You are on page 1of 89

เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ

พ.ท.หญิง ศิริรัตน์ ฤทธิ์สรไกร


อจ.รร.สบ.สบ.ทบ.
โทร 89296
สิทธิเกิดขึ้นเมื่อใด
เมื่อตัวบุคคลออกจากราชการ ออกจากราชการหมายถึง ๑. ลา
ออก
๒. ทางราชการให้ออก
๓. ตาย
ข้อ ๑. - ๒. จะได้รับเบี้ยหวัด หรือบำนาญปกติ
หรือบำนาญพิเศษ หรือบำเหน็จ
ข้อ ๓. ทายาทจะได้รับบำนาญพิเศษ หรือบำเหน็จตกทอด หรือ
ทั้ง ๒ ชนิด
ความรู้พื้นฐาน
เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ
ข้าราชการ...
ตาม พ.ร.บ. บำเหน็จบำนาญฯ ปี 94
หมายถึง .....
ทหาร และ ข้าราชการพลเรือน
ทหาร..... หมายถึง
๑. นายทหารชั้นสัญญาบัตร ตลอดจนว่าที่ยศนั้นๆ
๒. นายทหารประทวน
๓. พลทหารประจำการ
ข้าราชการพลเรือนได้แก่

ข้าราชการพลเรือนทั่วไปฯ ข้าราชการฝ่ ายรัฐสภาฯ


ข้าราชการตุลาการฯ
ข้าราชการตำรวจฯ
ข้าราชการอัยการฯ
ข้าราชการพลเรือนใน
ข้าราชการครูฯ
มหาวิทยาลัยฯ ข้าราชการกลาโหมพลเรือนฯ
ข้าราชการการเมืองฯ
(พ.ร.บ.บำเหน็จฯ ฉบับที่ ๑๖ ใช้บังคับ ๒๘ ก.ย. ๓๙)
การนับอายุบุคคลแบ่งออกเป็ น ๒ ลักษณะ

๑. นับตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๖


๒. นับตาม พ.ร.บ.รับราชการทหาร
พ.ศ.๒๔๙๗ มาตรา๔
การนับเวลาราชการ
จุดเริ่มต้นของการนับเวลาราชการ (ทหาร)
นักเรียนทหารเช่น นนร. , นนส. ,นพท.ฯลฯ
บุคคลเหล่านี้ จะเกิดสิทธิเริ่มนับเวลาราชการได้
ตั้งแต่ วันที่เกิดสิทธิขึ้นทะเบียนกองประจำการ
- สิทธิขึ้นทะเบียนฯ นักเรียนทหารจะต้องมีอายุ
ครบ 18 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป (นับอายุ ปี ลบปี )

(นับตาม พ.ร.บ.รับราชการทหาร)
ตัวอย่าง
จ.ส.อ.มานพฯ เกิด ๕ ธ.ค.๐๒ บรรจุเป็ น

นักเรียนนายสิบเมื่อ ๑ พ.ค.๒๒ (อายุ ๒๐ ปี )


เป็ น ส.อ.เมื่อ ๓๐ เม.ย.๒๔
สิทธิขึ้นทะเบียนกองประจำการ
ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๒๒ (อายุ ๒๐ ปี )
สิทธิเริ่มนับเวลาราชการ ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๒๒
ตัวอย่าง
ร.อ.อาทรฯ เกิด ๗ ก.ค.๒๕๐๐ บรรจุเป็ น
นักเรียนนายร้อยเมื่อ ๑ พ.ค.๑๘ (อายุ ......๑๘ ปี )
เป็ นว่าที่ร้อยตรีเมื่อ ๑ ม.ค.๒๓
สิทธิขึ้นทะเบียนกองประจำการ
๑ เดือน ........
ตั้งแต่ วันที่...... พ.ค พ.ศ.๒๕๑๘
......
.
สิทธิเริ่มนับเวลาราชการ ตั้งแต่ ๑................
พ.ค.๒๕๑๘
จุดเริ่มต้นของการนับเวลาราชการ ( พลเรือน)
ข้าราชการพลเรือนรวมทั้งข้าราชการกลาโหม
พลเรือน ให้เริ่มนับตั้งแต่วันบรรจุ (รายงานตัว) เข้า
ปฏิบัติหน้าที่ราชการ และต้นสังกัด จะต้องวางฎีกา
เบิกจ่ายเงินเดือนให้เพราะเงินเดือน คือตัวกำหนด
เวลาราชการ
มีอายุครบ ๑๘ ปี บริบูรณ์ขึ้นไป ( นับตาม ป.พ.พ. )
(พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ ปี 2494 มาตรา 23 วรรคหนึ่ง)
ตัวอย่าง การเกิดสิทธิเริ่มนับเวลาราชการ (พลเรือน)

นางสำราญฯ เกิด ๗ ธ.ค.๒๕๐๐ บรรจุ(รายงาน


ตัว)
เป็ นข้าราชการสังกัดกรมสามัญศึกษาเมื่อ ๑ ก.พ. ๒๔
และ ต้นสังกัดวางฏีกาเบิกจ่ายเงินเดือนให้ ตั้งแต่วัน
รายงานตัว
- เวลาราชการปกติ เริ่มนับตั้งแต่ ๑ ก.พ.๒๔
ตัวอย่าง
ส.อ.ณรงค์ฯ เกิด ๕ ม.ค.๐๓
บรรจุ(รายงานตัว) เป็ น กห.พร. เมื่อ ๑ พ.ค.๒๒ (
อายุ ๑๙ ปี ) ต้นสังกัด วางฎีกาเบิกจ่ายเงินเดือน
ให้ตั้งแต่วันรายงานตัว
เวลาราชการปกติเริ่มนับ ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๒๒
14
จุดสิ้นสุดของเวลาราชการ
1. กรณีลาออก ให้นับถึงก่อนลาออก 1 วัน เช่น ลาออก
5 พ.ค.2550 นับถึง 4 พ.ค.2550
2. กรณีเกษียณให้นับถึงก่อนเกษียณ 1 วัน เช่น เกษียณฯ
1 ต.ค.2550 นับถึง 30 ก.ย.2550
3. กรณีตายให้นับถึงวันตาย เช่น พ.อ.ลำดวนฯ เสียชีวิต
เมื่อ 9 ม.ค.2550 ก็นับถึง 9 ม.ค.2550
โครงสร้างเวลาราชการ

ปกติ ทวีคูณ (ถ้า


มี)
๑. เวลากองประจำการ (ถ้ามี) กรณีประกาศกฎอัยการศึก
(นร.ทหาร , ทหารเกณฑ์ ) กรณีปฏิบัติราชการพิเศษ
๒. เวลาประจำการ กรณีปราบปราม ผกค.
(บุคคลมีสถานภาพเป็ น ขรก.) กรณีปฏิบัติตามแผนป้ องกัน
๓. เวลา ๑ ใน ๔ ช่วงเป็ นกอง ประเทศ
หนุนมีเบี้ยหวัด
“ เบี้ยหวัด ”
คือ เงินที่ทางราชการ จ่ายตอบแทน
ความชอบให้แก่ทหารชาย ที่ออกจาก
ประจำการ (ลาออก,ปลดออก) ซึ่งจ่าย
เป็ นรายเดือน
(ตามข้อบังคับ กห.ว่าด้วยเงินเบี้ยหวัด ปี ๒๔๙๕ ใช้บังคับตั้งแต่ ๑๒ เม.ย.๙๕)
เงินเดือนเดือนสุดท้าย
หมายความว่า เงินเดือนที่ได้รับจากเงินงบประมาณ
ประเภทเงินเดือนเดือนสุดท้าย ก่อนออกจากราชการรวมทั้ง
เงินเพิ่มพิเศษรายเดือนสำหรับค่าวิชา, เพิ่มการ เลื่อนฐานะ,
เพิ่มประจำตำแหน่งที่ต้องฝ่ าอันตรายเป็ นปกติ, เพิ่มสำหรับ
การสู้รบ และหรือ สำหรับการปราบปรามผู้กระทำความผิด
แต่ไม่รวมถึงเงินเพิ่มอย่างอื่นๆ
ม.๔ วรรค ๕
เกณฑ์คำนวณเงินเบี้ยหวัด
๑. มีเวลาฯ ๑ ถึง ๑๔ ปี = ๑๕ คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
๒. มีเวลาฯ ๑๕ ถึง ๒๔ ปี = ๒๕ คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
๓. มีเวลาฯ ๒๕ ถึง ๒๙ ปี = ๓๐ คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
๔. มีเวลาฯ ๓๐ ถึง ๓๔ ปี = ๓๕ คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
๕. มีเวลาฯ ๓๕ ถึง ๔๐ ปี = ๔๐ คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
๖. มีเวลาฯ ๔๑ ปี ขึ้นไป = เวลา คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
เบี้ยหวัด จำกัดจำนวนอย่างสูงไม่เกิน เงินเดือนเดือนสุดท้าย
หลักเกณฑ์การมีสิทธิรับเบี้ยหวัด
ของนายทหารสัญญาบัตร
หลักเกณฑ์การมีสิทธิรับเบี้ยหวัดของนายทหารสัญญาบัตร

บุคคลมีสถานภาพเป็ นข้าราชการ
มีเวลาราชการไม่น้อยกว่า 1 ปี ขึ้นไป (ปกติรวมทวีคูณ)
ออกจากราชการอยู่ในช่วงกองหนุน ( ดูยศ + อายุ )
คำสั่งให้ออกจากราชการระบุ “เป็ นนายทหารกองหนุน
มีเบี้ยหวัด.....สังกัด.......”
การแบ่งประเภท นายทหารสัญญาบัตร
กองหนุน นอกราชการ พ้นฯ
(อายุไม่เกิน) ตั้งแต่ - ถึง
ร.ต.- ร.อ.ตั้งแต่ ๔๕ ๔๖-๕๕ ๕๖
พ.ต.- พ.ท. ๕๐ ๕๑-๖๐
๖๑
พ.อ.- นายพล ๕๕ ๕๖-๖๕ ๖๖
เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ
รับเบี้ยหวัดถึงวัน เดือน ปี ไหน (รับถึงวันสุดท้ายที่อยู่ในกองหนุน)
- ร.ท.นนท์ฯ เกิด 9 ก.ย.10 ลาออก 25
มี.ค.50
(อายุ 40 ปี ) มีเวลาฯ
- ร.ท.นนท์ฯ เงินเดือนรวม 22 ปี จะได้รับ
13,500 บาท
เงิน....
พ.ด.ร. 7000 บาท จะได้รับเบี้ยหวัดเดือน
ละเท่าใร
เบี้ยหวัด= 25 x (13,500+7000) / 50 = 10,250 บาท
ได้รับเบี้ยหวัดเดือนละ 10,250 บาท
- ร.อ.สวยฯ เกิด 1 ม.ค.18 ลาออก 9 ก.พ.44
(อายุ 26 ปี )มีเวลาฯ รวม 8 ปี จะได้รับเงินเบี้ยหวัด
- ร.อ.สวยฯ เงินเดือน 17,400 บาท พ.ส.ร.
450 บาท
จะได้รับเบี้ยหวัดเดือนละเท่าไร
เบี้ยหวัด = 15 x (17,400+450) / 50 = 5,355 บาท
ได้รับเบี้ยหวัดเดือนละ 5,355 บาท
- พ.ท.เฉิ่มฯ เกิด 7 ต.ค.02 ลาออก 1 ม.ค.49 (อายุ
49 ปี ) เวลาฯ รวม 29 ปี 6 เดือน จะได้รับเงินเบี้ยหวัด
- พ.ท.เฉิ่มฯ เงินเดือน 27,750 บาท พ.ด.ร.
7000 บาท
จะได้รับเบี้ยหวัดเดือนละเท่าใร
เบี้ยหวัด = 35 x (27,750+7000) / 50 = 24,325 บาท
ได้รับเบี้ยหวัดเดือนละ 24,325 บาท
หลักเกณฑ์การมีสิทธิรับเบี้ยหวัด
ของนายทหารประทวน และพลทหาร
หลักเกณฑ์การมีสิทธิรับเบี้ยหวัด
ของนายทหารประทวน และพลทหารฯ
อยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังนี้
จะต้องอยู่ในกองประจำการให้ครบตาม พ.ร.บ.
รับราชการทหาร ( ปกติทั่วไป ๒ ปี )
มีเวลาประจำการ ต่อจากกองประจำการ ไม่น้อยกว่า
1 ปี บริบูรณ์ ( ไม่รวมวันทวีคูณ )
ลาออกในช่วงกองหนุนชั้นที่ ๑ หรือ ชั้นที่ ๒
เกณฑ์คำนวณเงินเบี้ยหวัด
๑. มีเวลาฯ ๑ ถึง ๑๔ ปี = ๑๕ คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
๒. มีเวลาฯ ๑๕ ถึง ๒๔ ปี = ๒๕ คูณ เงินเดือน หาร
๕๐
๓. มีเวลาฯ ๒๕ ถึง ๒๙ ปี = ๓๐ คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
๔. มีเวลาฯ ๓๐ ถึง ๓๔ ปี = ๓๕ คูณ เงินเดือน หาร
๕๐
๕. มีเวลาฯ ๓๕ ถึง ๔๐ ปี = ๔๐ คูณ เงินเดือน หาร ๕๐
การแบ่งประเภทประเภท, พลทหาร
ปกติจะแบ่งประเภทดังนี้
กองประจำการ 2 ปี
กองหนุน ชั้นที่ 1 7 ปี
กองหนุน ชั้นที่ 2 10 ปี
กองหนุน ชั้นที่ 3 6 ปี
ปลดพ้นราชการทหาร
พ.ร.บ.รับราชการทหาร 2497 ม.9
ส.อ.จอนฯ สังกัด จบ. ลาออก ๑น.ทหารประทวน
EX. ระยะเวลาการรับเบี้ยหวัด พ.ค.๔๕ เกิด ๕ เม.ย.๑๐

บรรจุ นนส. เมื่อ ๑ พ.ค.๒๘ (อายุ ๑๘ปี ) มีวันทวีคูณ ๑๐ ปี


เงินเดือนเดือนสุดท้าย ป. ๓ ชั้น ๒ ๙,๔๗๐ บาท
กองประจำการ ๒ ปี ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๒๘ - ๓๐ เม.ย.๓๐
กองหนุนชั้นที่๑ (๗ปี ) ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๓๐ - ๓๐ เม.ย.๓๗
กองหนุนชั้นที่๒(๑๐ปี ) ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๓๗ - ๓๐ เม.ย.๔๗
กองหนุนชั้นที่๓ (๖ปี ) ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๔๗ - ๓๐ เม.ย.๕๓
ปลดพ้นราชการตั้งแต่ ๑ พ.ค.๕๓
EX. การแบ่งประเภทนายสิบน.ทหารประทวน

กองประจำการ ๒ ปี ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๒๘ - ๓๐ เม.ย.๓๐


กองหนุนชั้นที่๑ (๗ปี ) ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๓๐ - ๓๐ เม.ย.๓๗
กองหนุนชั้นที่๒(๑๐ปี ) ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๓๗ - ๓๐ เม.ย.๔๗
กองหนุนชั้นที่๓ (๖ปี ) ตั้งแต่ ๑ พ.ค.๔๗ - ๓๐ เม.ย.๕๓
ปลดพ้นราชการตั้งแต่ ๑ พ.ค.๕๓
หลักเกณฑ์การมีสิทธิรับเบี้ยหวัด
ของนายทหารประทวน กำเนิดพลเรือน
หลักเกณฑ์การมีสิทธิรับเบี้ยหวัด
ของนายทหารประทวนกำเนิดจาก (กห.พร.)
ผู้ที่บรรจุแต่งตั้งยศช่วงอายุ ๑๘ – ๒๑ ปี ( เงื่อนไข
ระยะเวลารับเบี้ยหวัด เหมือนนายสิบหลัก
(นนส.) ทุกประการ)
ผู้ที่บรรจุแต่งตั้งยศอายุ ๒๒ ปี ( เงื่อนไขพิเศษ คือ
จะต้องลาออกก่อนวันย้ายประเภทพ.ศ. เกิดบวก ๓๙)
(บรรจุเมื่อใดก็ตามได้รับการแต่งตั้งยศอายุ 22ปี ขึ้นไป)
บำเหน็จ บำนาญ

37
พ.ร.บ. บำเหน็จบำนาญข้าราชการ
พ.ศ. 2494

พ.ร.บ. กองทุนบำเหน็จบำนาญ
ข้าราชการ พ.ศ. 2539
38
บำเหน็จ

คือ เงินที่ทางราชการตอบแทนความชอบ
ให้แก่ข้าราชการ ที่ออกจากราชการ โดยจ่ายให้
เป็ นเงินก้อนเพียงครั้งเดียว
ไม่มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือประการใดจากทางราชการ
ทายาทไม่มีสิทธิในเงินบำเหน็จตกทอด 39
บำนาญ
คือ เงินที่ทางราชการตอบแทนความชอบ
ให้แก่ข้าราชการที่ออกจากราชการ จนกระทั่งถึงวัน
ที่ถึงแก่กรรม หรือถึงวันที่หมดสิทธิรับบำนาญ โดย
จ่ายให้เป็ นรายเดือน
มีสิทธิได้รับการช่วยเหลือจากทางราชการ
ทายาทมีสิทธิได้รับเงินช่วยพิเศษ,บำเหน็จตกทอด
40
เงื่อนไขการเกิดสิทธิบำเหน็จบำนาญ
1. มีเวลาราชการอย่างน้อย ๑ ปี ขึ้นไป
2. ออกจากราชการ (ลาออก,ให้ออก) อยู่ในเหตุ
2.1 เหตุทดแทน
2.2 เหตุทุพพลภาพ
2.3 เหตุสูงอายุ
2.4 เหตุรับราชการนาน 41
๑. บำเหน็จบำนาญเหตุทดแทน
ให้แก่ข้าราชการ ซึ่งออกจากราชการเพราะ
เลิก หรือยุบตำแหน่ง
หรือมีคำสั่งให้ออกโดยไม่มีความผิด
ออกตามบทบัญญัติ ในรัฐธรรมนูญแห่ง ราช
อาณาจักรไทย (ข้าราชการการเมือง)
ทหารซึ่งออกจากกองหนุนเบี้ยหวัด (ย้ายประเภท)
มีเวลาราชการ ๑-๙ ปี รับบำเหน็จ
มีเวลาราชการ ๑๐ ปี บริบูรณ์ขึ้นไป รับบำนาญ
42
๒. บำเหน็จบำนาญเหตุทุพพลภาพ
ให้แก่ข้าราชการ ผู้ป่ วยเจ็บทุพพลภาพ ซึ่งแพทย์
ที่ทางราชการรับรอง ได้ตรวจและแสดงความเห็น
ว่าไม่สามารถที่จะรับราชการในตำแหน่งหน้าที่ซึ่ง
ปฏิบัติอยู่นั้นต่อไป
มีเวลาราชการ ๑-๙ ปี รับบำเหน็จ
มีเวลาราชการ ๑๐ ปี บริบูรณ์ขึ้นไป รับบำนาญ
43
๓. บำเหน็จบำนาญเหตุสูงอายุ
๓.๑ กรณีเกษียณอายุราชการ (ทางราชการให้ออก)
๓.๒ กรณีอายุบุคคลครบ ๕๐ ปี บริบูรณ์แล้วลาออก
มีเวลาราชการ ๑-๙ ปี รับบำเหน็จ
มีเวลาราชการ ๑๐ บริบูรณ์ขึ้นไป รับบำนาญ

44
๔. บำนาญเหตุรับราชการนาน
ข้าราชการมีเวลาราชการ (ปกติ + ทวีคูณ) ครบ
๒๕ ปี บริบูรณ์ขึ้นไป แล้วลาออก รับบำนาญทันที

ทุก ๆ เหตุ เมื่อเกิดสิทธิรับบำนาญ ผู้มีสิทธิ


สามารถขอเปลี่ยนจากบำนาญ เป็ นบำเหน็จได้
45
ข้อยกเว้น ข้าราชการฯ ลาออก
ไม่เข้าเหตุใดเหตุหนึ่ง จะต้องมีเวลาราชการ ๑๐
ปี ถึง ๒๔ ปี จะได้รับบำเหน็จเท่านั้น
ไม่เข้าเหตุใดเหตุหนึ่ง มีเวลาราชการรวม
ไม่ถึง ๑๐ ปี จะไม่ได้รับทั้งบำเหน็จ หรือบำนาญ

ม.๑๗ 46
ตัวอย่าง
๑. ร.อ. ชายฯ ลาออก อายุบุคคล ๔๖ ปี (ช่วงนอก
ราชการ) มีเวลาราชการ ๒๔ ปี ๕ เดือน ๒๙ วัน
๒. จ.ส.อ.ชายฯ ลาออก อายุบุคคล ๔๔ ปี (ช่วงกองหนุน
ชั้นที่ ๓) มีเวลาราชการ ๒๔ ปี ๕ เดือน ๒๙ วัน
บุคคลทั้ง ๒ ลาออก ไม่เข้าเหตุใดเหตุหนึ่งใน ๔ เหตุ
ย่อมจะได้รับ เงินบำเหน็จ เท่านั้น

47
๓. ส.อ.หญิง, จ.ส.อ.หญิง,ร.อ.หญิง ลาออก อายุบุคคล
๓๑ ปี มีเวลาราชการ ๑๐ ปี ๕ เดือน ๒๙ วัน
๔. ร.ต.ท.ชาย ลาออก อายุบุคคล ๓๑ ปี มีเวลาราชการ
๑๐ ปี ๕ เดือน ๒๙ วัน
- จะได้รับบำเหน็จเท่านั้น เพราะลาออกไม่เข้าเหตุฯ
(มีเวลาราชการ ๙ ปี ๖ เดือน ถึง ๒๔ ปี )
48
การคำนวณเงินบำเหน็จ

49
วิธีคำนวณบำเหน็จ
ของข้าราชการ...ทุกประเภท...
บำเหน็จ = เวลาราชการ X เงินเดือนเดือนสุดท้าย
( เวลา = จำนวนปี ไม่จำกัด X เงินเดือนรวมเงินเพิ่ม )

(พ.ร.บ.บำเหน็จฯ ฉบับที่ ๑๖ ใช้บังคับตั้งแต่ ๒๘ ก.ย. ๓๙)

(ม.๓๒) 50
ตัวอย่างการคำนวณบำเหน็จ
ร.อ.รบ รักเรียน ลาออก อายุ ๔๗ ปี เศษ (ช่วง
นอกราชการ) มีเวลาราชการรวม ๒๔ ปี ๕ เดือน ๒๙
วัน เงินเดือนเดือนสุดท้าย ๑๙,๕๐๐ บาท เงินเพิ่ม
โดดร่ม ๗๐๐๐ บาท เงินเพิ่มสู้รบ ๔๕๐ บาท

บำเหน็จ = ๒๔ x ๒๖,๙๕๐ = ๖๔๖,๘๐๐ บาท


51
ตัวอย่าง รับบำเหน็จ
ร.อ.หญิง อ้อมฯ ลาออก 1 ต.ค.50 (อายุ 35 ปี )
เงินเดือนเดือนสุดท้าย 13,200 บาท มีเวลาราชการ
รวม 24 ปี จะได้รับเงินอะไร บำเหน็จ
เดือนละเท่าไร 316,800 บาท

บำเหน็จ 13,200 x 24 = 316,800 บาท


การคำนวณเงินบำนาญ

53
วิธีคำนวณบำนาญ
ของข้าราชการ...ทุกประเภท...

บำนาญ = เวลาราชการ X เงินเดือนเดือนสุดท้าย


๕๐

(พ.ร.บ.บำเหน็จฯ ฉบับที่ ๑๖ ใช้บังคับตั้งแต่ ๒๘ ก.ย. ๓๙) (ม.๓๒)


54
ตัวอย่าง การคำนวณบำนาญ

พ.อ.สมหวัง ดีมาก เกษียณอายุราชการ ๑ ต.ค.๕๒


- เงินเดือน ณ ๓๐ ก.ย.๕๒ เท่ากับ ๕๐,๕๐๐ บาท
- เงินเพิ่มสู้รบ ๑,๖๐๐ บาท
- มีเวลาราชการรวม ๔๘ ปี

บำนาญ = ๔๘ x ๕๒,๑๐๐ เท่ากับ ๕๐,๐๑๖ บาท


๕๐
55
ตัวอย่าง การคำนวณบำนาญ

ส.อ.หญิง จอยฯ ลาออก 1 ม.ค.44 (อายุ 50 ปี )


เงินเดือนเดือนสุดท้าย 9,600 บาท มีเวลาราชการ
รวม 23 ปี จะได้รับเงินอะไร บำนาญ
เดือนละเท่าไร 4,416 บาท
บำนาญ 9,600 x 23 / 50 = 4,416 บาท
พ.ร.บ. กองทุนบำเหน็จบำนาญ
ข้าราชการ พ.ศ. 2539

57
เมื่อ ๒๘ ก.ย. ๓๙ พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จ
บำนาญข้าราชการ มีผลบังคับใช้ ...โดยมีเงื่อนไข

๑. ผู้ที่ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการ เป็ นข้าราชการ


ตั้งแต่ ๒๗ มี.ค. ๔๐ จะต้องเป็ นสมาชิกกองทุนฯ
๒. ผู้ที่เป็ นข้าราชการอยู่ก่อน ๒๗ มี.ค. ๔๐ จะ
สมัครเป็ นสมาชิกได้ภายใน ๒๖ มี.ค.๔๐ (สมาชิกภาพ
เริ่ม ๒๗ มี.ค.๔๐)
58
ประเภทข้าราชการที่เป็ นสมาชิก กบข.
๑. ข้าราชการพลเรือน ๘. ข้าราชการทหาร
๒. ข้าราชการฝ่ ายตุลาการ ๙. ข้าราชการสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
๓. ข้าราชการฝ่ ายอัยการ ๑๐. ข้าราชการสำนักงานศาลปกครอง
๔. ข้าราชการพลเรือนใน ๑๑. ข้าราชการสำนักงานการตรวจเงิน
มหาวิทยาลัย แผ่นดิน
๕. ข้าราชการครู ๑๒. ข้าราชการสำนักงานการ ป.ป.ช.
๖. ข้าราชการรัฐสภาสามัญ
๗. ข้าราชการตำรวจ
59
ผู้ที่ไม่ต้องเป็ นสมาชิกกองทุนฯ
๑. ข้าราชการการเมือง (นายก, รัฐมนตรี ฯลฯ)
๒. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น สังกัด...
กทม.
เทศบาล / เมืองพัทยา
อบจ. / อบต.
60
การสิ้นสุดสมาชิกภาพ กบข.
๑. ลาออกจากราชการ
๒. เกษียณฯ (ให้ออก)
๓. โอนย้ายไปเป็ น ข้าราชการส่วนท้องถิ่น
๔. ตาย...(ระหว่างเป็ นข้าราชการประจำ)
เงินก้อนจาก กบข. จะได้รับเมื่อสิ้นสุดจากสมาชิกภาพ

61
สมาชิกกองทุนเสียอะไร
ไม่มีเสียอะไรเลย
แต่จะถูกหักเงินเดือน ๓% เป็ นเงินสะสม
เข้ากองทุนฯ

62
รัฐบาลให้อะไรแก่ สมาชิก กบข.
๑. เงินประเดิม (เฉพาะข้าราชการเก่าที่สมัครเป็ นสมาชิกฯ)
โดย คำนวณจากสู ตร เงินประเดิม = ๒๕ คูณ เงินเดือน ณ
มี.ค.๔๐ คูณ ( ๑.๐๙ ยกกำลัง เวลาราชการ ลบ ๑.๐๘ ยกกำลัง
เวลาราชการ) หาร ๑.๐๘ ยกกำลังเวลาราชการ ลบ ๑

เวลาราชการ = เวลาราชการปกติ (ไม่รวมทวีคูณ)


เงินเดือน = เงินเดือน ไม่รวมเงินเพิ่ม ณ มี.ค.๔๐
เศษของบาท ปัดเป็ น ๑ บาท
63
รัฐบาลให้สมาชิก กบข.
๒. เงินชดเชย  ๒% ของเงินเดือนสมาชิกฯ (เนื่องจาก
การจ่ายบำนาญระบบใหม่ ลดลง จึงมีเงินตัวนี้ชดเชยให้ )
๓. เงินสมทบ  ๓% ของเงินเดือนสมาชิกฯ

ข้าราชการใหม่จะได้เฉพาะเงินตามข้อ ๒. – ๓.

ส่วนเงินประเดิมตามข้อ ๑. เป็ นเรื่องของข้าราชการเก่า


64
พ.ท.ชอบฯ สมาชิก กบข. ช่วง เม.ย.๕๑ - ก.ย.๕๑
รับเงินเดือน ๒๒,๒๒๐ เงินเพิ่มสู้รบ ๙๐๐ บาท

๑. ชดเชย ๒% = ๒ คูณ ๒๒,๒๒๐ หาร ๑๐๐ = ๔๔๔ บาท


๒. สมทบ ๓% = ๓ คูณ ๒๒,๒๒๐ หาร ๑๐๐ = ๖๖๖ บาท
๓. สะสม ๓% = ๓ คูณ ๒๒,๒๒๐ หาร ๑๐๐ = ๖๖๖ บาท
(เศษสตางค์ไม่ปัดทิ้ง)
ข้อ ๑ - ๒ รัฐบาลจ่าย
ข้อ ๓ หักจากเงินเดือนสมาชิก 65
ร.ท.เชยฯ สมาชิก กบข. ช่วง เม.ย.๕๓ - ก.ย.๕๓
รับเงินเดือน ๑๐,๐๐๐ เงินเพิ่มสู้รบ ๓๕๐ บาท

๑. สะสม ๓% = ๓ คูณ ๑๐,๐๐๐ หาร ๑๐๐ = ๓๐๐ บาท


๒. สมทบ๓% = ๓ คูณ ๑๐,๐๐๐ หาร ๑๐๐ = ๓๐๐ บาท
๓. ชดเชย๒% = ๒ คูณ ๑๐,๐๐๐ หาร ๑๐๐ = ๒๐๐ บาท

(เศษสตางค์ไม่ปัดทิ้ง)
66
เงินประเดิม
เงินชดเชย
เงินสมทบ
เงินสะสม
จะได้รับพร้อมดอกผล เมื่อตอนที่สมาชิก
ออกจากราชการ
67
สมาชิก กบข. ลาออก ไม่เข้าเหตุ ๔ เหตุ
มีเวลาราชการไม่ถึง ๑๐ ปี (หรือ ๙ ปี ๖ เดือน) จะ
ไม่ได้รับทั้ง บำเหน็จบำนาญ
แต่จะได้รับเงินสะสม+เงินสมทบ+ดอกผล (เป็ น
เงินก้อน)
หรือถูกไล่ออก, ปลดออก ไม่มีเบี้ยหวัดบำเหน็จ
บำนาญ ก็จะได้รับเงินสะสม+เงินสมทบ+ดอกผล
เช่นกัน
68
สมาชิก กบข. เมื่อออกจากราชการ
๑. เกิดสิทธิรับ บำเหน็จ และจะได้รับ
 เงินสะสม + สมทบ + ดอกผล
๒. เกิดสิทธิรับบำนาญ และเลือก รับบำนาญ
 เงินประเดิม(ขรก. เก่า + ชดเชย + สะสม + สมทบ
+ ดอกผล
๓. สมาชิกฯ เสียชีวิต ขณะเป็ น ขรก. ประจำการจะได้รับ
สะสม + สมทบ + ดอกผล (รับโดย ทายาท)
ทหารชาย สมาชิก กบข.
ลาออก อยู่ในช่วงกองหนุนฯ ต้องรับ เบี้ยหวัด
สมาชิกภาพจะสิ้นสุดลงทันที
เงินก้อนที่จะได้รับจาก กบข. คือ เงินสะสม
เงินสมทบ พร้อมดอกผล

70
การคำนวณบำเหน็จระบบ กบข.

บำเหน็จ = เวลาราชการจำนวนปี (ไม่จำกัด) คูณเงินเดือน


เดือนสุดท้าย
เศษของปี จำนวนเดือนหรือวัน นำไปคำนวณด้วย
พ.ร.บ.กองทุนฯ ม.๖๖ ว.๒

71
การคำนวณบำเหน็จ ระบบ กบข.
นางปิ่ นทองฯ สมาชิก กบข. ลาออกไม่เข้าเหตุ มี
สิทธิได้รับบำเหน็จ เงินเดือนเดือนสุดท้าย ๒๐,๐๐๐ บาท
- มีเวลาราชการรวม ๒๐ ปี ๖ เดือน

บำเหน็จ = ๒๐.๕ x ๒๐,๐๐๐ เท่ากับ ๔๑๐,๐๐๐ บาท

( ๖ เดือน ทำเป็ นปี นำ ๑๒ มาหารได้ จุด ๕ ปี ) 72


ตัวอย่าง นางนิ่มฯ สมาชิก กบข. ลาออกไม่เข้าเหตุ
รับบำเหน็จเท่านั้น เงินเดือนเดือนสุดท้าย 20,000 บาท
มีเวลาราชการรวมเป็ น 20 ปี 6 เดือน
- ไม่เป็ นสมาชิก กบข. บำเหน็จ เท่ากับ 21 คูณ 20,000
บาท
เท่ากับ 420,000 บาท (6 เดือนปัดเป็ น 1 ปี )
- เป็ นสมาชิก กบข. บำเหน็จเท่ากับ 20.5 คูณ 20,000 บาท

เท่ากับ 410,000 บาท (6 เดือน ทำเป็ นปี นำ 12 มาหารได้ .5 ปี )


วิธีคำนวณบำนาญ ระบบ กบข.

บำนาญ = เวลาราชการ(จำนวนปี ) คูณเงินเดือนเฉลี่ย


๖๐ เดือนสุดท้าย (ก่อนลาออกฯ) หาร ๕๐

เศษของปี เดือน วัน นำไปคำนวณด้วย


74
ที่มาเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย
กรณีสมาชิก กบข. ลาออกตามโครงการเกษียณฯ 1 ต.ค.44
1. เงินเดือน ณ 30 ก.ย.44 (เลื่อนขั้นกรณีพิเศษ)
2. เงินเดือน ปี งบฯ 44 คูณ 11 เดือน
3. เงินเดือน ปี งบฯ 43 คูณ 12 เดือน
4. เงินเดือน ปี งบฯ 42 คูณ 12 เดือน
5. เงินเดือน ปี งบฯ 41 คูณ 12 เดือน
6. เงินเดือน ปี งบฯ 40 คูณ 12 เดือน
นำยอดเงินข้อ 1.- 6. มารวมกันแล้วหารด้วย 60 = เงินเดือน
ตัวอย่าง
พ.อ.นฤมลฯ สมาชิก กบข. อายุ ๕๙ ปี ลาออก ๑ ต.ค.๕๑
- เงินเดือนเดือนสุดท้าย ๔๖,๖๗๐ บาท (ก.ย.๕๑)
- เงินเดือนรวมช่วง ต.ค.๔๖ – ก.ย.๕๑ = ๒,๒๗๐,๘๗๐ บาท
- เงินเดือนเฉลี่ย = ๒,๒๗๐,๘๗๐ หาร ๖๐ = ๓๗,๘๔๗.๘๓ บาท
๑. เวลาฯ๓๐ ปี บำนาญ = ๓๐ x ๓๗,๘๔๗.๘๓ /๕๐ = ๒๒,๗๐๘.๗๐
๒. เวลาฯ๓๕ ปี บำนาญ = ๓๕ x ๓๗,๘๔๗.๘๓ /๕๐ = ๒๖,๔๙๓.๔๘
๓. เวลาฯ๔๐ ปี บำนาญ = ๔๐ x ๓๗,๘๔๗.๘๓ /๕๐ = ๓๐,๒๗๘.๒๖
หมายเหตุ ข้อ ๓ จะได้รับบำนาญ ๒๖,๔๙๓.๔๘ บาท เท่านั้น
ตัวอย่าง
พ.อ.เดชฯ สมาชิก กบข. ลาออก 1
เม.ย.55
- เงินเดือนเดือนสุดท้าย (มี.ค.55) =
38,720 บาท
- เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย
( เม.ย.50 - มี.ค.55 ) =
-35,545 บาท 34 ปี 6 เดือน
มีเวลาราชการรวม
24,526.0
รับบำนาญเดือนละเท่าไร ......................
5 บาท
บำนาญพิเศษ บำเหน็จตกทอด
บำนาญพิเศษและบำเหน็จตกทอด
1. บำนาญพิเศษ หมายถึง เงินซึ่งทางราชการจ่ายตอบแทนความ
ชอบเป็ นรายเดือนให้แก่
- ข้าราชการประจำ
- ทหารกองประจำการ (ทหารเกณฑ์)
- บุคคลที่ทำหน้าที่ทหารตามที่ กห.กำหนด
- ในกรณีที่บุคคลทั้ง 3 ได้รับอันตรายจนถึงพิการทุพพลภาพ อัน
เนื่องมาจากการปฏิบัติงานในหน้าที่ หรือถูกประทุษร้าย เพราะเหตุกระทำการ
ตามหน้าที่ เรียกว่า“บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ”
- ถ้าบุคคลทั้ง 3 เสียชีวิตเนื่องจากการปฏิบัติงานตามหน้าที่ ทายาทจะ
เป็ นผู้มีสิทธิได้รับบำนาญพิเศษเรียกว่า“บำนาญพิเศษเหตุตาย”(ทายาทรับเป็ น
รายเดือน)
บำนาญพิเศษ แบ่งได้ดังนี้
1. บำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ
2. บำนาญพิเศษกรณีถึงแก่ความตาย

80
1.1 ขั้นตอนทั่วไปในการปฏิบัติ
- มีการปูนบำเหน็จพิเศษ (1 ถึง 9 ขั้น) ซึ่งกระทรวงเจ้าสังกัดจะเป็ น

ผู้พิจารณาตามสมควร แก่เหตุการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่
- ใช้เงินเดือนที่ได้รับปูนบำเหน็จพิเศษแล้วเป็ นฐานในการคำนวณฯ
- มีการขอพระราชทานยศสูงขึ้นสำหรับทหาร ตำรวจ
- มีการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็ นกรณีพิเศษ
1.2 เกณฑ์การคำนวณยอดรวมบำนาญพิเศษ
- เท่ากับเงินเดือนปูน ฯ คูณด้วยอัตราส่วน
1.3 กรณีทุพพลภาพ (เจ้าตัวรับ)
- เวลาปกติตั้งแต่ 5 ส่วน 50 ถึง 20 ส่วน 50
- ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะ ตามข้อ 1.1.2 เท่ากับ 1
ใน 2 ส่วน
- ปฏิบัติหน้าที่ในเวลาฉุกเฉิน ตามข้อ 1.1.3
เท่ากับ 30
ส่วน 50 ถึง 35 ส่วน 50
1.4 กรณีตายจากการปฏิบัติหน้าที่ (ทายาทมีสิทธิรับ)
- ปฏิบัติหน้าที่ในเวลาปกติ ตามข้อ 1.1.1 ยอดรวมบำนาญ
พิเศษเท่ากับกึ่งหนึ่งของเงินเดือนปูน ฯ
- ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะทาง ตามข้อ 1.1.2 หรือ ปฏิบัติหน้าที่
ที่มีอัตราเสี่ยงสูงมาก ตามข้อ 1.1.3 ยอดรวมบำนาญพิเศษเท่ากับ 4
0 ส่วน 50 ของเงินเดือนปูน ฯ
1.5 ทายาทในบำนาญพิเศษคือใคร ?
1.5.1 บิดามารดา
1.5.2 คู่สมรส (สามี หรือภรรยา)
1.5.3 บุตร (รวมทั้งบุตรบุญธรรม)
ก. บิดา จะมีสิทธิก็ต่อเมื่อเป็ น บิดาที่ชอบด้วยกฎหมาย
ของผู้ตาย
ข. มารดามีสิทธิทุกรูปแบบ
ค. คู่สมรสที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ตาย
ง. บุตร
1.6 การแบ่งส่วนบำนาญพิเศษ
ก. บิดามารดาถ้ามีสิทธิทั้งคู่ 1 ส่วน (หาร 2)
ข. คู่สมรส 1 ส่วน
ค. บุตรที่มีสิทธิ จำนวน 1 หรือ 2 คน ได้ 2 ส่วน
ง. บุตรที่มีสิทธิ 3 คน ขึ้นไปได้ 3 ส่วน
- บำนาญพิเศษเป็ นสิทธิเฉพาะตัว เมื่อทายาทผู้หนึ่งผู้ใดตาย

หรือหมดสิทธิด้วยเหตุอื่น สิทธินั้นเป็ นอันยุติลง ไม่โอน ไม่


ถ่ายทอดให้ทายาทคนอื่น
2. บำเหน็จตกทอด
- เมื่อบุคคลประเภทต่อไปนี้ เสียชีวิตทายาทย่อมจะ
ได้รับเงินบำเหน็จตกทอด เป็ นเงินก้อนจ่ายครั้งเดียวจบ
ก. ข้าราชการประจำ
ข. กองหนุนมีเบี้ยหวัด
ค. ข้าราชการบำนาญ
2.1 ทายาทในเงินบำเหน็จตกทอดได้แก่
A. บิดามารดา
B. คู่สมรส
C. บุตรร่วมบุตรบุญธรรม
2.2 เกณฑ์การคำนวณยอดรวมบำเหน็จตกทอด
- ข้าราชการประจำเสียชีวิต ยอดรวมบำเหน็จตกทอด
เท่ากับเวลาราชการจำนวนปี คูณด้วยเงินเดือนเดือนสุดท้าย
- ข้าราชการประจำเสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ที่มีอัตรา
การเสี่ยงอันตรายต่อร่างกายหรือชีวิต ยอดรวมบำเหน็จตกทอดเท่ากับเวลา
ราชการจำนวนปี คูณเงินเดือนซึ่งได้รับการปูนบำเหน็จพิเศษแล้ว
- กองหนุนมีเบี้ยหวัดเสียชีวิต ยอดรวมบำเหน็จตกทอด
เท่ากับเวลาราชการจริงก่อนลาออกบวก 1 ใน 4 ช่วง รับเบี้ยหวัดคูณด้วยเงิน
เดือนก่อนลาออกรับเบี้ยหวัด
- ข้าราชการบำนาญ เสียชีวิตยอดรวมบำเหน็จตกทอด
เท่ากับเงินบำนาญ ( รวมเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับบำนาญ ) คูณ 30
2.3 การแบ่งส่วนเงินบำเหน็จตกทอด
A. บิดามารดา ได้ 1 ส่วน
B. คู่สมรส ได้ 1 ส่วน
C. บุตร 1 หรือ 2 คน ได้ 2 ส่วน
บุตร 3 คนขึ้นไปได้ 3 ส่วน
?

You might also like