ ของนา้ หน ัก


ชว
รอก ,ถ่วงนา้ หน ัก (Pulley & Weight balance)
ต ัวอย่าง รอกเดีย
่ วเคลือ
่ นที่

รอกเดีย
่ วเคลือ
่ นที่

d1

่ ยผ่อนเเรงครึง่ หนึง่ ของนา้ หน ัก


ชว
รอก ,ถ่วงนา้ หน ัก (Pulley & Weight balance)
3.3 รอกพวง
รอกพวงคือการนารอกเดียวหลายๆตัวมาเรียงต่อ รอกพวง
กันทัง้ รอกเดีย ่ วเคลือ
่ นทีร่ อกเดีย ่ วตายตัวมาเรียงว่าผูกต่อกัน
เพื่ อ ให เ้ กิด การเคลื่ อ นที่ เ พื่ อ ให เ้ กิด การได เ้ ปรี ย บหรื อ
เส ีย เปรี ย บในแง่ ข องแรงก็ แ ล ว้ แต่ รอกพวงจะมี ห ลาย
ลักษณะหลายแบบดังตัวอย่างในรูปนี้ชด ุ นี้เป็ นการสาธิตการ
ทางานของรอกพวง

่ ยผ่อนแรงในการทางาน โดยมีเชอ
ชว ื กคล้องรอกทุกต ัว ซงึ่ ชว
่ ยให้
สามารถผ่อนแรงได้มาก
ระบบรอก(PULLEY)

ระบบรอกทีพ่ บเห็นได ้ชวี ต ่ การใชรอกยกของขึ


ิ ประจาวัน เชน ้ น ้ ทีส
่ งู ,เครนงานก่อสร ้าง,
กว ้านยกของรถหรือของหนั กมาก
4. สปริง(Spring)
สปริง คือ ขดสปริง หมายถึง Coil Spring เป็นขดลวดทีม
่ ี
้ ผ่าศูนย์กลางขนาดต่างๆ ขดเป็นวง รูปทรงกระบอก โดยทว่ ั ไปหมายถึง
เสน
การยืดหด ยุบ หรือขยายต ัว ของอุปกรณ์ เรียกว่า สปริง
สปริง (Spring)

1. ด ัน ร ับแรงกระแทก

2. เหนีย ิ้ สว
่ วรง่ ั ชน ่ น

3. สะสมพล ังงาน

4. ชง่ ั นา้ หน ัก
1. ด ัน ร ับแรงกระแทก

่ ระบบก ันสะเทือนรถยนต์
ด ัน ร ับแรงกระแทก เชน
2. ด ันหรือเหนีย ิ้ สว
่ วรง่ ั ชน ่ น

เหนีย
่ วรงช ิ้ สว
ั้ น ่ น เชน
่ ล็ อคขาตงจ
ั้ ักรยาน
3. สะสมพล ังงาน

สะสมพล ังงาน เชน ิ


่ ลานข ับเข็นนาฬกา,ตล ับเมตร
4. ชง่ ั นา้ หน ัก

ชง่ ั นา้ หน ัก เชน


่ ตาชง่ ั สปริง
สรุป สปริง (Spring)

1. ด ัน ร ับแรงกระแทก เชน่ ระบบก ัน


สะเทือนรถยนต์
2. เหนีย ิ้ สว
่ วรง่ ั ชน ่ น เชน
่ ล็อคขาตงั้
จ ักรยาน


่ ลานข ับเข็มนาฬกา
3. สะสมพล ังงาน เชน

4. ชง่ ั นา้ หน ัก เชน


่ ตาชง่ ั สปริง
ต ัวอย่าง ทีก
่ ดนา้ สปริง (Spring)
Workshop

ให้ทก
ุ คนยกต ัวอย่างการใชส ้ ปริง
แต่ละแบบทีพ ่ บเห็นในชวี ต
ิ ประจาว ัน
“กลุม
่ ละ 1 ต ัวอย่าง”
้ เอียง , แรงโน้มถ่วง (Inclined Earth gravity)
5. พืน

กลไกการเคลือ
่ นทีจ
่ ากทีส ่ ต
่ งู ลงสูท ั แรงโน ้มถ่วงของโลก
ี่ า่ โดยอาศย

d1
F
W
d2

แรงในการไหลมาก ไหลเร็ว = มวลมาก x มุมเอียงมาก


แรงในการไหลน ้อย ไหลชา้ = มวลน ้อย x มุมเอียงน ้อย

่ ยอานวยความสะดวกและชว
ชว ่ ยผ่อนแรงในการขนย้ายสงิ่ ของขึน
้ หรือลงจาก
ยานพาหนะ ลงจากทีส่ ง

6.การเปลีย
่ นทิศทางการเคลือ
่ นที่ (Conversion of the Direction to move)

เปลีย ้
่ นทิศทางจากการหมุนเป็ นแนวเสนตรง หรือ เปลีย่ นทิศจาก
วิง่ ตรงไปในแนวขวาซาย ้ บนล่าง เป็ นต ้น เชน
่ ข ้อเหวียง เฟื อง สกูรขับ และข ้อต่อ

้ ลงและ
การหมุนเป็นแนวขึน การหมุนเป็นแนวตรง ้ ลง
การหมุนเป็นแนวขึน
ซา้ ยขวา

“เมือ
่ เราออกแรงกระทาการเปลีย
่ นทิศทางการเคลือ
่ นที”่
่ ถ่ายกาล ัง (Rotation Transfer)
7. การหมุนสง

ใชในการทดความเร็ ่ ความได ้เปรียบเชงิ กล ทีพ
วรอบและเพิม ่ บเห็น
มากได ้แก่การใชอุ้ ปกรณ์

เฟื อง ่ ละจานโซ ่
โซแ สายพานและล ้อขับ
(Gear) (Chain&Sprocket) (Belt&Pulley)

“ ใชเ้ พิม ่ ความได้เปรียบเชงิ กล ”


่ ความเร็วรอบหรือเพิม
8. ของไหล (Fluid)
กลไกของไหล ทงของเหลว
ั้ และ ก๊าซ ความด ันที่ ความสูงเท่าก ัน
ย่อมมีความด ันเท่าก ัน

P=F/A
F = แรงทีก ่ ระทากับของเหลวหรือ
ก๊าซในทิศตัง้ ฉาก (N)
A = พืน
้ ทีห
่ น ้าตัด (m ยกกาลัง 2)
P = ความดัน (Mpa)

F2
F1

้ ทีห
ออกแรงน้อย ยกของหน ักพืน ้ ทีห
่ น้าต ัดมาก = ยกของหน ักมาก พืน ่ น้าต ัดน้อย
8.1 กาล ักนา้ และความด ันของไหล
9. หล ักฟิ สก ์ น
ิ สอ ื่ ๆ
9.1 แม่เหล็ก

กลไกแม่เหล็กใชประโยชน์ จากคุณสมบัตก
ิ ารดูดและการผลักกันของ
แม่เหล็กในกรณีทต ิ แยกหรือยึดสงิ่ ของขนาดเล็ก ทีเ่ ป็ นโลหะเพือ
ี่ ด ่ เพิม
่ ความ
สะดวกสบายในการทางาน

S N N S
N S S N
S N S N

“ ขวต่
ั้ างก ัน ดูดก ัน ขวเหมื
ั้ อนก ัน ผล ักก ัน “
9.1 แม่เหล็ก
หลังปรับปรุง
(ติดแม่เหล็กดูดขึน
้ มาทีละตัว) (อุปกรณ์ทใี่ ชช้ วั่ คราวทดลองใชอยู
้ )่
9. หล ักฟิ สก ์ น
ิ สอ ื่ ๆ
ี ดทาน
9.2 การลดเสย
้ ฐานในการออกแบบ Karakuri Kaizen
หล ักพืน
1 ชุดคาน
1.1 คานระด ับที่ 1 การได้เปรียบ ขึน
้ ก ับระยะทางจากจุดหมุน
1.2 คานระด ับที่ 2 ได้เปรียบแรง แต่เสย ี ระยะทาง
1.3 คานระด ับที่ 3 ได้ระยะทาง แต่เสย ี เปรียบแรง
2. กว้าน ล้อ และเพลา Winch
ออกแรงน้อย โดยใชร้ ะยะทางมาก = ได้เปรียบแรง แต่เสย
ี ระยะเคลือ
่ นที่
3. รอก
3.1 รอกเดีย่ วตายต ัว ชว่ ยเปลีย
่ นทิศทางแต่ไม่ผอ ่ นเเรง
3.2 รอกเดีย
่ วเคลือ
่ นที่ ชว่ ยผ่อนเเรงครึง่ หนึง่ ของนา้ หน ัก
3.3 รอกพวง ชว่ ยผ่อนแรง โดยมีเชอื กคล้องรอกทุกต ัว ซงึ่ ชว่ ยให้สามารถผ่อนแรงได้มาก
4. สปริง (Spring)
4.1 ร ับแรงกระแทก เชน ่ ระบบก ันสะเทือนรถยนต์
4.2 ด ันหรือเหนีย ่ วรงช
ั้ น ิ้ สว่ น เชน
่ ล็อคขาตงจ
ั้ ักรยาน
4.3 สะสมพล ังงาน เชน ่ ลานข ับเข็นนาฬกา ิ
4.4ชง่ ั นา้ หน ัก เชน่ ตาชง่ ั สปริง
้ เอียง , แรงโน้มถ่วง (Inclined Earth gravity)
5. พืน
่ ยอานวยความสะดวกและชว่ ยผ่อนแรงในการขนย้ายสงิ่ ของขึน
ชว ้ หรือลงจากยานพาหนะ ลงจากทีส
่ ง

6. การเปลีย
่ นทิศทางการเคลือ
่ นที่ (Conversion of the Direction to move)
เมือ
่ เราออกแรงกระทาการเปลีย
่ นทิศทางการเคลือ
่ นที่
่ ถ่ายกาล ัง (Rotation Transfer)
7. การหมุนสง
ใชเ้ พิม ่ ความได้เปรียบเชงิ กล
่ ความเร็วรอบหรือเพิม
8. ของไหล (Fluid)
ออกแรงน้อย โดยใชร้ ะยะทางมาก ยกของหน ักมาก แต่ได้ระยะทางน้อย
9. หล ักฟิ สก ์ น
ิ สอ ื่ ๆ
9.1 แม่เหล็ก ี ดทาน
9.2 การลดเสย

You might also like