You are on page 1of 22

Siriraj Patient Classification

ฝ่ ายการพยาบาล
โรงพยาบาลศิริราช
การจำแนกประเภทผูป้ ่ วย
แบ่งกลุม่ ผูป้ ่ วยตามต้องการการพยาบาล
เป็ นตัวชีว้ ดั ปริมาณงานในแต่ละวัน/แต่ละเวร
ใช้คาดประมาณอัตรากำลังในหน่วยงาน
การจำแนกประเภทผูป้ ่ วย
Prototype Evaluation
ประเมินประเภทผูป้ ่ วย โดยเทียบ
เคียงลักษณะของผูป้ ่ วยตามข้อกำหนด
การกำหนดประเภทผูป้ ่ วย
ประเภทที่ 1 สามารถดูแลตนเองได้
ประเภทที่ 2 ต้องการความช่วยเหลือดูแลเล็กน้อย
ประเภทที่ 3 ต้องการความช่วยเหลือดูแลปานกลาง
ประเภทที่ 4 ต้องการความช่วยเหลือดูแลมาก
ประเภทที่ 5 ต้องการความช่วยเหลือดูแลมากที่สดุ
เกณฑ์บ่งชีค้ วามต้องการการพยาบาล 5หมวด
1. ความสามารถปฏิบตั กิ ิจวัตรประจำวัน
2. ความต้องการการรักษาพยาบาล
3. สภาพที่แสดงออกถึงภาวะการเจ็บป่ วย
4. ความต้องการด้านจิตใจ อารมณ์และสังคม
5. ความต้องการการดูแลตนเองตามภาวะสุขภาพและ
พัฒนาการตามวัย
เกณฑ์บ่งชีค้ วามต้องการการพยาบาล 12 รายการ
ความสามารถรับประทาน อาการและอาการแสดงผิดปกติ
อาหาร
การสังเกต ประเมินอาการ
ชนิดและประเภทอาหาร ตรวจวัดสัญญาณชีพและการ
การทำความสะอาดร่างกาย บันทึก
การขับถ่าย การรับรู้
การเคลื่อนไหว ออกกำลังกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
การดูแลตนเองตามภาวะ
การได้รบั ยา สุขภาพและการพัฒนาตามวัย
ความสามารถปฏิบตั กิ ิจวัตรประจำวัน
การรับประทานอาหาร
ระดับ 1 = ทำได้เอง
ระดับ 2 = ช่วยเหลือเล็กน้อย
ระดับ 3 = ต้องมีผชู้ ว่ ยป้อนอาหารให้
ระดับ 4 = ต้องป้อนและเฝ้ าระวังการสำลักอย่างใกล้ชดิ
ระดับ 5 = ให้อาหารทางสายยาง / ทางหลอดเลือดดำ
ชนิดและประเภทอาหาร
ระดับ 1 =ไม่จำกัด
ระดับ 2 =อาหารเหลว อ่อน /งดอาหาร น้ำดืม่
ระดับ 3 =อาหารเฉพาะโรค /ต้องการคำแนะนำ
ระดับ 4 =อาหารที่จดั เตรียมพิเศษ /สังเกต
บันทึกจำนวน
ระดับ 5 =ให้อาหารทางสายยาง /ทางหลอด
เลือดดำ
การทำความสะอาดร่างกาย
ระดับ 1 = ทำได้เอง
ระดับ 2 = พยุงไป เตรียมเครื่องใช้ให้/เช็ดตัวทารกปกติ
ระดับ 3 = ช่วยเหลือบางส่วน/เช็ดตัวทารกแรกคลอด
หลังผ่าตัด ผูป้ ่ วยจิตเวช
ระดับ 4 = ช่วยเหลือทัง้ หมด ผูป้ ่ วยพลิกตัวได้เอง
ระดับ 5 = ต้องช่วยเหลือโดยสมบูรณ์ ผูป้ ่ วยไม่รสู้ ึกตัว/
มีอาการทางจิตรุนแรง
การขับถ่าย
ระดับ 1 =เดินไปห้องน้ำ ขับถ่ายได้เอง
ระดับ 2 =พยุงเข้าห้องน้ำ ขับถ่ายได้เอง/ต้องทำความสะอาดให้
ระดับ 3 =ขับถ่ายได้เองบนเตียง ต้องช่วยทำความสะอาดให้
ระดับ 4 =ขับถ่ายได้เองต้องอยู่ชว่ ยเหลือตลอดเวลา / สวน
อุจจาระ,ปั สสาวะEvacuation /มีcolostomy
ดูแลตนเองได้
ระดับ 5 =ใส่สายสวนคา ถุงยาง/มี Urostomy ,Colostomy,
S-P Cystrostomyได้รบ ั ยาระบายและถ่ายตลอดเวลา
การเคลื่อนไหวร่างกายและการออกกำลังกาย
ระดับ 1 =เคลื่อนไหวร่างกาย ออกกำลังกายได้เอง
ระดับ 2 =ต้องพยุง ประคับประคองขณะเคลื่อนไหวร่างกายและออก
กำลังกาย
ระดับ 3 =เคลื่อนไหวร่างกายได้นอ้ ย/จำกัดการเคลื่อนไหวบนเตียง /
ต้องควบคุมกระตุน้ ให้เคลื่อนไหวร่างกาย
ระดับ 4 =เคลื่อนไหวร่างกายได้นอ้ ยมาก/จำกัดกิจกรรมบนเตียง/ ต้อง
ควบคุม ช่วยเหลือ ดูแลการเคลื่อนไหวอย่างใกล้ชดิ
ระดับ 5 =ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้เลย/เคลื่อนไหวโดยไม่มเี ป้า
หมาย/ต้องได้รบั ความช่วยเหลือออกกำลังกายทัง้ หมด
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
ระดับ 1 =การรักษาพยาบาลอย่างง่าย ปฏิบตั เิ ป็ นประจำ
ระดับ 2 =การรักษาพยาบาลและตรวจวินจิ ฉัยที่ตอ้ งสังเกตอาการ
เป็ นเวลาสัน้ ๆ
ระดับ 3 =การรักษาพยาบาลและตรวจวินจิ ฉัยที่ตอ้ งสังเกตอาการ
เป็ นระยะๆ24 ชม.
ระดับ 4 =การรักษาพยาบาลและตรวจวินจิ ฉัยที่รวดเร็ว ต้อง
ระมัดระวัง สังเกตอาการอย่างน้อย ทุก 2-4 ชม.ต่อ
เนือ่ ง 24 ชม.
ระดับ 5 =การรักษาพยาบาลเพื่อแก้ไขภาวะวิกฤตอย่างเร่งด่วน/หัตถ
การที่เสี่ยงต่อชีวิต / ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชดิ และต่อ เนือ่ ง
ตลอดเวลา
การได้รบั ยา
ระดับ 1=ได้รบั ยาสามัญประจำบ้าน
ระดับ 2=ได้รบั ยากิน สูดดม หยอด ป้าย เหน็บ พ่นผูป้ ่ วยทำได้
เอง ต้องดูแลให้ได้รบั ยาครบถ้วน
ระดับ 3=ได้รบั ยากินหยอด สูดดม อมใต้ลิ้น วันละไม่เกิน
4 ครัง้ ต้องช่วยเหลือให้ได้รบ ั ยา และสังเกตอาการ
หลังให้ยา
ระดับ 4=ได้รบั ยาฉีดเข้าใต้ผวิ หนัง เข้ากล้ามเนือ้ หรือ IV เป็ น
ครัง้ ๆ ยาพ่นที่ผปู้ ่ วยทำเองไม่ได้ ต้องสังเกตหลังให้ยา
อย่างใกล้ชดิ
ระดับ 5=ได้รบั ยา IV ทุก 1-2 ชม. , IV drip ต้องดูแล
ช่วยเหลือขณะให้ยาและหลังให้ยาอย่างใกล้ชดิ ตลอดเวลา
สภาพที่แสดงถึงภาวะการเจ็บป่ วย
อาการและอาการแสดงผิดปกติ
ระดับ 1=ไม่มอี าการแสดงผิดปกติ / ระยะโรคสงบ
ระดับ 2=มีอาการแสดงผิดปกติเล็กน้อย เช่น มีไข้ ปวดแผล เจ็บครรภ์เตือน
ระดับ 3=มีอาการแสดงผิดปกติมาก บ่อยครัง้ ต้องควบคุมด้วยยาและการ
รักษาพยาบาล เช่น เหนือ่ ยหอบต้องให้ออกซิเจน
ระดับ 4=มีอาการแสดงผิดปกติรนุ แรง บ่อยครัง้ มีแนวโน้มที่จะควบคุมอาการ
ได้ เช่น GI bleeding, ปวดแผลมากทุก 4 ชัว่ โมง
ระดับ 5=มีอาการแสดงผิดปกติรนุ แรง ตลอดเวลา / อาการผิดปกติเฉียบ
พลัน ต้องแก้ไขโดยรีบด่วนเช่น Respiratory failure,
severe chest pain, shock
ความต้องการการสังเกตประเมินอาการ ตรวจวัดสัญญาณชีพ
ระดับ 1=สังเกต ประเมินอาการ บันทึกสัญญาณชีพเพื่อประเมิน
สภาพทัว่ ไป
ระดับ 2 =สังเกต ประเมินอาการบันทึกสัญญาณชีพ อย่างน้อย
2 ครัง้ /วัน
ระดับ 3 =สังเกต ประเมินอาการ บันทึกสัญญาณชีพ อย่างน้อย
3-4 ครัง้ / วัน
ระดับ 4 = สังเกต ประเมินอาการ บันทึกสัญญาณชีพ อย่างน้อย
วันละ 6 ครัง้
ระดับ 5 = สังเกต ประเมินอาการบันทึกสัญญาณชีพทุก1-2ชม.
หรือบ่อยกว่า
ภาวะการรับรู้
ระดับ 1=รูส้ ึกตัวดี รูจ้ กั ตนเองและสิ่งแวดล้อม
ระดับ 2=รูส้ ึกตัวดี รูก้ าลเวลาสถานที่ แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้า
ระดับ 3=รูส้ ึกตัว ซึม มึนงง สับสนบางครัง้ / ตอบคำถามกาล
เวลาผิดบ้างถูกบ้าง /ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้ามาก รบกวนชีวิต
ประจำวัน
ระดับ 4=รูส้ ึกตัว ลืมตาได้เอง ตอบคำถาม ทำตามสัง่ ไม่ได้ / ตอบ
สนองต่อสิ่งเร้าไม่ถกู ต้อง / แสดงพฤติกรรมที่รบกวนการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน อาจเป็ นอันตรายต่อตนเองและผูอ้ ื่น
ระดับ 5=ไม่รสู้ ึกตัว ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก / ควบคุม
ตนเองไม่ได้ มีพฤติกรรมรุนแรง อาจทำร้ายตนเอง ผูอ้ ื่น
ความต้องการด้านจิตใจ อารมณ์ และสังคม
ระดับ 1=ยอมรับความเจ็บป่ วย ร่วมมือในการรักษา /แสดงอารมณ์
สอดคล้องกับสถานการณ์
ระดับ 2=ยอมรับความเจ็บป่ วย แสดงความวิตกกังวลเล็กน้อย
ระดับ 3=ยอมรับความเจ็บป่ วยไม่ได้ แสดงความวิตกกังวลสูง เรียก
ร้องความสนใจ ต่อรอง/ ผูป้ ่ วยเด็กเล็ก วัยก่อนเรียน
ระดับ 4=ยอมรับความเจ็บป่ วยไม่ได้ ต่อต้าน ปฏิเสธ/ท้อแท้ ซึมเศร้า
หมดกำลังใจ แยกตัว/อยู่หอ้ งแยก มีแนวโน้มพฤติกรรมเบี่ยงเบน
ระดับ 5=ไม่ยอมรับความเจ็บป่ วย / ไม่รสู้ ติ ไม่รบั ข้อมูลใดๆ /
สิ้นหวัง ไม่สนใจตนเอง-สิ่งแวดล้อม / มีพฤติกรรมเบี่ยงเบน
การดูแลตนเองด้านสุขภาพและพัฒนาการตามวัย
ระดับ 1=มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ ไม่จำเป็ นต้องปรับกิจวัตรประจำวัน
/เรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง
ระดับ 2=มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ ต้องปรับกิจวัตรประจำวันเล็กน้อย
/ต้องการการสนับสนุนให้ขอ้ มูล
ระดับ 3=มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพที่ตอ้ งใช้เทคนิคในการดูแลตนเอง /
ต้องการการสอนอธิบายและฝึ กทำ
ระดับ 4=มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพที่อาศัยเทคโนโลยีซับซ้อนแต่ดแู ลตนเองได้
เช่น CAPD, Central Venous Care, Pace maker
ระดับ 5=มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพที่ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยีที่ซับซ้อน
ไม่สามารถดูแลตนเองได้ พึ่งพาผูอ้ ื่นหมด/ต้องสอนให้บคุ คลใกล้ชดิ ดูแล
คำแนะนำในการจำแนกประเภทผูป้ ่ วย
ผูจำ
้ แนกประเภทผูป้ ่ วย
 รูจ้ กั ผูป้ ่ วยดี
 รู,้ เข้าใจและใช้เครื่องมือเป็ น
 มีความรู้ ความสามารถในการพยาบาล
สาขานัน้ ๆเป็ นอย่างดี

You might also like