You are on page 1of 1

สำยทรัพยำกรบุคคล (DB)

ปี ที่ 8 ฉบับที่ 15 ประจำเดือนมีนำคม 2562 โดยกองป้องกันและตรวจสอบกำรประพฤติมิชอบ (PD-P)

ความผิดฐาน “ลักทรัพย์” และ “ยักยอกทรัพย์”


ต่างกันอย่างไร ?
“Bulletin” ฉบับนี้ ขอกล่าวถึงกรณีมีข้อสงสัยและถกเถียงกันว่า “การลักทรัพย์” และ “การยักยอกทรัพย์”
มีความหมายเหมือนกันหรือไม่ และ แต่ละฐานความผิดแตกต่างกันอย่างไร
เพื่อให้พนักงานได้รับทราบ ความหมาย ความแตกต่าง และ โทษทางอาญา ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ลักทรัพย์ = แย่งการครอบครองทรัพย์ ยักยอกทรัพย์ = ครอบครองทรัพย์แล้วเบียดบัง
1. ลักทรัพย์ คือ การ “เอาไป” ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่น 1. ยักยอกทรัพย์ คือ การ “ครอบครอง” ทรัพย์ของ
หรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วย โดยทุจริต ผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยแล้วเบียดบัง
2. ผู้กระทามีเจตนาทุจริตก่อนเอาทรัพย์ไปจากการ เอาทรัพย์นั้นเป็นของตน โดยทุจริต
ครอบครองของผู้อื่น 2. ผู้กระทามีเจตนาทุจริตหลังครอบครองทรัพย์ของผู้อื่น
3. เป็นความผิดอาญาแผ่นดิน (ยอมความไม่ได้) 3. เป็นความผิดอันยอมความได้
4. ผู้กระทาเอาไปโดยรู้ว่าเจ้าของทรัพย์ติดตามอยู่ 4. ผูก้ ระทาเอาไป โดยไม่รวู้ ่าเจ้าของทรัพย์กาลังติดตาม
เป็นลักทรัพย์ ทรัพย์อยู่ เป็นยักยอกทรัพย์

ตัวอย่างความผิดฐานลักทรัพย์ 8 ตัวอย่างความผิดฐานยักยอกทรัพย์
- นายละโมบเก็บถุงเงินที่นายมั่งคั่ง ทาตกไว้ โดย - นายจ้องโกง เป็นพนักงานขายนาฬิกา แต่กลับ
ทุจริต และนายมั่งคั่งกลับมาตามหาถุงเงินของตนทันที ยักยอกเอานาฬิกาไปเป็นของตนเอง
- นายฉกฉวย ไขกุญแจเอาทรัพย์ของนายร่ารวย - นายคดเคี้ ย ว ยื ม รถยนต์ เ พื่ อ นไปใช้ แ ละ
ที่อยู่ในตู้โชว์ไปขาย ไม่นามาคืน ภายหลังได้นารถยนต์ไปขายต่อ
เป็นความผิดฐานลักทรัพย์ เป็นความผิดฐานยักยอกทรัพย์
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 334 ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 352

บทลงโทษ บทลงโทษ
โทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี โทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท
และปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
แหล่งข้อมูล : 1. ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 334 และมาตรา 352 ทีปรึกษากิตติมศักดิ์ : นางสุวิมล บัวเลิศ / DB
2. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 26) พ.ศ.2560 จัดทาและเรียบเรียงโดย : PD-P / PD

You might also like