You are on page 1of 27

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ บ้านมกรา

ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม พ.ศ. 2553

ฉ. หนึ่ง  ด. มกราคม ป. สองพันห้าร้อยห้าสิบสาม


แปะจนเปื่อย ก็ยังไม่มีใครเห็น
ส่งประกาศของท่านมาให้เราช่วยประชาสัมพัันธ์ผ่านวารสารบ้านมกรา
วารสารออนไลน์ที่มุ่งการสื่อสารระหว่างพี่น้องชาวบ้านมกรา เพื่อให้รู้ถึงกิจกรรมหรือกิจการที่ท่าน
ทำอยู่ ถ้าสนใจส่งประกาศของท่านมาที่ สมภพ แจ่มจันทร์ เลขที่ 291 หมู่ 2 ต.ในคลองบางปลากด
อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ 10290 หรือ email address : editor.sansaara@gmail.com
แผนที่

สารบัญ
บทบรรณาธิการ 3
ความเคลื่อนไหวในแวดวง 4
ทัศนะชาวบ้าน  9
  วิโรจน์ เตรียมตระการผล  10 
  ดวงพร เลาหกุล  13 
  ครรชิต แสนอุบล  14 
  สหรัฐ เจตมโนรมย์ 15
มองหาเรื่อง 19
ถนนสายจิตวิทยาการปรึกษา 
  ก้าวแรกบนถนนสายจิตวิทยาการปรึกษา 20
   สมภพ แจ่มจันทร์ 
  ครั้งแรกกับพระ     21
   สุทธิพันธุ์ สุทธิศันสนีย์
ซาววัน ณ ห้วยฮ่องไคร้ 22

บรรณาธิการ สมภพ แจ่มจันทร์


กองบรรณาธิการ สัณห์ชาย โมสิกรัตน์
ธารีวรรณ เทียมเมฆ
ธัญลักษณ์ วัฒนาเฉลิมยศ ติดต่อ
สมภพ แจ่มจันทร์ 291 หมู่ 2 ต.ในคลองบางปลากด
ช่างภาพ ปาริชาต ธงภักดี
อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ 10290 
email : editor.sansaara@gmail.com

  บ้านมกรา
บทบรรณาธิการ
สมภพ แจ่มจันทร์

ผม เชื่อว่าทุกคนที่เป็นนักอ่าน ไม่วันใดก็วันหนึ่งย่อมเกิดอาการอยาก
ลงมือเขียนอะไรสักอย่าง และคนที่เคยขีดๆ เขียนๆ อะไรบางอย่าง
ย่อมมีสักครั้งที่อยากเผยแพร่สิ่งที่ตนเองถ่ายทอดออกมาเป็นตัวอักษรให้ผู้อื่น
มีโอกาสทำหนังสือรวมเรื่องสั้นของตัวเองกับเพื่อนๆ และน้องๆ ที่ภาค และอีก
เล่มกับเพื่อนต่างคณะ ซึ่งตอนนี้เป็นนักหนังสือพิมพ์อยู่ที่มติชน หนังสือเล่มนี้มี
กิจกรรมเปิดตัวเป็นจริงเป็นจังที่สุดตั้งแต่ผมเคยมีส่วนร่วมมา มีการสัมภาษณ์
ได้ร่วมรับรู้ ผมเองก็เป็นหนึ่งในนักอ่านที่วันดีคืนดีเกิดอาการอยากขีดเขียน และวางขายในงานเปิดตัวที่ชั้นล่างของศูนย์เรียนรวมของมหาวิทยาลัย มีคน
อะไรสักอย่างขึ้นมา และในที่สุดเมื่อเขียนบ่อยเข้าก็อยากเผยแพร่สิ่งที่ตัวเอง ซื้อหนังสือและมาขอลายเซ็นต์ผมด้วย ซึ่งก็ค่อนข้างจะเป็นสถานการณ์ที่แปลก
ถ่ายทอดออกมา ประหลาดอยู่พอสมควรสำหรับผม

   จุดเริ่มต้นในโลกแห่งการอ่านอย่างแท้จริงของผมเริ่มขึ้นในเย็นวัน    ความคิ ด ฝั น อยากทำวารสารไม่ เ คยหายไปจากความคิ ด ฝั น ของผม


หนึ่งในขณะที่ผมกำลังเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ช่วงนั้นโรงเรียนเพิ่งเปิด ผมอยากทำวารสารสักเล่มที่พูดถึงอะไรที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาซึ่งพอจะมี
เทอมได้ไม่นาน ผมเพิ่งย้ายโรงเรียนมาเรียนมัธยมปลายที่นี่ จึงทำให้ยังไม่ค่อย ประโยชน์อยู่บ้างกับผู้ที่เรียนหรือผู้ที่สนใจจิตวิทยา หลังจากเพ้อฝันและ
มีเพื่อนมากนัก (ซึ่งจะว่าไปจนกระทั่งเรียนจบก็ยังไม่ค่อยมีเพื่อนอยู่ดี หึหึ) เมื่อวางแผนเงียบๆ คนเดียวอยู่นาน ผมก็มีโอกาสได้คุยกับพี่ก๊ะเกี่ยวกับโครงการ
ไม่รู้จะทำอะไรดีหลังจากโรงเรียนเลิก ผมจึงตัดสินใจลองเข้าไปเดินเล่นใน ทำวารสารที่วาดฝันเอาไว้ ประกายไฟแห่งความมุ่งมั่นถูกจุดขึ้นและดับลงไปใน
ห้องสมุด สถานที่ลี้ลับที่ดูเหมือนจะอยู่ห่างไกลจากวิถีชีวิตของผมโดยสิ้นเชิง เวลาไม่นาน หลังจากคุยกันคราวนั้นก็ไม่มีความคืบหน้าใดๆ เป็นรูปธรรม นอก
ก่อนหน้านี้ผมไม่เคยปลาบปลื้มการอ่านหนังสือมาก่อน หากจะอ่านอยู่บ้าง จากตะกอนแห่งความเพ้อฝันที่เหลือตกค้างอยู่ภายในใจ จนกระทั่งไม่นานมานี้
ก็คงเป็นหนังสือการ์ตูนหรือไม่ก็หนังสือพิมพ์สตาร์ซ็อกเกอร์ ส่วนหนังสือ เมื่อเหตุและปัจจัยต่างๆ มารวมตัวกันได้อย่างลงตัว ไม่ว่าจะด้วยความบังเอิญ
ประเภทอื่นนั้นผมไม่เคยคิดอยากแตะและเสียเงินซื้อ (เป็นบ้าเป็นหลังเหมือน หรือธรรมะจัดสรร (ตามสำนวนของใครบางคน) ก็ตามแต่ โครงการทำวารสาร
ทุกวันนี้) หลังจากเดินวนเวียนตามชั้นหนังสืออยู่พักหนึ่ง สายตาของผม ก็ถูกรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้ง และไม่ปล่อยให้เป็นเพียงความคิดที่วิ่งวนเวียนอยู่ใน
ก็ไปสะดุดเข้าที่หนังสือเล่มหนึ่งคือ นิยายเรื่อง “ดอกเตอร์ครก” ของไมตรี หัวอีกต่อไป ผมกับพี่ก๊ะ และเพื่อนๆ จำนวนหนึ่งตัดสินใจเริ่มลงมือทำวารวารกัน
ลิมปิชาติ ผมจำไม่ได้ว่าอะไรทำให้ผมหยิบมันออกจากชั้นและเดินไปที่ โดยทีไ่ ม่ตอ้ งวางแผนอะไรมาก ไม่ตอ้ งคิดให้เป็นระบบ ไม่ตอ้ งรอให้อะไรหลายๆ
เคาท์เตอร์เพื่อลงชื่อขอยืมหนังสือเล่มนี้จากบรรณารักษ์ “ดอกเตอร์ครก” เป็น อย่างลงตัว แค่ลงมือทำ ผมได้รับมอบหมาย (หรือยัดเยียดก็ไม่รู้ หึหึ) จากพี่
รายการแรกในบัตรยืมหนังสือของผม ก่อนที่จะมีรายการต่อมาอีกนับไม่ถ้วน ก๊ะให้เป็นบรรณาธิการของวารสารฉบับนี้ ที่จริงผมก็ไม่รู้หรอกว่าตำแหน่ง
บรรณาธิการนั้นต้องทำอะไรบ้าง รู้แค่ว่าต้องเขียนบทบรรณาธิการ (ดังที่ท่าน
   ส่วนจุดเริ่มต้นในการเขียนของผม เริ่มขึ้นตอนมัธยมศึกษาปีที่5 ผมเริ่ม กำลังได้อ่านอยู่นี่ไง) และก็รวบรวมเนื้อหาส่วนต่างๆ ของวารสารมาตรวจทาน
เขียนไดอารี และขีดเขียนอะไรเรื่อยเปื่อยเกี่ยวกับสิ่งที่ตัวเองคิดและรู้สึก และแก้ไข ก่อนจะส่งไปให้พี่ก๊ะจัดรูปเล่มและเผยแพร่ต่อไป
ผมเขียนไดอารีเรื่อยมาจนกระทั่งปัจจุบัน แม้ว่าจะเขียนบ้างไม่เขียนบ้างตาม
อารมณ์อันผันแปรของตัวเอง แต่ผมก็ชอบการเขียนไดอารีเพื่อบันทึกความ    บทบรรณาธิการนี้ไม่มีอะไรมากไปกว่าการถ่ายทอดสิ่งที่อยู่ในห้วง
เป็นมาและเป็นไปในชีวิตที่สุขๆ เศร้าๆ ของตัวเอง ผมเชื่อว่าความทรงจำของ ความคิดของผมในตอนนี้ออกมาให้ท่านผู้อ่านได้รับทราบ ทีแรกผมตั้งใจจะ
คนเรามีข้อจำกัดบางประการ บางทีเราอาจหลงลืมรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ที่ดู เขียนความเป็นมาเป็นไปของวารสารฉบับนี้ที่ยาวและละเอียดกว่านี้แต่พอลง
เหมือนไม่สลักสำคัญอะไรกับชีวิตไป ทั้งที่จริงรายละเอียดเหล่านั้นอาจมีความ มือเขียน (ต้องบอกว่า “พิมพ์” สิเนอะถึงจะถูก) เข้าจริงๆ สิ่งที่ออกมากลับกลาย
สำคัญขึ้นมาไม่วันใดก็วันหนึ่ง การเขียนไดอารีจึงมีประโยชน์ในการช่วย เป็นการพรรณนาเรื่องของตัวเองไปเสียอย่างนั้น(รายละเอียดที่มากกว่านี้เชิญ
ทบทวนความทรงจำ รวมถึงปลดปล่อยความนึกคิดและความฟุ้งซ่านใน อ่านจากคอลัมน์ของพี่ก๊ะภายในเล่มครับ)
บางช่วงเวลาของชีวิต ไดอารีของผมมีทั้งเวอร์ชั่นที่เป็นความลับสุดยอดเก็บ
ไว้อ่านเองคนเดียวเท่านั้นและเวอร์ชั่นที่สามารถเผยแพร่ให้คนอื่นอ่านได้ด้วย    ผมขอจบบทบรรณาธิการลง
นอกจากไดอารีแล้ว ผมยังเคยลองเขียนเรื่องสั้นและนิยายดูบ้างเหมือนกันใน แต่เพียงเท่านี้ เปิดไปอ่านเนื้อหา
สมัยที่เรียนปริญญาตรี แต่ดูเหมือนว่าจะเอาดีทางนี้ไม่ได้ ด้วยความที่จินตนา- อื่นๆในเล่มได้แล้วครับ (จบดื้อๆแบบ
การของผมค่อนข้างจำกัด ทำให้เนื้อหาของเรื่องสั้นที่คิดได้จึงวนเวียนอยู่แต่ นี้แหละ)
ความนึกฝันและประสบการณ์ต่างๆ ในชีวิตของตนเอง ซึ่งเขียนไปเขียนมาชัก
จะกลายเป็นเรื่องจริงเกินไปหน่อย ทำให้พักหลังๆ ผมเขียนแต่บันทึกและงาน
เขียนกึ่งๆ วิชาการเป็นหลัก ซึ่งหลายคนคงเคยมีโอกาสได้อ่านมันบ้างในบล็อก
เล็กๆ ของผม

   ความคิดฝันอยากทำวารสารเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยเรียนปริญญาตรี ผมเคย
เป็นบรรณาธิการวารสารของชุมนุมจิตวิทยา ซึ่งออกมาอย่างกระท่อนกระแท่น
ได้ 4 ฉบับในปีการศึกษานั้น เนื้อหาของมันก็ไม่มีอะไรมากไปกว่าความเพ้อเจ้อ เอก - สมภพ แจ่มจันทร์
ของนักศึกษากลุ่มหนึ่งที่พยายามทำในสิ่งที่ตัวเองไม่สามารถ มานึกย้อนดูก็ทั้ง บรรณาธิการจำเป็น
ภูมิใจและทั้งอายไปพร้อมๆ กันเมื่อนึกถึงมัน นอกจากวารสารของชุมนุม ผมยัง http://blackdogsworld.wordpress.com

บ้านมกรา  
ความเคลื่อนไหวในแวดวง

เมื่อเดือนกรกฎาคมมาถึง ก็เป็นอันรู้กันในบรรดาพี่น้องจิตวิทยา-
การปรึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยว่า เทศกาลรับปริญญามาถึงแล้ว

วันรับปริญญาเป็นวันที่ทุกคนรอคอย กว่าจะเดินทางมาถึงวันนี้ก็ใช้เวลาไม่น้อยมากบ้าง
น้อยบ้างตามแต่เหตุปัจจัยของแต่ละคน หลังจากหน้าดำคร่ำเครียดกับการปั่นวิทยานิพนธ์
และการสู้รบปรบมือกับกรรมการสอบ ในปีนี้ มีบัณฑิตจิตวิทยาการปรึกษาจบใหม่ 11 คน
ด้วยกัน วารสารบ้านมกรา จึงขออาสาชวนพี่น้องทุกท่านร่วมยินดี (แม้จะย้อนหลัง
ไปหน่อยก็ตาม หึหึ) กับทุกคนที่จบในปีนี้ มาดูกันเลยดีกว่าว่ามีใครเข้ารับปริญญาในปีนี้บ้าง

ดลดาว ปูรณานนท์ (ตาม)


ปริญญาเอก รุ่น 3
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธแบบกลุ่ม
ต่อการเพิ่มพูนสันติภาวะ โดยมีเมตตาเป็นตัวแปรสื่อ“
ประวัติการศึกษา 1. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี
2. จิตวิทยาการให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
อาชีพปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ความสนใจ การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธแบบกลุ่ม,
การแก้ปัญหาในชั้นเรียน, การช่วยเหลือในชั้นเรียน

จริณทิพย์ โคธีรานุรักษ์ (มีมี่)


ปริญญาโท รุ่น 21
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษา
แนวพุทธต่อความเอื้อเฟื้อของนักศึกษาปีที่ 1“
ประวัติการศึกษา 1. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาชีพปัจจุบัน อิสระ
ความสนใจ การจัดสรรงบประมาณให้สมดุลย์สำหรับการท่องเที่ยว
ดนตรี และกีฬา

  บ้านมกรา
หทัยทิพย์ ไชยวาที (วิกกี้)
ปริญญาโท รุ่น 22
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ประสบการณ์ด้านจิตใจของหญิงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์“
ประวัติการศึกษา 1. โรงเรียนสตรีระนอง
2. จุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาชีพปัจจุบัน อิสระ
ความสนใจ จิตรกรรมเทคนิคสีน้ำและเทคนิคสีน้ำมัน

สุทธิพันธุ์ สุทธิศันสนีย์ (เจ)


ปริญญาโท รุ่น 21
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ประสบการณ์ทางจิตใจของผู้ฝึกไอคิโด“
ประวัติการศึกษา 1. โรงเรียนปราจิณ ราษฎรอำรุง
2. สาขาจิตวิทยาคลินิก คณะสังคมศาสตร์
  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาชีพปัจจุบัน นักจิตวิทยาการปรึกษา “โครงการ ครู mental health
project โรงเรียนเซนต์คาเบรียล
ความสนใจ จิตวิทยาการกีฬา, การประยุกต์การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
กับการกีฬา, สื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัย
โดยเฉพาะเด็กถึงวัยรุ่น

ธารีวรรณ เทียมเมฆ (ปูน)


ปริญญาโท รุ่น 21
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ผลของกลุ่มพัฒนาตนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนว
พุทธที่มีต่อภาวะสันโดษของนักศึกษามหาวิทยาลัย“
ประวัติการศึกษา 1. โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี
2. สาขาจิตวิทยาคลินิก คณะสังคมศาสตร์
  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาชีพปัจจุบัน นักจิตวิทยาการปรึกษาและนักวิจัย กลุ่มรู้จักใจ
ความสนใจ ชีวิต

บ้านมกรา  
สิริกาญจน์ สง่า (ปอย)
ปริญญาโท รุ่น 21
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนว
พุทธ ต่อ ความเข้มแข็งอดทนของนักศึกษา“
ประวัติการศึกษา สาขาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร
อาชีพปัจจุบัน ประกอบอาชีพอิสระ
ความสนใจ พุทธปรัชญา, จิตวิทยาแนวพุทธ, การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
แนวพุทธ ตามแนว รศ.ดร.โสร่ีช์ โพธิแก้ว,
การสำรวจภายในตน (introspection),

ยุวดี เมืองไทย (ยุ้ย)


ปริญญาโท รุ่น 21
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธต่อสุข-
ภาวะทางจิตของผู้ป่วยยาเสพติดที่อยู่ในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ“
ประวัติการศึกษา สาขาบัญชีการเงิน คณะบัญชี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
อาชีพปัจจุบัน นักจิตวิทยาการปรึกษา และวิทยากรอิสระด้านการ ฝึกอบรม
เพื่อการพัฒนาตนเอง องค์กร และสังคม
ความสนใจ งานเขียนถ่ายทอดประสบการณ์การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนว
พุทธและประสบการณ์การท่องเที่ยว, งานฝึกอบรมเชิงจิต-
วิทยาเพื่อการพัฒนาตนเอง องค์กร และสังคม การศึกษาหลัก
และวิถีปฏิบัติของพุทธศาสนามหายานเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ใน
งานจิตวิทยาการปรึกษา งานฝึกอบรม และในชีวิตประจำวัน,
เซียมซีพุทธ

ปิยณัฐฎา ชาวเนื้อดี (แพน)


ปริญญาโท รุ่น 21
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ประสบการณ์ทางจิตใจภายหลังกลับคืนสู่สังคมของ
ผู้ป่วยยาเสพติดที่บำบัดครบโปรแกรมและยังอยู่ใน
ระยะติดตามผล“
ประวัติการศึกษา 1. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. วิชาเอกจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์
  มหาวิทยาลัย ศิลปากร
อาชีพปัจจุบัน ครูอนุบาล
ความสนใจ จิตวิทยาเด็ก ,Fashion Design

  บ้านมกรา
วิยะดา แซ่ตั้ง (เล้ง) สุภาวดี ดิสโร (สุ)
ปริญญาโท รุ่น 21 ปริญญาโท รุ่น 21
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ ผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษา ชื่อวิทยานิพนธ์ “ผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษา
แนวพุทธต่อความรู้สึกสอดคล้องกลมกลืนในชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย“ แนวพุทธต่อความสามารถในการฟื้นพลังของนักศึกษามหาวิทยาลัย“
ประวัติการศึกษา 1. โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ประวัติการศึกษา 1. โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
2. คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. การบริหารทรัพยากรมนุษย์
อาชีพปัจจุบัน นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ กลุ่มงานพัฒนาบุคคล        คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สำนักงานเลขานุการกรม กรมเจ้าท่า อาชีพปัจจุบัน นักจิตวิทยา ภาควิชาจิตเวช คณะแพทยศาสตร์
ความสนใจ ปรัชญา, จิตวิทยา        มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ความสนใจ การประยุกต์การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธกับ
       การทำงานเชิงจิตเวชสำหรับเด็ก, จิตวิทยาเด็ก

อภิญญา เจริญฉ่ำ (หมุ่ย) ลภัสรดา รุ่นเจริญ (อ้อน)


ปริญญาโท รุ่น 22 ปริญญาโท รุ่น 22
ชื่อวิทยานิพนธ์ “ประสบการณ์ด้านจิตใจของผู้ดูแลในครอบครัว ชื่อวิทยานิพนธ์ “ผลของกิจกรรมพัฒนาการสื่อสารตามแนวคิดซาทีร์
ในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท “ ต่อความพึงพอใจในชีวิตของนักศึกษาพยาบาล“
อาชีพปัจจุบัน นักจิตวิทยาอิสระ อาชีพปัจจุบัน พยาบาลทหารเรือ

บ้านมกรา  
ส่งมา  อย่าอาย
บทความ  ภาพวาด  งานวิชาการ  บทวิจารณ์  เรื่องสั้น  ความคิดเห็น
  บทเพลง  กวี  วรรณกรรม  ภาพถ่าย  งานทดสอบ  แนวคิด   
ผลทดลอง  งานวิจัย  บันทึก  ภาพล้อ  มุมมอง  สิ่งประดิษฐ์  นิทาน
  ประสบการณ์  งานศิลปะ  บทสัมภาษณ์  เรื่องแปล  งานประพันธ์ 
เล่าข่าว  การ์ตูน  บทคัดย่อ  นวัตกรรม  เรื่องเล่า  กาพย์กลอน

ส่งมาที่ สมภพ แจ่มจันทร์ เลขที่ 291 หมู่ 2 ต.ในคลองบางปลากด อ.พระสมุทรเจดีย์


จ.สมุทรปราการ 10290 หรือ email address : editor.sansaara@gmail.com
ทัศนะชาวบ้าน

ผม เคยร้องไห้ตอนไปโรงเรียนครั้งแรกตอนเรียนชั้น
เตรียมอนุบาลในช่วงฤดูร้อนก่อนเปิดเทอมหลัง 
จากเห็นแม่เดิลับตาออกจากประตูโรงเรียนไป ก่อนหน้า
นี้และหลังจากนี้ผมอาจจะเคยร้องไห้ไม่รู้กี่ครั้ง (ซึ่งก็คง
จะมากเอาการอยู่) แต่การร้องไห้ครั้งนี้เป็น “ครั้งแรก” 
ของรอยน้ำตาที่ไหลเป็นทางผ่านสองแก้มที่ยังติดตรึงอยู่ 
ในใจแม้ว่าวันเวลาจะล่วงเลยมายาวนานจนเด็กน้อยคนนั้น 
ทีน่ ง่ั ร้องไห้บนม้าโยกของโรงเรียนกลาเป็นผูใ้ หญ่ (ทีโ่ ตแต่ตวั
แต่ใจยังไม่ยอมโตตาม)สำหรับผม คำว่า “ครั้งแรก” มีความ- 
หมายมากกว่าลำดับทางภววิสัย (objective) ที่หมายถึง 
ลำดับแรกหรือลำดับที่หนึ่ง แต่มันยังมีความหมายในเชิง 
อัตวิสัย (subjective) อีกด้วย เพราะ “ครั้งแรก” ในห้วง 
สำนึกและความทรงจำของเรามักเกิดขึ้นพร้อมกับคุณค่า 
และความหมายบางอย่างวารสาร “บ้านมกรา” ฉบับ 
ปฐมฤกษ์นี้ มาพร้อมกับเรื่องหลักในเล่มคือ “ครั้งแรก” 
เป็ น หั ว ข้ อ ที ่ พ วกเราตกลงใจโดยที ่ ไ ม่ ไ ด้ ผ ่ า นกระบวน- 
การกลั่นกรองอะไรมาก ที่มาที่ไปของ “ครั้งแรก” ในฉบับ 
นี้ไม่มีอะไรมากไปกว่าที่มันสอดคล้องกับ “ครั้งแรก” ของ 
วารสารฉบับนี้ (เอากันง่ายๆ แบบนี้แหละ) ผม(เอก) กับ 
พี่ก๊ะจะพาทุกท่านไปสัมผัสกับ “ครั้งแรก” ของพี่น้อง 
จิตวิทยาการปรึกษาหลายท่านที่สละเวลาและตอบรับด้วย 
ความยินดีในการบอกเล่าถึง “ครั้งแรก” ของตนเอง 
มาติดตามกันเลยครับว่าครั้งแรกของใครเป็นอย่างไรบ้าง

บ้านมกรา  
ชายหนุ่มหน้าตี๋สูงยาวเข่าดีผู้ซึ่งเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวอย่างต่อเนื่อง
เพื่อเข้าถึงศิลปะของการใช้ชีวิต(ล่าสุดเพิ่งเข้าคอร์สเรียนทำอาหาร
มาหมาดๆ สาวๆ ท่านไหนสนใจอยากได้เป็นพ่อบ้าน ติดต่อด่วน)
“ครั้งแรก” ของโรจน์เรียบเรียงจากการสนทนาในบ่ายวันหนึ่ง
       กับชายหนุ่มอีกคนในรุ่นเดียวกัน “ก๊ะ”
สัณห์ชาย โมสิกรัตน์

10  บ้านมกรา
เรามองว่าการเรียนเป็นการทำเพือ่ ความสุนทรีย์ การเรียนเป็นวิถที างเพือ่ ให้ถงึ การเข้าถึง
ดังนัน้ เราเลยใช้การเรียนเพือ่ การเข้าถึงในสิง่ ทีอ่ ยากรู้ มากกว่าการเรียนเพือ่ ไปทำงาน
เป็นการเรียนเพือ่ ให้รจู้ กั ศิลปะของการใช้ชวี ติ

ชะอำ
วิโรจน์ เตรียมตระการผล
ชื ่ อ ของสถานที ่ แ ห่ ง ความทรงจำที ่ เ พื ่ อ นร่ ว มรุ ่ น ของผม
คนหนึ่งเอ่ยขึ้นมา หลังจากนั่งเงียบไปนานเมื่อได้ยินคำ
ถามที่ผมถามเขาว่า “โรจน์ ถ้าพูดถึงครั้งแรก โรจน์นึกถึงอะไร?”  วิโรจน์
เตรียมตระกาลผล หรือ โรจน์ ที่พี่ๆ น้องๆ ชาวจิตวิทยาการปรึกษาแห่งจุฬาลง-
CO19
ดับแรกก็จะพฤกษศาสตร์ อันดับสองก็มารีน (Marine Science)”

   ตลอดระยะที่โรจน์เรียนอยู่ในสาขาวิชาพฤกศาสตร์ โรจน์ได้รับโอกาสใน
การศึกษาสาขาวิชาทางด้านวิทยาศาสตร์ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง
กรณ์มหาวิทยาลัยรู้จักกันดี ด้วยรอยยิ้มที่ปรากฏอยู่บนใบหน้ากับเสียงหัวเราะ ตามที่เขาปรารถนา “พอได้มาเรียนก็รู้สึกว่าชอบมากขึ้น เพราะว่ามันไม่ได้ไป
ที่มีอยู่เสมอ จึงทำให้ความเป็นคนพูดน้อยของเขาไม่เป็นอุปสรรคของใครที่ต้อง เที่ยวป่าแบบแตะๆ แต่ว่าเราได้เข้าไปเดินป่า เข้าไปพิจารณาต้นไม้แต่ละต้นอ
การจะเข้าไปรู้จักทักทาย และสำหรับผมที่เรียนรุ่นเดียวกับโรจน์มาตลอดสี่ปี ย่างจริงจัง ไปดูสภาพแวดล้อม ไปดูความเป็นอยู่ของมัน” การเข้าไปสัมผัสรวม
ได้เที่ยวเล่นเฮฮาและร่วมกิจกรรมทำงานกันมาหลายอย่าง จึงอ้างได้อย่างสะดวก ทั้งความรู้ในทางวิชาการ ที่โรจน์ได้จากทั้งห้องเรียนและผืนป่าตามธรรมชาติ
ใจว่าโรจน์เป็นเพื่อนสนิทที่สุดคนหนึ่งของผม แต่เมื่อโรจน์กล่าวว่าชะอำคือสถาน หล่อหลอมให้โรจน์เกิดรัก รักในธรรมชาติ เพราะความรู้และประสบการณ์เหล่า
ที่ซึ่งเขานึกถึงสำหรับคำว่า “ครั้งแรก” นั้น ก็ชวนให้ผมนึกสงสัยและอยากติดตา นั้นได้ทำให้เขาเห็นว่า ชีวิตความเป็นอยู่อันสะดวกสะบายที่เขาคุ้นเคยในเมือง
มถามเข้าไปถึงที่ไปที่มาว่าเพราะอะไรที่เมืองชายทะเลที่อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ ใหญ่นั้น ล้วนเป็นผลผลิตที่กำเนิดจากธรรมชาติอันยิ่งใหญ่ซึ่งอยู่ห่างไกลจากที่
แห่งนี้ กลายเป็นสถานที่ซึ่งเพื่อนผมคนนี้ยกย่องสำหรับ “ครั้งแรก” ของเขา เขาอยู่ และหลังจากที่โรจน์เรียนจบในปี 2545 โรจน์มิได้หยุดการสำรวจความยิ่ง
ใหญ่ของธรรมชาติไว้กับประสบการณ์และความรู้ที่เขามี เขาเลือกที่จะเรียนรู้ใน
   “พอดีตอนนั้นเรียนจบม.ปลาย เขาก็เลยชวนๆกันไปเที่ยวเป็นครั้งแรกที่ ศาสตร์ที่แตกต่างจากเดิมโดยได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาวิชา
ไปชะอำ” โรจน์เล่าให้ผมฟังถึงความประทับใจของเด็กหนุ่มชาวกรุง ซึ่งทางบ้านทำ จิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และขณะเดียวกัน
อาชีพค้าขายจนไม่ค่อยได้มีโอกาสไปเที่ยวต่างจังหวัด ยกเว้นจะเป็นช่วงเทศกาล โรจน์ก็ใช้เวลาว่างกับการเรียนรู้ศาสตร์อื่นๆอีกหลายอย่าง จนเป็นที่คุ้นชินสำหรับ
ตามประเพณี เช่น เชงเม้ ที่จะออกต่างจังหวัดไปร่วมพิธีกรรมตามประเพณีนั้นๆ เพื่อนฝูงของเขาที่จะได้รู้ว่า
ดังนั้นเมื่อโรจน์เมื่อโรจน์ได้ไปชะอำกับเพื่อนฝูง จึงครั้งแรกในการเที่ยวต่างจังหวัด เขากำลั ง เรี ย นอะไรใหม่ ๆ
ของเขา “แวบแรกที่ลงไปเห็นทะเลครั้งแรกนี่ โอ้โห ! ตระการตามาก (หัวเราะ) ไม่ ว ่ า จะเป็ น นวดแผนไทย
แล้วพอดีเป็นเวลาบ่ายด้วย ทะเลกำลังสะท้อนแสงระยิบระยับ” และภาพอันสวย ไทเก็ก ภาษาจีน กู่เจิง ฯลฯ
งามน่าตื่นตะลึงของท้องทะเล หาดทรายและท้องฟ้าเบื้องหน้า ก็กลายเป็นจุดเริ่ม และขณะที ่ ผ มคุ ย กั บ โรจน์
ต้นของแรงบันดาลใจของเด็กหนุ่มในวัยที่ต้องคิดถึงการเลือกเส้นทางชีวิตของตน อยู่นี้ โรจน์ได้เรียนศาสตร์
หลังจากจบมัธยมปลาย ที่ทำให้โรจน์เลือกเรียนสาขาวิชาพฤกษศาสตร์ ของจุฬา- ของการทำอาหารเป็นประ-
ลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นอันดับหนึ่ง “ส่วนตัวไม่ได้คิดว่าจะเรียนไปเพื่อทำงานอยู่ สบการณ์ เ พิ ่ ม เติ ม ล่ า สุ ด
แล้ว (หัวเราะ) ก็เลยเลือกเรียนพฤกษศาสตร์เพราะว่ารู้สึกว่ามันได้ออกไปสัมผัส โรจน์ ก ล่ า วถึ ง มุ ม มองที ่ ท ำ
อะไรเยอะมากมายกว่าในห้องเรียน เป็นการเรียนเพื่อตอบสนองความต้องการ ให้เขาหมั่นศึกษาความรู้และทักษะใหม่ๆอยู่เสมอว่า “อาจมีความคิดคล้ายๆ
มั้ง” นักปรัชญาจีนโบราณมั้ง ชีวิตของผู้ชายนั้นต้องเรียนความรู้ โคลงกลอน กวี
เรียนการเขียนอักษรจีน ดนตรี แล้วก็การปกครอง แต่เรามองว่าการเรียน
   แต่ชะอำอันเป็นเมืองท่องเที่ยว กลับไม่ได้ทำให้ความปรารถนาที่จะออก เป็นการทำเพื่อความสุนทรีย์ การเรียนเป็นวิถีทางเพื่อให้ถึงการเข้าถึง ดังนั้นเรา
ไปสัมผัสกับบรรยากาศอันห่างไกลจากเมืองกรุงของโรจน์ในตอนนั้นเป็นไปเพื่อ เลยใช้การเรียนเพื่อการเข้าถึงในสิ่งที่อยากรู้ มากกว่าการเรียนเพื่อไปทำงาน
การเที่ยวเล่นสนุกสนาน หากแต่เป็นไปเพื่อการเติมเต็มความเข้าใจในธรรม- เป็นการเรียนเพื่อให้รู้จักศิลปะของการใช้ชีวิต”
ชาติและโลกที่เขาอาศัยอยู่ “มันอาจเป็นเพราะพื้นฐานเรียนมาทางวิทยาศาสตร์ ก็
เลยไม่ได้มองไปทางการท่องเที่ยวสนุกสนาน แต่มองไปทางการได้มองเห็นความ การศึกษาสรรพวิชาและประสบการณ์หลากหลายที่โรจน์เข้าไปสั
ยิ่งใหญ่ของธรรมชาติมากกว่า เพราะฉะนั้นตอนที่เลือกสายวิทยาศาสตร์ เลือกอัน มผัสโดยเฉพาะอย่างยิ่งไทเก็ก ทำให้โรจน์ได้มุมมองในวิถีทางของชีวิตและกา

บ้านมกรา  11
รงานสำหรับตน เมื่อผมถามว่าตอนนี้ยังมีอะไรที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติมอีกไหม หมายของการเชื่อมโยงโดยการปฏิบัติ...เชื่อมโยงถึงการที่เรากำลังเชื่อมโยงกับ
โรจน์ตอบว่า “สำหรับตอนนี้ไม่มีแล้ว ตอนนี้สิ่งที่แสวงหาคือการใช้ชีวิตอย่างไร คนที่อยู่ข้างหน้า เชื่อมโยงกับตัวเราเองในการเคลื่อนไหว มือซ้ายเชื่อมโยงกับขา
ในสังคมมากกว่า เพราะจากที่เรียนมาก็ได้มุมมองหลายๆอย่างที่ครบ ขวาได้อย่างไร...มันก็ทำให้เหมือนกับว่าในการเคลื่อนไหวทุกๆครั้ง มันก็จะเป็น
ที่รู้สึกว่าเต็มที่แล้ว แล้วก็รู้สึกว่าได้เจอกับสิ่งที่แสวงหาในการเรียนไทเก็ก เพราะ อีกมุมมองที่แตกต่างจากการเดินในชีวิตปกติ พอเราเริ่มรู้สึกถึงตรงนี้มันก็ริ่มรู้สึก
ฉะนั้นตอนนี้ก็เลยมองว่าเราจะใช้ยังไงกับความรักของเราในสิ่งที่เราเรียนมาเนี่ย ว่า เราสามารถมีชีวิตที่ต่างจากคนอื่นได้โดยไม่แตกต่าง”
ให้มันประสานกับชีวิตในสังคม เราสามารถหางานอะไรที่เราสามารถไปอยู่ตรง
นั้นแล้ว เราสามารถมีความสุขตรงนั้นได้ การเรียนมาทั้งหมดนี้ทำให้ได้ขบคิด”    มาถึงตรงจุดนี้ ผมได้เห็นเส้นทางของชีวิตที่โรจน์เริ่มเดินทางจากชะอำ
จากนั ้ น โรจน์ ก ็ ไ ด้ ใ ห้ ค วามหมายของการงานที ่ ต กตะกอนจากประสบ- ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้เขาสนใจสำรวจธรรมชาติอันกว้างใหญ่และทำให้โรจน์
การณ์ของเขาว่า มันคือการดำรงอยู ซึ่งล้วนแต่เหมาะสมไปตามแต่ละบุคคลและ ได้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ ธรรมชาติที่โรจน์ได้สัมผัสและ
สภาพการณ์ จึงไม่ควรที่จะตีค่าว่าการงานประเภทใดมีค่าสูงต่ำกว่ากัน ดังที่โรจน์ สร้างความรักในโลก อันเป็นสถานที่พักพิงและเป็นแหล่งกำเนิดชีวิตให้แม้แต่
ได้ยกตัวอย่างไว้ว่า “การทำงานในออฟฟิศมันแค่การดำรงอยู่ มันก็เหมือนกับ ผู้ที่อยู่ในเมืองใหญ่ห่างไกลจากป่าเขาเช่นเขา ความรักและความสนใจใคร่รู้ ได้
การที่เราทำนา ทำอะไรอย่างอื่นนั่นแหละ เพียงแต่ว่าพอเราอยู่ในสังคมเมือง นำพาให้เขาได้เดินทางสำรวจเข้าไปในความคิดและจิตใจของมนุษย์ผ่านทักษะ
สภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป การทำมาหากินมันก็อยู่ในอีกรูปแบบหนึ่ง คนทำนา และความรู้ที่ต่างๆนาๆ หลากหลายรูปแบบ ทั้งหมดได้มาผสานให้เกิดภาพ
เขาก็มีความสุขได้กับการทำนา คนทำงานออฟฟิศเขาก็มีความสุขได้กับการทำ ที่ชัดเจนในวิถีการดำเนินชีวิตที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและการงานรอบตัวอย่าง
ออฟฟิศ มันสำคัญที่ว่าเราได้รู้ความหมายของเราเองมากกว่า ไม่ใช่ว่าเราทำงาน สงบสุขผ่านการฝึกไทเก็ก แล้วสุดท้ายก่อนที่จะจากกัน โรจน์ได้ย้ำถึงความพอ
ออฟฟิศแล้วเราก็ไปหาอะไรมาเติมเต็มแบบมั่วๆซั่วๆ ไปกินเหล้าไปทำอะไร ใจในปรัชญาการใช้ชีวิตที่เขาได้รับจากประสบการณ์การฝึกไทเก็ก ที่ความสุข
อย่างนี้...มันอยู่ที่การให้คุณค่าของตัวเราเองมากกว่า งานมันก็แค่การดำรงชีวิต สงบนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ต้องขวนขวาย หากเกิดจากการเคลื่อนไหวที่สอดคล้องลื่นไหล
ทำ มีเงิน แล้วเราก็หาทางพัฒน หาทางเติบโตของเราขึ้นมาเอง อย่าไป ไปกับธรรมชาติ “อาจจะเป็นเพราะว่าที่ผ่านมาเราแสวงหาความสงบมั้ง จุดที่เรา
หวังว่าจะได้บริษัทที่ดี อย่าไปหวังว่าจะได้ออฟฟิศที่เขาให้ความสำคัญกับการ อยู่แล้วรู้สึกสงบ แต่พอมาเรียนไทเก็กแล้วเรารู้สึกว่าเราสงบในการทำไทเก็ก
พัฒนาบุคคลมากมาย วิถีทางมันอยู่ เลยไม่ต้องหาจุดเปลี่ยนอีก แทนที่เราจะไปป่าไปอะไรอย่างนี้เพื่อหาความสงบ
  แทนที่เราจะไปป่าไปอะไร ที่เราที่จะเดินมากกว่า” ตอนนี้มันไม่ใช่ ธรรมชาติมันอยู่รอบตัวเรา แค่เงยหน้ามองท้องฟ้าก็เห็นธรรมชาติ
อย่ า งนี ้ เ พื ่ อ หาความสงบ แล้ว สำคัญที่ว่าเราเชื่อมโยงกับมันได้รึเปล่า ถ้าเราเชื่อมโยงได้มันก็อยู่กับเรา
ตอนนีม้ นั ไม่ใช่    จากความประทับใจในธรรม- ไม่ต้องไปแสวงหาที่ไหนอีก เดี๋ยวนี้ความสุขสงบมันเกิดขึ้นง่าย แค่วันอาทิตย์หรือ
ชาติที่นำให้โรจน์ได้เข้ามาสัมผัสและ ตอนเช้าซักวันหนึ่งเราได้มีโอกาส มีเวลาสบายๆ ไม่ต้องตื่นเช้า ไม่ต้องทำงานอะไร
  แค่ ว ั น อาทิ ต ย์ ห รื อ ตอน ทำความเข้ า ใจในสายใยของการ อย่างนี้ก็โอเค พอใจแล้ว”
เช้าซักวันหนึ่งเราได้มีโอกา ดำรงอยู่ร่วมกันผ่านต้นไม้ ใบหญ้า
ส มีเวลาสบายๆ ไม่ตอ้ งตืน่ และขุนเขา จนถึงจิตวิทยาการปรึกษา    จากเวลาเพียงสั้น ที่ผมได้สนทนากับโรจน์อย่างลึกซึ้งซึ่งไม่ค่อยเกิดขึ้
ไม่ต้องทำงานอะไรอย่างนี้ ที่โรจน์ได้รับมุมมองของการมีชีวิต นนักในการพบปะตามปกติ การได้พูดคุยกันอย่างลึกซึ้งเช่นนี้ได้ทำให้ผมเห็น
ก็โอเค พอใจแล้ว อย่างสัมพันธ์กลมกลืนกับสรรพสิ่ง ความเป็นหนึ่งเดียวกันของโรจน์ ซึ่งภาพที่ผมนึกถึงเมื่อพบเจอกันเสมอๆ คือโรจน์
จากรศ.ดร.โสรีช์ โพธิแก้ว ที่มักจะ กับคำพูดน้อย รอยยิ้มเรื่อย สลับกับเสียงหัวเราะสั้นๆ ของเขา ความเรียบ
ชี้ชวนให้ลูกศิษย์ใคร่ครวญอยู่เสมอ ง่ายบางเบาเช่นนั้นช่างเป็นบรรยากาศให้ผู้ที่สัมผัสกับเขารู้สึกสบาย ไม่อึดอัด
ทั้งหมดนั้นเปรียบเหมือนเมล็ดพันธุ์และปุ๋ยแห่งความเข้าใจ ที่รอคอยให้สายฝน ระมัดระวังตัว แต่ขณะเดียวกันที่เมื่อความอิสระที่โรจน์หยิบยื่นให้นั้น ราวไร้ขอบ
พร่างพรมลงมาให้เมล็ดพันธ์แห่งความเข้าใจนั้นก็จะกระเทาะเปลือกออกมาหยั่ง เขตจนบางครั้งบางคนก็เล่นสนุกสนานจนเผลอเกินขอบเขต โรจน์ก็จะแสดงออก
รากและเติบโต สายฝนนั้นก็เปรียบได้กับไทเก็ก ที่เมื่อโรจน์ได้เริ่มต้นฝึก ประสบ- อย่างตรงไปตรงมาไม่ปิดบัง นั่นมักจะเป็นความประหลาดใจของผมกับเพื่อนๆ
การณ์และความรู้ที่สั่งสมมาให้ตกผลึก กระจ่างภาพให้โรจน์ได้เห็นหลักของความ พี่ๆ น้องๆ ในจิตวิทยาการปรึกษาเสมอๆ บรรยากาศที่เคยปลอดโปล่งโล่งสะอาด
เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ ที่โรจน์กล่าวว่าอันเป็นท่วงท่าในดำเนินชีวิตอย่างสุข กลับพลิกฟ้ากลายเป็นเมฆครึ้มฝนสลับเสียงฟ้าคำราม แต่นั่นกลับทำให้ผมรู้สึก
สงบร่วมกับสรรพสิ่ง “การเรียนจิตวิทยาทำให้เรามองกลับมาที่ตัวเราเอง แล้ว ว่าไม่ต้องกริ่งเกรงหรือคิดกลับหน้ากลับหลังเพื่อสร้างสรรกริยาท่าทีเหมาะสม
สิ่งที่อาจารย์สอนพยายามชวนให้เราได้มองการเชื่อมโยงระหว่างของตัวเรากับ ในการอยู่กับโรจน์ การได้ฟังสิ่งที่โรจน์บอกเล่าถึงมุมมองที่ตนมีต่อชีวิตเช่นนี้
ธรรมชาติรอบตัว แต่สุดท้ายก็ยังเข้าไม่ถึง โดยส่วนตัวนะ (หัวเราะ) แต่การเรียน ทำให้เห็นว่าการเคลื่อนไหวในสัมพันธภาพกับผู้คนรอบข้างที่เรียบเงียบ อบอุ่น
ไทเก็กมันเหมือนกับการปฏิบัติ มันก็คือการเคลื่อนไหวอันสุขสงบ และมันก็เป็น กว้างขวาง และชื่นบาน สร้างให้ผู้ที่สัมผัสเขายังคงการเคลื่อนไหวไปร่วมกันอย่าง
คำถามชวนให้มองว่า ในชีวิตของเราก็เคลื่อนไหวทุกวันทำไมเราไม่สุขสงบเช่นนั้น อิสระลื่นไหล หากแต่ไม่เพลี่ยงพล้ำ
มันมีอะไรที่เป็นความแตกต่างกับกาเคลื่อนไหวสองแบบ แล้วมันก็ขยายมาถึงชีวิต ล่วงเกิน และหลุดลอยนัน้ มีความเป็น
ในเมืองว่า ชีวิตในเมืองเราก็เหมือนกันทุกวัน แล้วทำไมเราถึงเชื่อมโยงไม่ได้กับ เนื้อเดียวกันที่เกิดจากแก่นที่อยู่แกน
ความยิ่งใหญ่ที่อยู่รอบตัว” ในของโรจน์โดยส่วนตัวของผม แม้
ตลอดมาเราจะไม่ค่อยได้คุยลึกซึ้งจน
   “ถ้ามองไปในเต๋า มักจะพูดถึงการเชื่อมโยงตนเองเข้ากับสภาวะแวดล้อม สัมผัสโรจน์ที่แก่นกลางข้างใน หาก
การดำรงอยู่โดยที่เราก็เคลื่อนไหวเป็นกระแสเดียวกับสิ่งแวดล้อมแต่ไม่ได้หมาย แต่ภาพที่เขาอยู่ร่วมกับผู้อื่นที่ผม
ความว่าเราเป็นสิ่งแวดล้อม เราก็เป็นมนุษย์ของเรา แต่เราเป็นหนึ่งกับธรรมชาติ มองมาอยู่เสมอ นั่นทำให้ผมมักมอง
ก็เลยรู้สึกว่าแม้ว่าไทเก็กมันจะไม่ได้สอนหลักตรงนั้นชัดเจน เหล่าซือคงไม่ได้มา โรจน์อย่างเพื่อนและครู ผู้ที่ได้แสดง
นั่งพูดอะไรอย่างนั้น แต่คงเพราะว่ามันเป็นมวยที่เกิดจากแก่นแห่งความเป็นเต๋า ตัวอย่างของความเป็นหนึ่งเดียวกัน
ตรงนั้น ก็เลยรู้สึกว่าในการปฏิบัติ เหมือนกับการนั่งสมาธิเราไม่ต้องมาพูดถึงหลัก จากภายในกับภายนอก ที่ธรรมดา
ธรรมอะไรอีกเมื่อเราปฏิบัติ แต่ถ้าเราเข้าใจการนั่งสมาธิอย่างแท้จริง เราเข้าถึง เรียบง่าย และลื่นไหล เป็นอิสระใน
ความสงบได้ในแบบนั้น เพราะฉะนั้นมันเลยเหมือนกับว่า เราสามารถเข้าถึงความ วิถีของตนเอง  

12  บ้านมกรา
ครูใหญ่สาวชาวลำพู ผู้อุทิศตนให้กับการสอนเด็กๆ ที่โรงเรียนมงคลวิทยา
ด้วยสโลแกน “เราสอนนักเรียนด้วยความรัก ความรู้ และความเป็นครูอย่างแท้จริง”
และใช้เวลาว่างส่วนหนึ่งในการเขียนบล็อกบอกเล่าประสบการณ์ในการเรียนรู้กับเด็กๆ
คลิ๊กเข้าไปทักทายหรือทำความรู้จักกับเธอเพิ่มเติมได้ที
http://gotoknow.org/blog/dd290850

ดวงพร เลาหกุล
2525 เมื่อได้ยินคำว่า “ครั้งแรก” นึกถึงอะไร
นึกถึงใจที่ตื่นเต้น รอคอย จดจ่อ อยากให้มาถึง
นึกถึงความสดใหม่ในการรับรู้ ควบคู่ไปกับพลังในการทุ่มเทลงไป
นึกถึงความชื่นใจ..เอ๊ะ..คิดได้อย่างไงเนี่ย
นึกถึงการไม่คาดหวัง และ ให้อภัยหากผิดพลาด..ก็มันเป็น “ครั้งแรก..” นี่นะ

แต่บางเวลา..กว่าจะเป็น “ครั้งแรก”
นึกถึงความหวาดวิตก กังวลว้าวุ่น
จะทำได้ไหม จะเป็นอย่างไร ทำไมต้องทำ(วะ)
วนเวียน หลีกหนี ควรทำดี หรือ ไม่ทำ คิดย้ำ ซ้ำทวน

แต่เมื่อก้าวข้ามความรู้สึกในใจ เปิดโอกาสให้ได้พบกับประสบการณ์ “ครั้งแรก”


ความรู้สึกต่อตนเองอาจแปลกเปลี่ยนไป
เอ๊อ..ทำได้(นี่หว่า).. เอ๊อ..ไม่เป็นไร..ก็ได้เรียนรู้ เอ๊ะ..แล้วตูจะทำอย่างไรต่อ

เมื่อคิดถึง “ครั้งแรก” คิดถึง “ก้าวแรก”


ก้าวอันสำคัญ ที่ต้องก้าวด้วยความรู้สึกสดใหม่
เตรียมใจไม่ให้คาดหวัง แต่ทุ่มเทพลังให้ทั้งหมด
ก้าวอันเริ่มต้น ที่จะมีก้าวที่ตามต่อ
ก้าวที่จะก่อให้เกิดประสบการณ์อันสำคัญในชีวิต..
ขอบคุณก้าวแรกของตัวเอง..
ที่นำให้ก้าวมาพบและผูกพันเป็นพี่น้องกันในบ้านมกราจนวันนี้
ขอบคุณยิ่งสำหรับคนที่เราก็รู้ว่าใคร ที่นำให้ได้มีบ้านมกรา..
บ้านที่เรารวมใจ เพื่อก้าวไปในเส้นทางแห่งควมดีงาม..ด้วยกัน

บ้านมกรา  13
“มหา” หรือ อดีต “หลวงพี่” เปรียญ 8 ขอพี่น้องจิตวิทยาการปรึกษา
ปัจจุบันกำลังฝึกฝนวิทยายุทธการเป็น counselor แนวพุทธอยู่ที่มหาวิทยาลัย
ราชภัฎจันทรเกษม และกำลังทำวิทยานิพนธ์หัวข้อ “ผลของกลุ่มพัฒนาตน

CO22
และการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่ออุเบกขา”

ครรชิต แสนอุบล

เมื่อ ได้ยินคำว่า “ครั้งแรก” ผมนึกถึงจุดเริ่มต้นหรือการเกิดอะไร


ใหม่ๆ ทีม่ กี ลิน่ อายของความกล้า ความท้าทาย ความคิดสร้างสรรค์
ความพร้อม ความลงตัว ความมีใจ ความผิดพลาด ความบังเอิญ

   “ครั้งแรก” ในความรู้สึกของผม เหมือนเป็นอะไรที่เกิดขึ้นใหม่


เหมื อ นการเปลี ่ ย นผ่ า นจากภาวะหนึ ่ ง ไปอี ก ภาวะหนึ ่ ง ที ่ ม ี จ ุ ด เริ ่ ม ต้ น
ด้วยคำว่า “ครั้งแรก” ทางภาวะเป็นเรื่องของความบังเอิญ บางภาวะเป็น
เรื่องของความพร้อม บางภาวะเป็นเรื่องของความตั้งใจ แต่ผลที่เหมือนกัน
คือเมื่อผ่านกับคำว่า “ครั้งแรก” มันยังคุกรุ่นอยู่ในความทรงจำเสมอ...
และได้เรียนรู้ไปพร้อมๆ กับการก้าวผ่านครั้งแรกไป “ครั้งแรก” ที่เกิด    “ครั้งแรก” ในความทรงจำครั้งที่ 3 เกิดขึ้นเมื่อก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย
ขึ้นในชีวิตช่วงแรกเป็นเรื่อง “การใช้ชีวิตในวิถีนักบวช” ตั้งแต่วัยเด็ก ศรีนครินทรวิโรฒ ศึกษาต่อระดับปริญญาโท จำได้ว่า มีอยู่วันหนึ่งฝนตกพรำ
วัยเด็ก เป็นวัยที่มีแรงขับให้เรียนรู้ประสบการณ์ต่าง ๆ มากมา การเริ่มต้นใน นั่งอยู่ระเบียบชั้น 4 คณะศึกษาศาสตร์ ด้วยบรรยากาศอย่างนั้นพลันความ
“ครั้งแรก” ในการใช้ชีวิตวิถีเช่นนี้ จึงรู้สึกไม่คุ้นเคย กลัวๆ หวั่นใจหนึ่งก็ยังหวน คิดก็หวนนึกถึงเมื่อครั้งยังเด็ก ไปเลี้ยงควายในป่าด้วยสภาพที่ฝนตกพรำๆ
นึกถึงอะไรที่คุ้นเคย... อยู่กับแม่ นอนกับแม่ เล่นกับเพื่อน กินทำอะไรตามใจ เช่นที่เป็นอยู่นี้ เปรียบเทียบกับสภาพ ณ ปัจจุบัน มันช่างเหมือนความฝันที่เป็น
ต้องการโดยไม่จำกัดกาล แต่เมื่อเริ่ม “ครั้งแรก” ในวิถีนักบวช ความคุ้นเคย จริงที่ได้มานั่งอยู่ในมหาวิทยาลัย ท่ามกลางมหานคร มันเป็นอะไรที่ไม่เคยนึก
เหล่านี้กลับหายไปจากชีวิต มีวิถีใหม่เข้ามาแทน..ตื่นแต่เช้า ทำความสะอาด เคยฝันมาก่อนว่าชะตาชีวิตจะเดินมาได้ถึงขนาดนี้ ความรู้สึกขณะนั้นมองว่า
ศาลา ทำกิจวัตรประจำวันตามเวลา กิน(ฉัน)เป็นเวลา เล่นกับเพื่อนๆ ไม่ได้ กับแม่ เหมือนชีวิตถูกเนรมิตให้ได้เจอสิ่งใหม่ที่ใช่กว่า...
พูดคุยและส่งสายตาแห่งความคิดถึงได้บางครั้งเท่านั้น การก้าวข้ามภาวะหนึ่ง
ไปสู่อีกภาวะหนึ่งซึ่งเริ่มต้นด้วยคำว่า “ครั้งแรก” ช่วงนี้อาศัยแรงใจอย่างมาก....
“ครั้งแรก” ในความรู้สึกสุดท้าย เกิดขึ้นเมื่อตอนสลัดผ้าเหลืองกลับ
มาสู่วิถีที่คนส่วนใหญ่ในโลกเขาเป็นกัน “ฆราวาสวิถ”ี จำได้ว่าความรู้สึกแรกๆ
   กำลังใจจากแม่ทำให้มั่นใจในวิถีนักบวชว่าเป็นวิถีที่เหมาะสมที่สุดการ ช่วงปรับเปลี่ยนใหม่ๆ นั้น...มันหวนนึกถึง “วิถีนักบวช” อยู่เสมอ
คอยฉุดดึงของหลวงพ่อให้ใจมาอยู่ในวัดผ่านกิจกรรมที่ทำให้ลืมความคิดถึง แต่เมื่อวันคืนล่วงๆ ไป ใจก็ปรับเปลี่ยนมาอยู่กับ “ฆราวาสวิถี” ได้อย่างแนบ
อะไรที่คุ้นเคยเก่าๆ ได จนสามารถกลับเปลี่ยนรูปจาก “ครั้งแรก” มาเป็น สนิทมากขึ้นตามลำดับ
“ครั้งสำคัญ” ในชีวิตและกลับกลายเป็นความทรงจำที่ดี
   จากความทรงจำที่ผ่านมา “ครั้งแรก” บางครั้งเกิดขึ้นโดยบังเอิญ
   “ครั้งแรก” ที่อยู่ในความทรงจำแห่งชีวิต เกิดขึ้นในช่วงต่อมา บางครั้งเกิดขึ้นขณะที่ใจพร้อมบ้างไม่พร้อมบ้าง บางครั้งเกิดขึ้นจากการ
เมื่อสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค และได้คำว่า “มหา” มาอย่างไม่เคยมุ่งหวัง ตัดสินใจที่พร้อมของเราเอง..แต่สิ่งที่ได้เรียนรู้และบอกตนเองอยู่เสมอก็คือ
มาก่อน จำได้ว่า เมื่อได้ยินอาจารย์สอนบอกว่าสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ไม่ว่า “ครั้งแรก” จะเกิดขึ้นยังไง...ผ่านมันไปก่อน...อยู่กับมัน...แล้วเรียนรู้มัน...
มันช่างเป็นอะไรที่ดีใจที่สุดสำหรับเด็กคนหนึ่ง ดีใจจนกระทั่งลืมว่าตนเองเป็น   
สามเณร วิง่ รอบศาลาพร้อมตะโกนบอกใครก็ได้ทไ่ี ด้ยนิ ว่า” เป็นมหาแล้วโว้ยๆ”
ในความทรงจำ “ครั้งแรก” ในครั้งนี้มันเหมือนการได้เกิดใหม่หรือภาษาพระ
เรียกว่า “การเปลี่ยนภพภูมิ” ยังไงยังงั้น เพราะคำว่า “มหา” ตามที่รับรู้ความ-
หมายกันทั่วไปนั้น คือ คนที่ “ใหญ่...คับ...ถอดไม่ออก”

14  บ้านมกรา
หนุ่มเชียงราขนาดกระทัดรัดที่กำลังปักหลักเขียนหนังสือ
และทำงานด้านฝึกอบรมอยู่ที่เชียงใหม่ รวมถึงเป็นอาสาสมัคร
ของมูลนิธิหมู่บ้านพลัมแห่งประเทศไทย ตีชอบอ่านการ์ตูน
และเทิดทูนพี่ป๊อดโมเดิร์นด็อกเป็นชีวิตจิตใจ ผลงานล่าสุดของเขา
ที่กำลังติดอันดับหนังสือขายดีคือ “5 วันที่ฉันตื่นกับติช นัท ฮันห์”
พิมพ์ครั้งที่ 5 แล้ว ใครยังไม่ได้อ่าน รีบมามาอ่านด่วน

สหรัฐ เจตมโนรมย์
CO18
ตอน ได้รับโจทย์นี้จากอีเมล์ที่น้องเอกส่งมาให้ ผมใช้เวลาคิดอยู่
หลายวันว่าผมจะเล่าอะไรเกี่ยวกับ ‘ครั้งแรก’ ในชีวิตดี
พอได้ทบทวนอย่างนี้ ผมจึงได้พบว่า ได้เผชิญกับ ‘ครั้งแรก’ มานับไม่ถ้วน
   หลาย ‘เคย’ ข้างบนทำให้ผมรู้สึกประหม่า ตื่นเต้นแกมดีใจในขณะนั้น
แต่ขณะนี้กับหลาย ‘เคย’ ข้างบนเช่นกันที่ผมรู้สึกเฉยๆ และผมมีแนวโน้มที่จะ
ชินกับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นซ้ำ
มีหลายเรื่องที่หลงลืมไปแล้วก็มานึกออกเมื่อไม่กี่วันที่ผ่านมาเพราะความตั้งใจ
จะเขียนบทความนี้แหละ แถมมันยังทำให้ยิ้มให้กับตัวเองใน ‘ครั้งนั้น’ ได้อีก
   บางครั้ง ความเคยชินเกิดขึ้นมากจนทำให้ ‘ความสดใหม่’ ที่เคย
มีอยู่จางบางไป ทั้งที่หากมองให้ลึกซึ้งแล้ว การกระทำของเราในครั้งนี้ ล้วนเป็น
   ผมเคยเข้าประกวดร้องเพลงของโรงเรียน (ตอนนั้นยังไม่รู้ว่าตัวเองจังหวะ ‘ครั้งแรก’ เสมอวันใหม่ผ่านเข้ามาในชีวิตอยู่ตลอด และความสดใหม่ของ
นรกขนาดไหน) เคยมุดรั้วโรงเรียนในเย็นวันแรกของการเรียนชั้น ม.1 เคย ‘ครั้งแรก’ ก็อยู่ตรงนั้นเสมอ แม้ว่าการกระทำที่คล้ายกันนั้นจะเคยเกิดขึ้นแล้วก็
โดดเรียนพิเศษแล้วไปเที่ยวน้ำตกกับเพื่อนๆ เคยบอกแม่ว่า “เดี๋ยวมานะ” ตาม เมื่อเห็นได้ดังนี้ เราก็จะสามารถดื่มด่ำ ‘ครั้งแรก’ ได้อีกครั้ง อย่างคืนที่ผ่านมา
แล้วไปอยู่ในเทคยันตีสี่ เคยประกาศหน้าเสาธงของโรงเรียนต่อหน้านักเรียน ผมหยิบกีตาร์ตัวโปรดขึ้นมาดีดอีกครั้งหลังจากไม่ได้แตะมานานเมื่อวางกีตาร์
3 พันกว่าคน เคยประกวดดาวเดือนของคณะ เคยได้พบอาจารย์โสรีช์ครั้ ลง ความรู้สึกเมื่อได้จับกีตาร์ครั้งแรกตอน ม.3 มาเยือนปลายนิ้วมือข้างซ้ายของ
งแรกที่งานเลี้ยงศิษย์เก่า มช. ขณะนั้นผมฝึกงานอยู่ที่โรงพยาบาลสมเด็จ ผม
เจ้าพระยา (ชื่อในตอนนั้น) ได้ไปบ้านมกราหนแรกตอนปี 2546 เคยพูด
กับฝรั่งตัวเป็นๆ ตอนอยู่ ม.2 และเคยทำโน่นทำนี่อีกเยอะแยะ ‘ครั้งแรก’ ปรากฏขึ้นแล้ว!!  

แล้ว “ครั้งแรก” ของคุณล่ะ


เป็นอย่างไร?

บ้านมกรา  15
Psychological Counseling
การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
Human Resource Development
หลักสูตรพัฒนาบุคลากรในองค์กรธุรกิจ การศึกษา และอื่นๆ
Research
การวิจัย

กลุ่มรู้จักใจ
http://roojakjai.wordpress.com/
ข้อมูลเพิ่มเติม
080-2010202, 086-6884451, 085-1518995

มองอนาคตผ่านกราฟชีวิต
ตอบคำถามชีวิตผ่านสำรับไพ่

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม 081 451 1431


email : mojiangel@gmail.com
webblog : http://mojiangel.blogspot.com/
หากท่านพลาดการครอบครองหนังสืออันทรงคุณค่า 
ที่รวบรวมทัศนะของ รศ.ดร. โสรีช์ โพธิแก้ว ไว้มากที่สุด 
ซึ่งถูกตีพิมพ์เป็นที่ระลึกในงาน

ติดตามข่าวดีได้ที่นี่ วารสารบ้านมกรา
18  บ้านมกรา
มองหาเรื่อง
คนกลางน้ำ

เหมาะสมของพื้นที่นั้น ความชุ่มชื้นของสายธารชีวิตในดินแดนที่แตกต่างห่างไกล

ประตู หากแต่กระแสน้ำที่เห็นเป็นกระแสไหลเวียนในลีลาเฉพาะแบบในลำน้ำน้อยใหญ่อื่นๆ
นั้น ประกอบด้วยความอุดมที่ไหลรินมาจากขุนเขาอันห่างไกล อันเป็นต้นกำเนิดของ
น้ำสายนั้น

   เมื่อเอกในฐานะบรรณาธิการจำเป็นอันเป็นตำแหน่งที่ได้โดยการยัดเยียดจาก การเริ่มต้นทำวารสารฉบับนี้และหัวข้อ “ครั้งแรก” ที่ผมและเอกตั้งไว้


ผม ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้รู้เห็นกับการทำวารสารแจกฟรีชื่อ “บ้านมกรา” ฉบับนี้ ได้ตั้งหัวของ ทำให้ผมเกิดจินตภาพของ “ประตู” อยู่ในใจ หลายครั้งหลายหนที่ทั้งผมและผู้รับ
เนื้อหาในการสรรหาเอาสาระที่มีอยู่ในสมาชิกบ้านมกราไว้ว่า “ครั้งแรก” เพื่อออกเผย การปรึกษาเชิงจิตวิทยาไม่ว่าจะเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม มักใช้คำว่าประตูเพื่อสื่อถึงการ
แพร่ให้ทันกำหนดการณ์ของ “ฉบับแรก” ที่ตั้งไว้ในช่วงกลางเดือนสิงหา-คม คำว่า เริ่มต้น การก้าวไปสู่ประสบการณ์ที่ไม่คุ้ยเคย ไม่รู้จัก และไม่ว่าสิ่งที่ตามมาจะพอใจ
“ครั้งแรก” เลยกลายเป็นประเด็นให้คนหลายคนต้องนำไปใคร่ครวญ ระลึกย้อนลงไป หรือผิดหวัง สิ่งที่พบเจอหลังจากการก้าวผ่านความเปลี่ยนแปลงนั้น ก็จะเป็นส่วน
ในความคิดและประสบการณ์ ค้นหาเรื่องราวหรือความหมายที่เชื่อมโยงกับ “ครั้งแรก” หนึ่งที่เพิ่มเติมเข้ามาในชีวิตเสมอ แล้วเมื่อได้มีโอกาสเปิดใจสัมผัสประสบการณ์นั้น
แล้วมาเรียบเรียงเป็นตัวอักษรมาลงไว้ในวารสารฉบับนี้ อย่างลึกซึ้ง ใคร่ครวญปรากฏการณ์นั้นอย่างแยบคาย ไม่ว่าประสบการณ์จะร้ายหรือ
ดี ก็ล้วนสะท้อนให้เราได้เข้าใจในชีวิตตามจริงได้เสมอ กลายเป็นความเติบโตและงอก
   แม้กำหนดเปิดตัวของวารสารฉบับนี้จะเป็นกลางเดือนสิงหาคม หากแต่ที่ไปที่ งามที่ทำให้ชีวิตของเขาผู้นั้นก้าวเดินต่อไปอย่างมีกำลัง และอาจเป็นประโยชน์แก่เขา
มาของมันนั้นยาวนานกว่านั้นมาก มันเริ่มต้นตั้งแต่คราวการรวมตัวกันของชาวบ้าน และผู้คนและสรรพสิ่งรอบข้างในโอกาสข้างหน้าต่อไป
มกราเมื่อสองปีก่อน ที่ผมกับเอกได้คุยกันถึงความยากลำบากในการอ้างอิงเอกสาร
เมื่อต้องการกล่าวถึงแนวคิดของอาจารย์โสรีช์ (รศ.ดร.โสรีช์ โพธิแก้ว) และจิตวิทยา ประตูเป็นภาพลักษณ์ของสิ่งที่กั้นระหว่างพื้นที่สองส่วน การจะผ่านเข้าไป
การปรึกษาแนวพุทธลงในงานวิทยานิพนธ์ และเท่าที่เผยแพร่อยู่ทั่วไปก็ค่อนข้างห่าง ในพื้นที่ข้างหลังประตูนั้นต้องผ่านช่องหรือกรอบของประตูเข้าไป หากไม่สมัครใจเข้า
ไกลและอ้อมแอ้ม ไม่สอดคล้องกับแนวทางของงานวิชาการ ที่พวกเราต้องการจะศึก- ทางช่องทางนั้น ก็ต้องอาศัยพละกำลังและความสามารถมากในการปีนป่ายข้าม
ษาต่อเนื่องจากแนวคิดที่ถูกหล่อหลอมมาจากอาจารย์โสรีช์ ความอึดอัดขัดใจที่มีร่วม กำแพงหรือแหกคอกทุบผนัง เปิดช่องทางอันผู้คนไม่ใคร่ผ่านเพื่อเข้าไปยังพื้นที่ข้าง
กัน จึงกระตุ้นต่อมอยากของพวกเรา (คือผมและเอก) ให้อยากทำหนังสือหรือเอกสาร หลังประตูนั้น แล้วต้องพร้อมรับกับผลจากการกระทำอันแปลกแยก ที่หากทำสำเร็จ
ในแนวทางนี้ออกมา ระยะเวลาผ่านไปสองปีโดยไม่มีอะไรเคลื่อนไหวไปนอกจากความ ก็มิใช่ว่าจะถูกเชิดชูยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกเปิดช่องทางใหม่เสมอไป กลับกันก็อาจตาม
คิด นานๆครั้งผมและเอกจะได้มีโอกาสพูดแลกเปลี่ยนความคิดในการสร้างความฝัน มาด้วยโทษทัณฑ์ของความไม่เป็นไปตามร่องตามรอยของหมู่ชน อีกทั้งความเหน็ด
อันนี้แก่กัน การขัดเกลาความคิดกันที่ละเล็กละน้อย ก็ค่อยๆแปรเปลี่ยนแนวทาง เหนื่อยหรืออันตรายจากการกระทำอันแปลกประหลาดนั้น
จากอุดมคติที่ตั้งไว้ มาสู่ความจริงตามที่ได้พิจารณาจากศักยภาพที่พวกเราพอจะทำได้
และแล้วเวลาของการลงมือทำก็มาถึง เมื่อคนที่วนอยู่กับความคิดทั้งสองได้มีเวลาว่าง ประตูบางบานก็ใช่ว่าจะอาศัยแค่มีใจจะเปิดผ่านแล้วจะเข้าไปได้ ต้อง
ตรงกัน (เป็นคนว่างงานด้วยกันทั้งคู่) หากแต่การที่ต่างคนต่างก็เป็นนักเสพหนังสือ อาศัยความเข้าใจหรือวิธีการเฉพาะจึงจะผ่านประตูเข้าไปเพื่อสัมผัสกับบรรยากาศภาย
และวารสารต่างๆ มาพอประมาณ จนเชื่อว่าตนจะมีความเข้าใจในขั้นตอนและกระบวน ในข้างหลังประตูนั้น อย่างเช่นต้องมีลูกกุญแจที่ถูกต้องถึงจะเปิดประตูที่ถูกล๊อกไว้ได้
การสร้างหนังสือเพียงพอแล้ว แต่แท้ที่จริงเมื่อจะขยับจากความคิดมาสู่การลงมือปฏิ- หรือประตูบานเลื่อน (sliding door) ที่ต้องเลื่อนออกไปด้านข้างแตกต่างกับประตูบาน
บัติทุกอย่างกลับไม่สะดวกง่ายดายดังเช่นคิด พวกเราต้องชะงักกับความไม่แน่ใจแบบ พับหรือประตูสวิง (hinged door and swing door) ที่ใช้การผลักเข้าไปตรงๆ ประตู
ก้าวๆ หยุดๆ กันอยู่เสมอ ทั้งติดขัดด้วยกำลังคนที่มีอยู่น้อย (สองคน) ต้นทุนในการ บางบานต้องอาศัยจังหวะเวลาถึงจะผ่านเข้าไปได้ ดังเช่นประตูหมุน (rotation door)
ผลิตที่ไม่รู้ว่าจะหาจากไหน กำลังสมองและข้อมูลที่จะสร้างเนื้อหาก็จำกัดจำเขี่ย กำลัง และประตูอัตโนมัติ (automatic door) ที่ต้องก้าวเข้าไปตามจังหวะการเปิดรับที่ผู้อื่น
ทักษะและประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้องที่แทบจะไม่มี และโดยส่วนตัว ภาระหนัก ผลักอยู่หรือตามกลไกอิเล็กทรอนิกส์ของประตู
สำหรับผมก็คือความวุ่นวายใจในเรื่องรูปแบบต่างๆ นาๆ ตามที่เราเคยรู้เคยเห็นมา
เฉกเช่นเดียวกันกับการเริ่มต้นทำวารสารฉบับนี้ ที่แต่ละอุปสรรคเปรียบ
   เวลาผ่านไปอีกเดือนเศษที่หมดไปกับความฉงนงงงวยในปัญหาคาใจทั้งหลาย เสมือนประตูแต่ละประเภท แต่สำหรับผมแล้ว มีประตูประเภทหนึ่งที่รู้สึกว่าใกล้เคียง
ที่กล่าวไปนั้น สุดท้ายผมต้องตัดรำคาญกับความละล้าละลังของตัวเองจนต้องพูดว่า กับความรู้สึกในการเริ่มต้นทำวารสารฉบับนี้ที่สุด นั่นคือประตูที่มีแต่กรอบ ไม่มีบาน
ช่างมัน! ทำเลยวุ้ย! คำพูดง่ายๆ สั้นๆ แค่นั้นที่ผมบอกตัวเองและเอกไปพร้อมๆ กัน ประตูและผนังใดๆรอบข้าง ดังเช่นประตูโทริอิ ของญี่ปุ่น ที่ไม่ว่าจะก้าวไปตามทางผ่าน
เป็ น จุ ด เริ ่ ม ต้ น สำคั ญ ที ่ ท ำให้ ผ มได้ เ ริ ่ ม ก้ า วไปสู ่ เ ป้ า หมายในการทำงานนี ้ อ ย่ า ง เข้าประตูหรือเดินอ้อมไปทางใดก็ผ่านเข้าไปได้ เพียงมุ่งไปยังเป้าหมายก็ย่อมไปถึงได้
ปิดตาจากแผนที่และเส้นทางที่ผู้อื่นเคยวางเอาไว้ และนั่นก็นำมาสู่ข้อสรุปสุดท้าย เหมือนกัน รอคอยแต่การก้าวขาผ่านของผู้เดินทาง...เพียงเท่านั้น  
ที่พวกเราพร้อมและพอจะทำได้ในรูปแบบของวารสารอิเล็กทรอนิกแจกฟรีที่ไม่มี
กองบรรณาธิการประจำ (เราหวังว่าจะอาศัยข้อคิดข้อเขียนจากอาจารย์ พี่ๆ เพื่อนๆ
น้องๆ หรือไม่ก็บุกไปสัมภาษณ์ถึงที่ซะเลย) เรามองว่าการค่อยๆ สะสมเนื้อหาสาระ  โทริอิ (Torii, 鳥居) เป็นประตู(gate)มักพบตรงทางเข้าของศาลชินโต
จากทั้งจากอาจารย์และลูกศิษย์ เพื่อให้สาระที่เก็บเกี่ยวมานั้นค่อยๆ รวมตัวจนเห็นถึง หรือวัดทางพุทธศาสนา มีลักษณะเป็นท่อนซุงตั้งขึ้นสองท่อน ด้านบนมีคานสองคาน
กระแสของสายน้ำ สายน้ำที่ไหลรินจากสืบทอดมาจากอาจารย์ที่เปรียบเสมือนต้นน้ำ ลดหลั่นกันลงมา เรียกว่า คาซากิ (kasagi) และนูกิ (nuki) ตามลำดับ โทริอิเป็น
สัญลักษณ์แสดงการเปลี่ยนผ่านจากดินแดนศักดิ์สิทธิ์กับโลกปกติ (ลักษณะคล้ายกับ
ไหลต่อเนื่องไปยังภูมิประเทศของลูกศิษย์แต่ละคน แตกแขนงเป็นสาขาไปตามความ
คติใบเสมาของบ้านเรา : ผู้เขียน)
บ้านมกรา  19
ร่วมกันบันทึกเศษเสี้ยวประสบการณ์ บนเส้นทาง 
ถนนสายจิตวิทยาการปรึกษา
สมาชิกบ้านมกรา แห่งการเรียนรู้สู่การเป็นนักจิตวิทยาการปรึกษา

ก้าวแรกบนถนนสายจิตวิทยาการปรึกษา
สมภพ แจ่มจันทร์

หลัง จากเสร็จสิ้นการฝึกงานในปี 2 เทอมหนึ่งไม่นาน บาดแผลจาก


การเรียนรู้ยังไม่ทันหายดี การทำงานในสนามจริงบนถนนสาย
จิตวิทยาการปรึกษาของผมก็เริ่มต้นขึ้น...เป็นครั้งแรก
นาน แม้กระทั่งทุกวันนี้ก็ยังไม่อาจเข้าใจได้หมด แบบฝึกหัดในชีวิตมีมาให้
ทดสอบอยู่เสมอ ทำได้บ้างไม่ได้บ้าง แต่ก็ไม่หลีกหนีที่จะเผชิญหน้ากับมัน
   บนถนนสายนี้ เราเพียงทำหน้าที่ให้เต็มที่ทุกครั้งและเพียรพัฒนาตน
   ฝีมือยังอ่อนหัด สภาพจิตใจยังอ่อนไหว แต่ก็อุ่นใจเพราะมีเพื่อนๆ เองอยู่เสมอ ส่วนที่เหลือเป็นเรื่องของฟ้าดิน เหตุปัจจัย โชคชะตา และอะไรบาง
และรุ่นพี่ รวม 10 คนที่ไปทำงานครั้งนี้ด้วยกัน คือ พี่บุ๋ม พี่มินต์ พี่วาย พี่บอม อย่างที่อยู่นอกเหนือการควบคุมและการคาดคะเนของเรา
พี่ยุ้ย พี่มีมี่ ปูน แพน เจ และผม
   พวกเราออกเดินทางในค่ำคืนหนึ่งที่สถานีขนส่งหมอชิต จุดมุ่งหมาย    ย้อนกลับไปในช่วงเวลานั้น ความมั่นใจในการทำกลุ่มของผมมีอยู่
ของเราห่างจากกรุงเทพฯ ออกไปประมาณเกือบเจ็ดร้อยกิโลเมตร เพียงน้อยนิด และน้อยลงทุกครั้งที่รู้สึกว่ากลุ่มออกมาแย่และไม่เป็นไปตามที่ใจ
คาดหวัง ไม่เคยรู้สึกว่าตัวเองดีพอสักที ไม่เคยมีความเข้าใจว่าทุกอย่างก็ดำเนิน
   ที่นั่น...จังหวัดน่าน ไปตามวิถีของมัน
   รถทัวร์พาพวกเรามาถึงจุดหมายตอนเช้ามืดท่ามกลางสายหมอก ลม    แต่จะมีหนทางอื่นใดเล่าที่ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งเหล่านี้ นอกจากการเข้าไป
หนาววูบผ่านมาทักทายตั้งแต่ก้าวเท้าลงจากรถ มองเห็นควันจางๆ ลอยล่อง สัมผัสและเผชิญหน้ากับมันโดยตรง
ออกมาจากปากในขณะพูดคุย ท้องฟ้ายังคงมืดมิด แสงจันทร์และแสงดาวยังคง    แม้จะเจ็บปวดและทุกข์ทน แม้จะผิดหวังและท้อแท้แม้จะเศร้าโศกและ
ส่องสกาว ก้าวแรกที่ลงจากรถทัวร์ในวันนั้น คือก้าวแรกบนถนนเส้นนี้ของผม เสียใจ แต่ทุกๆ ความรู้สึกเป็นสิ่งที่เราต้องก้าวผ่าน เพื่อเติบโต ทุกๆ ประสบการณ์
   รถสองแถวหกล้อของมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์ วิทยาเขตน่าน ทั้งดีร้ายหลอมรวมตัวเราให้เป็นตัวเราในวันนี้บาดแผลคือที่ระลึกอันงดงามและ
มารับเราที่ท่ารถ และนำพาพวกเรา 10 ชีวิตฝ่าลมหนาวและความมืดไปยัง เป็นหมุดหมายของการเรียนรู้
มหาวิทยาลัย ที่อยู่ท่ามกลางบรรยากาศของเทือกสวนไร่นาและป่าเขา    การไปทำงานที่น่านช่วยเติมความมั่นใจและเยียวยาความเจ็บปวดใน
   เมื่อมาถึง ยังพอมีเวลาพักผ่อนราวสองชั่วโมงก่อนเริ่มต้นทำงาน ใจของผม แม้จะไม่หายไปเสียทีเดียว แต่ก็ช่วยให้ผมสัมผัสได้ถึงความสุขและ
สถานที่พักของพวกเราคืออาคารเล็กๆ ที่เป็นสถานที่ทำงานของเจ้าหน้าที่ ความงอกงามในใจของตัวเอง และมองเห็นคุณค่าและความหมายของการเป็น
พวกเราส่วนใหญ่แยกย้ายกันเข้านอน ผมกับเจนอนไม่หลับ เราสองคนจึง นักจิตวิทยาการปรึกษามากขึ้น
หยิบกีตาร์ขึ้นมาบรรเลงบทเพลงต้อนรับเช้าวันใหม่
   เราแหกปากร้องเพลงกันด้วยความร่าเริง ไม่รู้สึกถึงความเหน็ดเหนื่อย ***
จากการเดินทาง
   ความมืดค่อยๆ เลือนหาย บรรยากาศภายนอกเริ่มสว่างขึ้นเรื่อยๆ
*** สายหมอกจางๆ ปกคลุมไปทั่วบริเวณมหาวิทยาลัย พวกเราทยอยอาบน้ำแต่งตัว
และเก็บของ
   การไปทำงานที่น่านถือเป็นการทำงานจริงครั้งแรกของผม หลังจากผ่าน
การฝึกงานที่โคราชเมื่อเทอมก่อน สภาพจิตใจของผมก็ยังไม่ค่อยดีขึ้นนักหลัง    ...และแล้วก็ถึงเวลา
จากการฝึกงาน อาจเป็นเพราะความคาดหวังที่มีกับตัวเอง ที่อยากจะทำกลุ่ม    รถสองแถวคันเดิมมีน้องๆ นักศึกษากว่าห้าสิบชีวิตรอคอยอยู่แล้ว พร้อม
ออกมาให้ดีที่สุด แต่สุดท้ายมักผิดหวังเสมอ ไม่เคยพอใจกับผลลัพธ์ที่ออกมา ออกเดินทาง
   ล้อรถค่อยๆ หมุน พาทุกชีวิตออกจากมหาวิทยาลัยวิ่งฝ่าลมหนาวและ
   กว่าจะเรียนรู้และเข้าใจได้ว่า เราเพียงแค่ทำหน้าที่ให้ดีที่สุด...เท่านั้นพอ เส้นทางที่คดเคี้ยว ไปยังสถานที่ทำกลุ่มของเรา ซึ่งห่างออกไปอีกหลายสิบ
ก็ใช้เวลาอยู่พอสมควร กิโลเมตร...ที่ค่าย ตชด. 324
   กว่าจะเรียนรู้และเข้าใจได้ว่า กลุ่มไม่ใช่ของเรา และเราไม่ใช่ผู้กำหนดสิ่ง    5 วันนับจากนี้เป็นช่วงเวลาที่งดงามช่วงหนึ่งในชีวิตของผม เป็นจุดเริ่ม
ที่เกิดขึ้นในกลุ่ม ก็ผิดหวังและเจ็บปวดไปไม่น้อย ต้นที่สำคัญและยังคงตราตรึงอยู่ภายในใจของผม
   กว่าจะเรียนรู้และเข้าใจได้ว่า ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นในกลุ่ม เป็นสิ่งที่ดีที่สุดแล้ว
ที่จะเกิดขึ้นได้ เพราะมันคือความจริงที่เกิดขึ้น ไม่ใช่ความคาดหวังในใจของเรา 
ก็ท้อแท้และทุกข์ทนมายาวนาน
   กว่าจะเรียนรู้และเข้าใจทั้งหมดที่กล่าวมา ก็ต้องอาศัยวันเวลาอันยาว

20  บ้านมกรา
ครั้งแรกกับพระ
สุทธิพันธุ์ สุทธิศันสนีย์

วันนี้ ผมได้มีโอกาสที่ดีมากในชีวิต เป็นโอกาสที่พี่ซูนและพี่สาระ สุขใจที่งอกงาม


รุ่นพี่ที่จิตวิทยาการปรึกษาจุฬาฯ ได้มอบให้แก่ผม พี่ซูน
และพี่สาระได้รับมอบโอกาสจากอาจารย์โสรีช์ให้ไปถวายความรู้ (และสอน)    สำหรับผมแล้วนึกถึงใจที่มีพรหมวิหาร 4 ซึ่งต้องเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอย่าง
นิสิตปริญญาโท หลักสูตรชีวิตและความตาย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย แท้จริงมิใช่เสแสร้งแกล้งทำเพื่อให้เสมือนว่าจะมีพรหมวิหาร 4 หรือแม้แต่
พยายามจะทำ ตามความเข้าใจของผมนั้นพรหมวิหาร 4 ไม่ได้เกิดขึ้นเมื่อเรา
   จากข้อมูลที่ผมได้รับมาจากพี่ซูนและพี่สาระพบว่าหลักสูตรนี้เปิดมา พยายามจะมีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ไม่ได้เกิดขึ้นเมื่อเรารู้ว่านี่คือพรหม-
เป็นรุ่นที่สามแล้ว โดยมีทั้งพระสงฆ์และฆารวาสเข้ามาเรียนในระดับปริญญาโท วิหาร 4 แต่เกิดขึ้นเมื่อใจเงียบ นี่คือสิ่งที่ผมเข้าใจและนำไปเป็นแนวทางในกลุ่ม
โดยเปิดสอนที่ศูนย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ที่วัดศรีสุดาราม แถวๆ เพื่อที่จะให้สมาชิกในกลุ่ม ของผมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสัมผัสปรากฏการ
บางขุนนนท์ หลักสูตรนี้มุ่งหมายที่จะฝึกฝนบุคคลที่สามารถที่จะไปพูดคุยกับ ของใจด้วยตนเองโดยตรง หากแต่ควาพิเศษในการทำกลุ่มครั้งนี้มิได้อยู่ที่เนื้อ-
ผู้ที่กำลังจะเผชิญกับความตายเช่นผู้ป่วยและญาติๆ เพื่อที่จะเยียวยาจิตใจให้ หา ประเด็นหรือวัตถุประสงค์ของกลุ่มเลย หากแต่อยู่ที่สมาชิกกลุ่มนี่เอง
เผชิญกับความตายได้อย่างสงบ ผู้ที่เข้ามาเรียนในหลักสูตรนี้มีตั้งแต่คนที่เพิ่ง
เรียนจบป.ตรีวัยยี่สิบกว่าๆ จนถึงผู้ที่มีอายุ 70 - 80 ปี แต่ไม่ว่าจะอายุเท่าไหร่    อย่างที่กล่าวไว้ในเบื้องต้นแล้วว่านิสิตที่ศึกษาในหลักสูตรและวิชานี้มี
แต่ทุกคนมีความตั้งใจและสนใจในการศึกษาเกี่ยวกับชีวิต โดยที่แต่ละคนก็มี ทั้งพระสงฆ์และฆารวาส สิ่งที่พิเศษสำหรับตัวผมเองก็คือ นี่เป็นครั้งแรกที่ได้
แรงบันดาลใจในการมาเรียนที่แตกต่างกันออกไป ทำกลุ่มกับพระสงฆ์ สิ่งที่ปรากฏในใจผมหลังจากที่พี่ซูนเอ่ยปากชวนผมก็คือ
ความตื่นเต้นยินดี ความรู้สึกนี้ไม่ได้รุนแรงเข้มข้น แต่ผมสัมผัสได้ถึงสภาวะ
   ผมได้มีโอกาสไปเข้าเป็นส่วนหนึ่งในวิชานี้ ดังที่กล่าวมาในข้างต้นว่า ของใจผมได้เช่นนี้ มันไม่ได้เกิดจากความเชื่อมั่นในตนเอง หรือความมั่นใจใน
ได้รับโอกาสจากพี่ทั้งสองท่านที่เป็นอาจารย์ประจำวิชานี้ ที่ได้ชักชวนให้ผมได้ ความสามารถของตนเองเลย ผมสังเกตว่าใจของผมไม่ได้มีคำถามเลยว่าเราจะ
เข้าไปทำกลุ่มให้แก่นิสิตในชั้นเรียนนี้ ซึ่งการไปทำกลุ่มในครั้งนี้มีเป้าหมาย ทำได้ไหม ไม่มีความมั่นใจเหลือคนาว่าฉันทำได้แน่ มันมีแค่ว่าฉันดีใจที่จะได้ไป
ที่จะให้นิสิตได้เรียนรู้ถึงสภาวะของใจที่งอกงาม นั่นคือจิตใจที่รู้เท่าทันภาวะที่ ทำ มันเป็นสิ่งเดียวที่ปรากฏในใจของผม
ปรากฎขึ้นภายในจิตใจ จนกระทั่งในใจนั้นปราศจากเสียงใดๆ ปราศจากคำถาม
ปราศจากความสงสัย ปราศจากความขุ่นข้องหมองใจ ปราศจากความโกรธ    การก้าวเขาไปในสนามครั้งนี้จึงเข้าไปด้วยใจที่พร้อมเต็มที่ ใจที่ไม่
ปราศจากความเคียดแค้นชิงชัง ปราศจากความกระหยิ่มยิ้มย่องในใจ ฯลฯ หวาดกลัว และไม่ประมาท ใจที่พร้อมยินดีกับทุกสิ่งที่จะเข้ามา การอยู่ในกลุ่ม
ใจที่ปราศจากเสียงต่างเหล่านี้ถือว่าเป็นใจที่มีคุณภาพในการกระทำกิจต่างๆ ครั้งนี้ผมมองเห็นใจตนเองชัดเจนมาก สัมผัสและรับรู้ใจของตนเองในทุกขณะ
ก็จะเป็นการกระทำด้วยจิตที่สงบ เป็นการกระทำด้วยจิตที่งอกงาม งอกงาม ทั้งขณะที่รับฟังและขณะที่จะพูด การทำงานวันนี้จนจบผมก็ยงไม่แน่ใจนักว่า
จากกรอบที่ครอบใจไว้ ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อ ความรู้ ความดี ความถูกต้อง ผมจะประเมินสมาชิกในกลุ่มผมได้ตรง ตามความเป็นจริงแค่ไหน (พี่ซูนและ
ความอยาก ความต้องการ ฯลฯ ใจเช่นนี้จะทำให้ได้ยินถึงเสียงที่ไม่ได้เปล่ง พี่สาระมอบหมายว่าต้องให้คะแนนสมาชิกด้วย) แต่ที่ผมตอบได้ชัดที่สุดคือ
ออกมา ได้ยินเสียงของหัวใจคนพูด ได้ยินความไพเราะของเสียงในธรรมชาติ วันนี้ผมน่าจะได้เต็ม 10 นะ
ทำให้ตาสามารถมองเห็นความงามที่ไม่มีจำกัดของธรรมชาติ ทำให้สัมผัสกับ
ความยิ่งใหญ่ของโลกนี้ ทำให้การอยู่กับคนเบื้องหน้าได้อย่างกลมกลืนและเป็น 

บ้านมกรา  21
ประสบการณ์ยี่สิบวันกับการศึกษาเกษตรทฤษฎีใหม่ 
ซาววัน ณ ห้วยฮ่องไคร้
สัณห์ชาย โมสิกรัตน์
ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศูนย์ศึกษา 
การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

หลัง จากที ่ ผ มได้ ร ู ้ ข ่ า วว่ า ต้ อ งกลายเป็ น คนตกงาน


คำถามแรกๆที ่ ด ั ง ขึ ้ น มาถามตั ว เองในใจก็ ค ื อ
“จะกินอะไร?” แล้วคำตอบที่ดังตามมา ทั้งน่าขบขันและประหลาดใจ
ในความง่ายและซื่อ “กินผัก!” แล้วคนตกงานอย่างผมจะเอาเงินที่
ไหนไปซื้อผักกินล่ะ “ก็ปลูกเอาสิ” คำถามเหล่านี้ดูจะตระหนกเกิน
เหตุสำหรับคนที่ยังอยู่กับครอบครัวที่ฐานะโดยรวมก็ไม่ได้ลำบาก
อะไรเช่นผม แต่สำหรับผมแล้วนั่นดูจะมั่นใจในชะตาชีวิตมากไปเสี
ยหน่อย หากวันหนึ่งในอนาคตเกิดตกอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่มีหลัง แนวพระราชดำริ” ประสบการณ์ของนักศึกษาที่ผมได้พูดคุยด้วย แสดงให้ผมได้
พิง ไม่มีอาชีพที่ชำนาญหรือเคยชินเป็นหนทางเลี้ยงชีพ ไม่มีองค์กร ระบบ เห็นว่าการจะเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และ
ระเบียบ หรือบุคคลใดๆให้การอุปการะเลี้ยงดูเช่นเดียวกันกับในเวลานี้ ความ ประสบการณ์ควบคู่กัน ดังนั้นผมจึงไม่ลังเลที่จะสมัครเข้ารับการอบรมในหลัก-
สามารถในการดูแลตนให้อยู่รอดได้ดูจะเป็นสิ่งสำคัญที่ยังไม่เคยเรียนรู้ฝึกฝน สูตรดังกล่าวที่ต่อเนื่องถึง 20 วัน ซึ่งคาดว่าน่าจะเพียงพอให้ผมได้รับสิ่งที่ต้อง
ให้เพียงพอ การตกงานครั้งแรกในชีวิตทำให้ผมเห็นความว่างเปล่าในทักษะ การได้บ้าง หลักสูตรนี้มีสถานที่ฝึกอบรอยู่ที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมา
ชีวิต ที่แสนบอบบางต่อความเปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนเหลือเกิน จากพระราชดำริที่กระจายอยู่ทั่วประเทศทั้งหมด 6 ที่ ได้แก่
   ช่วงเวลาที่ผมตกงาน แม้จะเริ่มต้นในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ แต่ไม่เกี่ยวข้อง   1.  ศู น ย์ ศ ึ ก ษาการพั ฒ นาเขาหิ น ซ้ อ นอั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ
อะไรกับสภาพเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลกที่เกิดขึ้น สถานการณ์ที่เป็นเหตุให้บริษัท    จังหวัดฉะเชิงเทรา
ยักษ์ใหญ่ของโลกหลายบริษัทต้องล้มหายตายจากหรือปรับขนาดกันขนาน   2.  ศู น ย์ ศ ึ ก ษาการพั ฒ นาห้ ว ยทรายอั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ
ใหญ่ พนักงานบริษัทและแรงงานจากโรงงานอุตสาหกรรมถูกเลิกจ้างเป็น    จังหวัดเพชรบุรี
จำนวนมาก อีกทั้งบัณฑิตที่เพิ่งจบใหม่จากรั้วมหาลัยก็หลั่งไหลเข้ามาสู่ตลาด   3.  ศู น ย์ ศ ึ ก ษาการพั ฒ นาอ่ า วคุ ้ ง กระเบนอั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ
แรงงานที่ตำแหน่งว่างไม่เพียงพอกับความต้องการ เป็นเหตุให้รัฐบาลเลยคลอด    จังหวัดจันทบุรี
โครงการ “ต้นกล้าอาชีพ” อันเป็นส่วนหนึ่งในแผนที่จะบรรเทาปัญหาผู้ว่างงาน   4.  ศู น ย์ ศ ึ ก ษาการพั ฒ นาภู พ านอั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ
ที่เกิดขึ้น ในหลักสูตรฝึกอาชีพมากมายที่มีให้ผู้สมัครเลือกเข้ารับการอบรม    จังหวัดสกลนคร
หนึ่งในนั้นก็คือหลักสูตร “เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพ   5.  ศู น ย์ ศ ึ ก ษาการพั ฒ นาห้ ว ยฮ่ อ งไคร้ อ ั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ
อเพียง” ซึ่งดูจะตรงกับความต้องการของผมทีเดียว เพราะนอกจากที่น่าจะช่ว    จังหวัดเชียงใหม่
ยให้ผมมีความเข้าใจในการทำการเกษตรมากขึ้นพอจะปลูกผักกินเองได้บ้าง   6.  ศู น ย์ ศ ึ ก ษาการพั ฒ นาพิ ก ุ ท องอั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ
ตามที่ต้องการแล้ว ก็เป็นที่ผมต้องการที่จะศึกษาแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง    จังหวัดนราธิวาส
ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น แม้ว่าการเผยแพร่แนวพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะมี
ปรากฏอยู่ทั่วไปตามสื่อต่างๆและหนัง
สืออีกมากมาย หากแต่สำหรับผมแล้ว
ความเข้ า ใจจากการค้ น คว้ า จากสื ่ อ
เหล่านั้นยังคงไม่เพียงพอ ดังเช่นเมื่อ
ครั้งที่ผมได้รับมอบหมายจาก รศ.ดร.
โสรีช์ โพธิแก้ว ให้ไปจัดสัมมนาเชิงปฏิ-
บัติการให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัย
ราชภัฎกำแพงเพชร ที่กำลังศึกษาใน
หลักสูตรเศรษฐศาสตร์บัณฑิต สาขา
เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราช พระวิสุทธิธรรมกายนิมิต
ดำริ ณ ศูนย์อุดมศึกษาแม่สอด พระพุทธรูปที่ประดิษฐาน
การสั ม มนาครั ้ ง นี ้ เ ป็ น ส่ ว นต่ อ เนื ่ อ ง อยู่เหนือบึงที่ใช้ในศึกษา
ถนนสาย 118 หน้าศูนย์ฯ
ข้างหลังคือป้ายเทศบาลตำบตำบลเชิงดอย มาจากรายวิชา “จิตวิทยาสิริมงคลตาม การเลี้ยงปลาในกระชัง

22  บ้านมกรา
แต่ละศูนย์ฯล้วนห่างไกลจากกรุงเทพฯ ดังนั้นไม่ว่าจะเข้าอบรมที่ศูนย์ใดก็ต้อง   3.  งานศึกษาและพัฒนาที่ดิน
เดินทางไกลและต้องค้างแรมด้วยแน่นอน ดังนั้นพอนึกถึงบรรยากาศปลายฝน   4.  งานศึกษาและทดสอบการปลูกพืช
ต้นหนาว การได้สัมผัสกับสายฝนในป่าเขา ก็จะเป็นโอกาสที่จะหย่อนใจและผละ   5.  งานศึกษาและพัฒนาเกษตรกรรมแบบประณีต
จากสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคย สามารถตั้งใจเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่ผ่านเข้ามา   6.  งานศึกษาและพัฒนาปศุสัตว์และโคนม
ในการอบรมครั้งนี้อย่างเต็มที่ ผมเลยเลือกเข้าอบรมที่ศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยฮ่อง   7.  งานศึกษาและพัฒนาการประมง
ไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงใหม่ อย่างไม่ลังเลสงสัยอะไรมาก   8.  งานอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์กบ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตั้ง   9.  งานขยายผลของศูนย์ศึกษาการพัฒนา ทำหน้าที่ถ่ายทอดเทคโนโลยี
อยู่ในอำเภอดอยสะเก็ดจังหวัดเชียงใหม่ ก่อกำเนิดในปี พ.ศ. 2525 บริเวณป่า และการพัฒนาสู่หมู่บ้านรอบศูนย์ฯ ซึ่งปัจจุบันมีทั้งหมด 18 หมู่บ้าน
ขุนแม่กวงที่เป็นที่ตั้งของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ เดิมเป็นป่าเสื่อม    เมื่อผมไปถึงศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ผมเป็นคนเดียวในกลุ่มผู้
โทรมแทบไม่มีราษฎรอยู่อาศัยเนื่องจากความแห้งแล้ง ดินไม่ดี เพาะปลูกอะไร
ก็ไม่เจริญงอกงาม ดังนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชประสงค์ที่
จะให้พื้นที่นี้เป็นศูนย์กลางในการศึกษาทดลองที่เหมาะสมกับพื้นที่ภาคเหนือ
โดยต้นทางเป็นการศึกษาสภาพพื้นที่ป่าไม้ต้นน้ำลำธารและปลายทางเป็นการ
ศึกษาด้านการประมงตามอ่างเก็บน้ำต่างๆ ระหว่างทางนั้นคือการเกษตรกรรม
เพื่อให้เป็น “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” และเป็นศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ
(One Stop Service) ที่ประชาชนจะเข้าไปเรียนรู้และนำไปปฏิบัติได้ พระองค์
ทรงพระราชทานพระราชดำริที่จะใช้ลุ่มน้ำดังกล่าว เป็นลุ่มน้ำสำหรับศึกษา
พื้นที่ 8,500 ไร่
ในการพัฒนารูปแบบต่างๆ โดยใช้ระบบน้ำชลประทานเป็นแกนนำมีการใช้
ถูกจัดสรรให้แก่ส่วน
ฝายต้นน้ำ (ฝายแม้ว) และเหมืองไส้ไก่ในการส่งความชุ่มชื่นไปทั่วผืนป่าผลที่
งานต่างๆได้ใช้เป็นใน
เกิดขึ้น คือนับตั้งแต่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้เริ่มต้นดำเนินการ พื้นที่ งานศึกษาของตน
8,500 ไร่ ซึ่งใช้ดำเนินการอยู่ 1,200 ไร่ ส่วนที่เหลือเป็นพื้นที่ป่า ในปัจจุบันพื้น ซึ่งล้วนสอดประสาน
ที่เหล่านั้นกลายสภาพเป็นป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณที่ชุ่มชื้นอุดมสมบูรณ์ กันอย่างกลมกลืน
มีพันธุ์ไม้ตามธรรมชาติและสัตว์ป่าท้องถิ่นกลับเข้ามาอาศัย ปริมาณน้ำฝนเพิ่ม นอกเหนือจากนั้นก็เป็น
ขึ้นหลายเท่าตัว ทำให้ระยะเวลาเกือบสามสิบปีที่ผ่านมานั้น การเกิดไฟป่าลดลง ผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์
ได้ถึงร้อยเปอร์เซ็นต์ ความหลากหลายของงานการศึกษาของศูนย์ศึกษาการ
พัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ จึงมีกลุ่มงานที่ดำเนินการทั้งหมด 9 กลุ่มงาน เพื่อให้ครอบ เข้ารับการอบรมทั้งหมดที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ทุกคนต่างเรียกผม
คลุมกับการพัฒนาที่เหมาะสมในพื้นที่ ได้แก่ ว่าเป็น “คนไทย” แต่ไม่ใช่ “คนเมือง” ทั้งๆที่ผมมาจากพื้นที่เมืองหลวงของ
  1.  งานศึกษาและพัฒนาแหล่งน้ำ ทำหน้าที่พัฒนาต้นน้ำ คงความชุ่มชื้น ประเทศไทยแท้ๆ! (คนเชียงใหม่จะเรียกคนต่างจังหวัดแถบภาคกลางว่าคนไทย
ให้ผืนป่า สร้างแนวกันไฟแบบป่าเปียก และสร้างแหล่งน้ำบริเวณศูนย์ แล้วเรียกคนเหนือด้วยกันว่าคนเมือง) ระยะเวลายี่สิบวันที่ได้พูดคุยกับคนที่เข้า
  2.  งานศึกษาและพัฒนาป่าไม้ ทำหน้าที่บริหารจัดการผืนป่าและสัตว์ป่า รับการอบรมด้วยกัน ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในหมู่บ้านรอบศูนย์ฯ เป็นบริเวณที่ได้รับ

บ้านมกรา  23
พาหนะที่ใช้เดินทางเวลาไป ในการทำมาหาเลี้ยงชีพก็ยิ่งปรากฏชัดเจนยิ่งขึ้น เมื่อผมได้มีโอกาสไปเยี่ยม
ดูงานตามที่ต่างๆระหว่าง เยียนเกษตรกรตัวอย่าง ซึ่งล้วนเป็นผู้ที่ได้นำความรู้ที่รับมาจากทางศูนย์ศึกษา
การอบรม ถึงแม้จะไม่ค่อย การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ นำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ของตน
สะดวกสบายนัก จนเกิดความมั่นคงและมั่งคั่ง มีศักยภาพที่จะพัฒนากิจกรรมการงานของตนเอง
แต่กลับสร้างประสบการณ์
และผู้อื่นให้เจริญเติบโตต่อไปได้ ทั้งหมดนี้เป็นภาพสะท้อนแนวทางการพัฒนา
ดีๆได้หลายอย่าง
ตามที่ในหลวงเคยมีพระราชดำรัสไว้ว่า “...การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนใน
การประกอบอาชีพและตั้งตัว ให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่นเป็นพื้นฐานนั้น
เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งยวด เพราะผู้ที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง
ย่อมสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าระดับที่สูงขึ้นต่อไปได้โดยแน่นอน ส่วน
การถือหลักที่จะส่งเสริมความเจริญ ให้ค่อยเป็นไปตามลำดับ ด้วยความรอบ-
คอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อป้องกันความผิดพลาด ล้มเหลว และเพื่อ
ให้บรรลุผลสำเร็จได้แน่นอนบริบูรณ์...” (พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทาน
ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตร-
ศาสตร์ วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม 2517
ตลอดระยะเวลา 20 วันของการอบรม หลักสูตร เกษตรทฤษฎีใหม่ตาม
แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการต้นกล้าอาชีพ
การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการสนับสนุนการพัฒนาจากทางศูนย์ศึกษาการ (โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมใน
พัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ เขาเหล่านั้นต่างมีความสนใจที่จะเข้าอบรมหลักสูตร ชุมชน) มีระยะเวลาการอบรมทั้งสิ้น 20 วัน หลักสูตรที่ผมไปอบรมนั้นเป็นรุ่นที่ 5
“เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เนื่องมาจากเคยได้ ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ เริ่มอบรมตั้งแต่วันที่ 2 -21 กันยายน
เห็นตัวอย่างของเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จจากการนำองค์ความรู้และแนว พ.ศ. 2552 ผมพบว่านี่คือโอกาสของผู้ที่ไม่รู้จักจนถึงผู้ที่เพียงรู้จักแต่ยังไม่เคยไ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ทางศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯเป็นผู้ถ่าย
ทอดและให้การสนับสนุน แล้วเมื่อได้ลองเข้ามารับการอบรมตามหลักสูตรต่างๆ ผู้อำนาวยการศูนย์ฯ
ที่ทางศูนย์มีบริการให้อย่างหลากหลายตามความสนใจ เมื่อได้กลับไปลองทำ ให้โอวาทในพิธีเปิด
ตามที่ได้รับการอบรมก็ค่อยๆประสบความสำเร็จและพัฒนาต่อยอดได้มากขึ้น การอบรม
เรื่อยๆ สามารถลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และมีทักษะความรู้กว้างขวาง มีวิถีการ
ดำเนินชีวิตที่มั่นคงลดความเสี่ยงได้มากขึ้น และบางรายยังได้มีการรวมกลุ่ม เกิด
การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เป็นการเพิ่มอำนาจในการผลิตและจำหน่ายให้ดียิ่ง
ขึ้น ผลของการพัฒนาที่เกิดขึ้นกับทั้งบุคคลและชุมชน ก่อให้เกิดความกระตือ
รือร้นที่จะเข้ามาเรียนรู้เพิ่มเติม และชักชวนญาติมิตรที่ไม่เคยเข้ามาให้ได้โอกาส
ในการสัมผัสประสบการณ์และรับความรู้ที่ทางศูนย์มีบริการ ส่วนผู้ที่อยู่ไกลออก
ไปจากพื้นที่บริการของทางศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ ยกตัวอย่างเช่น ด้ทดลองกระทำเกษตรทฤษฎีใหม่และแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้เข้ามา
อำเภอเมือง อำเภอสันทราย อำเภอเชียงดาว อำเภอพร้าว และอำเภอสันป่าตอง ทำความรู้จักและได้สัมผัสกับประสบการณ์ ได้เห็นตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม เป็น
ต่างมีความต้องการที่หลากหลายออกไป อาทิ ต้องการรับสิทธิในทุนและปัจจัย จุดเริ่มต้นของการโน้มนำเอาแนวทางตามพระราชดำริไปใช้เป็นส่วนหนึ่งใน
การผลิตไว้เริ่มต้นในการทำเกษตร ซึ่งคาดหวังว่าทางรัฐบาลหรือทางศูนย์ศึกษา การดำเนินชีวิตหลังเสร็จสิ้นการฝึกอบรม ส่วนผู้ที่ดำเนินชีวิตอยู่ในแนวทางของ
การพัฒนาห้วยฮ่องไคร้จะจัดหาให้, หาหนทางในการเพิ่มรายได้และความมั่น- เกษตรทฤษฎีใหม่และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยู่แล้ว ก็มีโอกาสได้ทบทวน
คงทางเศรษฐกิจให้กับตนเองและครอบครัว, ต้องการหาวิธีทำให้ที่ดินของตน และเพิ่มเติมความรู้ สร้างความชำนาญและหลากหลายในทักษะทางเกษตร-
หรือครอบครัวได้ทำประโยชน์ให้มากกว่าที่เป็นอยู่, เสริมความรู้และทักษะใน กรรมของตน ขยายโอกาสในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าให้กับตนเองและ
การทำเกษตรให้มากและหลายหลายยิ่งขึ้น, มีอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษซึ่ง ชุมชนของตนยิ่งขึ้น มีโอกาสได้พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ รวมกลุ่มคนที่มี
ได้ จ ากการผลิ ต ด้ ว ยตั ว เอง ความสนใจไปในทางเดียวกัน เป็นการเริ่มต้นเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนช่วย
เป็นต้นสำหรับผมแล้ว ความ เหลือปัจจัยการผลิต ผลิตผล และเทคนิควิธีการภายในชุมชนและระหว่างชุมชน
เชื ่ อ มั ่ น และศรั ท ธาที ่ ค นหมู ่ เกริ่นไปคร่าวๆกับที่ไปที่มาของหลักสูตร เกษตรทฤษฎีใหม่ตาม
บ้านรอบศูนย์แสดงออก ดูจะ แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามโครงการต้นกล้าอาชีพ ที่ผมผู้อ่อน
ยืนยันถึงความสำเร็จซึ่งได้รับ ความรู้และประสบการณ์ทางการเกษตรได้เข้าไปสัมผัสมา ในฉบับถัดๆไป
การพิสูจน์แล้วว่า องค์ความ (ถ้ายังมีแรงทำกันต่อ) ผมจะเล่าถึงประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับมาจากการ
รู ้ ท ี ่ ท างศู น ย์ เ ผยแพร่ ใ ห้ ก ั บ อบรมตลอด 20 วันนี้ เผื่อจะเป็นแนวทางในการนำไปประยุกต์กับชีวิตของ
ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สมาชิกบ้านมกรา หรืออาจช่วยสร้างแรงบันดาลใจในการเข้าไปฝึกอบรมใน
ผู้ที่อยู่ในหมู่บ้านรอบศูนย์นั้น หลักสูตรอื่นๆ ที่ทางศูนย์ศึกษาการพัฒนาตามแนวพระราชดำริที่มีอยู่ 6 ศูนย์
สามารถนำไปปฏิบัติจนประ- ทั่วประเทศไทย เปิดให้อบรมอยู่เสมอตลอดทั้งปี
สบความสำเร็จได้จริง แล้ว
ภาพความสำเร็จจากการดำ- 
เนิ น ชี ว ิ ต ตามแนวปรั ช ญา
เศรษฐกิจพอเพียง โดยมี
ส่วนงานแต่ละส่วนอยู่กันไกลๆทั้งนั้น เกษตรทฤษฎี ใ หม่ เ ป็ น วิ ถีทาง

24  บ้านมกรา
ประกาศคณะก่อการ
เรื่อง การเปิดรับอาสาสมัคร

หากท่านทำเพื่อหมู่ชน มิใช่ส่วนตัว
หากท่านทำเพื่อสืบสานความรู้ มิใช่พอกพูนเงินทอง
เราต้องการท่าน มาร่วมเป็นสหายร่วมงานกับเรา

ขอเชิญนิสิตบัณฑิตศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่หรือสำเร็จการศึกษาอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการในสาขา
วิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้มีความสามารถและความสนใจ ร่วม
สร้างสรรวารสารออนไลน์เพื่อสื่อสารระหว่างพี่น้องชาวบ้านมกรา ในตำแหน่ง กองบรรณาธิการ และช่างภาพ

ลงทะเบียนอาสาที่ สมภพ แจ่มจันทร์ (เอก รุ่น21) หรือส่งมาที่ editor.sansaara@gmail.com

VOLUNTEER FOR HOMELAND


“There are two mistakes one can make along the road to truth...
not going all the way, and not starting.”
Buddha

You might also like