You are on page 1of 218

โครงการแปลและเรียบเรียงตําราอิสลาม

วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

มุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ

โดย
ดร.อับดุลเลาะ การีนา

ภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี
2549
ISBN 974-9944-75-5
มุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ

พิมพครั้งที่ 1
จํานวน 300 เลม
พ.ศ. 2549
วิทยาลัยอิสลามศึกษา

ภาควิชาอิสลามศึกษา
วิทยาลัยอิสลามศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี
sa i

กิตติกรรมประกาศ
(( ‫ﺖ ﻭﺇﻟﻴﻪ ﺃﻧﻴﺐ‬
ُ ‫)) ﻭﻣﺎ ﺗﻮﻓﻴﻘﻲ ﺇ ﹼﻻ ﺑﺎﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﺗﻮﻛﻠ‬

‫ ﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﺑﻨﻌﻤﺘﻪ ﺗﺘﻢ ﺍﻟﺼﺎﳊﺎﺕ‬ชุกูรตออัลลอฮฺ  ที่ไดทรงใหเตา


ฟคฺและฮิดายะฮฺแกผูแตงจนสามารถเรียบเรียงหนังสือเลมนี้เสร็จสิ้นอยาง
สมบูรณ
ขอแสดงความขอบคุ ณ เป น อย า งสู ง แก ภ าควิ ช าอิ ส ลามศึ ก ษา
วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ที่
รับหนังสือเลมนี้ไวใหเปนสวนหนึ่งของโครงการแปลและเรียบเรียงตํารา
ของวิทยาลัยฯ
ขอขอบคุณ น.ส. คอดีญะห วิง ที่ไดทําหนาที่พิมพตนฉบับเปนอยาง
ดีมาตลอดและไดทําหนาที่ตรวจทานอีกดวย
ขอขอบคุณอ.ดร.มะรอนิง สะแลมิง อ.ฮามีดะฮฺ อาแด และอ.อัสมัน
แตอาลี ที่ไดเสียสละทั้งเวลาและความคิดตรวจทานใหขอเสนอแนะและ
เพิ่มเติมสวนที่เกี่ยวของเพื่อความสมบูรณของหนังสือเลมนี้
สุดทายนี้ขอขอบคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของ ทั้งที่เอยนามและไมเอยนาม
ที่ชวยเหลือใหหนังสือเลมนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี
‫ﺟﺰﺍﻫﻢ ﺍﷲ ﻋﲏ ﻭﻋﻦ ﲨﻴﻊ ﺍﳌﺴﻠﻤﲔ ﺧﲑ ﺍﳉﺰﺍﺀ‬
ขอวิงวอนตออัลลอฮฺ  พระผูเปนเจาใหดลบรรดาลเราะหฺมัต
บะเราะกัต นิอฺมัตและบุญกุศลของพวกเขาจะเปนที่ประจักษในวันกิยามัต
ดวยเถิด

‫ﻭﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﻧﺒﻴﻨﺎ ﺍﳌﺼﻄﻔﻰ ﳏﻤﺪ ﻭﻋﻠﻰ ﺁﻟﻪ ﻭﺻﺤﺒﻪ‬


sa ii

คํานํา

‫ ﻭﻧﻌﻮﺫ ﺑﺎﷲ‬،‫ﺇﻥ ﺍﳊﻤﺪ ﷲ ﳓﻤﺪﻩ ﻭﻧﺴﺘﻌﻴﻨﻪ ﻭﻧﺴﺘﻬﺪﻳﻪ ﻭﻧﺴﺘﻐﻔﺮﻩ ﻭﻧﺘﻮﺏ ﺇﻟﻴﻪ‬


‫ ﻣﻦ ﻳﻬﺪ ﺍﷲ ﻓﻼ ﻣﻀﻞ ﻟﻪ ﻭﻣﻦ‬،‫ﻣﻦ ﺷﺮﻭﺭ ﺃﻧﻔﺴﻨﺎ ﻭﻣﻦ ﺳﻴﺌﺎﺕ ﺃﻋﻤﺎﻟﻨﺎ‬
‫ ﻭﺃﺷﻬﺪ ﺃﻥ ﻻ ﺇﻟﻪ ﺇ ﹼﻻ ﺍﷲ ﻭﺣﺪﻩ ﻻ ﺷﺮﻳﻚ ﻟﻪ ﻭﺃﺷﻬﺪ‬،‫ﻳﻀﻠﻞ ﻓﻼ ﻫﺎﺩﻱ ﻟﻪ‬
‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺻﻞ ﻭﺳﻠﻢ ﻋﻠﻰ ﳏﻤﺪ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬،‫ﺃﻥ ﳏﻤﺪﹰﺍ ﻋﺒﺪﻩ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ‬
:‫ ﺃﻣﺎ ﺑﻌﺪ‬،‫ﻭﻋﻠﻰ ﺁﻟﻪ ﻭﺻﺤﺒﻪ ﺃﲨﻌﲔ‬

หนังสือเลมนี้ไดรวบรวมหัวขอตาง ๆ สอดคลองกับเนื้อหาวิชามุศ
เฏาะละหฺ อัล หะดีษที่ควรคาแกการศึกษา โดยไดยึดหลักการศึกษาของอุ
ละมาอฺผูเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ดานหะดีษทั้งอุละมาอฺมุตะกอดดิมูนและอุ
ละมาอฺ มุ ต ะอั ค คิ รู น และอุ ล ะมาอฺ ร ว มสมั ย เนื้ อ หาของหนั ง สื อ เล ม นี้
ประกอบดวยแปดบท คือ บทที่หนึ่งกลาวถึงหนาที่ที่มีตอหะดีษและการนํา
หะดีษมาใชเปนหลักฐาน บทที่สองกลาวถึงถึงวิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ
บทที่สามกลาวถึงความหมายของหะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนกับ
หะดีษ บทที่สี่กลาวถึงหะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม
บทที่หากลาวถึงสะนัดและมะตัน บทที่หกกลาวถึงการจําแนกประเภทของ
หะดีษ บทที่เจ็ดกลาวถึงชนิดตาง ๆ ของหะดีษ และบทที่แปดกลาวถึงการ
ยอมรับหะดีษ
sa iii
ขอวิงวอนตออัลลอฮฺ  ผูทรงดลบรรดาลความรูดวยพระประสงค
ของพระองคใหหนังสือเลมนี้อํานวยประโยชนแกทุกทานที่ไดศึกษา หากมี
คําผิดพลาดและบกพรองประการใดผูแตงขออภัยมา ณ ที่นี้ดวยและขอ
รับผิดชอบเพียงผูเดียว

‫ﻭﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﻧﺒﻴﻨﺎ ﻭﺣﺒﻴﺒﻨﺎ ﳏﻤﺪ ﻭﻋﻠﻰ ﺁﻟﻪ ﻭﺻﺤﺒﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬

อับดุลเลาะ การีนา
7 มกราคม 2549
sa iv
สารบัญ
เนือ้ หา หนา

กิตติกรรมประกาศ (3)
คํานํา (4)
บทที่ 1 บทนํา 1
บทที่ 2 วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ 5
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 10-17
3.1 ความหมายของหะดีษ 11
3.2 ความหมายของอัสสุนนะฮฺ 13
3.3 ความหมายของเคาะบัร 15
3.4 ความหมายของอะษัร 16-17
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงทีม่ าของบทบัญญัติอสิ ลาม 18-27
4.1 ความเปนจริงของหะดีษ 18
4.2 ฐานะของหะดีษ 19
4.3 การยึดมัน่ ในหะดีษ 20
4.4 การรายงานหะดีษ 23-27
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 28-41
5.1 นิยามของสะนัด 29
5.2 ความประเสริฐของสะนัด 30
5.3 รุนของผูรายงาน 31
5.4 ประเภทของสะนัด 32
5.5 นิยามของมะตัน 33
5.6 ลักษณะของมะตัน 34
sa v
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถกู พาดพิง 42-56
6.1 หะดีษกุดสีย 43
6.2 หะดีษมัรฟูอฺ 44
6.3 หะดีษเมากูฟ 49
6.4 หะดีษมักฏอฺ 54
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาที่มาถึงเรา 57-151
7.1 หะดีษมุตะวาติร 59
7.2 หะดีษอาหาด 65
7.2.1 หะดีษมัชฮูร 66
7.2.2 หะดีษอะซีซ 68
7.2.3 หะดีษเฆาะรีบ 70
7.3 หะดีษมักบูล 75
7.3.1 หะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺ 76
7.3.2 หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ 80
7.3.3 หะดีษหะสันลิซาติฮฺ 83
7.3.4 หะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ 85
7.3.5 หะดีษมะอฺรูฟ 88
7.3.6 หะดีษมะหฺฟูศ 89
7.4 หะดีษมัรดูด 91
7.4.1 หะดีษเฎาะอีฟ 92
1) หะดีษมุอัลลัก้ 97
2) หะดีษมุรสัลตาบิอนี 100
3) หะดีษมุรสัลเศาะหาบีย 102
4) หะดีษมุรสัลเคาะฟย 104
5) หะดีษมุอฺฎอล 106
6) หะดีษมุนเกาะฏิอฺ 108
sa vi
7) หะดีษมุดัลลัส้ 108
8) หะดีษมุอัลลัล้ 113
9) หะดีษมุดรอจญ 116
10) หะดีษมักลูบ 121
11) หะดีษมุตเฏาะรอบ 124
12) หะดีษชาซ 127
13) หะดีษมุเศาะหฺหฟั 131
14) หะดีษมุหัรรอฟ 133
7.4.2 หะดีษฎออีฟญิดดัน 135
1) หะดีษมุนกัร 138
2) หะดีษมัตรูก 140
7.4.3 หะดีษเมาฎอฺ 140
1) หะดีษเมาฎอฺ 142
2) อิสรออีลิยาต 151
บทที่ 8 บทสงทาย 154
บรรณานุกรม 157
บทที่ 1 บทนํา 1

บทที่ 1
บทนํา

อัลลอฮฺ  ทรงตรัสไวในอัลกุรอานวา:

‫ ﻓﻼ ﻭﺭﺑﻚ ﻻ ﻳﺆﻣﻨﻮﻥ ﺣﱴ ﳛﻜﻤﻮﻙ ﻓﻴﻤﺎ ﺷﺠﺮ ﺑﻴﻨﻬﻢ ﰒ ﻻ ﳚﺪﻭﺍ‬


 ‫ﺖ ﻭﻳﺴﻠﻤﻮﺍ ﺗﺴﻠﻴﻤﹰﺎ‬
َ ‫ﰲ ﺃﻧﻔﺴﻬﻢ ﺣﺮﺟﹰﺎ ﳑﺎ ﻗﻀﻴ‬

ความวา : “มิใชเชนนั้นดอก ขาขอสาบานดวยพระเจาของเจาวา เขาเหลานั้นจะ


ยังไมศรัทธา (ตออัลลอฮฺ) จนกวาพวกเขาจะใหเจาตัดสินในสิ่งที่ขัดแยง
กันระหวางพวกเขา แลวพวกเขาไมพบความคับใจใด ๆ ในจิตใจของ
พวกเขาจากสิ่งที่เจาไดตัดสินไป และพวกเขายอมจํานนดวยดี”(1)

มีรายงานจากญาบิร เบ็ญ อับดุลเลาะ  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  ไดกลาววา

‫ ﻓﺈﻥ ﺃﺻﺪﻕ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﷲ ﻭﺃﻥ ﺃﻓﻀﻞ ﺍﳍﺪﻱ ﻫﺪﻱ‬،‫))ﺃﻣﺎ ﺑﻌﺪ‬


(( ‫ ﻓﺈﻥ ﳏﺪﺛﺔ ﺑﺪﻋﺔ‬،‫ ﻭﺷﺮ ﺍﻷﻣﻮﺭ ﳏﺪﺛﺎﻬﺗﺎ‬،‫ﳏﻤﺪ‬

ความวา :
“อัมมา บะอฺดุ! แทจริงคําพูดที่สัจจะนั้นคือกิตาบอัลลอฮฺ (อัลกุรอาน) และ
แนวทางอันประเสริฐยิ่ง คือ แนวทางของทานนบีมุฮัมมัด  และสิ่งที่เลวที่สุด

(1)
ซูเราะฮฺอันนิสาอฺ อายะฮฺที่ 65
บทที่ 1 บทนํา 2
คือ สิ่งอุปโลกนทั้งหลาย เนื่องจากแทจริงสิ่งอุปโลกนนั้นลวนเปนสิ่งอุตริ
ทั้งสิ้น”(2)

มีกระแสรายงานทานนบีมุฮัมมัด  กลาววา

"‫ ﻓﺈﻥ ﺧﲑ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﷲ ﻭﺧﲑ ﺍﳍﺪﻱ ﻫﺪﻯ ﳏﻤﺪ‬،‫" ﺃﻣﺎ ﺑﻌﺪ‬

ความวา :“อัมมา บะอฺดฺ ! แทจริงคําพูดที่เลิศที่สุด คือ กิ


ตาบอัลลอฮฺ  (อัลกุรอาน) และแนวทางที่ดีที่สุด คือ แนวทางของ
ทานนบีมุฮัมมัด ”(3)

หะดีษเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม ซึ่งศาสนาของอัลลอฮฺ  จะไม


สมบูรณและจะไมครอบคลุมเนื้อหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของหากปราศจากหะดีษ ดังนั้นหะ
ดีษของทานนบี  จึงมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดกับอัลกุรอานโดยไมสามารถแยก
ออกจากกันได ความรูเกี่ยวกับเรื่องนี้ทั้งหมดไดมีการกลาวถึงในอัลกุรอานมากมาย
การกลาวนั้นเปนทั้งประโยคบอกเลาในรูปของคําสั่งใหเชื่อฟง ปฏิบัติตาม ตลอดจน
การยึดมั่นในหะดีษพรอมกับนํามาใชเปนหลักฐาน และในรูปของการหามไมใหปฏิบัติ
ขัดแยงกันในทุก ๆ ดานที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิตของปวงบาวทั้งหลาย ซึ่งการ
ยอมรับหะดีษในลักษณะเชนนี้เปนการยอมรับของบรรดาอุละมาอฺมุสลิมอยางเปนเอก
ฉันท ดังนั้น หนาที่สวนหนึ่งของมุสลิมที่มีตอหะดีษหรืออัสสุนนะฮฺก็คือ การอีมานและ
การปฏิบัติตามนั่นเอง
อุละมาอฺอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺตางก็ยอมรับวา หะดีษอันประเสริฐนั้น
จะตองมีการฟงและการรับ หรืออีกแงมุมหนึ่งจะตองรายงานใหผูอื่นทราบอยางทั่วถึง
พรอมกับเรียนรูความหมายของหะดีษอยางถองแทและถูกตอง วิเคราะหสถานภาพของ
ผูรายงานหะดีษแตละบท อิมามอัลเคาะฏีบ อัลบัฆดาดียกลาววา “หะดีษทุกบทที่มีการ

(2)
เปนสวนหนึ่งของหะดีษบันทึกโดยอะหฺมัด : 3/31, 319, 371, 4/126-127 หะดีษเศาะหีหฺ
(3)
เปนสวนหนึ่งของหะดีษบันทึกโดยมุสลิม : 1/392
บทที่ 1 บทนํา 3
รายงานดวยสายรายงานที่ติดตอกันตั้งแตผูรายงานคนแรกจนถึงทานนบีมุฮัมมัด 
ใชวาจําเปนที่ จะตองนํามาเปนหลักฐาน ยกเวนเมื่อมี การวิเคราะห คุณลักษณะของ
ผูรายงานแตละคนในดานคุณธรรมและความบกพรอง มีการพิจารณาสถานภาพของ
ผูรายงานทุกทานที่กลาวพาดพิงหะดีษถึงทานนบี  เวนแตบรรดาเศาะหาบะฮฺ
เทานั้น เนื่องจากบรรดาเศาะหาบะฮฺเปนคนที่มีคุณธรรม บริสุทธิ์ใจ และนอมรับทุกสิ่ง
ทุกอยางที่มีการกลาวไวในอัลกุรอาน”
การปฏิบัติตามหะดีษอยางเครงครัดและการรายงานหะดีษนั้นมุสลิมมีความรูสึก
วาเปนหนาที่ที่จะตองรับผิดชอบรวมกัน โดยเฉพาะในสภาพสังคมมุสลิมที่เต็มไปดวยสิ่ง
บิดอะฮฺตาง ๆ ความเชื่อที่ขัดแยงกับอะกีดะฮฺอิสลาม ผิดศีลธรรมอันดีงามของมนุษย
และการบิดเบือนหลักคําสอนของศาสนาอิสลามที่แทจริง

،‫ ﻋﻀﻮﺍ ﻋﻠﻴﻬﺎ ﺑﺎﻟﻨﻮﺍﺟﺬ‬،‫)) ﻋﻠﻴﻜﻢ ﺑﺴﻨﱵ ﻭﺳﻨﺔ ﺍﳋﻠﻔﺎﺀ ﺍﻟﺮﺍﺷﺪﻳﻦ ﺍﳌﻬﺪﻳﲔ‬


(( ‫ ﻭﻛﻞ ﺑﺪﻋﺔ ﺿﻼﻟﺔ‬،‫ ﻓﺈﻥ ﻛﻞ ﳏﺪﺛﺔ ﺑﺪﻋﺔ‬،‫ﺇﻳﺎﻛﻢ ﻭﳏﺪﺛﺎﺕ ﺍﻷﻣﻮﺭ‬

ความวา : “วาญิบสําหรับพวกเจายึดมั่นในสุนนะฮฺของฉันและ สุนนะฮฺของ


บรรดาเคาะลีฟะฮฺ อัรรอชิดีนที่ไดรับทางนํา พวกเจาจงกัดมันแนน ๆ ดวย
ฟนกราม และพวกเจาจงระมัดระวังสิ่งที่อุปโลกนขึ้นใหม เนื่องจากบรรดาสิ่ง
อุปโลกนนั้นเปนบิดอะฮฺ และบรรดาสิ่งบิดอะฮฺนั้ คือ การหลงทาง”(1)
นอกจากนั้นแลว บรรดาอุละมาอฺมุสลิมยังใหความสําคัญกับหะดีษเปนอยางสูง
ตลอดระยะเวลาของพวกเขา โดยการสนับสนุนใหมีการทองจําหะดีษพรอมกับเตือน
ไมใหโกหกตอทานนบี  และมักงายตอหะดีษของทาน เชน กลาวในสิ่งที่ทานนบี 
ไมไดกลาวไว หรือกลาวพาดพิงถึงสิ่งที่ไมสมควรแกทาน ไมวาที่เกี่ยวของกับคําพูด
การกระทํ า การยอมรั บ และอื่ น ๆ เพราะการโกหกต อ หะดี ษ ไม ใ ช ธ รรมชาติ ข องผู
ยอมรับตัวเองวาเปนผูศรัทธาตออัลลอฮฺ  และทานนบี  แตเปนการกระทําของผู
ไรซึ่งการศรัทธาอยางแทจริงและไรจิตสํานึกที่ฝงลึกในหัวใจที่เปยมดวยวิญญาณแหงสัจ
ธรรม

(1)
เปนสวนหนึ่งของหะดีษบันทึกโดยอะบูดาวูด : 5/13 หะดีษเศาะหีหฺ
บทที่ 1 บทนํา 4
การทุ ม เทความพยายามกั บ หะดี ษ ถื อ ว า เป น เรื่ อ งที่ ดี เ ลิ ศ ในบรรดาวิ ช าการ
อิ ส ลาม อั น เนื่ อ งจากว า หะดี ษ นั้ น เป น แหล ง ที่ ม าในการบั ญ ญั ติ หุ ก ม ต า ง ๆ ของ
กฏหมายอิสลาม อิมามอันนะวะวียกลาววา “สิ่งที่สําคัญบางอยางเกี่ยวกับวิชาการ
คือ การยืนยันในหะดีษของทานนบี  ทุกบท กลาวคือ พิสูจนมะตัน (ตัวบท) หะดีษวา
เปนตัวบทที่เศาะหีหฺหะซัน หรือเฎาะอีฟ” เปนตน เพราะหะดีษทุกบทที่มาถึงเราโดย
ผานสายรายงานนั้นมิใชวาทั้งหมดถูกตอง แตมีทั้งหะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะซัน หะดีษ
เฎาะอีฟ หะดีษเมาฎอฺและเรื่องราวของอิสรออีลิยาต
จากขอเท็จจริงพบวา บรรดาอุละมาอฺมุสลิมไดพยายามวิเคราะหสถานภาพของ
ผูรายงานหะดีษทั้งในดานคุณธรรมและดานความบกพรอง ซึ่งพวกเขาก็ไดอธิบายไว
ถึงบุคคลที่สามารถยอมรับการรายงานและผูที่ไมควรใหการยอมรับ บางทานเปนผูที่
เชื่ อ ถื อ ได แ ละบางท า นไม ใ ช เ ช น นั้ น ด ว ยเหตุ ดั ง กล า ว บรรดาอุ ล ะมาอฺ ไ ด คิ ด ค น
หลักการทางวิชาการและวางกฎเกณฑอยางละเอียดเพื่อเปนเครื่องมือในการจําแนก
แยกแยะประเภทของหะดีษและเพื่อใชในการวิเคราะหชนิดตาง ๆ ของหะดีษ ตลอดจน
สถานะของหะดี ษ แต ล ะชนิ ด ด ว ย รวมทั้ ง เรื่ อ งอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ หะดี ษ อี ก
มากมาย
หลักฐานชิ้นสําคัญที่ทําใหบรรดาอุละมาอฺมุสลิมพิถีพิถันในเรื่องหะดีษ คือ การ
รายงานของอิมามอัชชาฟอียในหนังสือ “อัลริสาละฮฺ” ทานกลาววา “แทจริงอุมัร เบ็ญ
อัลคอฎฎอบไดตัดสินในเรื่องของการตัดนิ้วนั้นสมควรแกการจายอูฐสิบหาตัว เมื่ออุมัร
ไดอานคําบันทึกของอะบูอาลิอัมรฺ เบ็ญ หัซมฺ ที่ไดบันทึกการปฏิบัติของรสูลุลลอฮฺ 
ในเรื่องดังกลาว ความวา : “และทุกๆ นิ้วที่เสียนั้น คือ อูฐสิบตัว” อุมัรกลาววา : “พวก
เจาทั้งหลายอยาไดใหการยอมรับคําบันทึกของอะบูอาลิอัมรฺ เบ็ญ หัซมฺ อัลลอฮฺ 
เทานั้นที่ทรงรูความจริงจนกวาพวกเขาสามารถยืนยันสิ่งนั้นวามาจากรสูลุลลอฮฺ 
จริง”
อิมามอัชชาฟอียกลาวอีกวา “จากหะดีษแสดงใหเห็นสองประการที่สําคัญคือ
การยอมรับหะดีษที่มาจากการรายงานของบุคคลเพียงคนเดียว หรือที่เรียกวา อาหาด
และการยอมรับหะดีษเมื่อมีการพิสูจนความจริงของมันแลว ถึงแมวาเนื้อหาของหะดีษ
นั้นยังไมมีใครคนหนึ่งคนใดใหการยอมรับก็ตาม หากมีการปฏิบัติของนักวิชาการแตมัน
บทที่ 1 บทนํา 5
ขัดแยงกับหะดีษ แนนอนการปฏิบัตินั้นถือเปนโมฆะโดยปริยายดวยบทบัญญัติของหะ
ดีษซึ่งมีอยูในเนื้อหาของมันอยูแลว”
อิบนุ อัลกอยยิมกลาววา “หะดีษที่มาจากรสูลุลลอฮฺ  ดวยวิธีการรายงาน
อยางถูกตองและไมมีหะดีษอื่นมายืนยันวาเปนหะดีษมันสูค (ถูกยกเลิกไปแลว) จําเปน
จะตองใหการยอมรับและปฏิบัติตามหะดีษนั้น โดยไมจําเปนตองคํานึงถึงสิ่งที่ขัดแยง
กับหะดีษวามาจากไหนและเปนของใคร” อิมามอัลบุคอรียและอิมามมุสลิมไดรายงาน
หะดีษบทหนึ่งมาจากมุอาซ เบ็ญ ญะบัลเลาวา ฉันเดินตามหลังทานนบี  ทานกลาว
วา
.‫ ﻭﻣﺎ ﺣﻖ ﺍﻟﻌﺒﺎﺩ ﻋﻠﻰ ﺍﷲ؟‬،‫)) ﻳﺎ ﻣﻌﺎﺫ! ﻫﻞ ﺗﺪﺭﻱ ﻣﺎ ﺣﻖ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻌﺒﺎﺩ‬
‫ ﻓﺈﻥ ﺣﻖ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻌﺒﺎﺩ ﺃﻥ ﻳﻌﺒﺪﻭﻩ ﻭﻻ‬: ‫ ﻗﺎﻝ‬.‫ ﺍﷲ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ ﺃﻋﻠﻢ‬: ‫ﻗﻠﺖ‬
‫ ﻭﺣﻖ ﺍﻟﻌﺒﺎﺩ ﻋﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﺰﻭﺟﻞ ﺃﻥ ﻻ ﻳﻌﺬﺏ ﻣﻦ ﻻ ﻳﺸﺮﻙ‬،‫ﺗﺸﺮﻛﻮﺍ ﺑﻪ ﺷﻴﺌﺎ‬
‫ ﻻ‬: ‫ ﺃﻓﻼ ﺃﺑﺸﺮ ﺑﻪ ﺍﻟﻨﺎﺱ؟ ﻗﺎﻝ‬،‫ ﻳﺎ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﺖ‬ ُ ‫ ﻗﻠ‬: ‫ ﻗﺎﻝ‬،‫ﺑﻪ ﺷﻴﺌﺎﹰ‬
((‫ﺗﺒﺸﺮﻫﻢ ﻓﻴﺘﻜﻞ‬

ความวา : “โอมุอาซ! เจารูไหม อะไรคือสิทธิของอัลลอฮฺตอบาวของ


พระองคและอะไร คือ สิทธิของบาวตออัลลอฮฺ? ฉันตอบวา อัลลอฮฺและร
สูลเทานั้นที่รูดียิ่ง ทานนบี กลาววา “สิทธิของอัลลอฮฺจากบาวคือ การ
ทําอิบาดะหของบาวตอพระองคและไมตั้งภาคีกับสิ่งอื่นใด สวนสิทธิของ
บาวจากพระองคคือ ไมลงโทษผูไมตั้งภาคีตอพระองคแมแตนิดเดียว”
ฉันตอบวา โอรสูลุลลออฮฺ! ฉันจะบอกใหกับมนุษยทั้งหลายเพื่อใหพวกเขา
ชื่นใจไดหรือไม? ทานนบีตอบวา “เจาอยาไดบอก เพราะจะทําใหพวกเขา
ไดใจ”(1)

(1)
บันทึกโดยบุคอรีย : 4/430 และมุสลิม หนา 49
บทที่ 1 บทนํา 6
ถึงอยางไรก็ตาม หะดีษทุกบทนาจะมีการวิเคราะหดวยความกระจางระหวาง
หะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะซัน หะดีษเฎาะอีฟ และหะดีษเมาฎอฺ เนื่องจากหะดีษ คือ
สัจจะอันแทจริงมิใชสิ่งที่งมงาย หมายความถึง หะดีษเศาะหีหฺไมใชหะดีษเมาฎอฺ ซึ่ง
ดวยวิธีเชนนี้เทานั้นบรรดามุสลิมจะสามารถปฏิบัติในเรื่องตาง ๆ ของศาสนาดวยความ
ถูกตองและปราศจากขอครหาตาง ๆ ตอบทบัญญัติของอัลลอฮฺ  และคําสอนของรสู
ลุลลอฮฺ  ซึ่งเปนการปฏิบัติตามแนวทางอันเที่ยงตรง
บทที่ 2 วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ 7

บทที่ 2
วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ

1. นิยาม
วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ คือ วิชาที่วาดวยหลักการและกฏเกณฑตาง ๆ
ที่สามารถทราบถึงสถานภาพของสะนัด (กระบวนการรายงาน) และมะตัน
(ตัวบทหะดีษ) ในแงของการยอมรับและการปฏิเสธหะดีษ
จากนิยามขางตนเปนที่ประจักษวาการใหการยอมรับหะดีษแตละบทนั้น
จําเปนที่จะตองผานการวิเคราะหทั้งกระบวนการรายงานและสภาพของตัวบท
หะดีษอยางละเอียดกอนที่จะใหการยอมรับหะดีษ และนําหะดีษนั้น ๆ มาใชเปน
หลักฐาน

2. เรื่องที่พูดถึง
วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษจะพูดถึงเรื่องราวสองประการ คือ ที่เกี่ยวของ
กับสายรายงานและตัวบทหะดีษในแงของการยอมรับนํามาใชเปนหลักฐาน และ
บางทัศนะมีความเห็นวา เปนวิชาที่พูดถึงรสูลุลลอฮฺ  โดยตรงในแงที่วาทาน
เปนศาสนทูตของอัลลอฮฺ  ซึ่งเปนแบบ อยางในทุก ๆ ดานในการดําเนินชีวิต
ของประชาชาติ

3. วัตถุประสงค
1. เพื่อแยกแยะระหวางหะดีษที่มีการรายงานอยางถูกตองกับหะดีษที่มี
การรายงานดวยสายรายงานที่ออนหรืออุปโลกนตอทานนบีมุฮัมมัด 
บทที่ 2 วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ 8
2. เพื่อสามารถทราบที่มาของบทบัญญัติตางๆที่เกี่ยวกับกฎหมายอิสลาม
เปนตน

4. ผลที่คาดวาจะไดรับ
1. สามารถทราบถึงระดับของหะดีษแตละบท เชน ระดับหะดีษเศาะหีหฺ
หะดีษ หะสัน หะดีษเฎาะอีฟ หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน หรือหะดีษเมาฎอฺ
2. สามารถทราบถึงประเภทตางๆ ของหะดีษนบี เชน หะดีษกุดซีย
หะดีษมัรฟูอฺ หะดีษเมากูฟ และหะดีษมักฏอฺ
3. สามารถทราบถึงสถานะของหะดีษที่สามารถนํามาใชเปนหลักฐานได
หรือไมได ซึ่งจะทําใหการปฏิบัติศาสนกิจเปนไปอยางถูกตอง

5. ศัพทเฉพาะ
สํ า หรั บ วิ ช ามุ ศ เฏาะละหฺ อั ล หะดี ษ จะพบศั พ ท ม ากมายที่ ถู ก นํ า มาใช
บ อ ยครั้ ง ในทางปฏิ บั ติ แ ละเป น ที่ ท ราบกัน อย า งแพร ห ลายในหมูนั ก วิ ช าการ
หะดีษ คําเหลานั้น คือ
1. อัลมุสนัด (‫ )ﺍﳌﺴَﻨﺪ‬ตัวอักษร “‫ ”ن‬อานสระขางบนซึ่งมี 2 ความหมาย
ความหมายที่ 1 หมายถึง หะดีษที่มีการรายงานดวยสะนัดติดตอกัน
ตั้งแตผูรายงานคนแรกจนถึงคนสุดทาย เชน หะดีษมัรฟูอฺ หะดีษเมากูฟและหะ
ดีษมักฏอฺแตอิมามอัลหากิมมีความเห็นที่ตางกันซึ่งทานกลาววา “คํานี้อนุญาต
ใหใชกับหะดีษมัรฟูอฺที่มีการรายงานดวยสะนัดที่ติดตอกันเทานั้น” ทัศนะนี้ไดรบั
การสนับสนุนจากอัลหาฟศ อิบนุ หะญัร อัลอัสเกาะลานียใน หนังสือชัรหฺ
อันนุคบะฮฺ
ความหมายที่ 2 หมายถึง หนังสือที่รวบรวมคําพูด การกระทําและการ
ยอมรับของบรรดาเศาะหาบะฮฺ
บทที่ 2 วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ 9
2. อัลมุสนิด (‫ )ﺍﳌﺴِﻨﺪ‬ตัวอักษร “‫ ”ن‬อานดวยสระขางลาง หมายถึง
ผูรายงาน หะดีษดวยสายรายงานของเขาเอง ไมวาเขาจะมีความรูเกี่ยวกับ
หะดีษหรือไมก็ตาม
3. อัลมุหัดดิษ (‫ )ﺍﶈﺪﺙ‬แปลวา นักหะดีษ หมายถึงผูเชี่ยวชาญในเรื่องของ
วิธีการยืนยันหะดีษ มีความรูเกี่ยวกับสถานภาพของผูรายงานแตละคนทั้ง
ทางดานคุณธรรมและความบกพรองไมใชแคฟงหะดีษเพียงอยางเดียวเทานั้น
อิมามอิบนุ ซัยยิดินนาส กลาววา “นักหะดีษในสมัยของเราจะมีความสามารถ
คือ เปนผูรายงานและอธิบายหะดีษ รวบรวมชีวประวัติของนักรายงานหะดีษ
สามารถพิจารณาการรายงานหะดีษของนักหะดีษรวมสมัย สามารถแยกประเภท
และชนิดของหะดีษ และเปนผูที่รูกันอยางแพรหลายในสังคมมุสลิมวาเปนผูที่มี
ความศรัทธาที่หนักแนน”
4. อัลหาฟศ (‫ )ﺍﳊﺎﻓﻆ‬หมายถึง ผูที่มีความรูในเรื่องรุนตางๆ ของนัก
หะดีษมากกวา
ที่ไมรู อัลกอฎีย มุฮัมมัด อัตตะฮานะวีย มีความเห็นวา “ผูที่ทองหะดีษตั้งแต
100,000 ขึ้นไป หะดีษทั้งสะนัดและมะตัน มีความรูเกี่ยวกับประวัติของนักหะดีษ
และสถานภาพของพวกเขา ทั้งทางดานคุณธรรมและความบกพรอง”
อัลหุจญะฮ (‫ )ﺍﳊﺠﺔ‬หมายถึง ผูที่ทองหะดีษตั้งแต 300,000 หะดีษขึ้นไป
ทั้งตัวบทและสายรายงาน
1. อัลหากิม (‫ )ﺍﳊﺎﻛﻢ‬หมายถึง ผูที่ทองหะดีษตั้งแต 1,000,000 หะดีษ
(ทั้งตัวบท
และสายรายงาน
2. อัลรอวีย (‫ )ﺍﻟﺮﺍﻭﻱ‬หมายถึง ผูร ายงานหะดีษดวยสายรายงานของเขา
เอง
บทที่ 2 วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ 10
3. อัลฏอลิบ (‫ )ﺍﻟﻄﺎﻟﺐ‬หมายถึง ผูที่เรียนหะดีษดวยความประสงคเพื่อ
เขาใจ
ความหมายของหะดีษ ในความจริงแลว คํานี้ไมไดใชเฉพาะบุคคลที่เรียนวิชา
หะดีษเทานั้น แตยังสามารถใชกับผูที่เรียนวิชาอื่น ๆ ดวย เชน ผูเรียนวิชา
เตาหีด วิชาฟกฮฺและวิชาอัคลาก เปนตน

6. ประวัติความเปนมา
เปนที่ยอมรับในหมูนักวิชาการอิสลามวา วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษยัง
ไมมีการบันทึกเปนการเฉพาะในสามศตวรรษแรก (300 ปแหงฮิจเราะฮฺศักราช)
แตวิชานี้ถูกบันทึกไวรวมกับวิชาอื่น ๆ อาทิเชน วิชาฟกฮฺและวิชาอุศูล อัลฟกฮฺ
ผู ที่ ทํา การบั น ทึ ก เป น คนแรกคื อ อิม ามอั ช ชาฟอี ยซึ่ ง บัน ทึก ไวใ นหนั งสื ออั ล ริ
สาละฮฺและหนังสืออัลอุม และอิมามมาลิกในหนังสืออัลมุวัตเฏาะอฺ ครั้นเมื่อวิชา
ความรูของหะดีษไดมีการพัฒนาการขึ้น ความรูไดแตกแขนงมากมายและศัพท
ตาง ๆ เริ่มเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายจนสามารถใหการยอมรับในแตละแขนง
วิชา อุละมาอฺก็ไดแยกวิชาตาง ๆ เหลานั้นออกเปนรายวิชาตางหากและหนึ่งใน
วิชาเหลานั้นคือ วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ
อุละมาอฺทานแรกที่ไดเรียบเรียงหลักสูตรวิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษตาม
ความ หมายของมัน คือ อิมามอัรรอมฮุรมุซีย (360 ฮ.ศ.)ในศตวรรษที่สี่ หลังจาก
นั้นวิชานี้ก็ไดรับความสนใจจากบรรดาอุละมาอฺในแตละสมัยจนถึงปจจุบัน โดยมี
การพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวของและไดมีการอธิบายอยางละเอียด จนในที่สุดวิชา
นี้ ไ ด แ ตกแขนงต า ง ๆ มากมาย เช น วิ ช าตั ค รี จ หะดี ษ วิ ช าอิ ลั ล หะดี ษ
วิชาอัลญัรฮฺวะอัตตะอฺดีล วิชาวาตุลหะดีษ วิชาอัลอัสมาอฺวัลกุนนา และอื่น ๆ
แตละสาขาวิชามีการรวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวของกับวิชานั้นอยางสมบูรณ
‫‪บทที่ 2‬‬ ‫‪วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ‬‬ ‫‪11‬‬
‫‪7. ตําราที่เกี่ยวของ‬‬
‫‪ .1‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﶈﺪﺙ ﺍﻟﻔﺎﺻﻞ ﺑﲔ ﺍﻟﺮﺍﻭﻱ ﻭﺍﻟﻮﺍﻋﻲ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻟﻘﺎﺿﻲ ﺃﺑﻮ ﳏﻤﺪ‬
‫ﻱ )ﺕ‪360‬ﻫـ(‪.‬‬ ‫ﺍﳊﺴﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ ﺧﻼﹼﺩ ﺍﻟﺮﺍﻣﻬﺮﻣﺰ ّ‬
‫‪ .2‬ﻛﺘﺎﺏ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﻋﻠﻮﻡ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺍﳊﺎﻛﻢ‬
‫ﻱ )ﺕ‪405‬ﻫـ(‬ ‫ﺍﻟﻨﻴﺴﺎﺑﻮﺭ ّ‬
‫‪ .3‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﺴﺘﺨﺮﺝ ﻋﻠﻰ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﻋﻠﻮﻡ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺃﺑﻮ ﻧﻌﻴﻢ ﺃﲪﺪ ﺑﻦ‬
‫ﱐ )ﺕ‪430‬ﻫـ(‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺍﻷﺻﺒﻬﺎ ﹼ‬
‫‪ .4‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻜﻔﺎﻳﺔ ﰲ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﺍﻟﺮﻭﺍﻳﺔ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﻋﻠ ّﻲ ﺑﻦ‬
‫ﻱ )ﺕ‪463‬ﻫـ(‬ ‫ﺛﺎﺑﺖ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ ّ‬
‫‪ .5‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳉﺎﻣﻊ ﻷﺧﻼﻕ ﺍﻟﺮﺍﻭﻱ ﻭﺁﺩﺍﺏ ﺍﻟﺴﺎﻣﻊ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﳋﻄﻴﺐ‬
‫ﻱ‪.‬‬
‫ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ ّ‬
‫‪ .6‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻹﳌﺎﻉ ﺇﱃ ﻣﻌﺮﻓﺔ ﺃﺻﻮﻝ ﺍﻟﺮﻭﺍﻳﺔ ﻭﺗﻘﻴﻴﺪ ﺍﻟﺴﻤﺎﻉ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ‬
‫ﱯ )ﺕ‪544‬ﻫـ(‬ ‫ﺍﻟﻘﺎﺿﻲ ﻋﻴﺎﺽ ﺑﻦ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻟﻴﺤﺼ ّ‬
‫‪ .7‬ﻛﺘﺎﺏ ﻣﺎ ﻻ ﻳﺴﻊ ﺍﶈﺪﺙ ﺟﻬﻠﻪ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﺣﻔﺺ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ‬
‫ﺍﺠﻤﻟﺒﺪ ﺍﳌﻴﺎﳒ ّﻲ )ﺕ‪580‬ﻫـ(‬
‫‪ .8‬ﻛﺘﺎﺏ ﻋﻠﻮﻡ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﻋﻤﺮﻭ ﻋﺜﻤﺎﻥ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ‬
‫ﺍﻟﺸﻬﺮﺯﻭﺭﻱّ‪ ،‬ﺍﳌﺸﻬﻮﺭ ﺑﺎﺑﻦ ﺍﻟﺼﻼﺡ )ﺕ‪643‬ﻫـ(‬
‫‪ .9‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﻘﺮﻳﺐ ﻭﺍﻟﺘﻴﺴﲑ ﳌﻌﺮﻓﺔ ﺳﻨﻦ ﺍﻟﻨﺬﻳﺮ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﻔﻘﻴﻪ ﳏﻲ‬
‫ﻱ )‪676‬ﻫـ(‬ ‫ﺍﻟﺪﻳﻦ ﳛﻲ ﺍﺑﻦ ﺷﺮﻑ ﺍﻟﻨﻮﻭ ّ‬
‫‪บทที่ 2‬‬ ‫‪วิชามุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ‬‬ ‫‪12‬‬
‫‪ .10‬ﻛﺘﺎﺏ ﻧﻈﻢ ﺍﻟﺪﺭﺭ ﰲ ﻋﻠﻢ ﺍﻷﺛﺮ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﳊﺎﻓﻆ ﺯﻳﻦ ﺍﻟﺪﻳﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﺣﻴﻢ‬
‫ﺑﻦ ﺍﳊﺴﲔ ﺍﻟﻌﺮﺍﻗ ّﻲ )‪806‬ﻫـ(‬
‫‪ .11‬ﻛﺘﺎﺏ ﳔﺒﺔ ﺍﻟﻔﻜﺮ ﰲ ﻣﺼﻄﻠﺢ ﺃﻫﻞ ﺍﻷﺛﺮ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﳊﺎﻓﻆ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﻠ ّﻲ‬
‫ﱐ )ﺕ‪825‬ﻫـ(‬ ‫ﺑﻦ ﻋﻠ ّﻲ ﺍﺑﻦ ﺣﺠﺮ ﺍﻟﻌﺴﻘﻼ ﹼ‬
‫‪ .12‬ﻛﺘﺎﺏ ﻓﺘﺢ ﺍﳌﻐﻴﺚ ﰲ ﺷﺮﺡ ﺃﻟﻔﻴﺔ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ‬
‫ﻱ )ﺕ‪902‬ﻫـ(‬ ‫ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﻟﺴﺨﺎﻭ ّ‬
‫‪ .13‬ﻛﺘﺎﺏ ﺗﺪﺭﻳﺐ ﺍﻟﺮﺍﻭﻱ ﰲ ﺷﺮﺡ ﺗﻘﺮﻳﺐ ﺍﻟﻨﻮﻭﻱّ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺟﻼﻝ‬
‫ﺍﻟﺪﻳﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﺑﻜﺮ ﺍﻟﺴﻴﻮﻃ ّﻲ )ﺕ‪911‬ﻫـ(‬
‫ﱐ )ﺕ‪1080‬ﻫـ(‬ ‫‪ .14‬ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﻨﻈﻮﻣﺔ ﺍﻟﺒﻴﻘﻮﻧﻴﺔ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ ﺍﻟﺒﻴﻘﻮ ﹼ‬
‫ﻱ‬
‫‪ .15‬ﻛﺘﺎﺏ ﺗﻮﺟﻴﻪ ﺍﻟﻨﻈﺮ ﺇﱃ ﺃﺻﻮﻝ ﺍﻷﺛﺮ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﻃﺎﻫﺮ ﺑﻦ ﺻﺎﱀ ﺍﳉﺰﺍﺋﺮ ّ‬
‫)ﺕ‪1320‬ﻫـ(‪.‬‬
‫‪ .16‬ﻛﺘﺎﺏ ﻗﻮﺍﻋﺪ ﺍﻟﺘﺤﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﲨﺎﻝ ﺍﻟﺪﻳﻦ ﺍﻟﻘﺎﲰ ّﻲ )ﺕ‪1333‬ﻫـ(‪.‬‬
‫‪ .17‬ﻛﺘﺎﺏ ﻗﻮﺍﻋﺪ ﰲ ﻋﻠﻮﻡ ﺍﳊﺪﻳﺚ‪ ،‬ﺗﺄﻟﻴﻒ ﺍﻟﻔﻘﻴﻪ ﻇﻔﺮ ﺃﲪﺪ ﺍﻟﻌﺜﻤﺎﱐ‬
‫ﻱ )ﺕ‪1394‬ﻫـ(‬ ‫ﺍﻟﺘﻬﺎﻧﻮ ّ‬
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 13

บทที่ 3
หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ

1. ความหมายของหะดีษ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ‬
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﺣﺪﻳﺚ‬เปนอาการนามเอกพจน แปลวาใหม พหูพจน คือ
‫ ﺃﺣﺎﺩﻳﺚ‬เหมือนกับคําวา “‫ ”ﻗﻄﻴﻊ‬แปลวาตัดขาด พหูพจน คือ ‫ ﺃﻗﺎﻃﻴﻊ‬ซึ่งมี
ความหมายตรงกันขามกับคําวา “‫ ”ﻗﺪﱘ‬แปลวา ถาวร(1)
คําวา “‫ ”ﺣﺪﻳﺚ‬ตามรากศัพทเดิมนั้นมีความหมายหลายนัยดวยกัน อาทิ
เชน สิ่งใหม หรือของใหม ซึ่งตรงกันขามกับคําวา เกา(2) คําพูดที่กลาวออกมา
มากหรือนอย แมแ ตคํา พู ด ที่เปล งออกมาเฉย ๆ มี ความหมายหรือไม ก็ ต าม
การใหความหมายเชนนี้ นํามาจากคําตรัสของอัลลอฮฺ 

 ‫ ﺇﻥ ﱂ ﻳﺆﻣﻨﻮﺍ ﻬﺑﺬﺍ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺃﺳـﻔﹰﺎ‬

ความวา : “หากพวกเขาไมศรัทธาตอหะดีษนี้แลว แนนอนจะพบกับความ


เสียใจ”(3)

(1)
อัลอะซีม อะบาดีย : 1/164
(2)
อัสสุยูฏีย : 1/6
(3)
ซูเราะฮฺอัลกะฮฺฟฺ อายะฮฺที่6
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 14
แตคํานี้ (‫ )ﺣﺪﻳﺚ‬ถูกใชเปนการเฉพาะเจาะจงกับทานนบีมุฮัมมัด 
เทานั้นจะเปนคําพูด การกระทํา การยอมรับและอื่น ๆ ทานอิบนุมัสอูด 
กลาววา

“‫ ﻭﺧﲑ ﺍﳍﺪﻯ ﻫﺪﻯ ﳏﻤﺪ‬،‫”ﺇﻥ ﺃﺣﺴﻦ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻛﺘـﺎﺏ ﺍﷲ‬

แปลวา : “แทจริงหะดีษ (คําพูด) ที่ดีที่สุดนั้น คือ กิตาบอัลลอฮฺและ


แนวทางที่ประเสริฐที่สุด คือ แนวทางของทานนบีมุฮัมมัด ”(4)
จากนิยามขางตนพอสรุปไดวา คําวา หะดีษสามารถใชอยางกวางๆ กับ
คําพูดของใครก็ไดเชน หะดีษมัรฟูอฺ หะดีษเมากูฟ หะดีษมักฏอฺแมแตหะดีษ
เมาฎอฺ เนื่องจากเปนการใชในลักษณะทั่วไปไมจํากัดความหมายเจาะจงกับใคร
คนหนึ่งคนใดเทานั้น
อิมามอัตฏีบีย กลาววา “หะดีษ ตามหลักภาษานั้นมีความหมาย
ครอบคลุมมากกวาที่จะใชเฉพาะเจาะจงกับคําพูดของทานนบี หรือคําพูดของ
เศาะหาบะฮฺ หรื อคํา พู ดของ ตาบิอี นเท า นั้น แตร วมถึ งการกระทํ าและการ
ยอมรับของพวกเขาเหลานั้นดวย(1)

ตามหลักวิชาการ
การนิยามความหมายของหะดีษตามหลักวิชาการพบวา มีหลายทัศนะที่
ตางกันพอสรุปไดดังนี้

(4)
บันทึกโดยมุสลิม : 1/189
(1)
อัตเฏาะหานะวีย หนา 24
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 15
1. อุละมาอฺหะดีษไดนิยามวา ทุกสิ่งทุกอยางที่พาดพิงถึงทานนบีมุฮัมมัด
 ไมวาจะเปนคําพูด การกระทํา การยอมรับ คุณลักษณะตลอดจนชีวประวัติ
ของทาน ทั้งกอนไดรับการแตงตั้งเปนนบีหรือหลังจากการเปนนบี(2)
ความหมายหะดี ษ เช น นี้ ก็ เ หมื อ นกั บ ความหมายของอั ส สุ น นะฮฺ ต าม
ความเห็นของอุละมาอฺหะดีษสวนใหญ
2. อิมามอันนะวะวีย กลาววา “หะดีษ คือ ทุก ๆ ปรากฏการณที่สามารถ
พาดพิงถึงทานนบีมุฮัมมัด  แมวาทานไดปฏิบัติเพียงครั้งเดียวเทานั้นตลอด
ชีวิต หรือถูกบันทึกไวโดยบุคคลเพียงคนเดียวก็ตาม”(3)
ตามทัศนะของอิมามอันนะวะวีย การที่จะเรียกวาอัลหะดีษนั้นไมเฉพาะที่
เปนคําพูด การกระทําเทานั้น แตจะครอบคลุมทุกสิ่งทุกอยางที่มีความเกี่ยวพัน
กับทานนบี  แมแตชั่วขณะหนึ่งเทานั้นก็ตาม
3. มีทัศนะอื่นกลาววา หะดีษ คือ คําพูดของทานนบีมุฮัมมัด  เทานั้น
ไมวาทานจะกลาวในเหตุการณใดก็ตาม ไมรวมถึงการกระทํา การยอมรับและ
อื่นๆ(4)
ทั ศ นะนี้ ใ ห ค วามหมายต า งกั น กั บ อิ ม ามอั น นะวะวี ย ซึ่ ง เป น การให
ความหมายที่แคบเปนการเฉพาะ คือ คําพูดของทานนบีมุฮัมมัด  เทานั้น
จากหลาย ๆ ทัศนะขางตนพบวา ความหมายของหะดีษตามหลักวิชาการ
นั้นเปนคําที่ใชเฉพาะเจาะจงสําหรับทานนบีมุฮัมมัด  เทานั้นไมสามารถจะใช
กับบุคคลอื่นไดเสมือนวาคําๆนี้ถูกกําหนดขึ้นมาเปนคําเฉพาะ ดังรายงานจาก
หะดีษบทหนึ่ง

(2)
มุฮัมมัด อะญาจญ อัลเคาะฏีบ หนา 21-22
(3)
ซัยยิด สุลัยมาน อันนะดะวีย หนา 18
(4)
มุฮัมมัด อะญาจญ อัลเคาะฏีบ หนา 22
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 16
!‫ ﻳﺎ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﺳﺄﻝ ﺃﺑﻮ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﻓﻘﺎﻝ‬
:  ‫ﻣﻦ ﺃﺳﻌﺪ ﺍﻟﻨﺎﺱ ﺑﺸﻔﺎﻋﺘﻚ ﻳﻮﻡ ﺍﻟﻘﻴﺎﻣﺔ؟ ﻓﻘﺎﻝ ﻟﻪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬
‫ﺖ ﻳﺎ ﺃﺑﺎ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺃﻻ ﻳﺴﺄﻟﲏ ﻋﻦ ﻫﺬﺍ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺃﺣ ٌﺪ ﺃﻭﻝ‬
ُ ‫)) ﻟﻘﺪ ﻇﻨﻨ‬
(( ‫ﺖ ﻣﻦ ﺣﺮﺻﻚ ﻋﻠﻰ ﺍﳊﺪﻳﺚ‬ ُ ‫ ﳌﺎ ﺭﺃﻳ‬،‫ﻣﻨﻚ‬

ความวา : ทานอะบูฮุรอยเราะฮฺ  ไดถามรสูลุลลอฮฺ  วา โอ


รสูลุลลอฮฺ! ผูใดในหมูมนุษยเปนผูที่มีความสุขที่สุดที่ไดรับ
ความเอื้อเฟอเผื่อแผจากทานในวันกิยามะฮฺ? รสูลุลลอฮฺ 
ก็ตอบเขาวา “โออะบูฮุรอยเราะฮฺ ที่จริงแลวฉันรูสึกวาคําถาม
นี้ยังไมมีผูใดกอนเจาที่ถามฉันเกี่ยวกับหะดีษ (คําพูด) นี้
เนื่องจากฉันเห็นวาเจามีความตั้งใจอยางแนวแนตอหะดีษ”(1)

ในทํานองเดียวกันมีรายงานจากอะบูฮารูนกลาววา “เมื่อพวกเราไดพบ
กับอะบู สะอีด อัลคุดรีย ทานมักจะกลาวสม่ําเสมอวา ยินดีตอนรับสูการสั่งเสีย
ของรสูลุลลอฮฺ  เขากลาววา พวกเราไดถามอะบูสะอีด  วา การสั่งเสีย
ของทานนบีนั้นคืออะไร? ทานอะบู สะอีดตอบวา รสูลุลลอฮฺ  ไดกลาววา

‫ ﻓﺈﺫﺍ ﺟﺎﺀﻭﻛﻢ‬،‫)) ﺇﻧﻪ ﺳﻴﺄﰐ ﺑﻌﺪﻱ ﻗﻮﻡ ﻳﺴﺄﻟﻮﻧﻜﻢ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻋﲏ‬


(( ‫ﻓﺄﻟﻄﻔﻮﻫﻢ ﻭﺣﺪﺛﻮﻫﻢ‬

(1)
มุฮัมมัด อะญาจญ อัลเคาะฏีบ หนา 22
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 17
ความวา : “แทจริงจะมีกลุมหนึ่งจากประชาชาติของฉันจะมาพบกับ
พวกเจา (ณ เมืองมะดีนะห) ซึ่งพวกเขาเหลานั้นจะถาม
เกี่ยวกับหะดีษของฉัน ดังนั้น เมื่อพวกเขาไดมาพบพวกเจา
แลวก็จงนอมรับและจงสอนพวกเขาใหถูกตอง”(2)
การนําคําวา “หะดีษ” มาใชนั้นอาจจะแบงออกเปนสองลักษณะดวยกัน
คือ ใชใ นลั กษณะเฉพาะเจาะจงกับทา นนบี มุ ฮั มมั ด  เทา นั้น และบางครั้ ง
อาจจะใชในลักษณะทั่วไปกับบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรจะพาดพิงดวย

2. ความหมายของอัสสุนนะฮ (‫)ﺍﻟﺴﻨﺔ‬
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﺍﻟﺴﻨﺔ‬แปลวา การปฏิบัติที่ถูกกําหนดมาหรือแนวทาง สวน
ความหมายตามหลักภาษาศาสตรมีหลายความหมายดวยกันแตที่จะยกมาในที่นี้
เพียงบางสวนเทานั้น
1. อัสสุนนะฮฺ คือ แนวทางที่ดีหรือแนวทางที่เลว ทานนบี กลาววา

‫)) ﻣﻦ ﺳ ّﻦ ﰲ ﺍﻹﺳﻼﻡ ﺳﻨﺔ ﺣﺴﻨﺔ ﻛﺎﻥ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺯﺭﻫﺎ ﻭﻭﺯﺭ ﻣﻦ‬


،‫ﻋﻤﻞ ﻬﺑﺎ ﻣﻦ ﺑﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﻏﲑ ﺃﻥ ﻳﻨﻘﺺ ﻣﻦ ﺃﺟﻮﺭﻫﻢ ﺷﻲﺀ‬
‫ﻭﻣﻦ ﺳ ّﻦ ﰲ ﺍﻹﺳﻼﻡ ﺳﻨﺔ ﺳﻴﺌﺔ ﻛﺎﻥ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺯﺭﻫﺎ ﻭﻭﺯﺭ ﻣﻦ‬
(( ‫ﻋﻤﻞ ﻬﺑﺎ ﻣﻦ ﺑﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﻏﲑ ﺃﻥ ﻳﻨﻘﺺ ﻣﻦ ﺃﻭﺯﺍﺭﻫﻢ ﺷﻲﺀ‬

(2)
อัลอัสเกาะลานีย : 1/204
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 18
ความวา : “ผูใดก็ตาม(1)ไดคิดแนวทางที่ดีในอิสลามแลว ดังนั้น เขาจะ
ไดรับผลตอบแทนจากการปฏิบัติของคนอื่นหลังจากเขาโดยที่
ผลตอบแทนนั้นไมลดหยอนแมแตนิดเดียว และผูใดก็ตามได
คิดแนวทางที่เลวในอิสลาม เขาจะไดรับผลตอบแทนจากการ
ปฏิบัติของคนอื่น หลังจากเขาเชนเดียวกันโดยที่ผลตอบแทน
นั้ น ไม ล ดหย อ น แม แ ต นิ ด เดี ย วเช น กั น จากการปฏิ บั ติ ใ น
แนวทางนั้น”(2)
2. อัสสุนนะฮฺ คือ หนทาง อัลลอฮฺ  ทรงตรัสไววา

‫ﺖ ﻣﻦ ﻗﺒﻠﻜﻢ ﺳﻨﻦ ﻓﺴﲑﻭﺍ ﰲ ﺍﻷﺭﺽ ﻓﺎﻧﻈﺮﻭﺍ ﻛﻴﻒ‬


ْ ‫ ﻗﺪ ﺧﻠ‬
 ‫ﻛﺎﻥ ﻋﺎﻗﺒﺔ ﺍﳌﻜﺬﺑﲔ‬

ความวา : “แนนอนไดผานพนมาแลวกอนพวกเจา ซึ่งหนทางตาง ๆ


ดังนั้น พวกเจาจงทองเที่ยวในพื้นแผนดิน แลวจงดูวาบั้น
ปลายของบรรดาผูปฏิเสธนั้นเปนอยางไร”(3)

คําวา “ٌ‫ ” ُﺳَﻨﻦ‬ในอายะฮฺขางตนเปนคํานามในรูปพหูพจนของ “‫” ُﺳﱠﻨﺔﹲ‬


หมายถึง หนทางของบรรดาประชาชาติกอนสมัยทานนบีมุฮัมมัด 

(1)
ตามหลักภาษาอาหรับคําวา “‫ ”ﻣَﻦ‬เปนคํานะกิเราะฮฺที่มีลักษณะทั่วไป (อุมูม) ใชไดกับเพศชายและเพศหญิง ซึ่ง
แสดงถึงจํานวนมาก ดังนั้น ความหมายของคํานี้คือ ใครก็ตามจะเปนชายหรือหญิงก็ได
(2)
บันทึกโดยมุสลิม : 1/134
(3)
ซูเราะฮฺอาลิอิมรอน อายะฮฺที่ 137
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 19

ตามหลักวิชาการ
บรรดาอุ ล ะมาอฺ มี ค วามเห็ น แตกต างกัน เกี่ ยวกับ นิ ย ามของอัสสุ น นะฮฺ
ที่มาจากการพิจารณา การเนน และการใหความสําคัญของแตละสาขาวิชา
1. อุละมาอฺหะดีษ
อัสสุนนะฮฺ คือ ทุกสิ่งทุกอยางที่มาจากทานนบีมุฮัมมัด  ไมวาจะเปน
คําพูด การกระทํา การยอมรับ คุณลักษณะและชีวประวัติทั้งกอนที่ทานไดรับ
การแตงตั้งใหเปนนบีหรือหลังจากไดรับการแตงตั้งใหเปนนบี
ความหมายของอัสสุนนะฮฺเชน นี้เหมือนกับความหมายของหะดีษตาม
ทัศนะของอุละมาอฺหะดีษสวนใหญ(1) ทั้งอุละมาอฺมุตะกอดดิมูน เชน อัลบุคอรีย
มุสลิม อะบูดาวูด อัตติรมิซีย อันนะสาอีย และอิบนุมาญะฮฺ และอุละมาอฺมุตะ
อั ค คิ รู น เช น อิ ม ามอิ บ นุ อั ล กอยยิ ม อั ล หาฟ ศ อั ล อั ส เกาะลานี ย เป น ต น
เพราะฉะนั้น บางครั้งอุละมาอฺหะดีษใชคําวา “หะดีษ” และบางครั้งใชคําวา
“อัสสุนนะฮฺ” เชน สุนนะฮฺรสูลุลลอฮฺ หรือหะดีษนบี
อุละมาอฺกลุมนี้ใหความสําคัญกับอัสสุนนะฮฺในดานของการเปนรสูล ซึ่ง
เปนแบบ อยางอันดีงามสําหรับประชาชาติทั้งมวล
2. อุละมาอฺอะกีดะฮฺและอุละมาอฺดะฮฺวะฮฺ
อัสสุนนะฮฺ คือ สิ่งที่สอดคลองกับหลักการอัลกุรอานและอัลหะดีษและ
สอดคลองกับการอิจญมาอฺของชาวสะลัฟในดานอะกีดะห อิบาดาต ซึ่งตรงกัน
ขามกับบิดอะฮฺ(2)

(1)
อุละมาอฺบางทานมีความเห็นวา ระหวางหะดีษกับอัสสุนนะฮฺมีขอแตกตาง คือ หะดีษมักจะใชกับคําพูดของ
ทานนบี  สวนอัสสุนนะฮฺใชกับการกระทําเปนประจําหรือสวนมากเปนการปฏิบัติของทาน ทัศนะนี้เปน
ทัศนะของอับดุลเราะหฺมาน อัลมะฮฺดีย
(2)
อุมัร หะสัน ฟุลลาตะฮฺ : 1/39
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 20
อุ ล ะมาอฺ ก ลุ ม นี้ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ อั ส สุ น นะฮฺ ใ นด า นความสอดคล อ ง
หรือไมขัดกับหลักการศรัทธาและวิธีการปฏิบัติของชาวสะลัฟ ตามทัศนะนี้เรื่อง
ตางๆ ที่เกี่ยวของกับอะกีดะฮฺและอิบาดาตจะมีสองแงเทานั้น คือ สิ่งที่เปนอัสสุน
นะฮฺหรือสิ่งที่เปนบิดอะฮฺ
3. อุลามาอฺฟกฮฺ
อัสสุนนะฮฺ คือ สิ่งที่เปนแนวทางปฏิบัติในเรื่องศาสนาที่ไมใชหุกมวาญิบ
(บังคับใหทํา) และไมใชที่เปนฟรฎ(3)
อุละมาอฺฟกฮฺจะใหนิยามอัสสุนนะฮฺในสิ่งที่เปนหุกมสุนัตเทานั้น
อุละมาอฺกลุมนี้จะใหความสําคัญตออัสสุนนะฮฺในดานหุกมขอบัญญัติที่
เปนสุนัต เมื่อมีการปฏิบัติจะไดรับผลตอบแทนและหากไมปฏิบัติก็ไมเปนบาป
แตประการใด โดยไมมีการแยกระหวางสิ่งที่ทานนบี  ปฏิบัติอยางปกติหรือ
เปนประจํา หรือปฏิบัติบางครั้งบางคราวเทานั้น บางครั้งจะใชอัสสุนนะฮฺตรงขาม
กับสิ่งที่เปนบิดอะฮฺ
4. อุละมาอฺอุศูล อัลฟกฮฺ
อัสสุนนะฮฺ คือ ทุกสิ่งทุกอยางที่มาจากทานนบี  ที่ไมไดระบุในอัลกุ
รอาน ไม ว า จะเป น คํ า พู ด การกระทํ า หรื อ การยอมรั บ ซึ่ ง สามารถอ า งเป น
หลักฐานไดและยังสามารถบัญญัติหุกมอีกดวย(1)
อุละมาอฺกลุ มนี้ ใ หความสํ าคั ญกับอั สสุ น นะฮฺ ในด านการบั ญญัติ หุกม ที่
ไมไดระบุในอัลกุรอาน แตมาจากทานนบี  โดยตรง สวนมากแลวพวกเขาจะ
เนนในสิ่งที่มีความเกี่ยวของกับหุกมตักลีฟยทั้งหาคือ หุกมวาญิบ หุกมหะรอม
หุกมสุนัต หุกมมุบาหฺ และหุกมมักรูฮฺ

(3)
มุฮัมมัด อะญาจญ อัลเคาะฏีบ หนา 21
(1)
อัชเชากานีย หนา 33
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 21
3. ความหมายของเคาะบัร (‫)ﺍﳋﱪ‬
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “ ‫ ” ﺧﱪ‬เปนคําเอกพจนซึ่งแปลวา ขาว(2) คําพหูพจน คือ อัคบาร
หมายถึง ขาวหลายเรื่อง หรือเรื่องราวตาง ๆ ที่ไดรายงานสืบทอดกันมา

ตามหลักวิชาการ
เคาะบัรตามหลักวิชาการ อุละมาอฺมีความเห็นที่แตกตางกันดังนี้
1. อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นวา ความหมายของเคาะบัรเหมือนกับ
ความหมายของหะดีษหรืออัสสุนะฮฺ(3) ตามทัศนะของอุลามาอฺกลุมนี้คําวา
เคาะบัรอาจจะใชกับการรายงานโดยทั่วไป สวนหะดีษและอัสสุนนะฮฺใชกับ
คําพูด การกระทํา และการยอมรับ
2. อุละมาอฺบางทานมีความเห็นวา เคาะบัร คือ สิ่งที่พาดพิงถึงบรรดา
เศาะหาบะฮฺหรือตาบิอีน(1) ตามทัศนะของอุละมาอฺกลุมนี้ การใชเคาะบัรนั้น
ใชไดเฉพาะกับคํากลาว และการกระทําของเศาะหาบะฮฺหรือตาบิอีนเทานั้นไม
รวมถึงสิ่งที่ถูกพาดพิงไปยังทานนบีมุฮัมมัด  แตประการใด
3. มีบางทัศนะกลาววา หะดีษ คือ สิ่งที่พาดพิงถึงทานนบี สวนเคาะบัร คือ
สิ่งที่มาจากนบีมุฮัมมัด  และคนอื่น ๆ(2) ทัศนะนี้มีความเห็นวา อัลหะดีษ
และอัลเคาะบัรใชไดทั้งกับทานนบี เศาะหาบะฮฺ และตาบิอีนโดยไมไดแยกออก
จากกัน

(2)
อัลอะซีม อะบาดีย : 2/17
(3)
ดู อัสสุยูฏีย : 1/9
(1)
ดู อัสสุยูฏีย : 1/9
(2)
ดู หนังสือเดิม
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 22
4. ความหมายของอะษัร (‫)ﺍﻷﺛﺮ‬
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “ ‫ ” ﺃﺛﺮ‬เปนคําเอกพจนซึ่งแปลวา รองรอย หรือแผล คําพหูพจน
คือ อัลอาษาร(3) แปลวา รองรอยมากมาย หรือหลายบาดแผล และสามารถใช
กับการติดตาม เชน คนหนึ่งเดินตามอีกคนหนึ่ง หรือรุนหนึ่งเดินตามคนรุนกอน
หนาพวกเขา เปนตน
ตามหลักวิชาการ
อะษัรตามหลักวิชาการมีหลายความหมายดวยกันดังนี้
1. อุละมาอฺหะดีษสวนใหญมีความเห็นวา อะษัรมีความหมายเหมือนกับ
หะดีษ อัสสุนนะฮฺ และเคาะบัร
2. อุละมาอฺฟกฮฺ(4) กลาววา อะษัร คือ หะดีษเมากูฟ(5) ของเศาะหาบะฮฺ
สวนเคาะบัร คือ หะดีษมัรฟูอ(6)ฺ ของทานนบีมุฮัมมัด 
อิมามอัสสุยูฏีย กลาววา “บรรดาอุละมาอฺหะดีษเรียกสิ่งที่เปนมัรฟูอฺและ
เมากูฟวา อัลอะษัร สวนอุละมาอฺฟกฮฺเมืองคุรอซานสวนมากเรียกสิ่งที่เปนมัรฟูอฺ
วา อะษัร และสิ่งที่เปนเมากูฟวา เคาะบัร(1)

5. ความหมายในทางปฏิบัติ
ในทางปฏิบัติหรือการใชจริงของบรรดาอุละมาอฺจะเห็นอยางชัดเจนถึง
ความแตก ตางของการใชศัพททั้งสี่ ซึ่งพอสรุปไดดังตอนี้

(3)
อัลอะซีม อะบาดีย : 1/362
(4)
อัสสุยูฏีย : 1/6
(5)
หะดีษเมากูฟ คือ หะดีษที่พาดพิงถึงเศาะหาบะฮฺ ดูรายละเอียดหนา 49-53
(6)
หะดีษมัรฟูอฺ คือ หะดีษที่พาดพิงถึงทานนบีมุฮัมมัด  ดูรายละเอียดหนา 45-49
(1)
อัสสุยูฏีย : 1/6
บทที่ 3 หะดีษและคําที่มีความหมายเหมือนหะดีษ 23
1. อุละมาอฺหะดีษสวนใหญมีความเห็นวา หะดีษและอัสสุนนะฮฺใชกับ
ทานนบีมุฮัมมัด  และคุละฟาอฺอัรรอชิดีนเทานั้น สวนเคาะบัรใชกับบรรดา
เศาะหาบะฮฺ และอะษัรใชกับบรรดาตาบิอีนและตาบิอฺตาบิอีน
2. อุละมาอฺฟกฮฺและอุละมาอฺอุศูล อัลฟกฮฺใชคําวา หะดีษกับคําพูด การ
กระทํา และการยอมรับของทานนบีมุฮัมมัด  สวนอัสสุนนะฮใชกับการปฏิบัติ
ของทานนบี  เคาะบัรใชกับบรรดาเศาะหาบะฮฺ และอะษัรใชกับบรรดาตา
บิอีนและตาบิอฺตาบิอีน
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 24

บทที่ 4
หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มา
ของบทบัญญัติอิสลาม

1. ความเปนจริงของหะดีษ
หะดีษเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลามอันดับสองรองจากอัลกุรอาน
เนื่อง จากหะดีษถือเปนสวนหนึ่งของวะหฺยูเชนกัน ดังที่ปรากฏในอัลกุรอาน

 ‫ ﺇﻥ ﻫﻮ ﺇﻻ ﻭﺣﻲ ﻳﻮﺣﻰ‬

ความวา : “มันมิใชสิ่งอื่นใด เวนแตมันก็เปนวะฮฺยูที่


พระองคทรงประทานลงมา”(1)
ทั้งสองประการนี้ – อัลกุรอานและหะดีษ – เปนแหลงที่มาของบทบัญญัติ
อิสลามที่เปนพื้นฐาน แมนวาทั้งสองประการจะมีความแตกตางทางดานของตัว
บทก็ตาม กลาวคืออัลกุรอานถูกประทานลงมาประกอบดวยมุอฺญิซาตทั้งที่เปน
ตัวบทและความหมาย สวนหะดีษนั้นถูกประทานลงมายังทานนบีมุฮัมมัด  ใน
ดานความหมายโดยผานมลาอิกะฮฺญิบรีล และทานนบีก็กลาวดวยสํานวนของ
ทานเองโดยยึดตามความหมายนั้นตามสภาพเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตอหนา
ท า น หรื อ เป น การตอบคํ า ถามของบรรดาเศาะหาบะฮฺ หรื อ ตอบข อ ซั ก ถาม
เกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขึ้นที่ทานไมไดเห็นดวยตนเอง อิมามอัชชาฟอียกลาววา

(1)
ซูเราะฮฺอันนัจญมฺ อายะฮฺที่ 4
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 25
“ทุก ๆ บทบัญญัติที่ทานนบีมุฮัมมัด  ไดตัดสินไปนั้นเปนผลมาจากการเขาใจ
ในอัลกุรอานอยางถูกตองที่สุด” ทานยังกลาวเพิ่มเติมอีกวา “คําพูดของอุละมาอฺ
ทั้งหมดเปนการอธิบายอัสสุนนะฮฺและอัสสุนนะฮฺเปนการอธิบายอัลกุรอาน”(2)
จากคํากลาวนี้สอดคลองกับอัลกุรอานที่มีการหามปฏิบัติในสิ่งที่ตรงกัน
ข า มกั บ การปฏิ บั ติ ข องท า นนบี  และในสิ่ ง ที่ ไ ม ใ ช เ ป น หุ ก ม เฉพาะเจาะจง
สําหรับทานเทานั้น อิมาม อิบนุกะษีร(3) ไดอธิบายอายะฮฺ  ‫ﻓﻠﻴﺤﺬﺭ ﺍﻟﺬﻳﻦ‬
‫ﳜﺎﻟﻒ ﻋﻦ ﺃﻣﺮﻩ‬ กลาววา “การหามปฏิบัติในลักษณะที่ขัดแยงกับคําสั่งของ
ทานนบีมุฮัมมัด  คือ ขัดแยงกับแนวทาง วิธีการ บทบัญญัติ แนวคิดตลอดจน
หลักสูตรการสั่งสอนของทาน ดังนั้น สมควรเปนอยางยิ่งที่จะตองเปรียบเทียบ
เพื่อใหสอดคลองกับคําพูดและการปฏิบัติของทาน สิ่งที่สอดคลองกับมันก็ตอง
ยอมรับมันเสียโดยปราศจากเงื่อนไขใด ๆ ทั้งสิ้น และสิ่งที่ขัดแยงจะตองปฏิเสธ
ไปอยางสิ้นเชิง ดังที่ปรากฏในหะดีษเศาะหีหฺบทหนึ่งบันทึกโดยอัลบุคอรียและ
มุสลิม จากทานนบีมุฮัมมัด  กลาววา (‫ﻼ ﻟﻴﺲ ﻋﻠﻴﻪ ﺃﻣﺮﻧﺎ ﻓﻬﻮ ﺭﺩ‬ ‫) ﻣﻦ ﻋﻤﻞ ﻋﻤ ﹰ‬
ความวา “ผูใดไดปฏิบัติในสิ่งที่ไมใชเปนเรื่องที่ศาสนาบัญญัติไว สิ่งนั้นจะตอง
ปฏิเสธไป”(1)
ดวยเหตุนี้ อัสสุนนะฮฺจึงอยูในลําดับที่สองรองจากอัลกุรอาน อยางไรก็
ตาม สําหรับอิมามอัชชาฟอียแลวหะดีษตองตามหลังอัลกุรอานเสมอ แมวาทาน
จะจัดลําดับของทั้งสองอยูในระดับเดียวกันก็ตาม

2. ฐานะของหะดีษ

(2)
อัลกอสิมีย หนา 59
(3)
อิบนุกะษีร : 3/131
(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 13/56 และมุสลิม : 2/1243
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 26
ฐานะในที่นี้ คือ บทบาทและหนาที่ หมายความถึงหนาที่ของหะดีษนบีใน
ฐานะที่เปนคําสอนของศาสนาอิสลาม
หะดี ษ มี ห น า ที่ อ ธิ บ ายบทบั ญ ญั ติ ต า งๆ ให ส มบู ร ณ ยิ่ ง ขึ้ น ชี้ แ จง
วัตถุประสงคของแตละอายะฮฺ การขยายความอัลกุรอานที่มีลักษณะเปนอายะฮฺ
มุจมัล (ที่มีความหมายสั้นๆ) อายะฮฺที่มีลักษณะเปนอายะฮฺมุฏลั้ก (อิสระ) และ
อายะฮฺที่มีลักษณะเปนอายะฮฺอุมูม (ทั่วไป)
การอธิ บ ายบทบั ญ ญั ติ ใ ห ส มบู ร ณ เช น การอธิ บ ายอายะฮฺ ที่ เ กี่ ย วกั บ
อิบาดาต อายะฮฺ มุอามะลาต อายะฮฺนิกาหฺ อายะฮฺหะลาลและหะรอม เปนตน
การชี้ แ จงวั ต ถุ ป ระสงค ห รื อ เจตนารมณ ข องอายะฮฺ บ างอายะฮฺ เช น
อายะฮฺที่พูดถึงการสั่งเสียใหแกคนที่ไมใชญาติพี่นองในการยกทรัพยสินใหพวก
เขา และอื่นๆ
การระบุถึงหุกมตางๆ ที่ยังไมไดกลาวไวอยางชัดเจนในอัลกุรอาน หุกม
นั้นไมสามารถเปลี่ยนแปลงเปนอยางอื่น เวนแตจะมีหะดีษอื่นมาบงชี้วาเปนหุก
มอื่นเทานั้น เนื่องจากเปนการอธิบายของทานนบีนั่นเอง อิมามอัลบัยฮากียได
บั น ทึ ก หะดี ษ บทหนึ่ ง จากการรายงานของอุ มั ร เบ็ ญ อั ล ค อ ฏฏ อ บ กล า วว า
“โอมนุษ ยทั้งหลาย แทจริ งความคิดที่ ถูกตองนั้นมาจากรสูลุลลอฮฺ  เนื่อง
จากอัลลอฮฺไดชี้แจงใหแกทาน แตความคิดของเราบางครั้งเปนการคาดคะเน
และเปนความคิดที่ออนแอดวย”
การบรรยายวิธีการปฏิบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องศาสนาที่ยังไมไดระบุ
ไวใน อัลกุรอาน หรือเปนการกลาวถึงเรื่องนั้นไวอยางกวาง ๆ ไมครอบคลุม
ประการทั้ ง ปวงที่ ไ ด ก ล า วข า งต น ไม มี ข อ สงสั ย ใด ๆ สํ า หรั บ บรรดา
อุละมาอฺทั้งสมัยกอนและรุนหลัง หรือแมแตอุละมาอฺสมัยปจจุบัน ตางก็ยอมรับ
วา หะดีษนั้นไดทําหนาที่อยางสมบูรณในการอธิบายอัลกุรอาน อยางไรก็ตาม
ในอัลกุรอานจะพบแตการกลาวถึงหลักใหญหรือกลาวถึงอยางสังเขปเทานั้น
โดยไมมีการอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติแตประการใด
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 27
3. การยึดมั่นในหะดีษ
ในอัลกุรอานไดกลาวถึงอยางชัดเจนเกี่ยวกับการยึดมั่นในหะดีษ หรือ
อัสสุนนะฮฺในลักษณะตาง ๆ เชน การเคารพภักดีตอรสูล การปฏิบัติตาม การ
ยอมรับในสิ่งที่ทานนบี  ไดดําเนินการมาในชวงที่ทานนบียังมีชีวิตอยูหรือ
หลังจากที่ทานเสียชีวิตไปแลว หลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของมีดังนี้
หลักฐานจากอัลกุรอาน ขอยกตัวอยางเพียงบางอายะฮฺเทานั้น
1. อัลลอฮฺ  ทรงตรัสไววา

 ‫ ﻭﻣﺎ ﺁﺗﺎﻛﻢ ﺍﻟﺮﺳﻮﻝ ﻓﺨﺬﻭﻩ ﻭﻣﺎ ﻬﻧﺎﻛﻢ ﻋﻨﻪ ﻓﺎﻧﺘﻬﻮﺍ‬

ความวา : “และสิ่งที่ทานรสูลไดนํามาแกพวกเจาก็จงรับมันไว
และสิ่งที่ทาน (รสูล) หามก็จงหลีกเลี่ยงมันเสีย”(1)
การน อ มรั บ ในสิ่ ง ที่ ท า นรสู ล นํ า มาถื อ เป น การแสดงถึ ง การนํ า หะดี ษ
สุนนะฮฺใชเปนหลักฐานและการยึดมั่นในหะดีษอีกดวย
2. อัลลอฮฺ  ทรงตรัสไววา

‫ ﻳﺎ ﺃﻳﻬﺎ ﺍﻟﺬﻳﻦ ﺁﻣﻨـﻮﺍ ﺃﻃﻴﻌﻮﺍ ﺍﷲ ﻭﺃﻃﻴﻌﻮﺍ ﺍﻟﺮﺳـﻮﻝ ﻭﺃﻭﱃ‬


‫ﺍ ﻷ ﻣﺮ ﻣﻨﻜﻢ ﻓﺈ ﻥ ﺗﻨﺎ ﺯ ﻋﺘﻢ ﰲ ﺷـﻲ ﺀ ﻓﺮ ﺩ ﻭ ﻩ ﺇ ﱃ ﺍﷲ‬
 ‫ﻭﺍﻟﺮﺳـﻮﻝ ﺇﻥ ﻛﻨﺘﻢ ﺗﺆﻣﻨﻮﻥ ﺑﺎﷲ ﻭﺍﻟﻴﻮﻡ ﺍﻵﺧﺮ‬

ความวา : “โอศรัทธาชนทั้งหลาย พวกเจาจงเคารพภักดีตออัลลอฮฺ


และจงเคารพภักดีตอ รสูล และผูนําในหมูพวกเจา
ฉะนั้น หากพวกเจามีการขัดแยงกันในสิ่งใดก็จงยอนสิ่ง
(1)
ซูเราะฮฺอัลหัชรฺ อายะฮฺที่ 7
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 28
นั้ น ไปยั ง อั ล ลอฮฺ แ ละรสู ล เถิ ด หากพวกเจ า ทั้ ง หลาย
ศรัทธาตออัลลอฮฺและวันกิยามะฮฺ”(1)
การยอนกลับไปยังอัลลอฮฺและรสูลนั้นหมายความวา การปฏิบัติตาม
แนวทางที่เที่ยงตรงและเปนการแสดงถึงการมีอีมานอยางแทจริง
3. อัลลอฮฺ  ทรงตรัสไววา

‫ ﻗﻞ ﺇﻥ ﻛﻨﺘﻢ ﲢﺒﻮﻥ ﺍﷲ ﻓﺎﺗﺒﻌﻮﱐ ﳛﺒﺒﻜﻢ ﺍﷲ ﻭﻳﻐﻔﺮ ﻟﻜﻢ‬


 ‫ﺫﻧﻮﺑﻜﻢ‬

ความวา : “จงกลาวเถิด (โอมุฮัมมัด)! หากพวกเจารักอัลลอฮฺก็จง


ปฏิบัติตามฉัน แนนอนพวกเจาจะเปนที่รักใครของอัลลอ
ฮฺ และพระองคจะอภัยแกพวกเจาในบาปทุกประการ”(2)
การรักอัลลอฮฺ  ที่แทจริง คือ การปฏิบัติตามทานนบีมุฮัมมัด  ใน
ทุก ๆ เรื่องที่ทานไดปฏิบัติ เวนแตบางสิ่งบางอยางเทานั้นที่ไมจําเปนตอง
ปฏิบัติตาม
หลักฐานจากหะดีษ
ทานนบีมุฮัมมัด  กลาววา

‫)) ﻋﻠﻴﻜﻢ ﺑﺴﻨﱵ ﻭﺳﻨﺔ ﺍﳋﻠﻔﺎﺀ ﺍﻟﺮﺍﺷﺪﻳﻦ ﺍﳌﻬﺪﻳﲔ ﻋﻀﻮﺍ ﻋﻠﻴﻬﺎ‬


(( ‫ﺑﺎﻟﻨﻮﺍﺟﺬ ﻭﺇﻳﺎﻛﻢ ﻭﳏﺪﺛﺎﺕ ﺍﻷﻣﻮﺭ ﻓﺈﻥ ﻛﻞ ﺑﺪﻋﺔ ﺿﻼﻟﺔ‬

(1)
ซูเราะฮฺอันนิสาอฺอายะฮฺที่ 59
(2)
ซูเราะฮฺอาลิอิมรอน อายะฮฺที่ 31
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 29
ความวา : “จําเปนอยางยิ่งสําหรับพวกเจายึดในสุนนะฮฺของฉันและ
สุนนะฮฺบรรดาเคาะลีฟะฮฺอัรรอชิดีนที่ไดรับการชี้นําทาง
พวกเจาจงกัดมันดวยฟนกรามแนนๆ และจงระมัดระวัง
สิ่งใหมๆ (อุปโลกนขึ้นมา) เนื่องจากแทจริงการอุตริ
กรรมทุกประเภทนั้นคือ การหลงทาง”(3)

คําวา “‫ ”ﻋﻠﻴﻜﻢ‬ในภาษาอาหรับจะมีหุกมเปนวาญิบ ฉะนั้น การยึดมั่นใน


หะดีษเปนหุกมวาญิบสําหรับมุสลิมทุกคนที่บรรลุศาสนภาวะ
4. ทานนบีมุฮัมมัด  กลาววา

‫ﺖ ﻓﻴﻜﻢ ﺃﻣﺮﻳﻦ ﻟﻦ ﺗﻀﻠﻮﺍ ﺑﻌﺪﳘﺎ ﺇﻥ ﲤﺴﻜﺘﻢ ﻬﺑﻤﺎ؛ ﻛﺘﺎﺏ‬ُ ‫)) ﺗﺮﻛ‬


(( ‫ﺍﷲ ﻭﺳﻨﺔ ﺭﺳﻮﻟﻪ‬

ความวา : “ฉันไดคงไว (มอบ) ในหมูพวกเจาสองประการ ซึ่งพวกเจาจะ


ไมหลงทาง (อยางแนนอน) หากพวกเจาไดยึดมั่นกับสอง
ประการนี้: กิตาบของอัลลอฮฺและสุนนะฮฺของรสูล”(1)
หะดี ษ บทนี้ แ สดงถึ ง การให ยึ ด มั่ น ในหะดี ษ ด ว ยวิ ธี ก ารออกคํ า สั่ ง โดย
ทางออม กลาวคือ ทานนบี  ไดกลาวดวยประโยคบอกเลาแตมีเจตนารมณ
เปนคําสั่งใหปฏิบัติตาม ซึ่งเปนการรับรองตอการปฏิบัติตามหะดีษวาจะไมหลง
ทางอยางแนนอน

(3)
หะดีษเศาะหีหฺ บันทึกโดยอะบูดาวูด : 5/34, อัตตัรมิซีย : 5/39, อิบนุมาญะฮฺ : 2/254 และอะหฺมัด : 2/245
(1)
หะดีษหะซัน บันทึกโดยมาลิก : 1/123 และอัลหากิม : 1/345 สํานวนหะดีษเปนของอัลหากิม
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 30
3. ทานนบีมุฮัมมัด  กลาววา

،‫ ﻓﺈﳕﺎ ﺃﻫﻠﻚ ﻣﻦ ﻛﺎﻥ ﻗﺒﻠﻜﻢ ﺳﺆﺍﳍﻢ‬،‫)) ﺩﻋﻮﱐ ﻣﺎ ﺗﺮﻛﺘُﻜﻢ‬


‫ ﻓﺈﺫﺍ ﻬﻧﻴﺘُﻜﻢ ﻋﻦ ﺷﻲ ﺀ ﻓﺎﺟﺘﻨﺒﻮﻩ‬،‫ﻭﺍﺧﺘﻼﻓﻬﻢ ﻋﻠﻰ ﺃﻧﺒﻴﺎﺋﻬﻢ‬
(( ‫ﻭﺇﺫﺍ ﺃﻣﺮﺗﻜﻢ ﺑﺸﻲﺀ ﻓﺄﺗﻮﺍ ﻣﻨﻪ ﻣﺎ ﺍﺳﺘﻄﻌﺘﻢ‬

ความวา : “พวกเจาจงปลอยไวในสิ่งที่ฉันปลอย เพราะแทจริงความ


พินาศของชนรุนกอนพวกเจานั้นเนื่องจากมีการถามมาก มี
การขัดแยงกับบรรดานบีของพวกเขาเอง ดังนั้นเมื่อฉัน
หามพวกเจาจากการกระทําสิ่งใดก็จงหลีกหางมัน และ
เมื่อฉันสั่งพวกเจาใหกระทําสิ่งใดแลวก็จงปฏิบัติเถิดตาม
ความสามารถของพวกเจา”(2)
การปฏิบัติตามคําสั่งของทานนบีในทุกเรื่อง แสดงใหเห็นวาเปนการกลับ
สูการปฏิบัติตามหะดีษ ในทํานองเดียวกันการหลีกหางจากสิ่งที่ทานนบีหาม
ปฏิบัติก็ถือเปนการแสดงใหเห็นถึงการกลับสูหะดีษเชนเดียวกัน

คํายืนยันของอุละมาอฺ
1. อิมามอัชชาฟอียมีความเห็นวา ในเมื่อทานนบีสนับสนุนใหฟงหะดีษของ
ทาน และยังสนับสนุนใหคนที่มีความรูเกี่ยวกับหะดีษทองจําและรายงานหะดีษ
ให ค นอื่ น ฟ ง ด ว ย อั น นี้ ถื อ เป น เรื่ อ งจํ า เป น อย า งยิ่ ง ยวดที่ จ ะชี้ ใ ห เ ห็ น ว า การ
สนับสนุนนั้นเปนหลักฐานประการหนึ่งที่เปนหนาที่ของผูรู เนื่องจากการปฏิบัติ
เชนนั้นจะไดรับผลบุญและการหลีกเลี่ยงมันเปนที่ตองหามในขอบเขตที่จะตอง

(2)
มุตตะฟก อะลัยฮฺ บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 13/20 และมุสลิม : 15/107
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 31
ปฏิบัติเปรียบเสมือนทรัพยสินเมื่อมีการรับยอมมีการแจกจายใหผูที่มีสิทธิ์ไดรับ
และตักเตือนซึ่งกันและกันทั้งเรื่องศาสนาและเรื่องดุนยาทุกประการ(1)
ดั ง นั้ น การชี้ ท างของสุ น นะฮฺ ห รื อ หะดี ษ ในเรื่ อ งต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ
บทบัญญัติอิสลามนั้นเปนการตัดสินที่เด็ดขาดหากประโยคเหลานั้นสามารถ
พาดพิงถึงทานนบี  อยางถูกตอง อิมามอัชชาฟอียไดกลาวย้ําวา “แทจริง
บรรดาอุละมาอฺตั้งแตสมัยเศาะหาบะฮฺและตาบิอีน พวกเขาไขวควาหะดีษในทุก
ๆ เรื่ อ ง หากพวกเขาไม พ บหะดี ษ พวกเขาจะนํ า สิ่ ง อื่ น ๆ มาใช เ ป น หลั ก ฐาน
หลังจากนั้นหากพวกเขาพบหะดีษที่เกี่ยวของแลวพวกเขาจะกลับตัวและปฏิบัติ
ตามหะดีษที่เขารูดวยความมั่นใจ”(2)
จากขอเท็จจริงที่กลาวมาขางตนสามารถยืนยันวา การกลับสูหะดีษโดย
วิธีการใดก็ตามเปนเรื่องที่จําเปนอยางยิ่งทั้งทางดานอะกีดะฮฺ ดานอิบาดะฮฺ
ดานมุอามะลาต ดาน มุนากะฮาต และดานอื่นๆ ประการหนึ่งที่สําคัญ คือ
บรรดาอุละมาอฺในทุกยุคทุกสมัยตางก็มีความเห็นพองกันวา การกลับสูหะดีษ
เปนการปฏิบัติที่ถูกตองที่สุด ไมสามารถปฏิเสธได ไมเฉพาะสําหรับผูที่มีความรู
เทานั้น แมแตคนที่อานไมออกเขียนไมไดก็จําเปนเหมือนกัน เพราะเปนการ
แสดงถึงการมีความรักตอทานนบี 

3. การรายงานหะดีษ
1. หุกมของการรายงานหะดีษ
การรายงานหะดีษของทานนบี  ใหแกผูอื่นเปนหนาที่อยางหนึ่งสําหรับ
มุสลิมและมุสลิมะฮฺโดยเฉพาะผูที่มีความรูเกี่ยวกับหะดีษจะมีความรูมากหรือ
นอยก็ตาม แตทวาผูที่มีความรูมากหรือผูเชี่ยวชาญในสาขาหะดีษจะมีหนาที่หนัก

(1)
อัสสุยูฏีย หนา 99
(2)
อัสสุยูฏีย หนา 99
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 32
กวาคนอื่น เพราะเขาเขาใจความหมายของหะดีษ อับดุลเลาะ เบ็ญ อัมรฺ เบ็ญ
เอาศฺ  ไดรายงานจากรสูลุลลอฮฺ  ทานกลาววา

،‫ ﻭﺣﺪﺛﻮﺍ ﻋﻦ ﺑﲏ ﺇﺳﺮﺍﺋﻴﻞ ﻭﻻ ﺣﺮﺝ‬،‫)) ﺑﻠﻐﻮﺍ ﻋﲏ ﻭﻟﻮ ﺁﻳﺔ‬


(( ‫ﻭﻣﻦ ﻛﺬﺏ ﻋﻠ ّﻲ ﻣﺘﻌﻤﺪﹰﺍ ﻓﻠﻴﺘﺒﻮﺃ ﻣﻘﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬

ความวา : “จงเผยแผจากฉันถึงแมวาหนึ่งอายะฮฺก็ตาม และจงรายงาน


จากบะนี อิสรออีลเถิด และไมใชเรื่องหนักหนาสาหัสอะไร และ
ผู ใ ดโกหกต อ ฉั น โดยเจตนาก็ จ งเตรี ย มที่ นั่ ง ของเขาไว ใ นไฟ
นรก”(1)
จากหะดีษขางตนชี้ใหเห็นวา การรายงานหะดีษของทานนบี  ใหแก
ผูอื่นนั้ นเป นหุก มวาญิ บสําหรับทุกคนโดยเฉพาะอย างยิ่งสําหรับผูที่มีความรู
เกี่ยวกับหะดีษตามขีดความ รูความสามารถของแตละคนดังหะดีษบันทึกโดย
อัลบุคอรียและมุสลิม
มีรายงานอีกกระแสหนึ่ง จากุบัยรฺ เบ็ญ มุฏอิม ไดรายงานจากทาน
รสูลุลลอฮฺ  กลาวถึงความประเสริฐของผูที่รายงานและผูฟงหะดีษของทาน

‫ ﰒ ﺃ ﺩّﺍﻫﺎ ﺇﱃ ﻣﻦ ﱂ‬،‫) ) ﻧﻀّﺮ ﺍﷲ ﻋﺒﺪﹰﺍ ﲰﻊ ﻣﻘﺎﻟﱵ ﻓﻮﻋﺎﻫﺎ‬


‫ﺏ ﺣﺎﻣﻞ ﻓﻘﻪ ﺇﱃ‬ّ ‫ ﻭﺭ‬،‫ﺏ ﺣﺎﻣﻞ ﻓﻘﻪ ﻻ ﻓﻘﻪ ﻟﻪ‬ ّ ‫ ﻓﺮ‬،‫ﻳﺴﻤﻌﻬﺎ‬
(( .. ‫ﻣﻦ ﻫﻮ ﺃﻓﻘﻪ ﻣﻨﻪ‬

(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 2/374, อัตติรมิซีย : 5/40 อะบูอีซากลาววา หะดีษบทนี้เปนหะสันเศาะหีหฺและ อะหฺมัด :
3/159, 203, 314
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 33
ความวา : “อัลลอฮฺทรงใหเกียรติแกบาวที่ยอมฟงคําพูด (หะดีษ)
ของฉันและเขาไดทองจํามัน หลังจากนั้นเขาไดเผยแพรแก
คนอื่นที่ยังไมไดฟง ดังนั้น บอยครั้งผูที่เผยแพรไมเขาใจ
มั น และบ อ ยครั้ ง ผู ถู ก ถ า ยทอดเข า ใจมากกว า ผู
เผยแพร”(2)
จากหะดีษขางตนพอสรุปไดวา หนาที่ของมุสลิมที่มีตอหะดีษของทานนบี
 นั้นก็คือ ฟงหะดีษ ทองจําหะดีษ และรายงานหะดีษใหแกผูอื่นที่ยังไมไดฟง
หรือยังไมมีความรูเกี่ยวกับหะดีษ ที่สําคัญยิ่ง คือ ผูที่ทําหนาที่รายงานหะดีษ
ตองเปนคนที่มีความรูเรื่องหะดีษซึ่งอาจจะมีลักษณะที่หลากหลายแตกตางกัน
เชน บางคนมีทั้งความรูและเขาใจเนื้อหาของแตละหะดีษ บางคนมีความรู แตไม
เข าใจความหมายของหะดีษ บางคนมีความรูมากและบางคนมีความรู นอย
ไมจําเปนตองเปนคนอาลิมเสมอไป
2. วิธีการรายงานหะดีษ
เนื่องจากวิธีการรายงานหะดีษยังไมมีขอเสนอแนะจากทานนบี  เปน
รูปธรรมอยางชัดเจน บรรดาเศาะหาบะฮฺก็ไดใชความพยายาม (อิจญติฮาด) ใน
การอธิบายถึงวิธี การรายงานที่สอดคลองกับฐานะที่เปนหะดีษของทานนบี
 ใหมากที่สุด มุฮัมมัด เบ็ญ สีรีนไดกลาวถึงวิธีการรายงานอยางกวาง ๆ
ดังนี้

‫ ﻭﺍﻷﻟﻔﺎﻅ‬،‫ ﺍﳌﻌﲎ ﻭﺍﺣﺪ‬،‫ﺖ ﺃﲰﻊ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻣﻦ ﻋﺸﺮﺓ‬


ُ ‫ﻛﻨ‬
‫ﳐﺘﻠﻔﺔ‬

(2)
หะดีษเศาะหีหฺ บันทึกโดยอะบูดาวูด : 3/322, อัตตัรมิซีย : 5/33-34, อิบนุมาญะฮฺ : 1/85, อะหฺมัด : 1/437, 3/225,
4/80,82, 5/183 และอัดดาริมีย : 1/86 สํานวนขางตนเปนของอะหฺมัด
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 34
แปลวา : “ฉันไดยินหะดีษจากสิบคน (เศาะหาบะฮฺซึ่งพวกเขาได
รายงาน) เปนความหมายเดียวกัน และหลากหลายตัวบท”(1)
จากอะษัรบทนี้พอสรุปไดวา การรายงานหะดีษนั้นมี 2 วิธีใหญ ๆ คือ
วิธีการที่ 1 การรายงานตัวบทหะดีษ
การรายงานตามวิธีการนี้จะเห็นไดจากการปฏิบัติของบรรดาเศาะหาบะฮฺ
ที่ ร ายงานหะดี ษ จากท า นนบี  กล า วคื อ บางคนได ร ายงานหะดี ษ อย า ง
สมบูรณทั้งประโยคที่ไดฟงจากทานและบางคนไดรายงานหะดีษอยางสมบูรณที่
ไดฟงจากเศาะฮาบะฮฺทานอื่น ซึ่งแตละคนนั้นไดรายงานดวยความซื่อสัตยตอหะ
ดีษ โดยไมมีการโกหกและเพิ่มเติมในสิ่งที่พวกเขาไดฟงจากทานนบี  การ
รายงานหะดีษในหมูเศาะหาบะฮฺมีทั้งการรายงานตัวบทและมีการรายงานตัวบท
พร อ มกั บ สะนั ด ของหะดี ษ การรายงานด ว ยวิ ธี ก ารเช น นี้ ไ ด มี ม าตั้ ง แต ส มั ย
เศาะหาบะฮฺ จ นถึ ง สมั ย ตาบิ อฺ อั ต บาอฺ อั ต ตาบิ อี น และได มี ก ารถ า ยทอด
อยางตอเนื่องเรื่อยมาจนถึงสมัยอุละมาอฺมุตะอัคคิรูน(2)
การรายงานหะดีษดวยวิธีนี้สามารถจําแนกออกเปน 3 วิธีการ ดังนี้
1. วิธีการรายงานแบบสมบูรณ
หมายถึง การรายงานหะดีษทั้งสะนัดและมะตันโดยไมมีการตัดตอและ
เพิ่มเติมจากประโยคเดิมที่ไดฟงกันมาตั้งแตตนจนจบหะดีษ เชน การรายงาน

(1)
อัลกอสิมีย หนา 222
(2)
คือ ตั้งแตสมัยอิมามอันนะสาอียจนถึงสมัยของอัตฏอบะรอนีย
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 35
ของบรรดานักหะดีษทั้งหก(3) และทานอื่นๆจะมีการวิพากษวิจารณสถานะของ
สายรายงานในดานความสมบูรณหรือไมก็ตาม แมแตการวิเคราะหตัวบทหะดีษ(4)
2. วิธีการรายงานแบบยอ
หมายถึง การรายงานเฉพาะตัวบทหะดีษบางสวนเทานั้น ไมมีการ
กลาวถึงในสวนอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับตัวบท การรายงานเชนนี้เปนการปฏิบัติของ
อุละมาอฺฟกฮฺ
ตามทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญแลวมีความเห็นวา การรายงานหะดีษ
ดวยวิธีนี้สามารถทําไดแตขึ้นอยูกับเงื่อนไขสําคัญ คือ ผูที่รายงานหะดีษตอง
เปนคนที่มีความรูในเรื่องหะดีษเปนอยางดี เนื่องจากการยอหะดีษของคนอาลิม
มิอาจทําใหความหมายหรือจุดประสงคของหะดีษเพี้ยนไปจากเดิม ไมทําให
ขัดแยงในการบัญญัติหุกมและขอความหะดีษไมขาดหายไปจนทําใหกลายเปน
คนละตั ว บท ผิ ด จากการย อ ของคนญาฮิ ล ซึ่ ง จะทํ า ให เ กิ ด ความสั บ สนใน
ความหมายของหะดีษได เชน การละเลยเรื่องอิสติษนาอฺ(1)
3. วิธีการรายงานแบบตัดสะนัด
หมายถึง การรายงานเฉพาะตัวบทหะดีษเทานั้นไมมีการกลาวถึงสะนัด
หรือกลาวผูรายงานเพียงเศาะหาบะฮฺเทานั้น สวนผูรายงานคนอื่น ๆ ถัดจาก
เศาะหาบะฮฺจนถึงสิ้นสุดสะนัดไมไดกลาวถึงแมแตคนเดียว
การรายงานเช น นี้ เ ป น การปฏิ บั ติ ข องอุ ล ะมาอฺ ฟ ก ฮฺ แ ละอุ ล ะมาอฺ อุ ศู ล
อัลฟกฮฺ อิมามอันนะวะวียกลาววา “สวนการรายงานเฉพาะตัวบทหะดีษอยาง
เดี ย วที่ ส อดคล อ งกั บ หั ว ข อ ฟ ก ฮฺ ส ามารถทํ า ได ซึ่ ง ถื อ เป น การปฏิ บั ติ ที่ ดี แ ละ

(3)
นักหะดีษทั้งหกทาน คือ อัลบุคอรีย มุสลิม อะบูดาวูด อัตติรมิซีย อันนะสาอีย และอิบนุมาญะฮฺ หรือที่เรียกวา
อัศหาบ อัลกุตุบ อัซซิตตะฮฺ
(4)
รายละเอียดเรื่องสะนัดและมะตันจะมีการอธิบายในบทที่ 4
(1)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 48
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 36
อาจจะสามารถหลีกเลี่ยงจากการขัดแยงไดอีกดวย”(2) ไมวาดานตัวบทหะดีษ
หรือการรับหุกมตาง ๆ จากหะดีษ
วิธีการที่ 2 การรายงานความหมายของหะดีษ
การรายงานหะดีษดวยวิธีการนี้อุละมาอฺมีความเห็นที่แตกตางกัน พอสรุป
ไดดังนี้
กลุมที่หนึ่ง ไมเห็นดวยกับการรายงานความหมายหะดีษ โดยที่ไมได
รายงานตั ว บทที่ ม าจากท า นนบี  ทั ศ นะนี้ เ ป น ทั ศ นะของอุ ล ะมาอฺ ห ะดี ษ
อุละมาอฺฟกฮฺและอุละมาอฺอุศูลุลอัลฟกฮฺบางทาน เชน มุฮัมมัด เบ็ญ สีรีน อะบู
บักรฺ อิบนุอะบีชัยบะฮฺ และทานอื่น ๆ
กลุมที่สอง เห็นดวยกับการรายงานความหมายหะดีษ โดยไมจําเปนตอง
ยกตัวบทก็ได ทัศนะนี้เปนทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญทั้งสะลัฟหรือคอลัฟจากอุ
ละมาอฺ ฟ ก ฮฺ ห รื อ อุ ล ะมาอฺ อุ ศู ล ฟ ก ฮฺ เช น อิ ม ามอะบู ห ะนี ฟ ะฮฺ อิ ม ามมาลิ ก
อิมามอัชชาฟอีย และ อิมาม อะหฺมัด เบ็ญ หันบัล แตมีเงื่อนไขวาผูที่จะรายงาน
หะดีษดวยความหมายนั้นจะตองประกอบดวยคุณลักษณะ 2 ประการ
1. ผูรายงานจะตองเขาใจตัวบทและเจตนารมณของหะดีษเปนอยางดี
2. ผูรายงานจะตองเชี่ยวชาญในการตีความหมายหะดีษไดอยางถูกตอง
นอกจากสองประการขางตนแลว ผูรายงานหะดีษจะตองกลาวอยาง
สม่ําเสมอดวยกับคําวา “‫ ”ﺃﻭ ﻛﻤﺎ ﻗﺎﻝ‬แปลวา หรือดังที่ทานนบี  ไดกลาวไว
หรือกลาวคําวา “‫ ”ﺃﻭ ﳓﻮﻩ‬แปลวา หรือเสมือนคําพูดของทานนบี  หรือกลาว
คําวา “‫ ”ﺃﻭ ﺷﺒﻬﻪ‬แปลวา อุปมากับคําพูดของทานนบี ทุกครั้งเมื่อจบการรายงาน
หะดีษ(1)
(2)
อัลกอสิมีย หนา 224-225
(1)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน กลาววา “ทั้งหมดที่กลาวนั้นอนุญาตแกผูที่ไดยินจากปากอาจารยที่เขารับหะดีษเทานั้น
สวนผูที่รับหะดีษโดยวิธีการอานเองจากตําราหะดีษ ไมอนุญาตใหรายงานดวยความหมายแมแตตัวอักษรเดียว
บทที่ 4 หะดีษในฐานะเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลาม 37
อิมามอัสสุยูฏียกลาววา “หากผูรายงานไมมีความรูและไมเชี่ยวชาญใน
การแปลความหมายหะดีษไมอนุญาตใหรายงานหะดีษดวยความหมายโดยไมมี
ขอสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้น แตเขาจะตองรายงานตัวบทหะดีษเหมือนที่เขาไดฟงหะดีษ
หรือรับมาจากอาจารยดวยตนเอง”(2)
ดังนั้น วิธีการที่ดีที่สุดในการรายงานหะดีษของทานนบี  คือ สมควร
อยางยิ่งที่จะตองรายงานตัวบทหะดีษ และไมมีความจําเปนที่จะรายงานหะดีษ
ดวยความหมาย เนื่อง จากปจจุบันตัวบทและสะนัดหะดีษถูกบันทึกไวในตํารา
หะดีษตาง ๆ อยางสมบูรณ ไมวาการบันทึกทั้งสะนัดและมะตัน หรือทําการ
บันทึกโดยเริ่มตนจากเศาะหาบะฮฺผูรับหะดีษโดยตรงจากทานนบี  และ
ตําราหะดีษถูกตีพิมพ อยางแพรหลายสามารถหาซื้อไดไ มยาก หากต องการ
แสวงหาความรูที่มีคุณคา

เนื่องจากการอนุญาตใหรายงานดวยความหมายนั้นเปนการอนุญาตในกรณีจําเปนหรือยังไมมีการบันทึกหะดีษ
เปนเลม แตในกรณีที่หะดีษตางๆ ถูกบันทึกไวในตําราหะดีษอยางสมบูรณแลวก็ไมมีความจําเปนอีกแลวที่จะ
รายงานหะดีษดวยความหมายดังเชนในปจจุบันนี้” (ดู หนา 171-172)
(2)
อัลกอสิมีย หนา 222
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 38

บทที่ 5
สะนัดและมะตัน

พึงรูเปนการเบื้องตนไววาหะดีษของทานนบี ที่ถูกถายทอดมาถึงตัวเรา
นั้นตองประกอบดวยสองสวน คือ สะนัดและมะตัน ตัวอยาง

‫ ﺃﺧﱪﻧﺎ‬،‫ ﺃﺧﱪﻧﺎ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﻣﺮﱘ‬،‫ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺇﺳﺤﺎﻕ‬


‫ ﻗﺎﻝ ﺃﺧﱪﱐ ﺍﻟﻌﻼﺀ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ‬،‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ‬
‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﺑﻴﻪ‬،‫ﻳﻌﻘﻮﺏ ﺑﻦ ﺍﳊﹸ َﺮﻗﹶﺔ‬
‫ ) ) ﻣﻦ‬: ‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬: ‫ﻗﺎﻝ‬
‫ ﻭﺇﺫﺍ ﻭﻋﺪ‬،‫ﻋﻼﻣﺎﺕ ﺍﳌﻨﺎﻓﻖ ﺛﻼﺛﺔ؛ ﺇﺫﺍ ﺣﺪﺙ ﻛﺬﺏ‬
(( ‫ ﻭﺇﺫﺍ ﺍﺋﺘﻤﻦ ﺧﺎﻥ‬،‫ﺃﺧﻠﻒ‬

ความวา : “จากอะบูฮุรัยเราะฮฺ  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา


“เครื่องหมายบางอยางของคนมุนาฟกนั้นมี 3 ประการ คือ
เมื่อเขาพูดเขาจะพูดโกหก เมื่อเขาสัญญา เขาจะผิดสัญญา
และเมื่อเขาไดรับความไววางใจ เขาก็บิดพลิ้ว”
(รายงานโดยมุสลิม : 2/47)
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 39

คําอธิบายตัวอยาง
- สะนัดหะดีษ
،‫ ﺃﺧﱪﻧﺎ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ‬،‫ ﺃﺧﱪﻧﺎ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﻣﺮﱘ‬،‫ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺇﺳﺤﺎﻕ‬
،‫ ﻋﻦ ﺃﺑﻴـﻪ‬،‫ﻗـﺎﻝ ﺃﺧﱪﱐ ﺍﻟﻌﻼﺀ ﺑﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ ﻳﻌﻘﻮﺏ ﺑﻦ ﺍﳊﹸ َﺮﹶﻗـﺔ‬
‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬
- มะตันหะดีษ
،‫ ﻭﺇﺫﺍ ﻭﻋـﺪ ﺃﺧﻠﻒ‬،‫)) ﻣﻦ ﻋﻼﻣـﺎﺕ ﺍﳌﻨـﺎﻓﻖ ﺛﻼﺛـﺔ؛ ﺇﺫﺍ ﺣـﺪﺙ ﻛﺬﺏ‬
(( ‫ﻭﺇﺫﺍ ﺍﺋﺘﻤﻦ ﺧﺎﻥ‬

การรายงานหะดีษทั้งสะนัดและตัวบทเชนนี้ก็ไดมีการปฏิบัติกันในกลุม
ของ นักหะดีษตั้งแตสมัยเศาะหาบะฮฺจนถึงปจจุบัน แตก็มีอุละมาอฺบางทาน
ไดรายงานหะดีษ โดยมิไดกลาวอางสะนัดนอกจากกลาวเพียงศอหาบะฮฺเทานั้น
ซึ่งการรายงานเชนนี้เปนที่อนุญาตเชนกัน

สวนที่ 1 สะนัดหะดีษ
อัลลอฮฺทรงตรัสไววา

 ‫ ﺇﺋﺘﻮﱐ ﺑﻜﺘﺎﺏ ﻣﻦ ﻗﺒﻞ ﻫﺬﺍ ﺃﻭ ﺃﺛﺎﺭﺓ ﻣﻦ ﻋﻠﻢ‬


บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 40
ความวา : “จงนํามาแกฉันซึ่งกิตาบกอนหนานี้เถิด หรือการรายงาน
บางสวนของวิชาความรู” (1)

คําดํารัส  ‫ ﺃﺛﺎﺭﺓ‬ ความวา “รองรอย” มะฏอร อัลวัรรอกไดอธิบายวา


คํานี้หมายถึง อิสนาดหะดีษ(2)

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คํา วา ‫( َﺳَﻨ ٌﺪ‬สะนั ด ) เป น คําเอกพจน แปลว า สายรายงานหรือสายสื บ
พหูพจน คือ ‫( ِﺇ ْﺳﻨَﺎ ٌﺩ‬อิสนาด) หมายถึง การถายทอดจากคนหนึ่งไปยังอีกคน
หนึ่ง
ตามหลักวิชาการ
มีทัศนะอุละมาอฺหลายทัศนะดวยกันที่ไดอธิบายความหมายของสะนัดขอ
ยก ตัวอยางในที่นี้เพียงบางสวนเทานั้น
1. อิมามอัสสะคอวีย กลาววา สะนัด หมายถึง สายรายงานที่จะนําเขาสู
มะตัน(3) (ตัวบทหะดีษ)
2. อิมามอิบนุ ญะมาอะฮฺ กลาววา อิสนาด หมายถึง การรายงานหะดีษ
พรอมกับระบุผูรายงาน และคําวาสะนัด คือ สายสืบที่นําเขาสูมะตันหะดีษ(4)

(1)
ซูเราะฮฺอัลอะหฺกอฟ อายะฮฺที่ 4
(2)
อับดุลวะฮาบ เบ็ญอับดุลละตีฟ หนา 17
(3)
หนังสือเดิม หนา 16
(4)
ดู หนังสือเดิม
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 41
3. ชัยคฺซะกะริยา กลาววา สะนัดหรืออิสนาดมักจะถูกใชในความหมาย
เดียวกัน ในกลุมของนักหะดีษ(5) ทั้งสองคํานี้จะใชเปนคําตัดสินชี้ขาดตอระดับ
ของหะดีษ เพื่อแยกระหวางหะดีษที่ถูกตองและหะดีษที่ไมถูกตอง
จากทัศนะของอุละมาอฺขางตนพอสรุปไดวา สะนัดหรืออิสนาด หมายถึง
สายรายงานเพื่อนําสูตัวบทหะดีษที่สามารถจะพิสูจนเปนหะดีษที่แทจริงหรือไม

2. ความประเสริฐของสะนัด
สะนัดหรืออิสนาดมีความประเสริฐที่เดนชัด เนื่องจากดวยสะนัดสามารถ
ปกปองบทบัญญัติจากการปะปน เบี่ยงเบน อุตริกรรม และการโกหกของผูหนึ่ง
ผูใดที่ไมประสงคดีตออัลอิสลาม การพูดถึงเรื่องสะนัดไมเคยปรากฏมากอนใน
ศาสนาอื่ น ๆ เว น แต ใ นอิ ส ลามเท า นั้ น บรรดาอุ ล ะมาอฺ ไ ด ส าธยายถึ ง ความ
ประเสริฐของสะนัดไวมากมายและ ยังไดใหความสําคัญตอสะนัดมาก ซึ่งจะขอ
กลาวในที่นี้เพียงบางสวนเทานั้น
1. อิมามอับดุลเลาะ เบ็ญ อัลมุบารอก กลาววา “อิสนาดเปนสวนหนึ่ง
ของศาสนา หากไมมีอิสนาดแลวผูใดก็สามารถจะกลาวถึงเรื่องศาสนาตามความ
ตองการของตนเอง”(1) แมการกลาวเท็จตอรสูลุลลอฮฺ  ดวยวิธีการพาดพิง
หะดีษถึงทานก็ตาม
2. อิมามอัลฮากิมไดอธิบายวา “หากไมมีกลุมหนึ่งในจํานวนอุละมาอฺหะ
ดีษที่ปกปองอิสนาด แนนอนความเขมแข็งของอิสลามจะไมยั่งยืนจนถึงทุกวันนี้
ทั้ งยั งเป น การเป ด ช องทางใหแ ก กลุ ม มุ ลฮิ ด (พวกปฏิ เสธศรั ทธา) และ

(5)
ดู หนังสือเดิม
(1)
อักรอม ฎิยาอฺ อัลอุมะรีย หนา 27
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 42
นัก อุ ป โลกน ใ นเรื่ อ งศาสนาได ทํ า การกุ ห ะดี ษ ขึ้ น มาอย า งสะดวกสบาย และ
สับเปลี่ยนอิสนาดหะดีษไดสะดวกขึ้น”(2)
3. อิมามอัชชาฟอีย กลาววา “เปรียบเทียบผูเรียนหะดีษโดยไมมีสะนัดนั้น
เสมือนกับผูที่ตัดไมในเวลากลางคืน บางทีเขาจะตัดแคยอดไมอยางเดียวก็ได”(3)
4. อิมามอะฮฺมัด เบ็ญฮันบัลกลาววา “อิสนาดเปนแนวทางของบรรดา
อุละมาอฺสะลัฟ”(4) เพราะพวกเขายอมรับหะดีษดวยวิธีการพิจารณาสะนัดและ
องคประกอบของ สะนัดเปนหลัก หากไมสามารถยืนยันในความถูกตองของ
สะนัดก็จะไมมีการรับฟงหะดีษตลอดจนใหการยอมรับหะดีษโดยเด็ดขาด
ดังนั้น อิสนาดที่มาจากการรายงานของคนซีเกาะห (เชื่อถือได) จนถึง
ทา นนบี นั้ น เป น จุด เด นของประชาชาติ อิ สลามและความแตกตา งจากบรรดา
ประชาชาติทั้งหมดอีกดวย การรายงานดวยวิธีการสะนัดและการรับคําบอกเลา
ของคนในแตละชวงโดยการถายทอดจากคนแรกจนถึงคนสุด ทายยังไม มีใ น
ประชาชาติกอน ๆ แตเนื่องดวยวิธีการอยางนี้ทําใหการรับขาวหรือเรื่องเลาขาน
ถูกตองและชัดเจนยิ่งขึ้นอีกดวย

3. รุนของผูรายงาน
สะนัดหรืออิสนาดของหะดีษประกอบดวยผูรายงานจากหลายรุนในทุกยุค
ทุกสมัยตั้งแตสมัยเศาะหาบะฮฺจนถึงสมัยของการบันทึกหะดีษ แตที่มีชื่อเสียง
มากที่สุดและเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายมีสี่รุน(1) ดวยกัน คือ รุนเศาะหาบะฮฺ
รุนตาบิอีน รุนตาบิอฺ ตาบิอีน และรุนอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน

(2)
อัสสุยูฏีย : 1/101
(3)
อัลดุบวะฮาบ อับดุลละตีฟ หนา 18
(4)
ดู หนังสือเดิม
(1)
อัลอัสกอลานียไดแบงรุนของศอหาบะฮฺออกเปน 12 รุน (ดู : 1/22)
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 43
รุนที่หนึ่ง รุนเศาะหาบะฮฺ (เริ่มตั้งแตป 10 ถึงป 110 แหงฮิจเราะฮฺศักราช)
1. ความหมายของเศาะหาบะฮฺ
เศาะหาบะฮฺตามหลักภาษาศาสตร เปนอาการนามมาจากคําวา “ ‫ﺐ‬ َ ‫ﺤ‬ ِ‫ﺻ‬ َ
” เหมือนกับคําวา “ ‫ ” َﺳ ِﻤ َﻊ‬อาจเปนคําพหูพจนและคําเอกพจนก็ได ซึ่งแปลวา
เพื่อน สหาย อัครสาวก ผูติดตามหรือผูที่เขาใจคนอื่น
ความหมายตามหลักภาษาศาสตรสามารถใชทั้งในลักษณะทั่วไป เชน
ใชกับ คนที่ ไ ม ใ ช เป น นบี  และยั งสามารถใช ใ นลัก ษณะเฉพาะเจาะจง เช น
ใชกับคนที่เปนทานนบี 
สวนความหมายตามหลักวิชาการนั้นอัลอัสเกาะลานียใหความหมายวา
“ผู ที่ พ บเห็ น ท า นนบี มุ ฮั ม มั ด  ศรั ท ธาต อ ท า น และเสี ย ชี วิ ต ในขณะที่ เ ป น
มุสลิม”(2) ในทางตรงกันขามผูใดที่ไมไดพบเห็นและไมไดศรัทธาตอทานนบี
ไมเรียกวา เศาะหาบะฮฺ เชนเดียวกันกับบุคคลที่เห็นทานนบีหลังจากทาน
เสียชีวิตไปแลว
2. คุณลักษณะของเศาะหาบะฮฺ
บรรดาเศาะหาบะฮฺเปนคนที่มีคุณธรรม ไมวาพวกเขาไดสัมผัสกับฟตนะฮฺ
หรือไมก็ตาม(3) เปนทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญ มีหลักฐานชัดเจนมากมาย
สามารถยืนยัน ในความอะดาละฮฺของบรรดาเศาะหาบะฮฺ
ก. อัลลอฮฺทรงตรัสไววา

‫ ﻭﺍﻟﺴـﺎﺑﻘﻮﻥ ﺍﻷﻭﻟﻮﻥ ﻣﻦ ﺍﳌﻬـﺎﺟﺮﻳﻦ ﻭﺍﻷﻧﺼـﺎﺭ‬


‫ﻭﺍﻟﺬﻳﻦ ﺍﺑﺘﻌﻮﻫﻢ‬

(2)
อัลอัสกอลานีย : 1/4
(3)
ดู อัลคอฏีบ อัลบัฆดาดีย หนา 38-39
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 44
‫ﺑﺈﺣﺴﺎﻥ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻢ ﻭﺭﺿﻮﺍ ﻋﻨﻪ ﻭﺃﻋﺪ ﳍﻢ ﺟﻨﺎﺕ ﲡﺮﻱ‬
 ‫ﻣﻦ ﲢﺘﻬﺎ ﺍﻷﻬﻧﺎﺭ ﺧﺎﻟﺪﻳﻦ ﻓﻴﻬﺎ ﺃﺑﺪﹰﺍ ﺫﻟﻚ ﺍﻟﻔﻮﺯ ﺍﻟﻌﻈﻴﻢ‬

ความวา : “และบรรดาชนรุนแรกจากกลุมมุฮาญิรีนและกลุมอันศอร
และผู ที่ ติ ด ตามพวกเขาด ว ยความอ อ นโยน ได รั บ ความชอบ
ธรรมจากอัลลอฮฺและพวกเขานอมรับดังกลาว และพระองคทรง
เตรี ย มสวรรค สํ า หรั บ พวกเขา ซึ่ ง ใต มั น มี ลํ า ธารไหลเชี่ ย ว
พวกเขาจะอยูในสวรรคอยางถาวร นั่นคือความสําเร็จที่ยิ่งใหญ
ของพวกเขา”(1)
การบงบอกของอายะฮฺถึงคุณธรรมของบรรดาเศาะหาบะฮฺ คือ การที่
บรรพชน รุนกอนไดปฏิบัติในศีลธรรมและจริยธรรมในทุกๆ อิริยาบถทั้งการ
กลาวและการปฏิบัติตามคําสั่งของอัลลอฮฺและรสูลุลลอฮฺ  จนในที่สุดพวกเขา
ไดรับความชอบธรรมจากอัลลอฮฺ
ข. อะบูสะอีด อัลคุดรียไดรายงานวา ทานนบี  ไดกลาวในลักษณะ
หามปฏิบัติหรือกลาวสิ่งไมสมควรทุกประการตอบรรดาเศาะหาบะฮฺ

‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﻱ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ‬ ّ ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﺳﻌﻴﺪ ﺍﳋﺪﺭ‬


‫ ﻓﺈﻥ‬،‫ )) ﻻ ﺗﺴﺒﻮﺍ ﺃﺣﺪﹰﺍ ﻣﻦ ﺃﺻﺤﺎﰊ‬: ‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬
‫ﺃﺣﺪﻛﻢ ﻟﻮ ﺃﻧﻔﻖ ﻣﺜﻞ ﺃﹸ ﺣُ ٍﺪ ﺫﻫﺒﹰﺎ ﻣﺎ ﺃﺩﺭﻙ ﻣﺪ ﺃﺣﺪﻫﻢ ﻭﻻ‬
(( ‫ﻧﺼﻴﻔﻪ‬

(1)
ซูเราะฮฺอัลเตาบะฮฺ อายะฮฺที่ 100, อายะฮฺที่เกี่ยวของมีกลาวไวในซูเราะฮฺตาง ๆ ตอไปนี้ คือ อัลฟตฮฺ อายะฮฺที่ 18
และ29, ซูเราะฮฺอัลอันฟาล อายะฮฺที่ 73 และซุเราะฮฺอัลหัชรฺ อายะฮฺที่ 8-10
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 45
ความวา : จากอะบูสะอีด อัลคุดรีย  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา
“พวกเจ า อย า สาปแช ง เศาะหาบะฮฺ ข องฉั น แม แ ต ค นเดี ย ว
เนื่องจากคนหนึ่งคนใดในหมูพวกเจาหากบริจาคทองหนักเทา
ภูเขาอุฮูด แนนอนพวกเจาไมสามารถเทียบเทากับพวกเขาได
หรอกและแมแตบางสวนเทานั้นก็ตาม”(2)
ค. บรรดาอุละมาอฺมีความเห็นพองกันวา บรรดาเศาะหาบะฮฺนั้นเปนผูที่มี
คุณธรรมและซื่อสัตยโดยไดรับการรับรองจากอัลลอฮฺและทานนบีเอง เวนแตคน
บางกลุมเทานั้น ที่ไมยอมรับในความอะดาละฮฺของเศาะหาบะฮฺ เชน กลุมชีอะฮฺ
และกลุมรอฟเฏาะฮฺ
3. รุนตาง ๆ ของเศาะหาบะฮฺ
โดยทั่ วไปแลว บรรดาเศาะหาบะฮฺนั้นแบงออกเปนสองรุน ดวยกันคือ
เศาะหาบะฮฺรุนอาวุโสและเศาะหาบะฮฺรุนเล็ก
เศาะหาบะฮฺรุนอาวุโสประกอบดวย เศาะหาบะฮฺสิบทาน ที่ทานนบีให
การรับรองจะไดเขาสวรรคอยางแนนอน ผูศรัทธาในสมัยมักกะฮฺ ผูที่อพยพไป
ยังเมืองหาบะชะฮฺ ผูที่เขารวมในคราวทําสนธิสัญญาอัลอะเกาะเบาะฮฺครั้งแรก
และครั้งที่สอง ผูที่อพยพระหวางสงครามบัดรฺและสงครามฮุดัยบิยะฮฺ บรรดา
ผูเขารวมในสงครามทุกประเภท และอื่น ๆ
เศาะหาบะฮฺรุนเล็ก คือ บรรดาเศาะหาบะฮฺที่ไดเห็นทานนบีในวันสงคราม
ฟ ต หฺ แ ละวั น ทํ า ฮั จ ญ ว ะดาอฺ เช น อั ส สาอิ บ เบ็ ญ ยะซี ด อั ล กั ล บี ย อั ล หะซั น
และอัลฮุซัยน เบ็ญอาลี เบ็ญอะบีฏอลิบ อัลดุลเลาะ เบ็ญอัซซุบัยรฺ อับดุลเลาะ
เบ็ญอับบาส เปนตน

(2)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 11/256 และมุสลิม : 10/123
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 46
4. เศาะหาบะฮฺผูที่รายงานหะดีษเปนจํานวนมาก
บรรดาเศาะหาบะฮฺเปนผูรายงานหะดีษรุนแรก แตก็มีความแตกตางอยู
บางขึ้นอยูกับความจําและความสามารถของแตละทาน เศาะหาบะฮฺบางทานได
รายงานหะดีษเปนจํานวนมากและบางทานรายงานหะดีษไดนอยกวา แตที่จะ
กลาวในที่นี้เฉพาะบรรดา เศาะหาบะฮฺที่รายงานหะดีษเปนจํานวนมากเทานั้น
มีรายนามดังนี้
1. อะบูฮุรอยเราะฮฺ (59 ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 5,735 หะดีษ
2. อับดุลเลาะ เบ็ญ อุมัร (73 ฮ.ศ.)รายงานหะดีษ 2,630 หะดีษ
3. อะนัส เบ็ญ มาลิก (93 ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 2,286 หะดีษ
4. อาอิชะฮฺ อุมมุลมุมินีน (58 ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 2,210 หะดีษ
5. อับดุลเลาะ เบ็ญอับบาส (68ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 1,660 หะดีษ
6. ญาบิร เบ็ญอับดุลเลาะ (78 ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 1,540 หะดีษ
7. อะบูสะอีด อัลคุดรีย (74 ฮ.ศ.) รายงานหะดีษ 1,170 หะดีษ
และอื่น ๆ ตามลําดับ
พึงรูไววา ในบรรดาศอหาบะฮฺที่เปนนักรายงานหะดีษที่ชื่อ อับดุลเลาะ มี
ประมาณ 300 ทาน แตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเพียง 4 ทานเทานั้น ซึ่งทั้งสี่ทานนี้มี
ฉายานามวา ‫( ﺍﻟ ُﻌﺒَـﺎ ِﺩﻟﹶﺔ‬อัลอุบาดิละฮฺ) คือ
1. อับดุลเลาะ เบ็ญ อับบาส (68 ฮ.ศ.)
2. อับดุลเลาะ เบ็ญ อุมัร เบ็ญ อัลคอฏฏอบ (73 ฮ.ศ.)
3. อับดุลเลาะ เบ็ญ อัซซุบัยรฺ (73ฮ.ศ.)
4. อับดุลเลาะ เบ็ญ อัมรฺ เบ็ญ อัลเอาศฺ (65ฮ.ศ.)
อุ ล ะมาอฺ บ างท า นมี ค วามเห็ น ว า อั บ ดุ ล เลาะ เบ็ ญ มั ส อู ด นั บ เป น
อุบาดิละฮฺแทน อับดุลเลาะ เบ็ญ อัมรฺ เบ็ญเอาศฺ
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 47
บรรดาเศาะหาบะฮฺที่เปนนักรายงานที่ถายทอดหะดีษดวยความบริสุทธิ์ใจ
ซื่อสัตย และดวยความอะมานะฮฺ โดยการถายทอดตัวบทที่เปนคําพูด การ
ปฏิบัติ การยอมรับคํากลาวทั้งซิกรฺและดุอาอฺในทุกอิริยาบถของทานนบี 
ตามความรูของพวกเขา
รุนที่สอง รุนตาบิอีน (ตั้งแตป 93 จนถึงป 124 แหงฮิจเราะฮฺศักราช)(1)
1. ความหมายของตาบิอีน
ตามหลักภาษาศาสตรคือ ผูที่เดินตามหลัง หรือผูที่เจริญรอยตามคนอื่น
ตามหลักวิชาการ คือ ผูที่พบเห็นเศาะหาบะฮฺ ศรัทธาตอทานนบี  และ
เสียชีวิตในขณะที่นับถือศาสนาอิสลาม(2) เปนทัศนะของอุละมาอฺบางทาน ตาม
ทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญมีความเห็นวา ตาบิอีน คือ ผูที่พบเห็นเศาะหาบะฮฺ
หนึ่งคนหรือมากกวา ศรัทธาตอทานนบี  และเสียชีวิตในอิสลาม(3)
ทั้งสองทัศนะนี้ไมมีความขัดแยงระหวางกัน แตเปนการอธิบายซึ่งกันและ
กัน จะเห็นไดวา ทัศนะที่สองพูดในลักษณะของการพบเห็นของตาบิอีนกับ
เศาะหาบะฮฺ ในขณะที่ ทัศ นะที่ ห นึ่ งนั้ น กล า วถึ ง การรั บ หะดี ษ ระหว า งตาบิ อี น
กับเศาะหาบะฮฺ
2. ผูรายงานหะดีษ
ผูรายงานหะดีษในรุนตาบิอีนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือ
1. อิบรอเฮ็ม เบ็ญ ยะซีด อันนะคออีย (96 ฮ.ศ.)
2. อามิร เบ็ญ ชะระฮบิล อัชชุอฺบีย (103 ฮ.ศ.)
3. สาลิม เบ็ญ อับดุลเลาะ เบ็ญอุมัร (106 ฮ.ศ.)
4. มุฮัมมัด เบ็ญ สีรีน (110 ฮ.ศ.)

(1)
อับดุลวะฮาบ อับดุลละตีฟ หนา 46
(2)
หนังสือเดิม
(3)
อัสสุยูฏีย : 2/69
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 48
5. นาฟอฺ เมาลาอิบนุอุมัร (117ฮ.ศ.)
6. มุฮัมมัด เบ็ญ ชิฮาบ อัซซุฮรีย (124 ฮ.ศ.)
7. อัลกอมะฮฺ เบ็ญ กัอยสฺ อันนะคออีย (162 ฮ.ศ.)
3. นักฟกฮฺทั้งเจ็ดทาน
จากรุนตาบิอีนพบวามีกลุมหนึ่งที่เปนชาวมะดีนะฮฺที่มีชื่อเสียงมากเปนคน
อาลิมทั้งในดานหะดีษและฟกฮฺอิสลามีย ซึ่งเปนที่รูจักกันในนาม อัลฟุเกาะฮาอฺ
อัซซับอะฮฺ(4)
1. สะอีด เบ็ญ อัลมุสัยยิบ (94 ฮ.ศ.)
2. อุรวะฮฺ เบ็ญ อัซซุบัยร (94 ฮ.ศ.)
3. อะบูสะละมะฮฺ เบ็ญ อับดุลเราะหมาน (94 ฮ.ศ.)
4. อุบัยดุลเลาะ เบ็ญ อับดุลเลาะ เบ็ญอุตบะฮฺ (98 ฮ.ศ.)
5. คอริญะฮฺ เบ็ญ ซัยด (100 ฮ.ศ.)
6. อัลกอซิม เบ็ญ มุฮัมมัด (106 ฮ.ศ.)
7. สุลัยมาน เบ็ญ ยะซาร (110 ฮ.ศ.)
4. ชาวมุคอดรอมูน(1)
คําวา “‫( ”ﳐﻀﺮﻣﻮﻥ‬มุคอดรอมูน) เปนคําพหูพจนของคําวา ‫ ﳐﻀﺮﻡ‬ซึ่งเปน
เผาหนึ่งที่อาศัยอยูในประเทศเยเมน หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา หัดรอเมาตฺ
อัลมุคอดรอมูน หมายถึง ผูที่มีชีวิตอยูในสมัยญะฮิลิยะฮฺและสมัยของทานน
บี แตพวกเขาเหลานี้ไมไดพบเห็นทานนบี  เขารับนันถือศาสนาอิสลาม
อิมามมุสลิมระบุวา “ชาวมุคอดรอมูนมีจํานวนไมมากประมาณ 20 ทาน”(2)

(4)
อัลอิรอกีย หนา 231
(1)
มุคอดรอม คือ ชนเผากลุมหนึ่งของชาวเยเมน
(2)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 231
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 49
5. จํานวนรุนของตาบิอีน
อุละมาอฺตาบิอีนโดยรวมแลวแบงออกเปน 3 รุนดวยกันคือ
รุนที่ 1 ตาบิอีนรุนอาวุโส
ตาบิอีนรุนอาวุโส คือ ผูที่พบเห็นเศาะหาบะฮฺ ไดเรียนรูเรื่องตางๆ ของ
ศาสนาและ รับหะดีษโดยตรงจากเศาะหาบะฮฺ เชน สะอีด เบ็ญ อัลมุสัยยิบ-
กอยสฺ เบ็ญซัยดฺ เปนตน
รุนที่ 2 ตาบิอีนรุนกลาง
ตาบิอีนรุนกลางคือ ผูที่พบเห็นเศาะหาบะฮฺบางทานเทานั้นโดยเฉพาะ
เศาะหาบะฮฺรุนเล็กและรวมสมัยกับตาบิอีนรุนอาวุโส เชน อัลหะซันอัลบัศรีย
มุฮัมมัด เบ็ญสีรีน อิมาม อัซซุฮฺรีย และเกาะตาดะฮฺ เปนตน ตาบิอีนรุนนี้
เปนอุละมาอฺที่มีชื่อเสียงในการรายงานและบันทึกหะดีษ
รุนที่ 3 ตาบิอีนรุนเล็ก
ตาบิ อี น รุ น เล็ ก คื อ ผู ที่พบเห็น ตาบิ อี น รุ น กลางและร ว มสมั ยกั บ เศาะ-
ฮาบะฮฺรุนเล็กบางทาน พวกเขาไมไดพบเห็นเศาะหาบะฮฺรุนอาวุโส เชน อัลอะอฺ
มัช อิบนุ ุรัอยจญ อิมาม อะบูหะนีฟะฮฺ เปนตน
ผูรายงานหะดีษในรุนตาบิอีนทั้งหมดเปนผูรายงานซึ่งอยูในชวงกลางของ
สะนัด บางสะนัดจะพบวาในรุนนี้จะมีผูรายงานหะดีษติดตอกันถึงสองหรือสาม
ท า น คุ ณ ลั ก ษณะของตาบิ อี น ผู เ ป น นั ก รายงานหะดี ษ มี ทั้ ง ที่ เ ป น ษิ เ กาะฮฺ
เศาะดูกฺ เฎาะอีฟ มัจฮูล ฟาสิก และโกหก เปนตน
รุนที่สาม รุนตาบิอฺ ตาบิอีน (ตั้งแตป 124 ฮ.ศ. ถึงป 224 ฮ.ศ.)(1)
1. ความหมายของตาบิอฺ ตาบิอีน
ตามหลักภาษาศาสตร คือ ผูที่เดินตามหลังชนรุนกอน

(1)
อับดุลวะฮาบ อัลดุลละตีฟ หนา 21
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 50
ตามหลักวิชาการ คือ ผูที่พบเห็นตาบิอีน ศรัทธาตอทานนบี และเสียชีวิต
ในอิสลาม พวกเขาไมไดพบเห็นทานนบี  และไมไดพบเห็นเศาะหาบะฮฺ(2)

2. ผูรายงานหะดีษ(3)
ผูรายงานหะดีษจากรุนตาบิอฺตาบิอีนที่มีชื่อเสียง และเปนที่รูจักกันในหมู
นักวิชาการและสังคมมุสลิมก็คือ
1. ซุฟยาน เบ็ญ สะอีด อัสเษารีย (161ฮ.ศ.)
2. อิมามมาลิก เบ็ญ อะนัส (179 ฮ.ศ.)
3. วะกีอฺ เบ็ญ อัลญัรรอหฺ (190 ฮ.ศ.)
4. ซุฟยาน เบ็ญ อุยัยนะฮฺ (198 ฮ.ศ.)
5. ฎอมิเราะฮฺ เบ็ญ เราะบีอะฮฺ (202 ฮ.ศ.)
6. อิมามมุฮัมมัด เบ็ญ อิดริส อัชชาฟอีย (204 ฮ.ศ.)
7. อัลฟฎลฺ เบ็ญ ดุกัอยนฺ (218 ฮ.ศ.)
8. มุสัดดัด เบ็ญ มุซัรฮัด (220 ฮ.ศ.)
และทานอื่นๆ
อุละมาอฺตาบิอฺ ตาบิอีน สวนมากเปนผูรายงานที่มีความจําในระดับดีหรือ
ดี เ ยี่ ย มและเป น ผู ร ายงานที่ มี ค วามรู แ ม น ยํ า ทั้ ง ในด า นการรายงานและการ
ทองจําหะดีษตลอดจนมีความสามารถในการวิเคราะหดานคุณธรรมและความ
บกพรองของผูรายงานหะดีษทุกคนตั้งแตชวงตนจนถึงชวงสุดทายของสะนัด(4)
3. รุนตาง ๆ ของตาบิอฺ ตาบิอีน

(2)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 231
(3)
บางคนเปนทั้งนักรายงานหะดีษและนักฟกฮฺ บางคนเปนผูเชี่ยวชาญเฉพาะหะดีษอยางเดียว
(4)
รายงละเอียดตางๆ ที่เกี่ยวของกับสถานภาพดานคุณธรรมและความบกพรองจะมีการอธิบายในบทตอไป
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 51
อุลามาอฺตาบิอฺ ตาบิอีน ที่เปนผูรายงานหะดีษ ตั้งแตบุคคลแรกจนถึง
บุคคลสุดทายที่เสียชีวิตแบงออกเปน 3 รุนคือ
รุนที่ 1 ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนอาวุโส
ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนอาวุโส คือ ผูที่พบเห็นตาบิอีน ไดเรียนรูเรื่องตางๆ
ของศาสนาและรับ หะดีษโดยตรงจากตาบิอีน เชน อิมามมาลิก เบ็ญอะนัส
ซุฟยาน อัซเษารีย เปนตน
รุนที่ 2 ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนกลาง
ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนกลาง คือ ผูที่พบเห็นรุนตาบิอีนบางทานเทานั้นและรวม
สมัยกับตาบิอีนรุนอาวุโส เชน ซุฟยาน เบ็ญอุยัยนะฮฺ อิบนุ อุลัยยะฮฺ เปนตน
รุนที่ 3 ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนเล็ก
ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนเล็ก คือ ผูที่ไดพบเห็นและรวมสมัยเดียวกันกับตาบิอฺ
ตาบิอีน รุนกลาง แตพวกเขาไมไดพบเห็นเศาะหาบะฮฺ เชน อิมามอัชชาฟอีย
อะบูดาวูด อัตตอยาลิซีย เปนตน
4. สถานภาพของนักรายงาน
สถานภาพโดยทั่วไปของรุนตาบิอฺ ตาบิอีน มีทั้งผูรายงานที่เชื่อถือไดใน
การรายงานหะดีษและมีผูที่เชื่อถือไมได เนื่องจากหลายสาเหตุดวยกันเช น
ความจําไมดี ปกปดอาจารย ไมเปนที่รูจักกันวาเปนผูรายงานหะดีษ เปนคน
โกหก เปนตน
รุนที่สี่ รุนอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน (ตั้งแตป224 จนถึงป 303 แหงฮิจเราะฮฺ
ศักราช)(1)
1. ความหมายของอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน
ตามหลักภาษา คือ ผูที่เดินตามหลังชนรุนกอนพวกเขา

(1)
อัลดุลวะฮาบ อัลดุลละตีฟ หนา 48
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 52
ตามหลักวิชาการ คือ ผูที่ไดพบเห็นรุนตาบิอฺ ตาบิอีน ศรัทธาตอทาน
นบี  และเสียชีวิตในขณะที่นับถือศาสนาอิสลาม
2. ผูรายงานหะดีษ
ผูที่มีชื่อเสียงในการรายงานหะดีษของอุละมาอฺรุนนี้มีมากมายแตที่จะ
กลาวในที่นี้เปนตัวอยางเพียงบางทานเทานั้น ในจํานวนนี้มีคณาจารยของอิมาม
ทั้งหกดวย(2)เชน
1. หัฟศ เบ็ญ อุมัร (225 ฮ.ศ.)
2. อับดุลเลาะ เบ็ญ มุฮัมมัด อันนุฟยลีย (234 ฮ.ศ.)
3. อะบูบักร เบ็ญ อะบีชัยบะฮฺ (239 ฮ.ศ.)
4. มุฮัมมัด เบ็ญ อัลอะลาอฺ (247 ฮ.ศ.)
4. มุฮัมมัด เบ็ญ ยะหฺยา เบ็ญฟาริส (255 ฮ.ศ.)
5. มุฮัมมัด เบ็ญ บะซาร (250 ฮ.ศ.)
และทานอื่นๆ
อุ ล ะมาอฺ รุ น นี้ ส ว นมากแล ว จะอยู ใ นช ว งท า ยของสะนั ด หะดี ษ (สาย
รายงาน) ในบรรดานักรายงานทั้งสามชวงของสะนัด
3. รุนตาง ๆ ของอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน
ผูรายงานหะดีษในรุนอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีนแบงออกเปน 3 รุน ดังนี้
รุนที่ 1 อัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนอาวุโส คือ ผูที่พบเห็นตาบิอฺ ตาบิอีน
เชน อิมาม อะหฺมัด เบ็ญ หันบัล อะบูบักร อิบนุ อะบีชัยบะฮฺ เปนตน

(2)
อิมามทั้งหกหรืออัศหาบ อัลกุตุบ อัซซิตตะฮคือ อัลบุคอรีย (‫ )ﺍﻟﺒﺨﺎﺭﻱ‬มุสลิม (‫ )ﻣﺴﻠﻢ‬อะบูดาวูด (‫)ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬
อัตตัรมิซีย (‫ )ﺍﻟﺘﺮﻣﺬﻱ‬อันนะสาอีย (‫ )ﺍﻟﻨﺴﺎﺋﻲ‬และอิบนุมาญะฮฺ (‫ )ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬และอีกกลุมหนึ่งเรียกวาอิมามทั้งเกา
หรือที่รูจักกันในนาม อัศหาบ อัลกุตุบ อัตติสอะฮ คือ อิมามอีก3ทาน อะหฺมัด เบ็ญฮันบัล (‫ )ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﺟﻨﺒﻞ‬อิ
มามมาลิก (‫ )ﻣﺎﻟﻚ‬และอัดดาริมีย (‫)ﺍﻟﺪﺍﺭﻣﻲ‬
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 53
รุนที่ 2 อัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนกลาง คือ ผูที่พบเห็นตาบิอฺ ตาบิอีน
และรวมสมัยกับตาบิอฺ ตาบิอีนรุนกลาง
รุนที่ 3 อัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีนรุนเล็ก คือ ผูที่พบเห็นและรวมสมัยกับ
ตาบิอฺตาบิอีนรุนเล็ก แตพวกเขาไมไดพบเห็นตาบิอฺ ตาบิอีนรุนอาวุโส
4. สถานภาพของนักรายงานหะดีษ
ผูรายงานหะดีษทั้งสามรุนหรือสี่รุนดังที่กลาวขางตน คือ สุดยอดของนัก
รายงานหะดีษโดยที่ พวกเขาเหล านั้นได ทุมเทความพยายามอยางสูงในการ
รวบรวมหะดี ษ วิ ธี ก ารที่ ใ ช เป น วิ ธี ก ารที่ ยอดเยี่ ยม ได ว างรากฐานที่ เกี่ยวกั บ
หลักการและระเบียบตางๆ ในการรายงานหะดีษ ในชวงระยะดังกลาวบรรดา
อุ ล ะมาอฺ เ หล า นี้ ก็ ไ ด ส ะสมผลงานที่ น า ยกย อ งเป น อย า งมากโดยเฉพาะใน
สาขาวิชาหะดีษดังนี้
หนึ่ง ติดตามสายรายงานหะดีษ(1)
สอง ใหการยอมรับตัวบทหะดีษ(2)
สาม วิเคราะหสถานภาพของผูรายงานแตละคนจนสามารถแยกระหวาง
ผูรายงานที่มีคุณธรรมกับผูรายงานที่ฟาสิก(3)
ถึงอยางไรก็ตามเรื่องสะนัดหรือสายรายงานหะดีษเปนเรื่องที่สําคัญใน
บรรดาเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสาขาวิชาหะดีษ จากการศึกษาเรื่องสะนัดอยาง
จริงจังทําใหทราบวา บรรดาอุลามาอฺหะดีษสามารถจําแนกหะดีษออกเปนหลาย
ระดับ เชน หะดีษเศาะหีหฺ หะดีษเฎาะอีฟ และหะดีษเมาฎอฺ หะดีษที่แข็งแรง
และหะดี ษ อ อ น หะดี ษ ที่ ใ ช ไ ด แ ละหะดี ษ ที่ ใ ช ไ ม ไ ด ยะหฺ ย า เบ็ ญ สะอี ด
อั ล ค อ ตฏอน กล า วตอบคํ า ถามที่ ว า “คุ ณ ไม ก ลั ว หรื อ ที่ คุ ณ ได ตํ า หนิ แ ละไม

(1)
มุสลิม : 1/11
(2)
อักรอม ฎิยาอฺ อัลอุมะรีย หนา 24
(3)
หนังสือเดิม
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 54
ยอมรับหะดีษจากการรายงานของพวกเขา (ผูรายงานที่มีความบกพรอง) ซึ่งจะ
เปนผูที่โตแยงทาน ณ อัลลอฮฺในวันกิยามะฮฺ? ทานยะหฺยาตอบวา ฉันคิดวาการ
โตตอบของพวกเขาในเรื่องดังกลาวดีกวาที่ทานนบีจะตําหนิฉันดวยคํากลาวของ
ทานนบี  ที่วา “ทําไมทานเปนผูโกหกตอหะดีษของฉัน”(1)

4. ประเภทของสะนัด
หะดีษทุกบทเมื่อพิจารณาสายรายงานตั้งแตตนสะนัดจนถึงปลายสะนัด
อาจจะแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
ประเภทที่หนึ่ง สะนัดอาลีย (‫)ﺍﻟﺴﻨﺪ ﺍﻟﻌﺎﱄ‬
สะนัดอาลีย หมายถึง สายรายงานที่มีผูรายงานเปนจํานวนนอย หาก
เปรียบเทียบกับสะนัดอื่น ซึ่งบรรดาอุละมาอฺมีความเห็นที่แตกตางกันในเรื่อง
จํานวนที่แนนอนของจํานวนนอย บางทัศนะกลาววา อยางนอยมีสามคนและ
บางทัศนะระบุวาหาคน เชน สะนัดของหะดีษที่บันทึกโดยอิมามมาลิก เบ็ญอะนัส
ในหนังสือ อัลมุวัตเฏาะอฺ
ประเภทที่สอง สะนัดนาซิล (‫)ﺍﻟﺴﻨﺪ ﺍﻟﻨﺎﺯﻝ‬
สะนัดนาซิล หมายถึง สายรายงานที่มีผูรายงานเปนจํานวนมาก หาก
เปรียบเทียบกับสะนัดอื่นที่มีผูรายงานนอย(2) หมายความถึง ผูรายงานที่มี
จํานวนระหวางสามทานหรือหาทานขึ้นไป เชน สะนัดของหนังสือหะดีษทั้งหก
และหนังสืออื่น ๆ(3)
ระหวางสองประเภทสะนัดนี้ สะนัดอาลียจะมีฐานะสูงกวาสะนัดนาซิล
เพราะการที่ ห ะดี ษ บทใดมี ผูร ายงานจํ า นวนน อ ยก็แ สดงให เห็ น ว า หะดีษ นั้ น

(1)
มุศฏอฟา อัสสิบาอีย หนา 98
(2)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 180
(3)
หนังสืออื่น ๆ เชน หนังสืออัลมะสานีด หนังสืออัลมะอาญิม และหนังสืออัซซุนัน
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 55
ภายในตัวมีความแข็งแรงกวาและมีน้ําหนักมากกวาสายรายงานที่มีผูรายงาน
เปนจํานวนมาก
ตัวอยางลักษณะของสะนัด
สะนัด

สะนัดอาลีย สะนัดนาซิล

‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

‫ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ‬
‫ﺍﺑﻦ ﻋﻤﺮ‬
‫ﻃﺎﻭﺱ‬
‫ﻧﺎﻓﻊ‬
‫ﺃﺑﻮ ﺍﻟﺰﺑﲑ‬
‫ﻣﺎﻟﻚ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﲪﻦ ﺑﻦ ﲪﻴﺪ‬
(1/82)
‫ﳛﻲ ﺑﻦ ﺁﺩﻡ‬

‫ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ‬

‫ﺍﻟﻨﺴﺎﺋﻲ‬
(3/35
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 56
สวนที่ 2 มะตันหะดีษ
ตามที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว ว า หะดี ษ แต ล ะบทที่ ม าจากท า นนบี โ ดยผ า น
กระบวนการรายงานนั้นมีสวนประกอบ 2 สวน คือ สะนัดหะดีษและมะตันหะดีษ
สวนที่หนึ่ งก็ ไดอธิบายไปแลวก อนหนา นี้และส วนที่ สอง คือ มะตันหะดีษ ซึ่ ง
ประกอบดวยรายละเอียด ดังตอไปนี้

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร คําวา ‫ ﻣﱳ‬แปลวา สิ่งที่ยกมาจากพื้นดิน
ตามหลักวิชาการ แปลวา สิ่งที่สิ้นสุดของสะนัดจากคําพูดหรือการ
กระทํา
มะตันหะดีษโดยสังเกตจากความหมายแลวสามารถพาดพิงถึงใครก็ได
เชน มะตันหะดีษ กุดสีย มะตันหะดีษมัรฟูอฺ มะตันหะดีษเมากูฟ และมะตัน
หะดีษมักฏอฺ

2. ลักษณะของมะตันหะดีษ
เมื่อพิจารณามะตันหะดีษหรือตัวบทหะดีษโดยรวม จะเห็นไดวามะตัน
หะดีษนั้นประกอบ ดวยคําพูดหลายลักษณะหรือหลายทํานองพอสรุปไดดังนี้
1. คําพูดที่มาจากอัลลอฮฺ  และทานนบี 
2. คําพูดที่มาจากทานนบีเพียงคําเดียว
3. คําพูดของทานนบีผสมผสานกับคําพูดของเศาะหาบะฮฺ
4. คําพูดของทานนบีผสมผสานกับคําพูดของตาบิอีน
5. คําพูดของคนหนึ่งคนใดแลวพาดพิงไปยังทานนบี 
6. คําพูดของชาวยะฮูดียและนะศอรอ หรือที่เรียกวา อิสรออีลิยะฮฺ
บทที่ 5 สะนัดและมะตัน 57
ทั้ ง นี้ คํ า พู ด เหล า นี้ จํ า เป น ต อ งทํ า การศึ ก ษาอย า งถี่ ถ ว นและทํ า การ
วิเคราะหอยางละเอียดโดยยึดหลักทางวิชาการ เพื่อแยกแยะระหวางคําพูดของ
ทานนบี  กับคําพูดของคนอื่น ๆ

การจําแนกหะดีษ

การจําแนกประเภทของหะดีษจะพิจารณาจาก 2 ดาน
พิจารณาผูที่ถูกพาดพิง มี 4 ประเภท
ประเภทที่ 1 หะดีษกุดสีย
ประเภทที่ 2 หะดีษมัรฟูอฺ
ประเภทที่ 3 หะดีษเมากูฟ
ประเภทที่ 4 หะดีษมักฏอฺ
พิจารณาที่มาถึงมือพวกเรา มี 2 ประเภท
ประเภทที่ 1 หะดีษมุตะวาติร
ประเภทที่ 2 หะดีษอาหาด
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
58

บทที่ 6
การจําแนกหะดีษ
โดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง

ประเภทที่ 1 หะดีษกุดสีย
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻗﺪﺳ ّﻲ‬แปลวา สะอาด บริสุทธิ์ เชน น้ําที่สะอาดหรือน้ําที่บริสุทธิ์
ดังนั้น หะดีษ กุดสีย คือ หะดีษที่บริสุทธิ์

ตามหลักวิชาการ
หะดีษกุดสีย หมายถึง หะดีษที่รายงานโดยทานนบี  ดวยสายรายงาน
ของทานเองพาดพิงถึงอัลลอฮฺ  (1)
สาเหตุ ที่ เ รี ย กหะดี ษ เป น หะดี ษ กุ ด สี ย เ พราะคํ า พู ด นั้ น พาดพิ ง ไปยั ง
อัลลอฮฺ  ซึ่งเปนคําพูดที่สะอาดบริสุทธิ์

2. การรายงานหะดีษกุดสีย
สําหรับการรายงานหะดีษกุดสียนั้นสามารถรายงานโดยใชสํานวนหนึ่ง
สํานวนใดจาก 2 สํานวนดวยกัน

(1)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 120
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
59
สํานวนที่ 1 ผูรายงานกลาววา จากทานนบี  ตามที่ทานไดรายงาน
จากอัลลอฮฺ  หรือ พระเจา พระองคทรงตรัสวา “…………….” ตัวอยางเชน

‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻤﺎ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬


‫ ) ) ﺇﻥ ﺍﷲ ﻛﺘﺐ ﺍﳊﺴﻨﺎﺕ‬: ‫ﻓﻴﻤﺎ ﻳﺮﻭﻱ ﻋﻦ ﺭﺑﻪ ﻋﺰﻭﺟ ﹼﻞ ﻗﺎﻝ‬
‫ ﻓﻤﻦ ﻫ ّﻢ ﲝﺴﻨﺔ ﻓﻠﻢ ﻳﻌﻤﻠﻬﺎ ﻛﺘﺒﻬﺎ ﺍﷲ ﻟﻪ‬،‫ ﰒ ﺑﻴّﻦ ﺫﻟﻚ‬،‫ﻭﺍﻟﺴﻴﺌﺎﺕ‬
‫ ﻛﺘﺒﻬﺎ ﺍﷲ ﻟﻪ ﻋﻨﺪﻩ ﻋﺸﺮ‬،‫ ﻓﺈﻥ ﻫ ّﻢ ﻓﻌﻤﻠﻬﺎ‬،‫ﻋﻨﺪﻩ ﺣﺴﻨﺔ ﻛﺎﻣﻠﺔ‬
‫ ﻭﻣﻦ ﻫ ّﻢ ﺑﺴﻴﺌﺔ‬.‫ﺣﺴﻨﺎﺕ ﺇﱃ ﺳﺒﻌﻤﺎﺋﺔ ﺿﻌﻒ ﺇﱃ ﺃﺿﻌﺎﻑ ﻛﺜﲑﺓ‬
‫ ﻓﺈﻥ ﻫﻮ ﻫ ّﻢ ﻬﺑﺎ‬،‫ ﻛﺘﺒﻬﺎ ﺍﷲ ﻋﻨﺪﻩ ﺣﺴـﻨﺔ ﻛﺎﻣﻠﺔ‬،‫ﻓﻠﻢ ﻳﻌﻤﻠﻬﺎ‬
(( ‫ ﻛﺘﺒﻬﺎ ﺍﷲ ﺳﻴﺌﺔ ﻭﺍﺣﺪﺓ‬،‫ﻓﻌﻤﻠﻬﺎ‬

ความวา : จากอิบนุอับบาส  เลาจาก รสูลุลลอฮฺ  ตามที่ทานได


กลาวรายงานจากพระเจาของทานทรงดํารัสวา “แทจริงอัลลอฮฺไดบันทึก
ไวซึ่งความดีและความชั่ว และพระองคไดอธิบายเรื่องดังกลาว ดังนั้น
ผูใดมีความประสงคจะทําในสิ่งที่ดีแตเขาไมไดทํา อัลลอฮฺจะบันทึกไว
สําหรับเขาหนึ่งความดี เมื่อเขาไดปฏิบัติความดีนั้นอัลลอฮฺจะบันทึกใหแก
เขาสิบเทาตัวจนถึงเจ็ดรอยเทาหรือมากกวา และผูใดตั้งใจจะทําในสิ่งชั่ว
แตเขาไมไดทํา อัลลอฮฺจะบันทึกใหเขาหนึ่งความดี แตเมื่อเขาลงมือทํา
สิ่งชั่วนั้น อัลลอฮฺจะบันทึกแกเขาหนึ่งเทาเทานั้น”(1)

(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย เลมที่8 หนา 103
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
60
สํานวนที่ 2 ผูรายงานกลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา อัลลอฮฺ
 ทรงตรัสวา “………….” ตัวอยางเชน

‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬


(( ‫ﺎ ﻓﻘﺪ ﺁﺫﻧﺘُﻪ ﺑﺎﳊﺮﺏ‬‫ )) ﻣﻦ ﻋﺎﺩﻯ ﱄ ﻭﻟﻴ‬: ‫ ﺇﻥ ﺍﷲ ﻋﺰﻭﺟ ﹼﻞ ﻗﺎﻝ‬:

ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ  กลาววารสูลุลลอฮฺ  ไดกลาววา


“แทจริง อัลลอฮฺทรงตรัสวา “ผูใดทําเปนศัตรูกับผูนําของฉัน ฉัน
อนุญาตใหทําสงครามกับเขา”(2)

จากสองสํานวนที่ไดกลาวขางตน การรายงานหะดีษกุดสียจะใชสํานวน
เฉพาะ เจาะจง คือ สํานวนหนึ่งสํานวนใดเทานั้น ไมสามารถที่จะเปลี่ยนเปน
สํ า นวนอื่ น ได ฉะนั้ น การที่ จ ะรู จั ก หะดี ษ กุ ด สี ย นั้ น จะต อ งสั ง เกตสํ า นวนการ
รายงาน เพราะทั้งสองสํานวนนั้นจะใชสําหรับรายงานหะดีษประเภทอื่น ๆ มิได

3. ขอแตกตางระหวางหะดีษกุดสียกับอัลกุรอานและหะดีษนะบะวีย
ระหวางหะดีษกุดสียกับอัลกุรอานและหะดีษนะบะวียมีความแตกตางทั้ง
ทางดานตัวบทและความหมาย คือ
ก. อัลกุรอาน
1. อัลกุรอานเปนคําตรัสที่เต็มไปดวยมุอฺญิซะฮฺ
2. อัลกุรอานมาจากอัลลอฮฺ  ทั้งตัวบทและความหมาย

(2)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย เลมที่ 11 หนา 340-341
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
61
3. อัลกุรอานใชประกอบอิบาดะฮฺได
4. อัลกุรอานถูกประทานลงมาโดยผานมลาอิกะฮฺญิบรีล
5. อัลกุรอานไมอนุญาตใหจับหรือแตะตองถาไมมีวุฎอฺ (น้ําละหมาด)
6. อัลกุรอานตองมาจากการรายงานอยางมุตะวาติร(1)
ข. หะดีษกุดสีย
1. หะดีษกุดสียไมใชคําพูดที่เปนมุอฺญิซะฮฺ
2. หะดีษกุดสียมาจากอัลลอฮฺในแงความหมาย สวนถอยคําเปน
ของทานนบี 
3. หะดีษกุดสียใชประกอบอิบาดะหไมได
4. หะดีษกุดสียไมจําเปนตองผานมลาอิกะฮฺญิบรีล
5. หะดีษกุดสียอนุญาตใหจับหรือแตะตองโดยไมมีวุฎอฺ
6. หะดีษกุดสียไมจําเปนตองมาจากการรายงานอยางมุตะวาติร
ค. หะดีษนะบะวีย
1. หะดีษนบีไมใชคําพูดที่เปนมุอญิซะฮฺ
2. หะดีษนบีทั้งตัวบทและความหมายมาจากทานนบี 
3. หะดีษนบีใชประกอบอิบาดะฮฺไมได
4. หะดีษนบีไมจําเปนตองผานมลาอิกะฮฺญิบรีล
5. หะดีษนบีอนุญาตจับหรือสัมผัสโดยไมมีวุฎอฺ
6. หะดีษนบี  มีทั้งหะดีษมุตะวาติรและหะดีษอาหาด
ที่จริงแลวขอแตกตางระหวางหะดีษกุดสียกับอัลกุรอานและหะดีษนะบะ
วีย(2)มีอีกมากมายที่ยังไมไดระบุไวในหนังสือเลมนี้ ไมวาจะพิจารณาดานใดก็

(1)
มุตะวาติร หมายถึง การรายงานของผูคนเปนจํานวนมาก (ดูรายละเอียดหนา 59-64 หนังสือเลมนี้)
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
62
ตาม เชน สํานวนโวหาร การนํามาใชเปนหลักฐาน การประกอบอิบาดะฮฺ
หุกมหะกัม ความเปนมุอฺญิซะฮฺ ลักษณะคําพูด เปนตน
4. จํานวนหะดีษกุดสีย
หะดีษกุดสียมีจํานวนไมมากเมื่อเทียบกับหะดีษนะบะวียโดยประมาณมี
จํานวน 200 กวาหะดีษเทานั้น

5. ระดับของหะดีษกุดสีย
หะดีษกุดสียมีหลายระดับดวยกันทั้งที่เปนหะดีษกุดสียเศาะหีหฺ หะดีษ
กุ ด สี ย ห ะซั น หะดี ษ กุ ด สี ย ฎ ออี ฟ และหะดี ษ กุ ด สี ย เ มาฎ อฺ ซึ่ ง ขึ้ น อยู กั บ
สถานภาพของผูรายงานแตละทานทั้งทางดานคุณธรรมและความบกพรอง ทั้งนี้
เพราะหะดี ษ กุ ด สี ย มี ส ายรายงานเหมื อ นกั บ หะดี ษ นะบะวี ย ที่ ป ระกอบด ว ย
ผูรายงานที่มีสถานภาพหลากหลาย
6. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษกุดสียที่อยูในระดับเศาะหีหฺหรือหะซันจําเปนจะตองนํามาใชเปน
หลักฐาน สวน หะดีษกุดสียที่มีระดับเฎาะอีฟหรือเมาฎอฺไมอนุญาตใหนํามาใช
เปนหลักฐาน
7. ตําราที่เกี่ยวของ

‫ ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﺅﻭﻑ ﺍﳌﻨﺎﻭﻱ‬،‫ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻻﲢﺎﻓﺎﺕ ﺍﻟﺴﻨﻴﺔ ﺑﺎﻷﺣﺎﺩﻳﺚ ﺍﻟﻘﺪﺳﻴﺔ‬


หนังสือเลมนี้ไดรวบรวมหะดีษกุดสียเปนการเฉพาะมีจํานวน 272 หะดีษ

(2)
อัลกุรอาน, ความหมายและตัวบทมาจากอัลลอฮฺ  หะดีษกุดสีย, ความหมายมาจากอัลลอฮฺ  สวนตัวบทมา
จากรสูลุลลอฮฺ  และหะดีษนะบะวีย, ความหมายและตัวบทมาจากรสูลุลลอฮฺ 
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
63
ประเภทที่ 2 หะดีษมัรฟูอฺ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﺮﻓﻮﻉ‬แปลวา ยกขึ้นไปยัง หรือพาดพิงถึง เชน ยกสิ่งของไปยัง
คนหนึ่งคนใด หรือพาดพิงถึงคน ๆ หนึ่ง ในดานภาษาคําวา “‫ ”ﻣﺮﻓﻮﻉ‬จะใชได
กับทานนบี บุคคลทั่วไปหรือแมแตสิ่งของก็ตาม

ตามหลักวิชาการ
หะดีษมัรฟูอฺ คือ สิ่งที่ผูรายงานพาดพิงถึงทานนบี  โดยระบุเปนคําพูด
การกระทํา การยอมรับ หรือคุณลักษณะตลอดจนชีวประวัติของทานนบี(1)
ในทางปฏิบัติจริงหะดีษมัรฟูอฺมักจะใชในลักษณะเฉพาะเจาะจงกับทานนบี
 เทานั้น การใชในลักษณะเชนนี้เปนที่รูกันอยางแพรหลายในหมูนักวิชาการทุก
สาขา

2. ชนิดและตัวอยางของหะดีษมัรฟูอฺ
จากนิยามขางตนพอสรุปไดวา หะดีษมัรฟูอฺมี 4 ชนิดดวยกัน คือ มัรฟูอฺ-
เกาลีย (ที่เปนคําพูด) มัรฟูอฺฟอฺลีย (การกระทํา) มัรฟูอฺตักรีรีย (การยอมรับ)
และมัรฟูอฺวัศฟย (คุณลักษณะ)
ชนิดที่ 1 หะดีษมัรฟูอฺเกาลีย (‫ﱄ‬
‫)ﺍﳌﺮﻓﻮﻉ ﺍﻟﻘﻮ ﹼ‬
หมายถึ ง คํ า พู ด ของท า นนบี  ที่ ไ ด ก ล า วในสถานการณ ต า ง ๆ จะ
เกี่ยวกับเรื่องศาสนาหรือเรื่องทางโลก เชน การดุอาอฺ การใหคําตักเตือน การ
อาน เปนตน

(1)
ดู ความหมายของหะดีษ หนา 9
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
64
หะดีษมัรฟูอฺชนิดนี้ เรียกอีกชื่อวา หะดีษเกาลีย ตัวอยาง มีเศาะ
หาบะฮฺทานหนึ่งไดรายงานวา ทานนบี  ไดกลาวเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งใน
สถานการณ สถานที่ และเวลา เปนตน เชน กลาวถึงเรื่องหะลาลและหะรอม
การหาม คําตักเตือน และอื่น ๆ
หะดีษมัรฟูอฺเกาลียจะใหหุกมทั้งที่เปนวาญิบ สุนัต หะรอม และมักรูฮฺ ซึ่ง
ขึ้นอยูกับสํานวนคําพูดที่กลาวออกมาหรือกรณีแวดลอมอื่น ๆ
ชนิดที่ 2 หะดีษมัรฟูอฺฟอฺลีย (‫)ﺍﳌﺮﻓﻮﻉ ﺍﻟﻔﻌﻠ ّﻲ‬
หมายถึง การกระทําของทานนบี  ตอหนาศอหาบะฮฺหรือตอหนาทาน
หญิงในกลุมภริยาของทาน การกระทําในทุก ๆ อิริยาบถของทานนบีไมวาจะเปน
เรื่องสวนตัว อิบาดะฮฺ มุอามะลาต มุนากะฮาต เปนตน
หะดี ษ มั ร ฟู อฺ ฟ อฺ ลี ย เรี ย กอี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว า หะดี ษ ฟ อฺ ลี ย (2) ตั ว อย า งเช น
เศาะหาบะฮฺ กลาววา การกระทําของทานนบี  อยางนี้หรือทานนบีไดปฏิบัติ
ในลักษณะนี้
หะดีษ มัร ฟูอฺฟอฺลียจะให หุก มทั้ งที่ เปนวาญิบ สุ นัต หะรอม และมักรู ฮฺ
เหมือนกับ หุกมของหะดีษมัรฟูอฺเกาลีย
ชนิดที่ 3 หะดีษมัรฟูอฺตักรีรีย (‫ﻱ‬ ّ ‫)ﺍﳌﺮﻓﻮﻉ ﺍﻟﺘﻘﺮﻳﺮ‬
หมายถึง การยอมรับของทานนบี  ตอการกระทําของเศาะหาบะฮฺบาง
คนที่ไดปฏิบัติตอหนาทานนบี  หรือใหการยอมรับตอคําอานของเศาะหาบะฮฺ
บางคนที่ไดอานตอทาน
หะดี ษ มั ร ฟู อฺ ช นิ ด นี้ เ รี ย กอี ก ชื่ อ หนึ่ ง ว า หะดี ษ ตั ก รี รี ย ตั ว อย า งเช น
เศาะหาบะฮฺทานหนึ่งกลาววา ไดมีการปฏิบัติตอหนาทานนบี  อยางนี้ และ

(2)
มัรฟูอฺฟอฺลียไมวาการกระทํานั้นเปนเรื่องสวนตัวของทานนบี  หรือไมก็ตาม หุกมของการกระทําสําหรับ
ทานนบี  เพียงผูเดียวหรือรวมถึงประชาชาติดวย
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
65
ไมมีการปฏิบัติจากทานในเรื่องดังกลาว การใหการยอมรับของทานนบี 
มักจะใชสํานวนที่หลากหลาย เชน
1. สํานวนที่ชัดเจนตอขอซักถามของเศาะหาบะฮฺ เชน ทานนบี  กลาว
วา “คุณปฏิบัติถูกตองแลว” (َ‫ﺻْﺒﺖ‬ َ ‫)ﹶﺃ‬
2. สํานวนที่พูดในเชิงใหกําลังใจตอการกระทําของเศาะหาบะฮฺ หรือตอ
คําพูดของพวกเขา เชน ทานนบี  กลาววา “แทจริงอัลลอฮฺ  ทรงรักเขา”
(‫ )ﺇﻥ ﺍﷲ ﳛﺒﻪ‬เปนตน
3. การเงียบตอการกระทําของเศาะหาบะฮฺบางคน กลาวคือ ทานนบี 
ไมไดปฏิเสธ หรือไมไดใหการยอมรับ เชน ไมไดสั่งและไมไดหามเศาะหาบะฮฺ
หะดีษมัรฟูอฺตักรีรียจะมีเพียงหุกมเดียวเทานั้น คือ หุกมมุบาหฺ (ฮารุส)
อนุญาตใหปฏิบัติได กลาวคือ ผูใดตองการปฏิบัติก็สามารถทําไดและผูใดไม
ประสงคจะปฏิบัติก็ไมผิดกับบทบัญญัติอิสลามแตอยางใด หะดีษมัรฟูอฺชนิดนี้
เปนการเปดโอกาสแกประชาชาติในเรื่องตางๆ โดยเฉพาะเรื่องที่สามารถอํานวย
ประโยชนในการดํารงชีวิต
ชนิดที่ 4 หะดีษมัรฟูอฺวัศฺฟย (‫)ﺍﳌﺮﻓﻮﻉ ﺍﻟﻮﺻﻔ ّﻲ‬
หมายถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะที่ ท า นนบี ไ ด ป ฏิ บั ติ ใ นทุ ก อิ ริ ย าบถและในทุ ก
สถานการณ ตลอดชีวิต เชน เศาะหาบะฮฺกลาววา ทานนบี  ปฏิบัติตัวอยาง
นี้ หรือทานกลาวเชนนี้ เปนตน
หะดีษมัรฟูอฺตามลักษณะเชนนี้เรียกอีกชื่อวา หะดีษวัศฺฟย
หะดีษมัรฟูอฺวัศฟยจะมีหุกมทั้งที่เปนหุกมวาญิบ สุนัต และมุบาหฺ ซึ่งเปน
สิ่งที่ดีหากมีการปฏิบัติตามดังเชนการปฏิบัติของทานนบี 
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
66
3. ระดับของหะดีษมัรฟูอฺ
หะดีษ มัรฟู อฺมีหลายระดับทั้งที่ เปนหะดีษเศาะหีหฺ หะดี ษหะซัน หะดีษ
เฎาะอี ฟ หะดี ษ ฎออี ฟ ญิ ด ดั น และเมาฎ อฺ หะดี ษ ทั้ ง ห า ระดั บ นี้ ก็ ขึ้ น อยู กั บ
สถานภาพของผูรายงานหะดีษแตละคนตั้งแตชวงตน ชวงกลางหรือชวงสุดทาย
ของสะนัด (รายละเอียดมีการอธิบายในบทที่ 5 และบทที่ 6)

4. การนํามาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตาม
หะดีษมัรฟูอฺนั้นใชวาสามารถใชเปนหลักฐานไดทั้งหมด หากแตบางหะดีษ
ใชเปนหลักฐานไดและบางหะดีษก็ใชเปนหลักฐานไมได ตามทัศนะของอุละมาอฺ
หะดี ษ หากหะดี ษ มั ร ฟู อฺ ส ามารถพาดพิงไปยังท า นนบี  ด ว ยกระบวนการ
รายงานที่ถูกตองแลว วาญิบ จะตองปฏิบัติตามและนํามาใชเปนหลักฐานได
พึงทราบเปนการเบื้องตนวา หะดีษมัรฟูอฺบางครั้งจะขัดแยงกับหะดีษเมา
กูฟ และบางครั้งจะขัดแยงกับหะดีษมัรฟูอฺดวยกัน ในกรณีเชนนี้จะตองยึดปฏิบัติ
ตามหะดีษมัรฟูอฺที่มีฐานะเหนือกวา

ประเภทที่ 3 หะดีษเมากูฟ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﻮﻗﻮﻑ‬เปนอาการนามในรูปของมัฟอูล (กรรม) มาจากคําวา
“‫ ”ﺍﻟﻮﻗﹾﻒ‬ซึ่งแปลวา หยุด หรือสุดที่
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
67

ตามหลักวิชาการ
หมายถึง สิ่งที่พาดพิงถึงบรรดาศอหาบะฮฺจะเปนคําพูด การกระทํา
และการยอมรับ ที่ไมใชพาดพิงถึงทานนบี  (1)
การที่เรียกวา หะดีษเมากูฟนั้นก็เนื่องจากสิ้นสุดคําพูด การกระทํา และ
การยอมรับเพียงแคเศาะหาบะฮฺเทานั้น

2. ชนิดและตัวอยางของหะดีษเมากูฟ
จากนิยามขางตน หะดีษเมากูฟสามารถจําแนกออกเปน 3 ชนิดดังนี้
ชนิดที่ 1 หะดีษเมากูฟเกาลีย (‫ﱄ‬
‫)ﺍﳌﻮﻗﻮﻑ ﺍﻟﻘﻮ ﹼ‬
หมายถึง คําพูดของศอหาบะฮฺที่ไดกลาวในเวลาและสถานที่ตาง ๆ ที่
ไมมีสวนเกี่ยวของใด ๆ กับทานนบี 
คําพูดหรือคํากลาวของเศาะหาบะฮฺที่ผูรายงานแอบอางไดยินหรือเห็น
โดยตรงจากเศาะหาบะฮฺซึ่งไมมีกรณีแวดลอม(1) บงชี้ถึงการอางมาจากทานนบี
 แมแตคําเดียว แตหากมีกรณีแวดลอมแสดงถึงการพาดพิงถึงทานนบีจะไม
เรียกวา หะดีษเมากูฟ เชน ผูรายงานกลาววา มีเศาะหาบะฮฺทานหนึ่งกลาววา
“…………….” ตัวอยาง

‫ " ﺣﺪﺛﻮﺍ ﺍﻟﻨﺎﺱ ﲟﺎ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﻋﻠ ّﻲ ﺑﻦ ﺃﰊ ﻃﺎﻟﺐ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬


" ‫ ﺃﺗﺮﻳﺪﻭﻥ ﺃﻥ ﻳﻜﺬﺏ ﺍﷲ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ‬،‫ﻳﻌﺮﻓﻮﻥ‬

(1)
อัลอิรอกีย หนา 51
(1)
กรณีแวดลอมเปนที่รูกันในหมูอุละมาอฺวา “‫ ”ﻗﺮﻳﻨﺔ‬หรือหลักฐานจากอัลกุรอานและอัสสุนนะฮฺ
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
68

แปลวา : อาลี เบ็ญอะบีฏอเล็บ  กลาววา “จงอธิบายใหคนอื่นฟงดวย


ภาษาที่ พ วกเขาเข า ใจ หรื อ ว า พวกเจ า ต อ งการจะกล า วโกหก
ตออัลลอฮฺและรสูลของพระองค”(2)

ชนิดที่ 2 หะดีษเมากูฟฟอฺลีย (‫)ﺍﳌﻮﻗﻮﻑ ﺍﻟﻔﻌﻠ ّﻲ‬


หมายถึง การกระทําของเศาะหาบะฮฺที่เกิดขึ้นในทุก ๆ สถานการณ ทุก
ๆ อิริยาบถและลักษณะตางๆ
การกระทําของเศาะหาบะฮฺที่เปนเมากูฟนั้นตองมาจากการรายงานที่อาง
ถึงพวกเขาโดยตรงและไมเกี่ยวของกับทานนบี  แตอยางใด ตัวอยางเชน
ผูรายงานกลาววา เปนการกระทําของเศาะหาบะฮฺทานนี้ หรือมีเศาะหาบะฮฺ
ทานหนึ่งไดกระทําสิ่งนี้ เปนตน

" ‫ " ﻭﺃ ّﻡ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﻭﻫﻮ ﻣﺘﻴﻤﻢ‬: ‫ﻱ _ ﺭﲪﻪ ﺍﷲ‬


ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬

แปลวา : อิมามอัลบุคอรียกลาววา อิบนุอับบาสเปนอิมามนําละหมาดทั้ง


ๆ ที่ทานตะยํามุม(3)

ชนิดที่ 3 หะดีษเมากูฟตักรีรีย (‫ﻱ‬


ّ ‫)ﺍﳌﻮﻗﻮﻑ ﺍﻟﺘﻘﺮﻳﺮ‬
หมายถึง เศาะหาบะฮฺใหการยอมรับตอคําพูดหรือการกระทําของคนหนึ่ง
คนใดที่ปรากฏตอหนาพวกเขาหรือจากการบอกเลาใหแกพวกเขา(4)

(2)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย เลมที่1 หนา 56
(3)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย เลมที่1 หนา 82
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
69
ตัวอยางหะดีษเมากูฟตักรีรีย เชน ตาบิอีนทานหนึ่งไดรายงานวา
เขาไดปฏิบัติอยางหนึ่งอยางใดตอหนาเศาะหาบะฮฺทานหนึ่ง แตไมไดรับการ
ปฏิเสธจากพวกเขาแมแตคนเดียว หรือตาบิอีนกลาววา เขาไดกระทําสิ่งหนึ่งตอ
หนาเศาะหาบะฮฺทานหนึ่ง เศาะหาบะฮฺทานนั้นใหการยอมรับตอการกระทํา
หรือพวกเขาไมปฏิเสธ ดังที่ปรากฏในคอบัรตอไปนี้

‫ﺃﻥ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﺍﳋﻄﺎﺏ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻬﻧﻰ ﻋﻦ ﺍﳌﻐﺎﻻﺕ ﰲ‬


‫ ﺃﻥ ﺍﷲ‬،‫ ﻟﻴﺲ ﺫﻟﻚ ﺇﻟﻴﻚ ﻳﺎ ﻋﻤﺮ‬: ‫ ﻓﻘﺎﻟﺖ ﺍﻣﺮﺃﺓ‬،‫ﺍﳌﻬﻮﺭ‬
. ‫ ﻭﺁﺗﻴﺘﻢ ﺇﺣﺪﺍﻫ ّﻦ ﻗﻨﻄﺎﺭﹰﺍ ﻣﻦ ﺫﻫﺐ‬ : ‫ﻋﺰﻭﺟ ﹼﻞ ﻳﻘﻮﻝ‬
.‫ ﻛﻠﻜﻢ ﺃﻓﻘﻪ ﻣﻦ ﻋﻤﺮ‬: ‫ﻭﻗﺎﻝ‬

แปลวา : “แทจริงอุมัร เบ็ญ อัลคอฏฏอบไดหามเรียกคามะฮัรแพง (เกิน


กวาเหตุ) มีผูหญิงทานหนึ่งกลาววา เรื่องนี้ไมใชสําหรับตัวทาน
แตอยางใด นางก็อานอายะฮฺ  ‫ﻭﺁﺗﻴﺘﻢ ﺇﺣﺪﺍﻫ ّﻦ ﻗﻨﻄـﺎﺭﹰﺍ ﻣﻦ‬
‫ ﺫﻫﺐ‬(1) ความวา “และเจาจงมอบแกพวกนางสิ่งมีคาจากทอง”
และอุมัรกลาววา ทุกคนในกลุมพวกเจาเขาใจ (เรื่องมะฮัร) ดีกวา
อุมัรเสียอีก”(2)

(4)
คือ เศาะหาบะฮฺใหการยอมรับตอคําพูดหรือการกระทําของเศาะหาบะฮฺดวยกัน หรือใหการยอมรับตอคํา พูด
หรือการกระทําของตาบิอีน และไมไดรับการคัดคานจากเศาะหาบะฮฺทานอื่น
(1)
ซูเราะฮฺอันนิสาอฺ อายะฮฺที่ 20
(2)
บันทึกโดยอับดุรรอซาคฺ (อางใน อัศศอนอานีย เลมที่3 หนา 321)
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
70
สิ่ ง ที่ น า สั ง เกตประการหนึ่ ง คื อ การที่ ผู ร ายงานกล า วพาดพิ ง ถึ ง
เศาะหาบะฮฺ แ ละเศาะหาบะฮฺ กล า วพาดพิ งไปยังท า นนบี  ในลั ก ษณะใดก็
ตามที่สามารถเขาใจวามาจากทานนบี  กรณีเชนนี้ไมใชเปนหะดีษเมากูฟ แต
เปนหะดีษมัรฟูอฺ(3)

3. ระดับของหะดีษเมากูฟ
หะดีษเมากูฟไมไดอยูในระดับเดียวกัน แตบางหะดีษอยูในระดับหะดีษ
ศอหีฮฺ บางหะดีษอยูในระดับหะซัน และบางหะดีษอยูในหะดีษฎออีฟ(4)

4. การนํามาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตาม
การนําหะดีษเมากูฟมาเปนหลักฐานนั้นใหพิจารณาจาก 2 ประการ คือ
ประการแรก หะดีษเมากูฟที่ไมใชหุกมมัรฟูอฺ หากอยูในระดับหะดีษเมากูฟที่
เศาะหีหฺหรือหะซันก็สามารถนํามาใชเปนหลักฐานได และยังสามารถใหการ
สนับสนุนหะดีษมัรฟูอฺเฎาะอีฟอีกดวย เนื่องจากบรรดาเศาะหาบะฮฺจะปฏิบัติ
ตามสุนนะห และประการที่สองคือ หะดีษเมากูฟที่มีหุกมเปนมัรฟูอฺก็มีฐานะ
เหมือนกับหะดีษมัรฟูอฺทุกประการ
ที่กลาวมาขางตนนั้น คือ ในกรณีที่หะดีษเมากูฟไมขัดแยงกับหะดีษมัรฟูอฺ
ที่ใชเปนหลักฐานได(1) สวนหะดีษเมากูฟที่ขัดแยงกับหะดีษมัรฟูอฺที่มีฐานะฎออีฟ
อุละมาอฺมีความเห็นที่แตกตาง ซึ่งบางทัศนะระบุวา ใหนําหะดีษเมากูฟใชเปน
หลักฐาน และบางทัศนะกลาววา ใหนําหะดีษมัรฟูอฺเฎาะอีฟเปนหลักฐานได แต

(3)
รายละเอียดจะอธิบายในเรื่องหะดีษเมากูฟหุกมมัรฟูอฺ
(4)
รายละเอียดมีการอธิบายในบทที่ 6
(1)
หะดีษเมากูฟและหะดีษมัรฟูอฺที่มีระดับเศาะหีหฺ หะซัน แมแตเฎาะอีฟ
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
71
ในกรณีหะดีษเมากูฟขัดแยงกับหะดีษเมาฎอฺ จะตองใชหะดีษเมากูฟเปน
หลักฐาน ถึงแมวาจะอยูในระดับหะดีษฎออีฟก็ตาม
แตในทางปฏิบัติจริง การนําหะดีษเมากูฟมาเปนหลักฐานนั้นมีอุลามาอฺ 2
กลุมดวยกัน คือ
กลุมที่หนึ่ง เปนการปฏิบัติของอิมามอัชชาฟอีย อิมามอะหฺมัด เบ็ญ หัน
บัล อิมาม อัลบัยฮะกียและอื่น ๆ ใชหะดีษเมากูฟเปนหลักฐาน ตามทัศนะของ
อุละมาอฺบางกลุม หะดีษเมากูฟตองมากอนกิยาสเสมอ(2) ตัวอยาง การยกมือ
ทั้งสองขางในการละหมาด ญะนาซะฮฺ ซึ่งอุละมาอฺกลุมนี้ใหฟตวาวา สุนัตใหยก
สองมือทุกครั้งเมื่อกลาวตักบีร ทั้ง 4 ครั้งโดยยึดหะดีษเมากูฟของอิบนุ อุมัรที่มี
ฐานะเปนหะดีษหะซัน(3)
กลุมที่สอง เปนการปฏิบัติของอิมามอะบูหะนีฟะฮฺ ซึ่งมีความเห็นวาหะดีษ
เมากูฟใชเปนหลักฐานไมได เนื่องจากเปนเพียงคําพูดของคนบางคนเทานั้น
คําพูดนั้นอาจจะถูกหรือผิดก็ได(4) ดวยเหตุดังกลาว อิมามอะบูหะนีฟะฮฺกลาววา
ไมสุนัตในการยกมือทั้งสองขางขณะกลาวตักบีรในละหมาดญะนาซะฮฺทั้งสี่ครั้ง
ทานใชหะดีษมัรฟูอฺเฎาะอีฟถือเปนหลักฐานเพื่อยืนยันตอฟตวาดังกลาว(5)

หะดีษเมากูฟที่มีหุกมเปนหะดีษมัรฟูอฺ
นอกจากหะดีษเมากูฟที่ไดอธิบายไปแลวนั้น จะมีหะดีษเมากูฟอีกชนิด
หนึ่ง ซึ่งเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายในนาม หะดีษเมากูฟที่มีฐานะเปนหุกมมัร
ฟูอฺ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา หะดีษเมากูฟหุกมีย ที่เรียกหะดีษเชนนี้ก็เพราะเปน

(2)
ดู มัดกูร หนา 81
(3)
บันทึกโดยอัลบัยฮะกีย : 3/258
(4)
ดู มัดกูร หนา 81
(5)
บันทึกโดยอะบูดาวูด : 2/169
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
72
คํากลาวหรือการกระทําของเศาะหาบะฮฺแตมีการเกี่ยวพันกันกับทานนบี 
ในเรื่องนั้น ๆ ในดานของหุกม กลาวคือ ตัวบทหะดีษเปนเมากูฟแตหุกมของหะ
ดีษเปนมัรฟูอฺ โดยทั่วไปแลวหะดีษในลักษณะนี้มี 3 ลักษณะดวยกัน คือ
ลักษณะที่ 1 คําพูดของเศาะหาบะฮฺที่ไมอยูในกรอบของการอิจญติฮาด
และไมไดอยูในฐานะของการอธิบายศัพทหรือขยายความเอง ตัวอยางเชน
1. คําอธิบายเกี่ยวกับเรื่องราวตาง ๆ ที่ผานมาในอดีตเกี่ยวกับการสราง
มัคลูก
2. คําพูดที่กลาวถึงเรื่องราวตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเชน มีการพูดถึง
การฆาฟนกัน ฟตนะฮฺตาง ๆ และวันกิยามะฮฺ เปนตน
3. คําพูดที่กลาวถึงผลตอบแทนที่มีตอมนุษย
ลักษณะที่ 2 ผูรายงานกลาวรายงานหะดีษแตพาดพิงถึงเศาะหาบะฮฺโดย
ใชคําหนึ่งคําใดตอไปนี้ “‫ ”ﻳﺮﻓﻌﻪ‬หรือ “‫ ”ﻳﻨﻤﻴﻪ‬หรือ “‫ ”ﻳﺒﻠﻎ ﺑﻪ‬หรือ “‫”ﺭﻭﺍﻳﺔ ﻋﻨﻪ‬
ตัวอยางเชน หะดีษจากการรายงานของอัลอะอฺรอจญ กลาววา

‫ ﺗﻘﺎﺗﻠﻮﻥ ﻗﻮﻣﹰﺎ ﺻﻐﺎﺭ ﺍﻷﻋﲔ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﺭﻭﺍﻳﺔ‬

ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺในบางสายรายงานกลาววา
พวกเขาจะตอสูกับกลุมหนึ่งที่มีอายุนอย(1)

(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 4/56
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
73
ลักษณะที่ 3 ผูรายงานกลาววา มีเศาะหาบะฮฺทานหนึ่งกลาวรายงาน
หะดีษโดยสํานวนการรายงานตอไปนี้ “‫ ”ﺃﻣﺮﻧﺎ ﺑﻜﺬﺍ‬หรือ “‫ ”ﻬﻧﻴﻨﺎ ﻋﻦ ﻛﺬﺍ‬หรือ
“‫ ”ﻣﻦ ﺍﻟﺴﻨﺔ ﻛﺬﺍ‬และใชสํานวนอื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน(2) ตัวอยางเชน
1. คําพูดของเศาะหาบะฮฺบางทานกลาววา

‫ ﻭﺃﻥ ﻳﻮﺗﺮ ﺍﻹﻗﺎﻣﺔ‬،‫ﺃﻣﺮﻧﺎ ﺑﻼﻝ ﺃﻥ ﻳﺸﻔﻊ ﺍﻷﺫﺍﻥ‬

ความวา : “บิลาลไดสั่งพวกเราใหกลาวอะซานในสํานวนเปนคูและกลาว
อิกอมัตเปนคี่”(3)
2. คําพูดของอุมมุอะฏิยะฮฺกลาววา

‫ ﻭﱂ ﻳﻌﺰﻡ ﻋﻠﻴﻨﺎ‬،‫ﻬﻧﻴﻨﺎ ﻋﻦ ﺍﺗﺒﺎﻉ ﺍﳉﻨﺎﺋﺰ‬

ความวา : “พวกเราเปนที่หามติดตามญะนาซะฮฺ (ศพ) แตไมใชเปนการสั่ง


หามเด็ดขาด”(4)

3. คํารายงานของอะบูกิลาบะฮฺจากญาบิร  กลาววา

‫ﺝ ﺍﻟﺒﻜﺮ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﺜﻴﺐ ﺃﻗﺎﻡ ﻋﻨﺪﻫﺎ ﺳﺒﻌﹰﺎ‬


ّ ‫ﻣﻦ ﺍﻟﺴﻨﺔ ﺇﺫﺍ ﺗﺰﻭ‬

(2)
สํานวนขางตนเปนสํานวนที่แสดงถึงการพาดพิงถึงทานนบี 
(3)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 2/189
(4)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 3/56
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
74

ความวา : “บางสวนที่เปนสุนนะฮฺ คือ เมื่อมีการแตงงานกับหญิงสาวใน


บรรดาหญิงมายใหอยูกับนางเปนเวลาเจ็ดวัน”(1)

นอกจากสํานวนที่กลาวมาแลวขางตน ยังมีอีกหลายสํานวนที่กลาวใน
ทํานอง และมีความหมายเดียวกันซึ่งไมจําเปนตองอธิบายซ้ําอีก
อยางไรก็ตาม หะดีษเมากูฟที่มีหุกมเปนมัรฟูอฺก็สามารถใชเปนหลักฐาน
ไดหากการรายงานของหะดีษนั้น ๆ มีฐานะเปนหะดีษเศาะหีหฺหรือหะดีษหะซัน
แตหากการรายงานไมไดอยูในระดับเศาะหีหฺหรือหะซันไมอนุญาตนํามาใชเปน
หลั ก ฐานได โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ อะกี ด ะฮฺ อิ บ าดะฮฺ
การนิกาฮฺ เปนตน แตบางทัศนะมีความเห็นวา หะดีษเมากูฟหุกม มัรฟูอฺใช
เปนหลักฐานไดโดยไมตองวิเคราะหสถานภาพของหะดีษแตอยางใด เนื่องจาก
บรรดาเศาะหาบะฮฺไดปฏิบัติตามทานนบีในทุกสิ่งทุกอยางโดยไมตองสงสัยใด ๆ
ทั้งสิ้น

ประเภทที่ 4 หะดีษมักฏอฺ

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﻘﻄﻮﻉ‬เปนอาการนามในรูปของกรรม (อิสมฺ มัฟอูล) จากคําวา
“‫ ”ﹶﻗ ﹶﻄ َﻊ‬แปลวา ขาด ตรงกันขามกับคําวา “‫ﺻ ﹸﻞ‬
ْ ‫ ”ﺍﻟﻮ‬แปลวา ถึงหรือติอตอ ดังนั้น

(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 8/68
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
75
หะดีษมักฏอฺ หมายถึง หะดีษที่มีการรายงานไมถึงตนสาย คือ รสูลุลลอฮฺ
และเศาะหาบะฮฺ
`
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมักฏอฺ คือ สิ่งที่พาดพิงไปยังตาบิอีนเทานั้นทั้งที่เปนคําพูดและการ
กระทํา(2)
หะดีษประเภทนี้สามารถใชกับคําพูดหรือการกระทําของตาบิอฺ ตาบิอีน
เชน คําพูดของอิมามมาลิก เบ็ญ อะนัส อิมามอัชชาฟอีย อิมามอัษเษารีย เปน
ตน และยังสามารถใช กับคํ าพูดหรือการกระทํ าของอัตบาอฺ ตาบิ อฺ ตาบิอี น
เชนกัน เชน คําพูดหรือการกระทําของอิบนุอุยัยนะฮฺ อิบนุอุลัยยะฮฺ และทาน
อื่น ๆ

2. ชนิดและตัวอยางของหะดีษมักฏอฺ
จากนิยามขางตน หะดีษมักฏอฺแบงออกเปน 2 ชนิด
ชนิดที่ 1 หะดีษมักฏอฺเกาลีย (‫ﱄ‬ ‫)ﺍﳌﻘﻄﻮﻉ ﺍﻟﻘﻮ ﹼ‬
หมายถึง คําพูดของตาบิอีน ตาบิอฺตาบิอีน และอัตบาอฺ ตาบิอฺ ตาบิอีน
(1)
ที่ไดกลาวในเวลาและสถานการณตาง ๆ เชน คําพูดของอัลหะซัน อัลบัศรีย
เกี่ยวกับละหมาดตาม หลังอิมามมุบตะดิอฺ (อุตริ) กลาววา “จงละหมาดเถิด
ถึงแมวาเขาจะทําในเรื่องอุตริก็ตาม”(2)
ชนิดที่ 2 หะดีษมักฏอฺฟอฺลีย (‫)ﺍﳌﻘﻄﻮﻉ ﺍﻟﻔﻌﻠ ّﻲ‬

(2)
อัสสุยูฏีย : 2/ 96
(1)
อุละมาอฺทั้งสามรุนนี้เปนทั้งนักรายงาน นักบันทึกและนักทองจําหะดีษ
(2)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 1/158
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
76
หมายถึง การกระทําของตาบิอีน ตาบิอฺตาบิอีน หรืออัตบาอฺ ตา
บิอฺ- ตาบิอีน เชน คํารายงานของอิบรอเฮ็ม เบ็ญ มุฮัมมัด เบ็ญ อัลมุนตะศิรที่
กลาววา “อิมามมัสรูคไดกั้นมานระหวางเขากับครอบครัวของเขา ทานก็หันหนา
ทางกิบลัตในเวลาละหมาด ประกอบ อิบาดะฮฺ และใชสําหรับพูดคุยเรื่องดุนยา
ณ สถานที่นั้น”(3)

3. ระดับของหะดีษมักฏอฺ
หะดี ษ มั ก ฏ อฺ มี ทั้ ง ที่ เ ป น หะดี ษ มั ก ฏ อฺ เ ศาะหี หฺ หะดี ษ มั ก ฏ อฺ ห ะซั น และ
หะดีษมักฏอฺ เฎาะอีฟ และหะดีษมักฏอฺเมาฎอฺ

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดี ษ มั ก ฏ อฺ ไ ม อ นุ ญ าตให นํ า มาใช เ ป น หลั ก ฐานได ใ นเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ
บทบัญญัติอิสลามและเรื่องอื่น ๆ เนื่องจากเปนคําพูดหรือการกระทําของบุคคล
หนึ่งเทานั้น แตหากมีกรณีแวดลอมบงชี้อยางชัดเจนวามาจากเศาะหาบะฮฺโดยใช
สํานวนรายงานที่ชัดเจน เชน“‫ ”ﻗﺎﻝ‬หะดีษมักฏอฺในลักษณะนี้ จะมีหุกมเปน
หุกมมัรฟูอฺมุรซัล(4)
อีกประการหนึ่งที่สําคัญเกี่ยวกับคําพูดของบรรดาอุละมาอฺตาบิอีน ตาบิอฺ
ตาบิอีน และอัตบาอฺ ตาบิอฺตาบิอีนดังนี้
เมื่อพวกเขากลาววา “‫ ”ﻛﺎﻧﻮﺍ ﻳﻔﻌﻠﻮﻥ ﻛﺬﺍ‬แปลวา พวกเขาไดปฏิบัติอยาง
นี้ หรือกลาววา “‫ ”ﻛﺎﻧﻮﺍ ﻳﻘﻮﻟﻮﻥ ﻛﺬﺍ‬แปลวา พวกเขาไดกลาวเชนนี้ หรือกลาว
วา “‫ ”ﻻ ﻳﺮﻭﻥ ﺑﺬﻟﻚ ﺑﺄﺳﹰﺎ‬แปลวา พวกเขามีความเห็นวานั้นไมเปนไร สํานวน

(3)
บันทึกโดยอัดดัยละมีย : 2/96
(4)
รายละเอียดจะมีการอธิบายในเรื่องหะดีษมุรซัล
บทที่ 6 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาผูที่ถูกพาดพิง
77
เหลานี้มีความหมายแสดงการพาดพิงถึงเศาะหาบะฮฺทั้งที่เปนคําพูด การ
กระทําหรือแมแตการยอมรับ เวนแตมีหลักฐานบงชี้อยางชัดเจนวามาจากคน
อื่น ในทํานองเดียวกัน เมื่อพวกเขากลาววา “‫ ”ﻛﺎﻥ ﺍﻟﺴﻠﻒ ﻳﻔﻌﻠﻮﻥ ﻛﺬﺍ‬แปลวา
ชาวสะลัฟไดปฏิบัติอยางนี้ หรือกลาววา “‫ ”ﻳﻘﻮﻟﻮﻥ ﻛﺬﺍ‬แปลวา ชาวสะลัฟได
กลาวเชนนี้
สํานวนตาง ๆ เหลานี้มีความหมายเจาะจงใชกับเศาะหาบะฮฺเทานั้น
เพราะคําวา “สะลัฟ” ที่มาจากคําพูดของตาบิอีน คือ เศาะหาบะฮฺ แตหากเปน
คํากลาวของคนอื่นจะมีความหมายดังนี้
ตาบิอฺตาบิอีนกลาววา ชาวสะลัฟ หมายถึงเศาะหาบะฮฺและตาบิอีน
อัตบาอฺ ตาบิอฺตาบิอีน กลาววา ชาวสะลัฟ หมายความถึง เศาะหาบะฮฺ
ตาบิอีน และตาบิอฺตาบิอีน
หากกลาววา ชาวสะลัฟ ที่มาจากคําพูดของคนในสมัยตอ ๆ มาหรือคนใน
สมัย มุตะอัคคิรูน หมายถึง เศาะหาบะฮฺ ตาบิอีน ตาบิอฺตาบิอีน และอัตบาอฺ
ตาบิอฺตาบิอีน หรือผูที่มีชีวิตอยูในชวง 300 ปแรกแหงฮิจเราะฮฺศักราช
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 78

บทที่ 7
การจําแนกหะดีษ
โดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน

การจําแนกหะดีษที่จะกลาวถึงในบทนี้ คือ การจําแนกหะดีษมัรฟูอฺ ไมใช


หะดีษกุดสีย หะดีษเมากูฟ และหะดีษมักฏอฺแตอยางใด
การจําแนกหะดีษมัรฟูอฺเปนการพิจารณาจากสายรายงานของแตละหะดีษ
ที่มาถึงเราจากผูรายงานทั้งหลายตั้งแตชวงตนจนถึงทานนบี  การรายงานนั้น
ถูกตองหรือไมก็ตาม การจําแนก หะดีษในลักษณะนี้แบงออกเปน 2 ประเภท
คือ
ประเภทที่ 1 หะดีษมุตะวาติร
ประเภทที่ 2 หะดีษอาหาด
แตละประเภทจะมีการอธิบายรายละเอียดตามลําดับ

แผนภูมิการจําแนกหะดีษ…
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 79

แผนภูมกิ ารจําแนกหะดีษ

หะดีษ

หะดีษกุดสีย หะดีษนบี

หะดีษมุตะวาติร หะดีษอาหาด

หะดีษมักบูล หะดีษมัรดูด

หะดีษเศาะหีฮฺ หะดีษเฎาะอีฟ

หะดีษหะซัน หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน

หะดีษเมาฎอฺ

ประเภทที่ 1 หะดีษมุตะวาติร…
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 80

ประเภทที่ 1 หะดีษมุตะวาติร

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”َﺗﻮَﺍُﺗ ٌﺮ‬มาจากรากศัพทของคําวา “‫”ﺗﻮﺍﺗﺮ ﻳﺘﻮﺍﺗﺮ ﺗﻮﺍﺗﺮﹰﺍ‬แปลวา ติดๆ
กัน หรือไมขาดสาย เชน ฝนตกอยางติดตอกัน หมายถึงฝนตกลงมาติดตอกันไม
ขาดสาย สวนคําวา “‫ ”ﻣﺘﻮﺍﺗﺮ‬เปนนามในรูปของประธานซึ่งเปนชื่อเฉพาะของหะ
ดีษมุตะวาติร

ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุตะวาติร คือ หะดีษที่มีการรายงานโดยบุคคลเปนจํานวนมาก ซึ่ง
เปน ไปไมไดที่บุคคลเหลานั้นจะสมรูรวมคิดโกหกตอทานนบี  และหะดีษของ
ทาน(1)

2. เงื่อนไขของหะดีษมุตะวาติร
การที่จะเรียกหะดีษมุตะวาติรไดนั้นจะตองประกอบดวยเงื่อนไข 4 ประการ
ประการที่ 1 มีการรายงานโดยผูรายงานเปนจํานวนมาก(2)
ประการที่ 2 ผูรายงานจํานวนมากนั้นตองมีในทุกสายสะนัด(3)
(1)
ดู อัตตะฮานะวีย หนา 31
(2)
บรรดาอุละมาอฺมีความเห็นที่ตางกันเกี่ยวกับจํานวนผูรายงานขั้นต่ําของจํานวนมาก บางทัศนะกลาววาตั้ง แต 8
คนขึ้นไปบางทัศนะกลาววาตั้งแต 9 คนขึ้นไป และมีบางทัศนะกลาววาตั้งแต 10 คนขึ้นไป แตทัศนะที่ถูกตอง
คือ ทัศนะสุดทาย (ดู อัสสุยูฏีย : 2/188)
(3)
หมายความวา ในทุก ๆ ชวงของสะนัดนั้นตองมีผูรายงานอยางนอย 10 คนขึ้นไป
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 81
ประการที่ 3 ผูรายงานจํานวนมากนั้นเปนไปไมไดที่จะสมรูรวมคิดโกหก
ตอหะดีษ(4)
ประการที่ 4 การรายงานของพวกเขามีการสัมผัสดวยตนเอง(5)
หากขาดเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งในจํานวนสี่ประการนี้ ไมเรียกวาหะดีษมุตะ
วาติร แตจะเปนหะดีษอาหาด

3. ชนิดและตัวอยางหะดีษมุตะวาติร
หะดีษมุตะวาติรแบงออกเปน 2 ชนิด
ชนิดที่หนึ่ง หะดีษมุตะวาติรลัฟซีย (‫)ﺍﳌﺘﻮﺍﺗﺮ ﺍﻟﻠﻔﻈ ّﻲ‬
หมายถึ ง หะดี ษ ที่ เ ป น มุ ต ะวาติ ร ทั้ ง ตั ว บทและความหมายของหะดี ษ
ตัวอยาง

،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﻋﻮﺍﻧﺔ‬،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﻣﻮﺳﻰ ﺑﻦ ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ‬: ‫ﻱ‬ ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬


‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺻﺎﱀ‬،‫ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﺣﻔﺺ‬
‫ ) ) ﻣﻦ ﻛﺬﺏ ﻋﻠ ّﻲ‬: ‫ﻋﻨﻪ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬
(( ‫ﻣﺘﻌﻤﺪﹰﺍ ﻓﻠﻴﺘﺒﻮﺃ ﻣﻘﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬

ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ  จากทานนบี  กลาววา “และผูใด


เจตนาโกหกตอฉันก็จงเตรียมที่นั่งสําหรับเขาไวในไฟนรก”(1)

(4)
คือ ผูรายงานเปนจํานวนมากนั้นจะมาหลายเมือง หลายรุนและหลายมัซฮับ
(5)
คําวาสัมผัสดวยเองคือการรับหรือไดยินหะดีษโดยตรงจากอาจารยตลอดทั้งสายรายงานโดยใชสํานวนการ
รายงานหะดีษคําวา “‫ﺖ‬ ُ ‫ ”ﲰﻌﻨﺎ“ ”ﺳَﻤ ْﻌ‬หรือ “‫ﺖ‬
ُ ‫ ” ﹶﳌﺴْﻨﺎ“ ”ﳌ ْﺴ‬เปนตน
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 82

หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุตะวาติรทั้งตัวบทหะดีษและความหมาย อัลอัส
เกาะลานียกลาววา “สายรายงานของหะดีษในรุนเศาะหาบะฮฺมีมากกวา 70
คน”(2) ดังนั้น สายรายงานของหะดีษมีทั้งหมด 70 สาย สวนตัวบทของหะดีษมี
การรายงานดวยสํานวนที่หลากหลาย บางตอนของตัวบทหรือบางคําไมมีการ
รายงานของสะนัดอื่น แตตัวบทหะดีษจะกลาวในเรื่องเดียวกัน (ดูแผนภูมิสะนัด
หนา 61)
นอกจากสะนัดตาง ๆ ที่ไดยกมาจะมีสะนัดอื่นอีกหลายสะนัดที่รายงานหะ
ดีษดังกลาวทั้งหมดอยูในระดับหะดีษเศาะหีหฺหรือหะดีษหะซัน บางสะนัดมี
ลักษณะเปนสะนัดอาลียและบางสะนัดมีลักษณะเปนสะนัดนาซิล

แผนภูมิสะนัดหะดีษมุตะวาติรลัฟซีย. ..

(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรียดวยสองสะนัด คือ 1/577 จากอะบูฮุรัยเราะฮฺ และ จากอัลมุฆีเราะฮฺ : 3/160, มุสลิม
จากอะบูสะอีด : 18/129, อะบูดาวูด : 4/63 และอัตตัรมิซีย จากอับดุลเลาะ : 4/524, อิบนุมาญะฮฺไดรายงาน
ดวยสามสะนัด คือ จากอะนัส เบ็ญ มาลิกและ ญาบิร เบ็ญ อับดุลเลาะ : 1/13 และจากอะบูสะอีด อัลคุดรีย : 1/14
อะหฺมัด เบ็ญ หันบัล ไดรายงานดวยสองสะนัด คือ จากอะบูสะอีด อัลคุดรีย : 3/39 และจากอะนัส เบ็ญ มาลิก :
3/44, อัดดาริมียไดรายงานดวยสองสะนัด คือ จากอิบนุอับบาสและจาก ยะอฺลา เบ็ญ มุรเราะฮฺ : 1/88
(2)
อัลอัสเกาะลานีย : 1/129
‫‪บทที่ 7‬‬ ‫‪การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน‬‬ ‫‪83‬‬

‫‪แผนภูมิสะนัดหะดีษมุตะวาติรลัฟซีย‬‬
‫)) ﻣﻦ ﻛﺬﺏ ﻋﻠ ّﻲ ﻣﺘﻌﻤﺪﹰﺍ ﻓﻠﻴﺘﺒﻮﺃ ﻣﻘﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ ((‬

‫)‪(6‬‬ ‫)‪(5‬‬ ‫)‪(4‬‬ ‫)‪(3‬‬ ‫)‪(2‬‬ ‫)‪(1‬‬


‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

‫ﺃﻧﺲ ﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‬ ‫ﺃﺑﻴﻪ‬ ‫ﺃﺑﻴﻪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﺍﳌﻐﲑﺓ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻫﺮﻳﺮﺓ‬


‫ﻱ‬
‫ﺍﳋﺪﺭ ّ‬
‫ﺍﺑﻦ ﺷﻬﺎﺏ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ‬ ‫ﻋﺎﻣﺮ ﺑﻦ ﻋﺒﺪﺍﷲ‬ ‫ﻋﻠ ّﻲ ﺑﻦ ﺭﺑﻴﻌﺔ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺻﺎﱀ‬
‫ﻋﺒﺪﺍﷲ‬ ‫ﻋﻄﺎﺀ ﺑﻦ ﻳﺴﺎﺭ‬
‫ﺍﻟﻠﻴﺚ ﺑﻦ‬ ‫ﻭﺑﺮﺓ ﺑﻦ‬ ‫ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺣﺼﲔ‬
‫ﺳـﻌﺪ‬ ‫ﲰﺎﻙ ﺑﻦ ﺣﺮﺏ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﲪﻦ‬ ‫ﺯﻳﺪ ﺑﻦ ﺃﺳﻠﻢ‬ ‫ﻋﺒﻴﺪ‬
‫ﺃﺑﻮ ﻋﻮﺍﻧﺔ‬
‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺭﻣﺢ‬ ‫ﺷـﻌﺒﺔ‬ ‫ﺑﻴﺎﻥ ﺑﻦ ﺑﺸﺮ‬ ‫ﳘﹼﺎﻡ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻧﻌﻴﻢ‬
‫ﻣﻮﺳﻰ ﺑﻦ‬
‫ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬ ‫ﺧﺎﻟﺪ‬ ‫ﻫﺪّﺍﺏ ﺑﻦ ﺧﺎﻟﺪ‬ ‫ﻱ‬
‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ ّ‬ ‫ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ‬
‫)‪(1/13‬‬ ‫)‪(3/160‬‬
‫ﳏﻤﻮﺩ ﺑﻦ ﻏﻴﻼﻥ‬ ‫ﻣﺴﺪﺩ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ‫ﻱ‬
‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ ّ‬
‫)‪(18/129‬‬ ‫)‪(10/577‬‬
‫ﻱ‬
‫ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ ّ‬ ‫ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﻋﻮﻥ‬
‫)‪(4/524‬‬
‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬
‫)‪(4/63‬‬
‫‪บทที่ 7‬‬ ‫‪การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน‬‬ ‫‪84‬‬
‫)‪แผนภูมิสะนัดหะดีษมุตะวาติรลัฟซีย (ตอ‬‬
‫)) ﻣﻦ ﻛﺬﺏ ﻋﻠ ّﻲ ﻣﺘﻌﻤﺪﹰﺍ ﻓﻠﻴﺘﺒﻮﺃ ﻣﻘﻌﺪﻩ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ ((‬

‫)‪(12‬‬ ‫)‪(11‬‬ ‫)‪(10‬‬ ‫)‪(9‬‬ ‫)‪(8‬‬ ‫)‪(7‬‬


‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

‫ﺟﺪﻩ )ﻳﻌﻠىﱭ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ‬ ‫ﺃﻧﺲ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﺟﺎﺑﺮ‬
‫ﻣﺮﺓ(‬ ‫ﻣﺎﻟﻚ‬ ‫ﻱ‬
‫ﺍﳋﺪﺭ ّ‬ ‫ﻱ‬
‫ﺍﳋﺪﺭ ّ‬
‫ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺍﻟﺰﺑﲑ‬
‫ﺃﺑﻴﻪ )ﻋﺒﺪﺍﷲ(‬ ‫ﺟﺒﲑ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﻌﺰﻳﺰ‬ ‫ﻋﻄﺎﺀ ﺑﻦ ﻳﺴﺎﺭ‬ ‫ﻋﻄﻴﺔ‬
‫ﻫﺸﻴﻢ‬
‫ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﻋﺒﺪﺍﷲ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻷﻋﻠﻰ‬ ‫ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ‬ ‫ﺯﻳﺪ ﺑﻦ ﺃﺳﻠﻢ‬ ‫ﻣﻄﺮﻑ‬
‫ﺯﻫﲑ ﺑﻦ‬
‫ﺍﻟﺼﺎﱀ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻋﻮﺍﻧﺔ‬ ‫ﺑﻴﺎﻥ ﺑﻦ ﺑﺸﺮ‬ ‫ﳘﺎﻡ ﺑﻦ ﳛﻲ‬ ‫ﻋﻠ ّﻲ ﻳﻦ ﻣﺴﻬﺮ‬ ‫ﺣﺮﺏ‬
‫ﳏﺎﺭﺏ‬
‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﻫﺸﻴﻢ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻋﺒﻴﺪﺓ‬ ‫ﺳﻮﻳﺪ ﺑﻦ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬
‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﲪﻴﺪ‬ ‫ﻋﻴﺴﻰ‬ ‫)‪(1/13‬‬
‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ‬ ‫ﺃﲪﺪ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬
‫ﺍﻟﺪﺍﺭﻣ ّﻲ‬ ‫ﺍﻟﺪﺍﺭﻣ ّﻲ‬ ‫ﺟﻌﻔﺮ‬ ‫)‪(3/39‬‬ ‫)‪(1/14‬‬
‫)‪(1/88‬‬ ‫)‪(1/88‬‬
‫ﺃﲪﺪ‬
‫)‪(3/44‬‬

‫ﻱ( ‪ชนิดทีส่ อง หะดีษมุตะวาติรมะอฺนะวีย‬‬


‫)ﺍﳌﺘﻮﺍﺗﺮ ﺍﳌﻌﻨﻮ ّ‬
‫‪หมายถึง หะดีษมุตะวาติรในดานของความหมายเทานั้น ไมรวมถึงตัวบท‬‬
‫‪หะดีษ‬‬
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 85

‫ ﻛﺎﻥ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﻋﻦ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﺍﳋﻄﺎﺏ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ‬


‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﺇﺫﺍ ﺭﻓﻊ ﻳﺪﻳﻪ ﰲ ﺍﻟﺪﻋﺎﺀ ﱂ ﳛﻄﻬﻤﺎ ﺣﱴ‬
‫ﳝﺴﺢ ﻬﺑﻤﺎ ﻭﺟﻬﻪ‬

ความวา : จากอุมัร เบ็ญ อัลคอฏฏอบ  กลาววา “รสูลุลลอฮฺ  เมื่อ


ทานยกสองมือในการดุอาอฺ ทานไมไดเอาสองมือลงจนกวาทาน
ลูบใบหนาเสียกอน”(1)

จากหะดีษบทนี้และหะดีษอื่น ๆ ไดพูดถึงเรื่องการยกสองมือขณะขอดุอาอฺ
ได การยกสองมือในเหตุการณที่แตกตางกันไมถึงขั้นหะดีษมุตะวาติร อิมามอัสสุ
ยูฏียกลาววา “เมื่อรวบรวมสายรายงานของหะดีษที่พูดถึงเฉพาะการยกสองมือ
เทานั้น โดยมิไดพิจารณาเหตุการณหะดีษบทนี้อยูในระดับหะดีษมุตะวาติร”(2)

(1)
บันทึกโดยอะบูดาวูด : 5/234, อัตติรมิซีย : 5/45 จากอิบนุอับบาส สํานวนหะดีษเปนของอัตติรมิซีย หะดีษนี้
บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺจากสองกระแสรายงาน คือ จากอิบนุอับบาส : 1/1234 และจากอัสสาอิบ เบ็ญ ยะซีด :
2/1234 อัลอัสเกาะลานีย กลาววา สําหรับหะดีษบทนี้มีชะวาฮิดบันทึกโดยอะบูดาวูดและทาน อื่น ๆ เมื่อ
รวบรวมกระแสรายงานของหะดีษทั้งหมดสามารถสนับสนุนจึงเลื่อนฐานะเปนหะดีษหะซัน (ดูอิบนุ อัลลาน :
2/254) หมายถึง หะดีษหะซันลิฆัยริฮฺ
(2)
อัสสุยูฏีย : 2/180
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 86
4. หุกมของหะดีษมุตะวาติร
อุละมาอฺสวนใหญมีความเห็นวา หะดีษมุตะวาติรจะมีหกุ มอิลมุฎอรูรีย –
‫ﻱ‬
ّ ‫( ﺍﻟﻌﻠﻢ ﺍﻟﻀﺮﻭﺭ‬ความรูที่แนนอน) หรือบอกหุกมอยางเด็ดขาดที่วาญิบตอง
ปฏิบัติและจําเปน ในการศรัทธาเสมือนเขาไดเห็นดวยตนเองในสิ่งนั้น ๆ
5. หุกมของการนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมุตะวาติรวาญิบใหนํามาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตาม(3)ในทุกๆ
เรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนา หะลาลและหะรอม อิบาดะฮฺ การแตงงาน และ
อื่นๆ เปนตน
6. จํานวนหะดีษมุตะวาติร
หะดีษมุตะวาติรมีจํานวนไมมากหากเทียบกับหะดีษอาหาด เพราะสาย
รายงานที่มีลักษณะมากกวา 10 คนในทุกชวงและทุกรุนของสายรายงานไมใช
เรื่องที่งาย และการรายงานเพื่อจะไดมาซึ่งจํานวนดังกลาวเปนเรื่องที่เหนือขีด
ความสามารถของแตละคนโดยคนอะวาม เวนแตบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญและ
ทุมเทเพื่อหะดีษของทานนบี  เทานั้น ที่สามารถทําได
7. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺴﻴﻮﻃ ّﻲ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻷﺯﻫﺎﺭ ﺍﳌﺘﻨﺎﺛﺮﺓ ﰲ ﺍﻷﺧﺒﺎﺭ ﺍﳌﺘﻮﺍﺗﺮﺓ‬.1
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺴﻴﻮﻃ ّﻲ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻗﻄﻒ ﺍﻷﺯﻫﺎﺭ‬.2
‫ﱐ‬
‫ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ ﺍﻟﻜﺘﺎ ﹼ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻧﻈﻢ ﺍﳌﺘﻨﺎﺛﺮﺓ ﻣﻦ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﺘﻮﺍﺗﺮ‬.3

(3)
วาญิบในที่นี้หมายถึงวาญิบอัยนีย (สําหรับบุคคล) คือ ผูใดปฏิเสธหะดีษหรือไมยอมปฏิบัติตามเนื้อหาสาระของ
หะดีษมุตะวาติรทั้ง ๆ ที่เขามีความรูในเรื่องนั้น เปนหุกมหะรอม สวนผูที่ไมมีความรูหรือปฏิเสธเนื่องจาก
ความญาฮิลของเขา อุละมาอฺมีความเห็นวาเปนที่อนุโลมกัน
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 87
ประเภทที่ 2 หะดีษอาหาด
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﺁﺣﺎﺩ‬เปนคําพหูพจนของ ‫ ﺃﺣ ٌﺪ‬แปลวา หนึ่งเดียว หมายถึง หะดีษ
ที่มีผูรายงานหนึ่งเดียวหรือสายรายงานเดียว
จุดประสงคของการใชคําพหูพจน “‫ ”ﺁﺣﺎﺩ‬เพื่อแสดงถึงสายรายงานนั้นไม
ถึงขั้นหะดีษ มุตะวาติร คือ สะนัดแตละสะนัดของหะดีษแตละบทไมถึง 10
สะนัดนั่นเอง
ตามหลักวิชาการ
หะดีษอาหาด คือ หะดีษที่มีการรายงานที่ไมครบเงื่อนไขของหะดีษ มุตะ
วาติร(1)

2. หุกมของหะดีษอาหาด
ตามทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญระบุวา หะดีษอาหาดใหหุกมอิล
มุศอนนีย –‫( ﺍﻟﻌﻠﻢ ﺍﻟﻈﻨّﻲ‬คาดคะเน) ไมใชหุกมที่แนนอน อิบนุ ฮัซมฺ กลาววา “หะ
ดีษอาหาดที่รายงานโดยผูที่มีคุณธรรมจากคนที่มีลักษณะเดียวกันจนถึงทานนบี
 วาญิบปฏิบัติตามและตองมีการศรัทธาในหะดีษอีกดวย”(2)

3. ชนิดของหะดีษอาหาด
การจําแนกหะดีษอาหาดออกเปนชนิดตาง ๆ นั้น มีวิธีการพิจารณา 2
ดาน

(1)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 26
(2)
อิบนุฮัซมฺ เลมที่1 หนา 165
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 88
1. พิจารณาจํานวนผูรายงานในแตละสะนัดของแตละรุน
ชนิดที่ 1 หะดีษมัชฮูร (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﺸﻬﻮﺭ‬
ชนิดที่ 2 หะดีษอะซีซ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﻟﻌﺰﻳﺰ‬
ชนิดที่ 3 หะดีษเฆาะรีบ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﻟﻐﺮﻳﺐ‬
2. พิจารณาสถานภาพของผูรายงานทั้งดานสถานภาพของแตละคน
ชนิดที่ 1 หะดีษมักบูล (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﻘﺒﻮﻝ‬
ชนิดที่ 2 หะดีษมัรดูด (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﺮﺩﻭﺩ‬
แตละชนิดของหะดีษอาหาดจะมีการอธิบายตามลําดับหัวขอ ดังนี้

การจําแนกหะดีษอาหาดโดยพิจารณาจํานวนผูรายงาน
ชนิดที่ 1 หะดีษมัชฮูร

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
หะดีษมัชฮูร “‫ ”ﻣﺸﻬﻮﺭ‬คือ หะดีษที่รูกันอยางแพรหลายจากการบอกเลา
หรือหะดีษที่ใชกันอยางแพรหลาย

ตามหลักวิชาการ
หมายถึง หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานตั้งแตสามคนขึ้นไป แตไมถึงขั้น
หะดีษมุตะวาติร(1)

(1)
ดู อัลญะซาอิรีย หนา 35
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 89
อุละมาอฺสวนใหญไดกําหนดจํานวนผูรายงานหะดีษมัชฮูรในขั้นต่ําคือ 3
คน ขึ้นไป(2) ทัศนะนี้ไมไดแยกระหวางหะดีษมัชฮูรกับหะดีษอิสติฟาเฎาะฮ(3)
ดังนั้น หะดีษมัชฮูรมีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งคือ หะดีษมุสตะฟฎ

2. ตัวอยางหะดีษมัชฮูร

‫ ﻋﻦ‬،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﻣﻌﺎﻭﻳﺔ‬،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﻛﺮﻳﺐ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﻣﺴﻠﻢ‬
،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻣﺴﻌﻮﺩ ﺍﻟﺒﺪﺭﻱ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬،‫ﺃﰊ ﻋﻤﺮﻭ ﺍﻟﺸﻴﺒﺎﱐﹼ‬
‫ )) ﻣﻦ ﺩ ﹼﻝ ﻋﻠﻰ ﺧﲑ ﻓﻠﻪ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬
(( ‫ﻣﺜﻞ ﺃﺟﺮ ﻓﺎﻋﻠﻪ‬

ความวา : จากอะบูมัสอูด อัลบัดรีย  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาวา


“ผูใดชี้นํา (คนอื่น) ในทางที่ดี เขาจะไดรบั ผลบุญเหมือนกับผล
บุญของผูปฏิบัติ”(1)

วิธีการรูจักหะดีษมัชฮูรใหพิจารณาจํานวนสายรายงานของหะดีษที่มีสาม
สะนัดขึ้นไปหรือไม (ดูสะนัดหะดีษขางลางนี้)

(2)
หนังสือเดิม
(3)
มีบางทัศนะเห็นวาระหวางหะดีษมัชฮูรกับหะดีษมุสตะฟฎมีขอแตกตาง คือ หะดีษมุสตะฟฎมีผูรายงานสามคน
สวนหะดีษมัชฮูรมีผูรายงานตั้งแตสี่คนถึงเกาคน ทัศนะที่ถูกตอง คือ ทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญ (ดู อัลญะซาอิ
รีย หนา 35)
(1)
บันทึกโดยมุสลิม : 13/ 38
‫‪บทที่ 7‬‬ ‫‪การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน‬‬ ‫‪90‬‬

‫‪แผนภูมสิ ะนัดหะดีษมัชฮูร‬‬
‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

‫ﻱ‬
‫ﺃﺑﻮ ﻣﺴﻌﻮﺩ ﺍﻟﺒﺪﺭ ّ‬

‫ﱐ‬
‫ﺃﺑﻮ ﻋﻤﺮﻭ ﺍﻟﺸﻴﺒﺎ ﹼ‬

‫ﺍﻷﻋﻤﺶ‬

‫ﲪﺪ ﺑﻦ ﻋﺒﻴﺪ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﺯﺍﻕ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻣﻌﺎﻭﻳﺔ‬ ‫ﺷﻌﺒﺔ‬

‫ﺍﺑﻦ ﳕﲑ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺭﺍﻓﻊ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻛﺮﻳﺐ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬

‫ﺃﲪﺪ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﻌﻔﺮ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺃﰊ ﺷﻴﺒﺔ‬ ‫ﳏﻤﻮﺩ ﺑﻦ ﻏﻴﻼﻥ‬


‫)‪(4/120‬‬
‫ﺑﺸﺮ ﺑﻦ ﺧﺎﻟﺪ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ‫ﻱ‬
‫ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ ّ‬
‫)‪(13/38‬‬ ‫)‪(5/41‬‬
‫ﻋﻴﺴﻰ ﺑﻦ ﻳﻮﻧﺲ‬

‫ﺇﺳﺤﺎﻕ ﺑﻦ ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ‬

‫ﻣﺴﻠﻢ‬
‫)‪(13/39‬‬
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 91
3. ระดับของหะดีษมัชฮูร
หะดีษมัชฮูรมีทั้งหะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะซัน หะดีษเฎาะอีฟ หะดีษฎอ
อีฟญิดดัน และ หะดีษเมาฎอฺ

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมัชฮูรอนุญาตใชเปนหลักฐานได หากเปนหะดีษเศาะหีหฺหรือหะดีษ
หะซันและไมอนุญาตใหนําหะดีษมัชฮูรที่เฏาะอีฟและเมาฎอฺมาใชเปนหลักฐาน

5. ตําราที่เกี่ยวของ

‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺴﺨﺎﻭ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﻘﺎﺻﺪ ﺍﳊﺴﻨﺔ ﻓﻴﻤﺎ ﺍﺷﺘﻬﺮ ﻋﻠﻰ ﺍﻷﻟﺴﻨﺔ‬.1
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻛﺸﻒ ﺍﳋﻔﺎﺀ ﻭﻣﺰﻳﻞ ﺍﻹﻟﺒﺎﺱ ﻓﻴﻤﺎ ﺍﺷﺘﻬﺮ ﻣﻦ ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻋﻠﻰ ﺃﻟﺴﻨﺔ‬.2
‫ﱐ‬
‫ ﺍﻟﻌﺠﻠﻮ ﹼ‬،‫ﺍﻟﻨﺎﺱ‬
،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﲤﻴﻴﺰ ﺍﻟﻄﻴﺐ ﻣﻦ ﺍﳋﺒﻴﺚ ﻓﻴﻤﺎ ﻳﺪﻭﺭ ﻋﻠﻰ ﺃﻟﺴﻨﺔ ﺍﻟﻨﺎﺱ ﻣﻦ ﺍﳊﺪﻳﺚ‬.3
‫ﱐ‬
‫ﺍﺑﻦ ﺍﻟﺪﻳﺒﻊ ﺍﻟﺸﻴﺒﺎ ﹼ‬
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 92
ชนิดที่ 2 หะดีษอะซีซ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
หะดีษอะซีซ คือ หะดีษที่เกิดขึ้นเปนบางครั้งบางคราว
ตามหลักวิชาการ
หมายถึง หะดีษที่มีการรายงานโดยผูรายงานสองคนในทุก ๆ รุนตลอด
ทั้งสายรายงาน(1) ตั้งแตชวงตนจนถึงชวงสุดทายของสะนัด

2. ตัวอยางหะดีษอะซีซ

‫ ﻋﻦ‬،‫ ﻗﺎﻝ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺷﻌﺒﺔ‬،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺁﺩﻡ‬: ‫ﻱ‬ ّ ‫ﻓﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬
)) : ‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬: ‫ ﻋﻦ ﺃﻧﺲ ﻗﺎﻝ‬،‫ﻗﺘﺎﺩﺓ‬
‫ﻻ ﻳﺆﻣﻦ ﺃﺣﺪﻛﻢ ﺣﱴ ﺃﻛﻮﻥ ﺃﺣﺐ ﺇﱃ ﺍﷲ ﻣﻦ ﻭﺍﻟﺪﻩ ﻭﻭﻟﺪﻩ‬
(( ‫ﻭﺍﻟﻨﺎﺱ ﺃﲨﻌﲔ‬

ความวา : จากอะนัสกลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “ไมถือเปนการ


อีมานของใครคนหนึ่งคนใดในหมูพวกเจาจนกวาฉันจะเปนที่รักยิ่ง
ของเขาเพื่ อ อั ล ลอฮฺ ยิ่ ง กว า บิ ด ามารดา ลู ก และบุ ค คลทั่ ว ไป
ทั้งหมด”(1)

(1)
อัลญะซาอิรีย หนา 36
(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 2/15
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 93

แผนภูมสิ ะนัดหะดีษอะซีซ
‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

‫ﺃﺑﻮ ﻫﺮﻳﺮﺓ‬ ‫ﺃﻧﺲ ﺑﻦ ﻣﺎﻟﻚ‬

‫ﺍﻷﻋﺮﺝ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﻌﺰﻳﺰ‬ ‫ﻗﺘﺎﺩﺓ‬

‫ﺃﺑﻮ ﺍﻟﺰﻧﺎﺩ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﻮﺍﺭﺙ‬ ‫ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ‬ ‫ﺷﻌﺒﺔ‬ ‫ﺳﻌﻴﺪ‬

‫ﺷﻌﻴﺐ‬ ‫ﺷﻴﺒﺎﻥ‬ ‫ﻋﻤﺮﺍﻥ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺁﺩﻡ‬ ‫ﺁﺩﻡ‬

‫ﻣﺴﻠﻢ ﺃﺑﻮ ﺍﻟﻴﻤﺎﻥ‬ ‫ﺍﻟﻨﺴﺎﺋ ّﻲ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻣﺜﲎ‬ ‫ﻱ‬


ّ ‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬
(2/15) (4/452) (1/58)
‫ﻱ‬
ّ ‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬
(2/58) (2/15)

3. ระดับของหะดีษอะซีซ
หะดีษอะซีซบางหะดีษอยูในระดับหะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะซัน และบางหะ
ดีษ อยูในระดับหะดีษเฎาะอีฟ
4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
อนุญาตใหนําหะดีษอะซีซมาใชเปนหลักฐานไดหากเปนหะดีษเศาะหีหฺและ
หะดีษหะซัน และไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐาน ในกรณีที่เปนหะดีษเฎาะอีฟ
5. ตําราที่เกี่ยวของ
ยังไมมีหนังสือเฉพาะที่รวบรวมหะดีษอะซีซ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 94

ชนิดที่ 3 หะดีษเฆาะรีบ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻏﺮﻳﺐ‬แปลวา ไมเหมือนกับคนอื่น หรือหะดีษที่มีการรายงาน
แปลกกวาการรายงานของคนอื่น หรือหะดีษที่แปลกกวาหะดีษอื่น(1)

ตามหลักวิชาการ
หะดีษเฆาะรีบ หมายถึง หะดีษที่มีการรายงานโดยผูรายงานเพียงคน
เดียวเทานั้นตลอดทั้งสายรายงาน(2)

2. ตัวอยางหะดีษเฆาะรีบ

‫ ﻗﺎﻝ‬،‫ﻱ ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ ﺍﻟﺰﺑﲑ‬ّ ‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺍﳊﻤﻴﺪ‬: ‫ﻱ‬


ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬
‫ ﻗﺎﻝ‬،ّ‫ ﻗﺎﻝ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﳛﻲ ﺑﻦ ﺳﻌﻴﺪ ﺍﻷﻧﺼﺎﺭﻱ‬،‫ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺳﻔﻴﺎﻥ‬
‫ﺃﺧﱪﻧﺎ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ ﺍﻟﺘﻴﻤ ّﻲ ﺃﻧﻪ ﲰﻊ ﻋﻠﻘﻤﺔ ﺑﻦ ﻭﻗﺎﺹ‬
‫ﺖ‬
ُ ‫ ﲰﻌ‬: ‫ﺖ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﺍﳋﻄﺎﺏ ﻋﻠﻰ ﺍﳌﻨﱪ ﻗﺎﻝ‬ ُ ‫ ﲰﻌ‬: ‫ﺍﻟﻠﻴﺜ ّﻲ ﻳﻘﻮﻝ‬
،‫ )) ﺇﳕﺎ ﺍﻷﻋﻤﺎﻝ ﺑﺎﻟﻨﻴﺎﺕ‬: ‫ﺭﺳـﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬

(1)
คําวาแปลกกวาหะดีษอื่นในที่นี้หมายถึงดานสายรายงาน คือ หะดีษที่มีการรายงานเพียงสายรายงานเดียวเทานั้น
ทั้ง ๆ สายรายงานของหะดีษนั้นมีสองสะนัดหรือมากกวาที่มีผูรายงานทั้งที่เปนคนษิเกาะฮฺหรือไมก็ตาม หรือ
ผูรายงานทั้งหมดเปนคนษิเกาะฮฺ
(2)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 123
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 95
‫ ﻓﻤﻦ ﻛﺎﻧﺖ ﻫﺠﺮﺗﻪ ﺇﱃ ﺍﷲ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ‬،‫ﻭﺇﳕﺎ ﻟﻜﻞ ﺍﻣﺮﺉ ﻣﺎ ﻧﻮﻯ‬
‫ ﻭﻣﻦ ﻛﺎﻧﺖ ﻫﺠﺮﺗﻪ ﻟﺪﻧﻴﺎ ﻳﺼﻴﺒﻬﺎ ﺃﻭ‬،‫ﻓﻬﺠﺮﺗﻪ ﺇﱃ ﺍﷲ ﻭﺭﺳﻮﻟﻪ‬
(( ‫ﺍﻣﺮﺃﺓ ﻳﻨﻜﺤﻬﺎ ﻓﻬﺠﺮﺗﻪ ﺇﱃ ﻣﺎ ﻫﺎﺟﺮ ﺇﻟﻴﻪ‬

ความวา : จากอุมัร เบ็ญ อัลคอฏฏอบขณะที่ทานอยูบนมินบัรกลาววา


ฉันไดยินรสูลุลลอฮฺ  กลาววา “แทจริงการงานทั้งหลายดวย
การเนี้ยต และแทจริงสําหรับแตละคนนั้นดวยการเนี้ยตของเขา
ดังนั้น ผูใดอพยพเพื่ออัลลอฮฺและรสูลของพระองค การอพยพของ
เขาเพื่ออัลลอฮฺและรสูลเชนเดียวกัน และผูใดอพยพเพื่อดุนยาที่
เขาแสวงหาหรือเพื่อผูหญิงที่เขาจะแตงงานดวย การอพยพของเขา
ก็เพื่อสิ่งนั้น”(1)

หะดี ษ บทนี้ ถู ก บั น ทึ ก ไว โ ดยผู บั น ทึ ก หลายคนด ว ยกั น แต ม าจากสาย


รายงานเดียว กันตั้งแตชวงตนถึงชวงทายของสะนัด (ดู แผนภูมิสะนัดหนา 72)

3. ระดับของหะดีษเฆาะรีบ
หะดีษเฆาะรีบมีหลายระดับเหมือนกับหะดีษมัชฮูรและหะดีษอะซีซ มีทั้ง
หะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะซัน และหะดีษเฎาะอีฟ(2)

(1)
มุตตะฟค อะลัยฮฺ บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 1/9 และมุสลิม : 13/53
(2)
การพิจารณาในการตัดสินระดับของหะดีษจะพิจารณาจากสถานะของผูรายงานหะดีษแตละคน และรวบ รวม
สายรายงานของหะดีษทั้งหมด แตหากไมมีสายรายงานอื่นรวมรายงานดวยนอกจากหนึ่งสายเทานั้น หะดีษ
ดังกลาวจะถือเปนหะดีษเฆาะรีบ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 96
แผนภูมสิ ะนัดหะดีษเฆาะรีบ
‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

‫ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﺍﳋﻄﺎﺏ‬

‫ﻋﻠﻘﻤﺔ ﺑﻦ ﻭﻗﺎﺹ‬

‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ ﺍﻟﻠﻴﺜ ّﻲ‬

‫ﻱ‬
ّ ‫ﳛﻲ ﺑﻦ ﺳﻌﻴﺪ ﺍﻷﻧﺼﺎﺭ‬

‫ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ ﻳﻮﺳﻒ‬

‫ﲏ‬
ّ ‫ﺍﻟﺪﺍﺭﻗﻄ‬ ‫ﺃﲪﺪ‬ ‫ﺍﻟﻨﺴﺎﺋ ّﻲ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬ ‫ﻱ‬
ّ ‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬
(1/50) (1/25) (1/58) (2/651) (1/9)
‫ﺍﻟﺒﻴﻬﻘ ّﻲ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬ ‫ﻱ‬
ّ ‫ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ‬ ‫ﻣﺴﻠﻢ‬
(1/41) (1/1412) (3/125) (13/53)

4. การใชเปนหลักฐาน
อนุญาตใหนําหะดีษเฆาะรีบมาใชเปนหลักฐานไดเฉพาะที่เปนหะดีษเศาะ
หีฮฺและหะดีษหะซันเทานั้นและไมอนุญาตนําหะดีษเฆาะรีบที่เฏาะอีฟและเมาฎอฺ
มาใชเปนหลักฐาน
5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ﲏ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺪﺍﺭﻗﻄ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻏﺮﺍﺋﺐ ﻣﺎﻟﻚ‬.1
‫ﲏ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺪﺍﺭﻗﻄ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻹﻓﺮﺍﺩ‬.2
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 97
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺒﺰﺍﺭ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻣﺴﻨﺪ ﺍﻟﺒﺰّﺍﺭ‬.3
‫ﱐ‬
‫ ﺍﻟﻄﱪﺍ ﹼ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﻌﺠﻢ ﺍﻷﻭﺳﻂ‬.4
ถึ งอย า งไรก็ ต ามการรู จั ก หะดี ษ อาหา ดทั้ ง สามชนิ ด นี้ โ ดยวิ ธี ก ารศึ ก ษา
สะนัดของแตละ หะดีษ คือ
1. ศึกษาจํานวนสายรายงานของแตละหะดีษและจํานวนผูรายงานของแต
ละรุน
2. ศึกษาสถานภาพของผูรายงานหะดีษดานคุณธรรมและขอบกพรอง
การจําแนกหะดีษอาหาดโดยพิจารณาสถานภาพของผูรายงาน
การจําแนกหะดีษอาหาดทั้งสามชนิดที่ไดอธิบายแลวนั้น – หะดีษมัชฮูร
หะดีษอะซีซ และหะดีษเฆาะรีบ – โดยพิจารณาสถานภาพของผูรายงานแตละคน
ตั้งแตชวงตน จนถึงชวงสุดทายของสะนัดแบงออกเปน 2 ชนิด คือ
ชนิดที่ 1 หะดีษมักบูลมี 2 ระดับ
ระดับที่ 1 หะดีษเศาะหีหฺ
- หะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺ
- หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ
ระดับที่ 2 หะดีษหะสัน
- หะดีษหะสันลิซาติฮฺ
- หะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ
ชนิดที่ 2 หะดีษมัรดูดมี 3 ระดับ
ระดับที่ 1 หะดีษเฎาะอีฟ
ระดับที่ 2 หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน
ระดับที่ 3 หะดีษเมาฎอฺ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 98

การจําแนกหะดีษอาหาด
หะดีษอาหาด

หะดีษมัชฮูร หะดีษอะซีซ หะดีษเฆาะรีบ

หะดีษมักบูล หะดีษมัรดูด

หะดีษเศาะหีหฺ หะดีษหะสัน หะดีษเฎาะอีฟ หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน หะดีษเมาฎอฺ

ลิซาติฮฺ ลิซาติฮ มุอัลลั้ก มุอัลลั้ล มุนกัร ลาอัศลาละฮฺ

ลิฆัอยริฮฺ ลิฆัอยริฮฺ มุรสัล มักลูบ มัตรูก บาติล

มุนเกาะฏีอฺ มุตฏอรอบ

มุดลั ลัส้ มุดรอจญ

มุอฎฺ อ ล มุหรั รอฟ

มุเศาะหฺหฟั
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 99

หะดีษอาหาดชนิดที่หนึ่ง
หะดีษมักบูล
1. นิยาม
หะดีษมักบูล คือ หะดีษที่ไมครบเงื่อนไขตาง ๆ ที่สามารถใหการยอมรับ
และนํามาใชเปนหลักฐานได

2. เงื่อนไขของหะดีษมักบูล
การที่จะเรียกวาเปนหะดีษมักบูลจะตองประกอบดวยเงื่อนไขดังนี้
1. สายรายงานติดตอกัน
2. ผูรายงานมีคุณธรรม
3. ผูรายงานมีความจําที่ดีหรือดีเยี่ยม
4. ผูรายงานไมมีความบกพรอง
5. ผูรายงานไมมีการปกปดที่ซอนเรน
6. การรายงานไมขัดแยงกับการรายงานของคนอื่น
7. ไดรับการสนับสนุนจากสายรายงานอื่น

3. ระดับของหะดีษมักบูล
หะดีษมักบูลพิจารณาเงื่อนไขตาง ๆ นั้น แบงออกเปน 2 ระดับ
ระดับที่ 1 หะดีษเศาะหีหฺ
- หะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺ
- หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 100
ระดับที่ 2 หะดีษหะสัน
- หะดีษหะสันลิซาติฮฺ
- หะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ

ระดับที่ 1 หะดีษเศาะหีหฺ
บรรดาอุละมาอฺไดแบงหะดีษเศาะหีหฺออกเปน 2 ชนิด คือ หะดีษเศาะหีหฺ
ลิซาติฮฺและหะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ

ชนิดที่ 1 หะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﺻﺤﻴﺢ‬แปลวา ถูกตอง ตรงกันขามกับวา “‫ ”ﺳﻘﻴﻢ‬แปลวา ผิด
หรือออน หมายถึง หะดีษที่มีการรายงานอยางถูกตอง
ตามหลักวิชาการ
หะดี ษ เศาะหี หฺ ลิ ซ าติ ฮฺ คื อ หะดี ษ ที่ มี ก ารรายงานอย า งติ ด ต อ กั น โดย
ผูรายงานที่มีคุณธรรมและมีความจําดีเยี่ยมจากบุคคลที่มีสถานภาพเดียวกัน ไม
ขัดแยงและไมมีความบกพรองที่ซอนเรน(1)

2. เงื่อนไขของหะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺ
การที่ จ ะตั ด สิ น หุ ก ม เป น หะดี ษ เศาะหี หฺ ลิ ซ าติ ฮฺ ที่ ส มบู ร ณ นั้ น ต อ ง
ประกอบดวยเงื่อนไขทั้ง 5 ประการ คือ

(1)
อิบนุ อัลเศาะลาหฺ หนา 10
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 101
1. สายรายงานติดตอกัน
หมายถึง ผูรายงานทุกคนรับหะดีษดวยตัวเองจากอาจารยของแตละคน
โดยไม ขาดตอนแมแ ตคนเดี ยวตั้ งแตผูรายงานคนแรกจนถึงทา นนบี  การ
รายงานนั้นใชสํานวนที่ชัดเจน(2) ตรงกันขาม คือ การรายงานที่ขาดตอนชวงหนึ่ง
ชวงใดของสายรายงาน(3)
2. ผูรายงานที่มีคุณธรรม
หมายถึง ผูรายงานเปนผูยําเกรงตออัลลอฮฺ  พยายามรักษาตัวเอง
เปนผูมีวินัยและหลักจริยธรรมอันดีงามสม่ําเสมอ ตรงกันขาม คือ คนฟาสิก(1)
คนมุบตะดิอ(2)ฺ และคนมุรตัด (3)
3. ผูรายงานที่มีความจําดีเยี่ยม
หมายถึง ผูรายงานที่มีความจําเปนเลิศสามารถเรียกความรูจากความจํา
ของเขาเมื่อตองการ ซึ่งนักหะดีษไดแบงความจําออกเปน 2 ประเภท คือ จําแบบ
ถึงใจและจําแบบบันทึก ตรงกันขาม คือ คนหลงลืม ผิดพลาด สับสน
4. ผูรายงานไมขัดแยงกันกับคนอื่น

(2)
สํานวนการรายงานหะดีษมี 2 สํานวน คือ สํานวนที่ชัดเจน เชน ‫ ﻗﺎﻝ ﺃﺧﱪﻧﺎ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﲰﻊ‬และสํานวนที่
คลุมเครือ เชน ‫ﻱ ﺣُ ِﻜ َﻲ‬َ ‫ ﺭُ ِﻭ‬،‫ﻗﻴﻞ‬
(3)
สายรายงานที่ขาดตอนเรียกวา มุนเกาะฏิอฺ (ดู รายละเอียดเกี่ยวกับหะดีษมุนเกาะฏิอฺ หนา 103)
(1)
คนฟาสิก คือ ผูที่กระทําบาปใหญแมเพียวครั้งเดียวหรือบาปเล็กเปนเนืองนิจโดยไมมีการเตาบะฮฺแตอยางใดจาก
สิ่งเหลานั้น ผูรายงานที่เปนคนฟาสิกไมสามารถยอมรับได เนื่องจากอะดาละฮฺเปนเงื่อนไขหลักของการรายงาน
หะดีษ
(2)
คนมุบตะดิอฺ คือ ผูที่ทําอุตริในเรื่องตาง ๆ ของศาสนาที่ไมใชมาจากทานนบีหรือเศาะหาบะฮฺ
(3)
คนมุรตัด คือ ผูที่พนสภาพจากการเปนมุสลิมอันเนื่องมาจากไดกระทําในสิ่งที่ขัดแยงกับหลักการศรัทธาของ
อิสลามดวยการศรัทธา คําพูด หรือการกระทํา
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 102
หมายถึง ผูรายงานที่มีการรายงานไมขัดแยงกับคนอื่นที่มีสถานภาพที่แข็ง
กวาหรือที่มีความจําดีกวา ตรงกันขาม คือ ผูรายงานที่รายงานขัดแยงกันไมวาจะ
ขัดแยงในสะนัดหรือขัดแยงในมะตันหะดีษ
5. ผูรายงานไมมีความบกพรอง
หมายถึง ผูรายงานที่มีการรายงานเปดเผยหรือความบกพรองที่ซอนเรน
ทําใหฐานะของการรายงานมีผลตอฐานะของหะดีษ
ความบกพร อ งมี 2 ประเภท คื อ บกพร อ งที่ เ ป ด เผยหรื อ บกพร อ งใน
กระบวนการรายงาน เชน การรายงานที่ขาดตอน เปนตน และบกพรองที่ซอนเรน
หรือบกพรองที่ไมสามารถพิสูจนไดนอกจากผูเชี่ยวชาญในดานหะดีษเทานั้น

3. ตัวอยางหะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺ
หะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺมีมากมาย เชน หะดีษเศาะหีหฺอัลบุคอรียและเศาะ
หี หฺ มุ ส ลิ ม และหะดี ษ บางส ว นในหนั ง สื อ อั ซ ซุ นั น และหนั ง สื อ หะดี ษ อื่ น ๆ ที่ มี
สถานภาพเดียวกันกับหะดีษในหนังสือดังกลาว แตขอยกตัวอยางเพียงหะดีษ
เดียวเทานั้น

،(1)‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﻋﺒﺪ ﺍﷲ ﺑﻦ ﻳﻮﺳﻒ‬: ‫ﻱ ﺭﲪﻪ ﺍﷲ‬ ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬


‫ ﻋﻦ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﺒﲑ ﺑﻦ‬،(3)‫ ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﺷـﻬﺎﺏ‬،(2)‫ﺃﺧﱪﻧﺎ ﻣﺎﻟﻚ‬
‫ﺖ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬ ُ ‫ ﲰﻌ‬: ‫( ﻗﺎﻝ‬5)‫ ﻋﻦ ﺃﺑﻴﻪ‬،(4)‫ﻣﻄﻌـﻢ‬
.‫ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺮﺃ ﰲ ﺍﳌﻐﺮﺏ ﺑﺎﻟﻄﻮﺭ‬

(1)
อับดุลเลาะ เบ็ญ ยูซุฟ ‫( ﺛﻘﺔ ﻣﺘﻘﻦ‬อัลอัสเกาะลานีย : 1/463)
(2)
มาลิก เบ็ญ อะนัส ‫ ﺭﺃﺱ ﺍﳌﺘﻘﻨﲔ‬،‫ ﺇﻣﺎﻡ ﺩﺍﺭ ﺍﳍﺠﺮﺓ‬،‫( ﺍﻟﻔﻘﻴﻪ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/223)
(3)
อิบนุชิฮาบ, มุฮัมมัด เบ็ญ มุสลิม อัซซุฮฺรีย ‫ ﻣﺘﻘﻦ ﻋﻠﻰ ﺟﻼﻟﺘﻪ ﻭﺇﺗﻘﺎﻧﻪ‬،‫( ﺍﻟﻔﻘﻴﻪ ﺍﳊﺎﻓﻆ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/223)
(4)
มุฮัมมัด เบ็ญ ุบัยรฺ เบ็ญ มุฏอิม ‫( ﺛﻘﺔ ﻋﺎﺭﻑ ﺑﺎﻟﻨﺴﺐ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/150)
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 103
ความวา : จากุบัยรฺ เบ็ญ มุฏอิมเลาจากบิดาของเขากลาววา ฉันได
ยินรสูลุลลอฮฺ  อานสูเราะฮฺอัตฏรในการละหมาดมัฆริบ(6)

หะดี ษ บทนี้ เ ป น หะดี ษ เศาะหี หฺ ลิ ซ าติ ฮฺ เนื่ อ งจากผู ร ายงานทั้ ง หมดมี


คุณสมบัติของหะดีษเศาะหีหฺทั้งหาประการ

สายรายงานหะดีษุบยั ร เบ็ญ มุฏอิม

‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

(‫ﺃﺑﻴﻪ )ﺟﺒﲑ ﺑﻦ ﻣﻄﻌﻢ‬

‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺟﺒﲑ ﺑﻦ ﻣﻄﻌﻢ‬

‫ﺍﺑﻦ ﺷﻬﺎﺏ‬

‫ﻣﺎﻟﻚ‬

‫ﻗﺘﻴﺒﺔ‬ ‫ﱯ‬
ّ ‫ﺍﻟﻘﻌﻨ‬ ‫ﳛﻲ ﺑﻦ ﳛﻲ‬ ‫ﻋﺒﺪ ﺍﷲ ﺑﻦ ﻳﻮﺳﻒ‬

(2/131) ‫( ﺍﻟﻨﺴﺎﺋﻲ‬2/508) ‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬ (4/180) ‫ﻣﺴﻠﻢ‬ (2/248) ‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭﻱ‬

(5)
อะบูฮุ คือ ุบัยร เบ็ญ มุฏอิม เศาะหาบะฮฺที่ประเสริฐ
(6)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 2/247
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 104
4. ฐานะของหะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺ
หะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺเปนแหลงที่มาของบทบัญญัติอิสลามในทุกๆ ดาน
รองจากอัลกุรอาน เนื่องจากเปนสวนหนึ่งของวะหฺยูที่ถูกประทานลงมาแกทานน
บีมุฮัมมัด 

5. การนํามาใชเปนหลักฐาน
บรรดาอุละมาอฺในทุกมัซฮับมีความเห็นพองกันวาวาญิบที่จะตองนําหะดีษ
เศาะหี หฺ ลิซ าติ ฮฺ ม าเป น หลั ก ฐานในทุ ก ๆ เรื่ องที่เกี่ ยวกับศาสนาและดุ น ยา อิ
มามอัชชาฟ อีย กลา ววา “การยอมรั บเคาะบั รและนํามาปฏิบัติ ไดนั้นก็ ตอเมื่ อ
สามารถยืนยันในความถูกตองของมัน แมนวาจะมีนักวิชาการคนหนึ่งคนใดไมได
ปฏิ บั ติ ต ามหรื อ ได นํ า หะดี ษ มาเป น หลั ก ฐานก็ ต าม แต ห ลั ง จากนั้ น พบว า การ
กระทําของเขาขัดแยงกับหะดีษของรสูลุลลอฮฺ  แนนอนเขาจะตองยุติการ
กระทํานั้นและหันมาปฏิบัติตามหะดีษเศาะหีหฺ เนื่องจากการยืนยันของการ
ปฏิบัติในแตละเรื่องนั้นมาจากหะดีษเศาะหีหฺ มิใชมาจากการปฏิบัติของใครคน
หนึ่งคนใดที่มิใชทานนบี  ”(1)

6. ศัพทตาง ๆ ที่ใชกับหะดีษเศาะหีหฺ
- “หะดีษเศาะหีหฺ” หรือ “นี่คือหะดีษเศาะหีหฺ” หมายถึง หะดีษที่มี
คุณสมบัติของหะดีษเศาะหีหฺขางตนครบทุกประการ
- บันทึกโดยอัลบุคอรีย หรือบันทึกโดยมุสลิม

(1)
ดู อัลกอสิมีย หนา 94
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 105
- “หะดีษนี้ไมเศาะหีหฺ” หมายถึง หะดีษที่ประกอบดวยคุณสมบัติเพียงสาม
ประการเทานั้น หรือสวนหนึ่งจากคุณสมบัติทั้งหาประการ(2)
- “หะดีษนี้คือหะดีษเศาะหีหฺอิสนาด” หมายถึง หะดีษเศาะหีหฺเฉพาะสะนัด
หรือจากหลายๆ สะนัดมารวมกัน แตไมใชเปนหะดีษเศาะหีหฺเสมอไป ศัพทเชนนี้
เปนศัพทเฉพาะในหนังสือมุสตัดรอก อะลา อัศเศาะหีหัยนฺของอิมามอัลหากิม
เทานั้น
- “สะนะดุฮูศอหีฮฺ” หรือ “อิสนาดุฮูเศาะหีหฺ” หมายถึง หะดีษเศาะหีหฺ
พิจารณาเพียงสะนัดของหะดีษนั้น ๆ เทานั้น ไมรวมถึงสะนัดอื่นที่รายงานตัวบท
เดียวกัน

7. ตําราที่เกี่ยวของ

‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳉﺎﻣﻊ ﺍﻟﺼﺤﻴﺢ‬.1
‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﻣﺴﻠﻢ ﺍﻟﻨﻴﺴﺎﺑﻮﺭ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳉﺎﻣﻊ ﺍﻟﺼﺤﻴﺢ‬.2
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺴﻨﻦ‬.3
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﺴﺎﻧﻴﺪ‬.4
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﺼﻨﻔﺎﺕ‬.5
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﳊﺎﻛﻢ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﺴﺘﺪﺭﻙ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﺼﺤﻴﺤﲔ‬.6

(2)
มะหฺมูด อัลเฏาะหฺหาน หนา123
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 106

ชนิดที่ 2 หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ
1. นิยาม
หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ คือ หะดีษหะสันลิซาติฮฺที่ไดรับการสนับสนุนจาก
สะนัดอื่นที่มีฐานะเดียวกันหรือมีฐานะสูงกวา
การที่เรียกวา “หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ” นั้นเนื่องจากความเศาะหีหฺของ
หะดีษไมใชมาจากคุณสมบัติอันพึงประกอบภายในตัวของมันเอง แตไดรับการ
สนับสนุนจาก สะนัดอื่นหนึ่งหรือมากกวา ซึ่งสะนัดอื่นนั้นมีฐานะเดียวกันหรือสูง
กวา

2. การเลื่อนฐานะเปนหะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ
การเลื่อนฐานะของหะดีษหะสันลิซาติฮฺเปนหะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺตอง
ประกอบดวยเงื่อนไข 2 ประการดังนี้
1. ไดรับการสนับสนุนจากสะนัดอื่นหนึ่งสะนัดหรือมากกวา จะเปน
ประเภทหะดีษมัรฟูอฺ(1) หรือหะดีษเมากูฟ(2) ก็ตาม
2. สะนัดอื่นนั้นตองมีฐานะเดียวกันหรือมีฐานะสูงกวา(3)

3. ตัวอยางหะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ

(1)
ดู หนา 46-49 หนงสือเลมนี้
(2)
ดู หนา49-54 หนังสือเลมนี้
(3)
หากสะนัดอื่นนั้นมีฐานะต่ํากวา เชน สะนัดเฎาะอีฟ เฎาะอีฟญิดดัน หรือเมาฎอฺ ไมสามารถใหการสนับ สนุนได
และไมสามารถเลื่อนฐานะไดเชนเดียวกัน
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 107
‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ‬، (1) ‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺃﺑﻮ ﻛﺮﻳﺐ‬: ‫ﻱ ﺭﲪﻪ ﺍﷲ ﺗﻌﺎﱃ‬
ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ‬
،(4)‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺳﻠﻤﺔ‬،(3)‫ ﻋﻦ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﻤﺮﻭ‬،(2)‫ﻋﺒﺪﺓ ﺑﻦ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ‬
‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﺃﻥ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬
‫ )) ﻟﻮ ﻻ ﺃﻥ ﺃﺷﻖ ﻋﻠﻰ ﺃﻣﱵ ﻷﻣﺮﺗُﻬﻢ ﺑﺎﻟﺴﻮﺍﻙ ﻋﻨﺪ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬
.(( ‫ﻛﻞ ﺻﻼﺓ‬

ความวา : จากอะบีฮุรอยเราะฮฺ  (5) แทจริงรสูลุลลอฮฺ  ได


กลาววา “หากไมทําใหยากลําบากสําหรับประชาชาติของฉัน
แนนอนฉันจะสั่งพวกเขาใหแปรงฟน เมื่อตองการทําละหมาดทุก
ครั้ง”(6)

หะดีษดวยสายรายงานนี้ คือ หะดีษหะสันลิซาติฮฺ เนื่องจากมีผูรายงาน


คนหนึ่งชื่อ อะบูสะละมะฮฺ (‫ )ﺃﺑﻮ ﺳﻠﻤ ﹾﺔ‬ซึ่งมีสถานภาพเปนผูเศาะดูก (สัจจะ) แต
หะดี ษ นี้ มี ส ะนั ด อื่ น ได ร ายงานในตั ว บทเดี ย วกั น ที่ มี ฐ านะสู ง กว า สะนั ด หะดี ษ
ดังกลาวมาสนับสนุนทําใหเลื่อนฐานะเปนหะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ (ดู แผนภูมิสะ
นัดหนา 82)

(1)
อะบูกุรัอยบฺ : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/197)
(2)
อับดะฮฺ เบ็ญ สุลัยมาน : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 1/530)
(3)
มุฮัมมัด เบ็ญ อัมรฺ : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/196)
(4)
อะบูสะละมะฮฺ : ‫( ﺻﺪﻭﻕ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/270)
(5)
อะบูฮุรอยเราะฮฺ : ‫( ﺻﺤﺎﰊ ﺟﻠﻴﻞ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/484)
(6)
บันทึกโดยอัตติรมิซีย : 1/34, หะดีษนี้บันทึกโดยอะบูดาวูด : 1/40 จากซัยดฺ เบ็ญ คอลิด อัลุฮะนีย
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 108

4. ฐานะของหะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ
หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺมีฐานะต่ํากวาหะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺ และมีฐานะสูง
กวาหะดีษหะสันลิซาติฮฺ
5. การนํามาใชเปนหลักฐาน
บรรดาอุละมาอฺมีความเห็นพองกันวา หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺเหมือนกับ
หะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺในดานการนํามาใชเปนหลักฐานและการปฏิบัติตาม
แผนภูมสิ ายรายงานของหะดีษเศาะหีหลฺ ฆิ อั ยริฮฺ
สายรายงานที่มฐี านะสูงกวา สายรายงานที่มฐี านะเดียวกัน

‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬ ‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

‫ﺃﺑﻮ ﻫﺮﻳﺮﺓ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻫﺮﻳﺮﺓ‬

‫ﺍﻷﻋﺮﺝ‬ ‫ﻱ‬
ّ ‫ﺳﻌﻴﺪ ﺍﳌﻘﱪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺳﻠﻤﺔ‬

‫ﺃﺑﻮ ﺍﻟﺰﻧﺎﺩ‬ ‫ﻋﺒﻴﺪﺍﷲ ﺑﻦ ﻋﻤﺮ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﻋﻤﺮ‬

‫ﺳﻔﻴﺎﻥ‬ ‫ﻣﺎﻟﻚ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ ﳕﲑ‬ ‫ﻋﺒﺪﺓ ﺑﻦ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ‬

‫ﻗﺘﻴﺒﺔ ﺑﻦ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ ﻳﻮﺳﻒ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺳﻠﻤﺔ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﻛﺮﻳﺐ‬

‫ﻣﺴﻠﻢ‬ ‫ﻱ‬
ّ ‫ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺃﰊ ﺷﻴﺒﺔ‬ ‫ﺍﻟﺘﺮﻣﺬﻱ‬
(3/56) (1/354) (1/275) (1/34)
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 109
ระดับที่ 2 หะดีษหะสัน
อุละมาอฺไดแบงหะดีษหะสันออกเปน 2 ชนิด คือ หะดีษหะสันลิซาติฮฺและ
หะดีษหะสัน ลิฆัอยริฮฺ รายละเอียดของแตละชนิดมีดังนี้

ชนิดที่ 1 หะดีษหะสันลิซาติฮฺ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﺣﺴﻦ‬แปลวา ดี หรือสวย หมายถึง หะดีษที่ดี แตไมถึงขั้นดีมาก
เพราะหะดีษที่มีลักษณะดีมากก็อยูในระดับหะดีษเศาะหีหฺ
ตามหลักวิชาการ
หะดีษหะสันลิซาติฮฺ คือ หะดีษที่มีสายรายงานติดตอกัน จากการรายงาน
ของผู รายงานที่มีคุณธรรมและมีความจําดีจากบุคคลที่มีสถานภาพเดียวกันจนถึง
ปลายสะนัดการรายงานนั้นไมขัดแยงกับการรายงานของคนอื่นและไมมีความ
บกพรองดวย(1)
ขอแตกตางระหวางหะดีษเศาะหีหฺลิซาติฮฺกับหะดีษหะสันลิซาติฮฺ คือ ดาน
ความจําของผูรายงานหะดีษระหวางความจําดีเยี่ยมกับความจําดี

2. เงื่อนไขของหะดีษหะสันลิซาติฮฺ
สําหรับหะดีษหะสันลิซาติฮฺมีเงื่อนไข 5 ประการดวยกัน คือ
1. สายรายงานติดตอกัน
2. ผูรายงานที่มีคุณธรรม

(1)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 29
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 110
3. ผูรายงานมีความจําดี (ไมถึงขั้นดีเยี่ยมหรือดีมาก)
4. การรายงานไมขัดแยงกับการรายงานของคนอื่น
5. ไมมีความบกพรองในการรายงานหะดีษ

3. ตัวอยางหะดีษหะสันลิซาติฮฺ

‫ ﻋﻦ ﺃﰊ‬،(1)‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﺟﻌﻔﺮ ﺑﻦ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ ﺍﻟﻀﺒﻌ ّﻲ‬: ‫ﻱ‬ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ‬


‫( ﻗﺎﻝ‬4)‫ﻱ‬
ّ ‫( ﺑﻦ ﺃﰊ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻷﺷﻌﺮ‬3)‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺑﻜﺮ‬،(2)‫ﱐ‬
‫ﻋﻤﺮﺍﻥ ﺍﳉﻮ ﹼ‬
‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ‬: ‫ﺖ ﺃﰊ ﲝﻀﺮﺓ ﺍﻟﻌﺪﻭ ﻳﻘﻮﻝ‬ ُ ‫ ﲰﻌ‬:
.(( ‫ )) ﺇﻥ ﺃﺑﻮﺍﺏ ﺍﳉﻨﺔ ﲢﺖ ﻇﻼﻝ ﺍﻟﺴﻴﻮﻑ‬: ‫ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬

ความวา : จากอะบูมูซา อัลอัชอะรียกลาววา ฉันไดยินบิดาของฉันเมื่อ


เผชิญกับศัตรูกลาววา รสูลุลลอฮฺ  ไดกลาววา “แทจริง ประตู
สวรรคนั้นอยูใตเงาของดาบ”(5)

หะดีษดวยสะนัดนี้เปนหะดีษหะสันลิซาติฮฺ เนื่องจากผูรายงานในสะนัด
ท า นหนึ่ ง เป น ผู ที่ มี ส ถานภาพเป น คนเศาะดู ก คื อ ญะอฺ ฟ ร เบ็ ญ สุ ลั ย มาน
อัฎฎบะอีย สวนผูรายงานทานอื่น ๆ ทั้งหมดเปนคนษิเกาะฮฺ (เชื่อถือได)
(1)
ญะอฺฟร เบ็ญ สุลัยมาน อัดฎบะอัย : ‫( ﺻﺪﻭﻕ‬อัลอัสเกาะลานีย : 1/131)
(2)
อะบูอิมรอน อัลเญานีย : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/456)
(3)
อะบูบักรฺ เบ็ญ อะบูมูซา อัลอัชอะรีย : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/400)
(4)
อะบูมูซา อัลอัชอะรีย : ‫( ﺻﺤﺎﰊ ﺟﻠﻴﻞ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/478)
(5)
บันทึกโดยอัตติรมิซีย : 5/300 อะบูอีซากลาววา “หะดีษนี้เปนหะดีษหะสัน”
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 111

สายรายงานของหะดีษอะบูมซู า อัลอัชอะรีย

‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

‫ﻱ‬
ّ ‫ﺃﺑﻮ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻷﺷﻌﺮ‬

‫ﻱ‬
ّ ‫ﺃﺑﻮ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺃﰊ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻷﺷﻌﺮ‬

‫ﱐ‬
‫ﺃﺑﻮ ﻋﻤﺮﺍﻥ ﺍﳉﻮ ﹼ‬

‫ﺟﻌﻔﺮ ﺑﻦ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ‬

‫ﺍﻟﺘﺮﻣﺬﻱ‬
(5/300)

4. ฐานะของหะดีษหะสันลิซาติฮฺ
หะดีษหะสันลิซาติฮฺมีฐานะสูงกวาหะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ และมีฐานะต่ํากวา
หะดีษเศาะหีหฺลิฆัอยริฮฺ เนื่องจากผูรายงานในสะนัดมีสถานะเหมือนกับสถานะ
ของผูรายงาน หะดีษเศาะหีหฺ เชน ษิเกาะฮฺ มีคุณธรรมและจริยธรรม เปนตน
เวนแตดานความจําเทานั้น ดังที่ไดอธิบายไปแลว
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 112

5. การนํามาใชเปนหลักฐาน
ตามทั ศ นะของอุ ล ะมาอฺ ห ะดี ษ ฟ ก ฮฺ แ ละอุ ศู ล อั ล ฟ ก ฮฺ มี ค วามเห็ น ว า
หะดีษหะสัน ลิซาติฮฺเหมือนกับหะดีษเศาะหีหฺในดานการนํามาเปนหลักฐาน คือ
วาญิบใหนํามาใชเปนหลักฐานในทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องดุนยาและเรื่องตาง ๆ
ของศาสนา
6. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ‬،ّ‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺳﻨﻦ ﺍﻟﺘﺮﻣﺬﻱ‬.1
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺳﻨﻦ ﺃﰊ ﺩﺍﻭﺩ‬.2
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ ﻣﻨﺼﻮﺭ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺳﻨﻦ ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ ﻣﻨﺼﻮﺭ‬.3

ชนิดที่ 2 หะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ
1. นิยาม
หะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ คือ หะดีษเฎาะอีฟที่ไดรับการสนับสนุนจากสะนัด
อื่น(1)
ตามทัศนะของอิมามอันนะวะวีย คือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานมัจฮูล
(2)
แตไมปรากฏวาเคยกระทําบาป(3)

2. ตัวอยางของหะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ

(1)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 29
(2)
มัจญฮูล หมายถึง ผูรายงานไมเปนที่รูจักกันของการเปนนักรายงานที่ดี
3)
อันนะวะวีย : 1/58
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 113
،(1)‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ ﺍﻷﺳﺒﺎﻃ ّﻲ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬
‫ ﻋﻦ‬،(3)‫ ﻋﻦ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺇﺳﺤﺎﻕ‬،(2)‫ﺣﺪﺛﻨﺎ ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﺣﻴﻢ ﺍﺑﻦ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ‬
‫ ﻋﻦ ﺭﺍﻓﻊ ﺑﻦ‬،(5)‫ ﻋﻦ ﳏﻤﻮﺩ ﺑﻦ ﻟﺒﻴﺪ‬،(4)‫ﻋﺎﺻﻢ ﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﻗﺘﺎﺩﺓ‬
‫ﺖ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬ ُ ‫ ﲰﻌ‬: ‫( ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ‬6)‫ﺧﺪﻳﺞ‬
‫ )) ﺍﻟﻌﺎﻣﻞ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﺼﺪﻗﺔ ﺑﺎﳊﻖ ﻛﺎﻟﻐﺎﺯﻱ ﰲ ﺳﺒﻴﻞ ﺍﷲ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ‬
.(( ‫ﺣﱴ ﻳﺮﺟﻊ ﺇﱃ ﺑﻴﺘﻪ‬

ความวา : จากรอฟอฺ เบ็ญ เคาะดีจญ  กลาววา ฉันไดยินรสูลุลลอฮฺ


 กลาววา “ผูที่ทําหนาที่รวบรวมเศาะดะเกาะฮฺ (ซะกาต) โดย
ปฏิ บั ติ ด ว ยความถู ก ต อ งเสมื อ นกั บ ผู ที่ ทํ า สงครามในหนทาง
ของอัลลอฮฺจน กระทั่งเขากลับถึงบานของเขา” (7)

หะดีษดวยสะนัดขางตนเปนหะดีษเฎาะอีฟเนื่องจากเปนการรายงานของ
มุฮัมมัด เบ็ญ อิสหาก ซึ่งเปนคนเฎาะอีฟ แตหะดีษบทนี้มีการรายงานจากสะนัด
อื่นที่มีฐานะเหนือกวาจึงสามารถเลื่อนฐานะเปนหะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ (ดู แผนภูมิ
หนา 87)

(1)
มุฮัมมัด เบ็ญ อิบรอฮีม อัลอัสบาฏีย : ‫( ﺻﺪﻭﻕ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/140 และ : 9/11)
(2)
อับดุลรอฮีม เบ็ญ สุลัยมาน : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 1./504 และ : 2/185)
(3)
มุฮัมมัด เบ็ญ อิสหากฺ : ‫ ﻭﺭﻣﻲ ﺑﺎﻟﺘﺸﻴﻊ ﻭﺍﻟﻘﺪﺭ‬،‫( ﺻﺪﻭﻕ ﻳﺪﻟﺲ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/144 และ : 9/38)
(4)
อาศิม เบ็ญ อุมัร เบ็ญ เกาะตาดะฮฺ : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 1/185 และ : 5/53)
(5)
มะหฺมูด เบ็ญ ละบีบ : ‫( ﺻﺤﺎﰊ ﺟﻠﻴﻞ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/233 และ 10/65)
(6)
รอฟอฺ เบ็ญ เคาะดีจญ : ‫( ﺻﺤﺎﰊ ﺟﻠﻴﻞ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/241 และ 3/229)
(7)
บันทึกโดยอะบูดาวูด : 3/348-349
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 114

3. การเลื่อนฐานะของหะดีษเฎาะอีฟ
หะดีษ เฎาะอี ฟสามารถเลื่ อ นฐานะเป น หะดี ษ หะสั น ลิฆั อยริฮฺ ไ ด จ ะต อง
ประกอบดวยเงื่อนไข 3 ประการ คือ
1. ความเฎาะอีฟของหะดีษมาจากความบกพรองในสะนัด หรือความ
บกพรองอันเนื่องมาจากความจําของผูรายงาน
2. มีการรายงานหะดีษดวยบทเดียวกัน หรือมีความหมายเหมือนกัน
3. มีการรายงานจากสะนัดอื่นที่มีฐานะเหมือนกันหรือเหนือกวา และสาย
รายงานอื่นนั้นมีหนึ่งสะนัดหรือมากกวา

สายรายงานของหะดีษรอฟอฺ เบ็ญ เคาะดีจญ…


บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 115

สายรายงานของหะดีษรอฟอฺ เบ็ญ เคาะดีจญ

‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬

(‫ﺃﺑﻴﻪ )ﺑﺮﻳﺪﺓ‬ ‫ﺭﺍﻓﻊ ﺑﻦ ﺧﺪﻳﺞ‬

‫ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ ﺑﺮﻳﺪﺓ‬ ‫ﳏﻤﻮﺩ ﺑﻦ ﻟﺒﻴﺪ‬

‫ﺣﺴﲔ ﺍﳌﻌﻠﻢ‬ ‫ﻋﺎﺻﻢ ﺑﻦ ﻋﻤﺮ‬

‫ﻋﺒﺪﺍﻟﻮﺍﺭﺙ ﺑﻦ ﺳﻌﻴﺪ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺇﺳﺤﺎﻕ‬

‫ﺃﺑﻮ ﻋﺎﺻﻢ‬ ‫ﻋﺒﺪﺍﻟﺮﺣﻴﻢ ﺑﻦ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ‬ ‫ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﺧﺎﻟﺪ‬

‫ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﺣﻴﺎﻥ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ‬ ‫ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺇﲰﺎﻋﻴﻞ‬

‫ﺃﺑﻮ ﳏﻤﺪ‬ ‫ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬ ‫ﻱ‬


ّ ‫ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ‬
(3/348-349) (3/28)
‫ﺍﳊﺎﻛﻢ‬
(1/563)

4. ฐานะของหะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺ
หะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺมีฐานะต่ํากวาหะดีษหะสันลิซาติฮฺและมีฐานะสูงกวา
หะดีษเฎาะอีฟ หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน และหะดีษเมาฎอฺ ถึงแมวาเดิมนั้นเปนหะดีษ
เฎาะอีฟก็ตาม
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 116

5. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษหะสันลิฆัอยริฮฺเปนสวนหนึ่งของหะดีษมักบูล ดังนั้น การนํามาใช
เปนหลักฐานก็เหมือนกับหะดีษเศาะหีหฺและหะดีษหะสัน คือ วาญิบใหนํามาใช
เป น หลั ก ฐานและสามารถปฏิ บั ติ ต ามในทุ ก ๆ เรื่ อ งเชน อะกี ด ะฮฺ อิ บ าดะฮฺ
หะลาลและหะรอม เปนตน

ชนิดอื่นของหะดีษมักบูล
1. หะดีษมะอฺรูฟ
1. นิยาม
หะดีษมะอฺรูฟ คือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่ษิเกาะฮฺขัดแยงกับหะ
ดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่เฎาะอีฟ(1) ตรงกันขามกับหะดีษมะอฺรูฟ คือ หะดีษ
มุนกัร(2)

2. ตัวอยางหะดีษมะอฺรูฟ

‫ )) ﻣﻦ ﺃﻗﺎﻡ ﺍﻟﺼﻼﺓ ﻭﺁﺗﻰ ﺍﻟﺰﻛﺎﺓ ﻭﺣﺞ ﺍﻟﺒﻴﺖ ﻭﺻﺎﻡ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ‬


(( ‫ﺭﻣﻀﺎﻥ ﻭﻗﺮﻯ ﺍﻟﻀﻴﻒ ﺩﺧﻞ ﺍﳉﻨﺔ‬

(1)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 33
(2)
ดู รายละเอียดในเรื่องหะดีษมุนกัร หนา 137 -138 หนังสือเลมนี้
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 117
ความวา : ทานนบี  กลาววา “ผูใดดํารงการละหมาด (หาเวลา)
และจายซะกาต และประกอบพิธีฮัจญและถือศีลอดในเดือนรอ
มะฎอน และใหเกียรติแขกเรือน เขาจะไดเขาสวรรค”(3)

หะดีษบทนี้ คือ หะดีษมะอฺรูฟจากการรายงานของอิบนุอับบาส หะดีษ


บทนี้ จั ด อยู ใ นประเภทหะดี ษ เมากูฟ จากการรายงานของผู ร ายงานที่ ษิ เ กาะฮฺ
ขัดแยงกับการรายงานของหุมัยยับ เบ็ญ หะบีบซึ่งมีสถานภาพเปนคนเฎาะอีฟ ซึ่ง
ไดยินหะดีษจากอะบูอิสหากจากอัลอัยซาร เบ็ญ หุรัยษฺ จากอิบนุอับบาส(1)

3. ฐานะของหะดีษมะอฺรูฟ
หะดี ษ มะอฺ รู ฟ เป น ส ว นหนึ่ ง ของหะดี ษ มั ก บู ล ที่ มี ฐ านะเหมื อ นกั บ หะดี ษ
เศาะหีหฺและหะดีษหะสัน เนื่องจากมีคุณสมบัติของหะดีษมักบูลครบทุกประการ

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมะอฺรูฟวาญิบใหนํามาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตามในทุก ๆ เรื่อง
ที่เกี่ยวกับศาสนาดังการปฏิบัติของอุละมาอฺหะดีษและอุละมาอฺในสาขาอื่น ๆ(2)

(3)
ดู อิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 73
(1)
ดู อิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 73
(2)
เปนที่นาสังเกตเรื่องหนึ่ง คือ หะดีษมะอฺรูฟมักจะไมมีการกลาวถึงและเรียกหะดีษนี้อยางอิสระเหมือนกับการ
เรียกหะดีษอื่น ๆ แตอุละมาอฺสวนใหญแลวมักจะเรียกแตหะดีษเศาะหีหฺหรือหะดีษหะสันเทานั้น ไมไดแยก
ระหวางหะดีษเศาะหีหฺมะอฺรูฟกับหะดีษหะสันมะอฺรูฟ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 118
ชนิดอื่นของหะดีษมักบูล
2. หะดีษมะหฺฟูศ
1. นิยาม
หะดีษมะหฺฟูศคือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่ษิเกาะฮฺกวาขัดแยงกับ
การรายงานของผู ษิเกาะฮฺ(3) ตรงกันขามกับหะดีษมะฮฺฟูศ คือ หะดีษชาซ(4)

2. ตัวอยางหะดีษมะหฺฟูศ

‫ )) ﺍﻟﻄﺎﻋﻮﻥ‬: ‫ﻱ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ ﺑﻠﻔﻆ‬


ّ ‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻷﺷﻌﺮ‬
(( ‫ﻭﺧﺰ ﺃﻋﺪﺍﺋﻜﻢ ﻣﻦ ﺍﳉﻦ‬

ความวา : จากอะบูมูซา อัลอัชอะอรีย กลาวดวยสํานวนมัรฟูอฺ เลาวา โรค


อหิวาตกโรคนั้นเปนศัตรูของพวกเจาที่มาจากญิน(1)

หะดีษบทนี้รายงานโดยผูรายงานที่ษเิ กาะฮฺกวาผูร ายงานหะดีษ (( ‫ﺍﻟﻄﺎﻋﻮﻥ‬


‫ )) ﻭﺧﺰﺇﺧﻮﺍﻧﻜﻢ ﻣﻦ ﺍﳉ ّﻦ‬แปลวา “โรคอหิวาตกโรคนั้นเปนเพื่อนของพวกเจาที่มา
จากญิน ดังนั้น หะดีษบทนี้เปนหะดีษชาซ

(3)
อับนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 150
(4)
ดูรายละเอียดหะดีษชาซ หนา126-129
(1)
บันทึกโดยอะหฺมัด : 4/395 และอัลหากิม : 1/50
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 119

3. ฐานะของหะดีษมะหฺฟูศ
หะดี ษ มะหฺ ฟู ศ เป น ส ว นหนึ่ ง ของหะดี ษ มั ก บู ล เหมื อ นกั บ หะดี ษ มะอฺ รู ฟ
เหมือนกัน และมีฐานะเทากับหะดีษเศาะหีหฺและหะดีษหะสัน(2)

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
อุละมาอฺหะดีษ อุละมาอฺฟกฮฺ และอุละมาอฺอื่น ๆ มีความเห็นวา วาญิบให
นําหะดีษมะหฺฟูศมาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตามในทุก ๆ เรื่องที่เกี่ยวของกับ
ศาสนา

หะดีษอาหาดชนิดที่สอง
หะดีษมัรดูด
1. นิยาม
หะดีษมัรดูด คือ หะดีษที่ขาดคุณสมบัติของหะดีษมักบูล
หมายความวา หะดีษที่ขาดองคประกอบที่เปนเงื่อนไขของหะดีษที่ถูกตอง
ทั้งเจ็ดประการดังที่กลาวมาแลวในเรื่องของหะดีษมักบูล

2. สาเหตุของหะดีษมัรดูด
สาเหตุที่ทําใหหะดีษเปนมัรดูดนั้นมี 3 ประการ
หนึ่ง สาเหตุมาจากความบกพรองในกระบวนการรายงาน
สอง สาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน
สาม สาเหตุมาจากความบกพรองในแงคุณธรรมของผูรายงาน

(2)
การเรียกชื่อหะดีษมะหฺฟูศก็เหมือนกับการเรียกชื่อหะดีษมะอฺรูฟ (ดู รายละเอียดหนา 79 เชิงอรรถที่ 4)
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 120
หะดีษมัรดูดที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในกระบวนการรายงานและ
ความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน สามารถเลื่อนฐานะได เมื่อไดรับการ
สนับสนุนจากสายรายงานอื่นที่มีฐานะเดียวกันหรือเหนือกวา สะนัดอื่นนั้นมีหนึ่ง
สะนั ด หรื อมากกว า ส วนหะดีษ มั ร ดู ดที่ มี สาเหตุ มาจากความบกพรอ งในแง
คุณธรรมของผูรายงาน ไมสามารถเลื่อนฐานะได เนื่องจากคุณธรรมนั้นเปน
เงื่อนไขสําคัญในการยอมรับหะดีษ
3. ระดับของหะดีษมัรดูด
เมื่อพิจารณาสาเหตุของหะดีษมัรดูดทั้งสามประการขางตนแลว หะดีษมัร
ดูดสามารถแบงออกเปน 3 ระดับดังนี้
ระดับที่ 1 หะดีษเฎาะอีฟ คือ ระดับที่สามของจํานวนหะดีษอาหาด
ระดับที่ 2 หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน คือ ระดับที่สี่ของจํานวนหะดีษอาหาด
ระดับที่ 3 หะดีษเมาฎอฺ คือ ระดับที่หาของจํานวนหะดีษอาหาด
การอธิบายจะเรียงลําดับตามจํานวนระดับหะดีษดังนี้ ระดับที่ 3 หะดีษ
เฎาะอีฟ ระดับที่ 4 หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน และระดับที่ 5 หะดีษเมาฎอฺ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 121
ระดับที่ 3 หะดีษเฎาะอีฟ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﺿﻌﻴﻒ‬แปลวา ออน ตรงกันขามกับแข็ง ดังนั้นหะดีษเฎาะอีฟ คือ
หะดีษออน หมายถึง เฎาะอีฟในกระบวนการรายงาน

ตามหลักวิชาการ
หะดี ษ เฎาะอี ฟ คื อ หะดี ษ ที่ ข าดคุ ณ สมบั ติ ข องหะดี ษ เศาะหี หฺ แ ละ
คุณสมบัติของหะดีษหะซัน(1)
ตามทัศนะของอุละมาอฺบางทาน ระหวางหะดีษเฎาะอีฟและหะดีษมัรดูด
เปน หะดีษชนิดเดียวกัน ดังนั้น บางครั้งเรียกวาหะดีษมัรดูดและบางครั้ง
เรียกวา หะดีษเฎาะอีฟ

2. ตัวอยางหะดีษเฎาะอีฟ
‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﳏﻤﺪ‬،(2)‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﻋﺜﻤﺎﻥ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬
‫ ﻋﻦ ﳛﻲ ﺑﻦ‬،(4)‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺳﻠﻤﺔ ﺳﻠﻴﻤﺎﻥ ﺑﻦ ﺳﻠﻴﻢ‬،(3)‫ﺑﻦ ﺣﺮﺏ‬
‫ ﻋﻦ ﺟﺪﻩ ﺍﳌﻘﺪﺍﻡ ﺑﻦ‬،(6)‫ ﻋﻦ ﺻﺎﱀ ﺑﻦ ﳛﻲ ﺑﻦ ﺍﳌﻘﺪﺍﻡ‬،(5)‫ﺟﺎﺑﺮ‬

(1)
อะหฺมัด ชากิร หนา 38
(2)
อัมรฺ เบ็ญ อุษมาน : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/153)
(3)
มุฮัมมัด เบ็ญ หัรบฺ : ‫( ﺛﻘﺔ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/153)
(4)
อะบู สะละมะฮฺ สุลัยมาน เบ็ญ สุลัยมฺ : ‫( ﺛﻘﺔ ﺛﺒﺖ‬อัลอัสเกาะลานีย : 1/325)
(5)
ยะหฺยา เบ็ญ ญาบิร : ‫( ﻣﻘﺒﻮﻝ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/360)
(6)
ศอลิหฺ เบ็ญ ยะหฺยา เบ็ญ อัลมิกดาม : ‫( ﹶﻟﻴﱢﻦ‬อัลอัสเกาะลานีย : 1/364)
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 122
‫ ﺃﻥ ﺭﺳـﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳـﻠﻢ ﺿﺮﺏ‬،(7)‫ﻣﻌﺪﻳﻜﺮﺏ‬
‫ﺖ ﻭﱂ‬
‫ ﺇﻥ ﻣ ﱡ‬،‫ﺖ ﻳﺎ ﻗﺪﱘ‬
َ ‫ )) ﺃﻓﻠﺤ‬: ‫ ﰒ ﻗﺎﻝ ﻟﻪ‬،‫ﻋﻠﻰ ﻣﻨﻜﺒﻴﻪ‬
(( ‫ ﻭﻻ ﻋﺮﻳﻔﹰﺎ‬،‫ ﻭﻻ ﻛﺎﺗﺒﺎﹰ‬،‫ﺗﻜﻦ ﺃﻣﲑﺍﹰ‬

ความวา : จากอัลมิกดาม เบ็ญมะอฺดีกะริบ แทจริงรสูลุลลอฮฺ ไดตบ


ไหลของเขา หลังจากนั้นทานรสูลกลาวแกเขาวา “เจาจะประสบ
ความสําเร็ จกระนั้นหรื อ โอ กุดัยมฺ หากเจาเสียชีวิ ตขณะที่เจ า
ไมไดเปนผูนํา ไมไดเปนผูบันทึก และไมไดเปนหมอดู (ทําตัว
เปนผูรูทุกสิ่งทุกอยาง)”(1)
หะดีษบทนี้เปนหะดีษเฎาะอีฟเนื่องจากมีผูรายงานคนหนึ่งชื่อ ศอลิหฺ เบ็ญ
ยะหฺยา เบ็ญ อัลมิกดาม ซึ่งมีสถานภาพเปนคนลัยยิน(2) คือ ผูรายงานที่มี
ลักษณะความจําไมดี และชัยคฺอัลอัลบานียกลาววา “หะดีษบทนี้เปนหะดีษเฎาะ
อีฟ”(3)

3. การรายงานหะดีษเฎาะอีฟ
การรายงานหะดีษเฎาะอีฟตามวิธีการปฏิบัติของบรรดาอุละมาอฺนั้นพอ
สรุปสาระสําคัญ 2 ประการดวยกัน
1) หุกมการรายงานหะดีษเฎาะอีฟ
สําหรับผูที่มีความรูในดานหะดีษหรือทราบวาเปนหะดีษเฎาะอีฟ ตาม
ทัศนะของอุละมาอฺหะดีษ อุละมาอฺฟกฮฺและอุละมาอฺอุศูล อัลฟกฮฺมีความเห็นวา
(7)
อัลมิกดาม เบ็ญ มะอฺดิกะริบ : ‫( ﺻﺤﺎﰊ ﺟﻠﻴﻞ‬อัลอัสเกาะลานีย : 2/272)
(1)
บันทึกโดยอะบูดาวูด : 3/346 และอะหฺมัด : 4/123
(2)
อัลอัสเกาะลานีย : 4/407, 1/364
(3)
อัลอัลบานีย : 2/268
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 123
อนุญาตใหรายงานหะดีษเฎาะอีฟโดยไมตองระบุระดับของหะดีษแตอยางใด คือ
หะดีษเฎาะอีฟที่เกี่ยวกับคุณคาของอะมาล การสนับสนุนใหทําความดีและการ
ตั ก เตื อ นไม ใ ห ทํ า ความชั่ ว เท า นั้ น และไม อนุ ญ าตให ร ายงาน หะดี ษ ฎออี ฟ ที่
เกี่ ย วกั บ อะกี ด ะฮฺ หะลาลและหะรอม อิ บ าดะฮฺ การแต ง งาน ญะนาอิ ซ
ประวัติศาสตร และอื่น ๆ นอกจากจะระบุระดับของหะดีษอยางชัดเจนวาเปนหะ
ดีษเฎาะอีฟเมื่อจบการรายงาน(4)
สวนผูที่ไมมีความรูหรือคนเอาวาม (คนทั่วไป) หากรายงานหะดีษโดยไม
เจตนาก็ถือวาอนุโลม เนื่องจากความญะฮีลของเขานั่นเอง แตทางที่ดีที่สุดก็คือ
ควรหลีกเลี่ยงจากการรายงานหะดีษเฎาะอีฟ เพราะคนที่ไมมีความรูเรื่องหะดีษ
เปนที่ตองหามพูดถึงหะดีษโดยเด็ดขาด

2) วิธีการรายงานหะดีษเฎาะอีฟ
การรายงานหะดีษเฎาะอีฟสามารถทําไดดวย 2 วิธี คือ รายงานทั้งตัวบท
และสะนัดหะดีษ หรือรายงานเฉพาะตัวบทเพียงอยางเดียว
วิธีที่ 1 รายงานทั้งตัวบทและสะนัดหะดีษ อุละมาอฺมีความเห็นพองกัน
วา การรายงานโดยวิธีนี้เปนที่อนุญาตโดยไมจําเปนตองระบุระดับของหะดีษแต
อยางใด(1)
วิธีที่ 2 รายงานตัวบทเพียงอยางเดียวโดยไมอางสะนัดของหะดีษ
การรายงานดวยวิธีนี้ผูรายงานเลือกปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้
1. เมื่อมีการรายงานหะดีษเฎาะอีฟ ผูรายงานจะตองระบุระดับของ
หะดีษวาเปนหะดีษเฎาะอีฟทันทีเมื่อจบการรายงานตัวบทหะดีษ

(4)
มะหฺมูด อัฏเฏาะหฺหาน หนา 134
(1)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 134
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 124
2. เมื่อตองการรายงานหะดีษเฎาะอีฟ ผูรายงานจะตองกลาวดวยสํานวน
ไมชัดเจนไดหรือสํานวนคลุมเครือ เชน กลาววา “ ‫ﻯ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬
َ ‫ﺭُ ِﻭ‬
‫ ”ﻭﺳﻠﻢ‬แปลวา มีการรายงานจากทานรสูลุลลอฮฺ (2) หากผูรายงานไมปฏิบัติ
ตามจะถือวาเปนการปฏิ บัติ ที่ผิ ดตอหลั กการรายงานหะดีษตามหลั กวิ ชาการ
มุศฺเฏาะละหฺ อัลหะดีษ

4. การปฏิบัติตามหะดีษเฎาะอีฟ
การนําหะดีษเฎาะอีฟมาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตามเทาที่ปรากฏในหมู
บรรดาอุละมาอฺนั้นอาจจําแนกออกเปน 3 กลุม คือ
กลุมที่หนึ่ง อนุญาตใหนําหะดีษเฎาะอีฟมาใชเปนหลักฐานไดในทุก ๆ
เรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนา เชน อะกีดะฮฺ อิบาดะฮฺ หุกมหะกัม เรื่องราวตาง
ๆ คุณคาของอะมาล การสนับสนุนใหทําความดีและหามปรามทําความชั่ว เปน
ตน
อุละมาอฺกลุมนี้ไดแก อิมามอะบูหะนีฟะฮ, อิมามอะหฺมัด เบ็ญ หันบัล,
อิมาม อับดุลเราะหฺมาน เบ็ญ มะฮฺดีย และทานอื่น ๆ ที่มีความเห็นเหมือนกัน
เหตุ ผ ลของอุ ล ะมาอฺ ก ลุ ม นี้ ไ ด แ ก หะดี ษ เฎาะอี ฟ มี ฐ านะดี ก ว า การใช
หลักการกิยาส (อนุมาน) และความคิดของคนใดคนหนึ่ง(3)

(2)
อัตตะฮานะวีย หนา 156
(3)
อัลกอสิมีย หนา 93
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 125
กลุมที่สอง ไมอนุญาตนําหะดีษเฎาะอีฟมาใชเปนหลักฐานที่เกี่ยวกับทุก ๆ
เรื่องของศาสนาโดยเด็ดขาด(1) การปฏิบัติของอุละมาอฺกลุมนี้ตรงกันขามกับ
อุละมาอฺกลุมแรกโดยสิ้นเชิง
อุละมาอฺกลุมนี้ ไดแก อิมามอัลบุคอรีย อิมามมุสลิม ยะหฺยา เบ็ญ มะอีน
อะบูบักรฺ อิบนุอัลอะรอบีย(2) อิบนุหัซมฺ อะบูชาเมาะฮฺ และอัชเชาวกานีย
(3)

เหตุผลของอุละมาอฺกลุมนี้ คือ หะดีษเศาะหีหฺและหะดีษหะซันที่กลาวถึง


เรื่องที่เกี่ยวกับศาสนามีมากมายเพียงพอตอการนํามาใชเปนหลักฐานได โดยไม
จําเปนตองพึ่งพาอาศัยหะดีษเฎาะอีฟ และที่สําคัญ คือ การยืนยันหุกมของแต
ละเรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนาก็ตองมาจากหะดีษเศาะหีหฺและหะดีษหะซัน ไมใช
มาจากหะดีษเฎาะอีฟ(4) เพราะหะดีษ เฎาะอีฟไมสามารถจะยืนยันหุกมที่แนนอน
ได
กลุมที่สาม อนุญาตใหนําหะดีษเฎาะอีฟมาเปนหลักฐานและปฏิบัติตามได
เฉพาะหะดีษเฎาะอีฟที่เกี่ยวของกับคุณคาของอะมาล การสนับสนุนใหทําความดี
และห า มปรามทํ า ความชั่ ว และเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ เ ป น หุ ก ม สุ นั ต กลุ ม นี้ แ บ ง
ออกเปน 2 ทัศนะ
ทัศนะที่ 1 มีความเห็นวาอนุญาตใหนําหะดีษเฎาะอีฟมาใชเปนหลักฐาน
และปฏิบัติตามไดเฉพาะที่เกี่ยวกับเรื่องดังกลาวเทานั้นโดยไมมีเงื่อนไขใด ๆ
ทั ศ นะนี้ เ ป น ทั ศ นะของอิ บ นุ อั ล มุ บ าร อ ก สุ ฟ ยาน อั ษ เษารี ย ซุ ฟ ยาน
เบ็ญ อุยัยนะฮฺ และอัลหาฟศ อัซซะคอวีย(5)
(1)
ดู อัสสุยูฏีย : 1/196
(2)
หนังสือเดิม
(3)
อัลกอสิมีย หนา 94
(4)
หนังสือเดิม
(5)
หนังสือเดิม
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 126
อิมามอันนะวะวียใหการสนับสนุนทัศนะนี้โดยอธิบายวา “อุละมาอฺหะดีษ
ฟกฮฺและอุละมาอฺอื่น ๆ มีความเห็นวา เปนหุกมญาอิซและหุกมสุนัตในการนํา
หะดีษเฎาะอีฟมาเปนหลักฐานและปฏิบัติตามที่เกี่ยวของกับคุณคาของอะมาล
การสนับสนุนใหทําความดีและหามปรามการทําความชั่ว ตราบใดที่หะดีษเฎาะ
อีฟนั้นไมถึงระดับหะดีษเมาฎอฺ สวนเรื่องขอบัญญัติตาง ๆ เชน หะลาลและ
หะรอม การคาขาย การแตงงาน การหยาและอื่นๆ ใหใชเฉพาะหะดีษเศาะหีหฺ
และหะดีษหะซันเทานั้น เวนแตในกรณีที่มีเพียงแตหะดีษเฎาะอีฟเทานั้นที่ระบุ
เกี่ยวกับหุกมหามซื้อขาย สิ่งของบางประเภท การแตงงาน เปนตน อยางไรก็
ตาม ทางที่ดีที่สุดควรหลีกเลี่ยงจากการปฏิบัติตามหะดีษเฎาะอีฟ แตไมใชเปน
การบังคับหรือวาญิบใหหลีกเลี่ยงแตอยางใด”(1)
ทัศนะที่ 2 อนุญาตนําหะดีษเฎาะอีฟมาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตามที่
เกี่ยวกับคุณคาของอะมาล การสนับสนุนใหทําความดีและหามปรามการทํา
ความชั่ว และสิ่งที่เปนหุกมสุนัตเทานั้น แตตองมีเงื่อนไข 3 ประการดังนี้
ประการแรก หะดีษนั้นตองไมใชเปนหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน (ออนมาก)
ประการที่สอง เนื้อหาของหะดีษเฎาะอีฟที่กลาวถึงเรื่องที่เกี่ยวของ
นั้นตองสอด คลองกับหลักการทั่วไปของศาสนา (อัลกุรอานและอัลหะดีษ)
ประการที่สาม ไมยึดมั่นวาเปนหะดีษที่มาจากทานนบี  จริง แต
เปนการปฏิบัติในลักษณะเผื่อไวเทานั้น(2)
ทัศนะนี้เปนทัศนะของอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย
มีอุละมาอฺบางทานไดเพิ่มเงื่อนไขอีกประการหนึ่ง คือ หะดีษเฎาะอีฟนั้น
ตองไมขัดแยงกับหะดีษเศาะหีหฺ(3) หรือหะดีษหะซัน

(1)
อันนะวะวีย หนา 84-85
(2)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 24
(3)
อิบนุ อัลลาน : 1/258
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 127
จากหลาย ๆ ทั ศ นะข า งต น ทั ศ นะที่ ส มควรนํ า มาปฏิบัติ ม ากที่ สุ ด คื อ
ทัศนะของอิบนุหะญัรอัลอัสเกาะลานีย เนื่องจากเปนการปฏิบัติอยางระมัดระวัง
ที่สุดโดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับ หุกมหะกัมและสิ่งที่เปนสุนัต ‫ﻭﺍﷲ ﺃﻋﻠﻢ‬
5. ชนิดของหะดีษเฎาะอีฟ
เมื่อพิจารณาสาเหตุของหะดีษเฎาะอีฟสามารถแบงออกเปน 2 สาเหตุ
1. สาเหตุที่มาจากความบกพรองในกระบวนการสายรายงาน มี 6 ชนิด
หะดีษ
ชนิดที่ 1 หะดีษมุอัลลั้ก
ชนิดที่ 2 หะดีษมุรซัลตาบิอีน
ชนิดที่ 3 หะดีษมุรซัลเคาะฟย
ชนิดที่ 4 หะดีษมุอฺฎ็อล
ชนิดที่ 5 หะดีษมุนเกาะฏิอฺ
ชนิดที่ 6 หะดีษมุดัลลั้ส
2. สาเหตุที่มีมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน มี 7 ชนิด
หะดีษ
ชนิดที่ 1 หะดีษมุอัลลั้ล
ชนิดที่ 2 หะดีษมุดรอจญ
ชนิดที่ 3 หะดีษมักลูบ
ชนิดที่ 4 หะดีษมุฏอรอบ
ชนิดที่ 5 หะดีษชาซ
ชนิดที่ 6 หะดีษมุเศาะหฺหัฟ
ชนิดที่ 7 หะดีษมุหัรรอฟ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 128
หะดีษเฎาะอีฟมาจากความบกพรองในกระบวนการสะนัด

ชนิดที่ 1 หะดีษมุอัลลั้ก
หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในกระบวนการรายงานหรือ
สะนัด คือ ผูรายงานตกหลนตลอดทั้งสาย เวนแตเศาะหาบะฮฺหรือตาบิอีน หะดีษ
ลักษณะเชนนี้เรียกวา หะดีษมุอัลลั้ก
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﻌﻠﻖ‬มาจากรากศัพท “‫ ”ﺗﻌﻠﻴﻘﺎﹰ‬แปลวา คางอยู หรือติดไว
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุอัลลั้ก คือ หะดีษที่มีการตัดผูรายงานออกหนึ่งคนหรือมากกวา
ติดตอกันตัง้ แตตนสะนัดจนถึงเศาะหาบะฮฺหรือตาบิอีน(1)
การสังเกตหะดีษมุอัลลั้ก เชน ผูกลาวตองเปนนักบันทึกหะดีษ(2) การตก
หลนในสายรายงานตองติดตอกัน และผูกลาวรายงานหะดีษเปนเศาะหาบะฮฺ
หรือตาบิอีน

2. ลักษณะและตัวอยางหะดีษมุอัลลั้ก
โดยทั่วไปแลวการรายงานหะดีษมุอัลลั้กมี 3 ลักษณะดวยกัน
ลักษณะที่หนึ่ง หะดีษที่มีการตัดสายรายงานออกทั้งหมด ตัวอยาง

(1)
อัตตะฮานะวีย หนา 39
(2)
ผูบันทึกหะดีษ เชน อัลบุคอรีย (‫ )ﺥ‬มุสลิม (‫ )ﻡ‬อะบูดาวูด (‫ )ﺩ‬อัตตัรมิซีย (‫ )ﺕ‬อันนะสาอีย (‫ )ﻥ‬อิบนุมาญะฮฺ (‫)ﺟﻪ‬
อะหฺมัด (‫ )ﺣﻢ‬มาลิก (‫ )ﻁ‬อัดดาริมีย (‫ )ﺩﻱ‬อัลฮากิม (‫ )ﻙ‬อัตฏอบะรอนีย (‫ )ﻃﺐ‬อัดดารอกุฏนีย (‫ )ﻗﻂ‬อิบนุคุซัยมะฮฺ
(‫ )ﻣﻪ‬อิบนุหิบบาน (‫ )ﺣﺐ‬อิบนุอะบีชัยบะฮฺ (‫ )ﺑﻪ‬อับดุรรอซาค (‫ )ﻋﺐ‬อิบนุอะดีย (‫)ﻋﺪ‬
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 129

‫ )) ﻫﺬﺍ ﻣﺎ‬: ‫ﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬


ّ ‫ ﻗﺎﻝ ﺍﻟﻨ‬: ‫ﻱ‬
ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬
(( ‫ﻛﺘﺒﻪ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﺑﻨﺎﺕ ﺁﺩﻡ‬

ความวา : อิมามอัลบุคอรียกลาววา ทานนบี  กลาววา “นี่คือเปนการ


กําหนดของอัลลอฮฺแกบรรดาลูกผูหญิงของทานนบีอาดัม”(1)

การรายงานหะดีษบทนี้ผูบันทึกกลาวเพียงทานรสูลุลลอฮฺและตัวบทหะดีษ
มิไดกลาวสายรายงานของหะดีษแตอยางใด
ลั ก ษณะที่ ส อง หะดี ษ ที่ มี ก ารตั ด สะนั ด ออก เว น แต เ ศาะหาบะฮฺ
ตัวอยาง

‫ ” ﻏﻄﻰ ﺭﺳﻮﻝ‬: ‫ﻱ‬


ّ ‫ ﻭﻗﺎﻝ ﺃﺑﻮ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻷﺷﻌﺮ‬: ‫ﻱ‬
ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬
“ ‫ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﺭﻛﺒﺘﻴﻪ ﺣﲔ ﺩﺧﻞ ﻋﺜﻤﺎﻥ‬

ความวา : อิมามอัลบุคอรียรายงานวา อะบูมุซา อัลอัชอะรียกลาววา


รสูลุลลอฮฺ  ไดปดหัวเขาของทาน เมื่อทานเห็นอุษมานเขามา(2)

การรายงานหะดีษบทนี้ผูบันทึกไดกลาวรายงานเริ่มตั้งแตเศาะหาบะฮฺ
รสูลุลลอฮฺ  และตัวบทหะดีษ ไมไดกลาวสายรายงานของหะดีษกอนอะบูมูซา
อัลอัชอะรีย

(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 1/401
(2)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 1/90
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 130
ลักษณะที่สาม หะดีษที่มีการตัดสะนัดออกทั้งหมดเวนแตเศาะหาบะฮฺและ
ตาบิอีน ตัวอยาง

‫ﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ‬
ّ ‫ ﻭﻗﺎﻝ ﻬﺑﺰ ﻋﻦ ﺃﺑﻴﻪ ﻋﻦ ﺟﺪﻩ ﻋﻦ ﺍﻟﻨ‬: ‫ﻱ‬
ّ ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭ‬
(( ‫ )) ﺍﷲ ﺃﺣﻖ ﺃﻥ ﻳﺴﺘﺤﻲ ﻣﻨﻪ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺱ‬: ‫ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬

ความวา : อิมามอัลบุคอรียรายงานวา บะฮซฺเลาจากบิดาของเขาจากปู


ของเขา จากทาน นบี  “อัลลอฮฺเทานั้นที่มนุษยสมควรละอาย
มากกวามนุษยดวยกัน(3)

การรายงานหะดีษบทนี้ ผูบันทึกไดกลาวรายงานโดยเริ่มตั้งแตตาบิอีน
เศาะหาบะฮฺ รสูลุล ลอฮฺ  และตัวบทหะดีษ ไมไดกลาวสายรายงานของ
หะดีษระหวางเขากับตาบิอีน
อยางไรก็ตาม การรายงานหะดีษมุอัลลั้กสามารถเลือกวิธีการรายงาน
อยางหนึ่งอยางใดจากทั้งสามวิธีที่ไดกลาวมาแลว

3. ฐานะของหะดีษมุอัลลั้ก
ที่จริงแลว หะดีษมุอัลลั้กที่มีอยูในหนังสือหะดีษทั้งหลายพอสรุปไดดังนี้
1. หะดีษมุอัลลั้กในหนังสืออัลญามิอฺ อัศเศาะหีหฺของอัลบุคอรียและของ
มุสลิม บรรดาอุละมาอฺยอมรับวาทั้งหมดเปนหะดีษเศาะหีหฺ ทั้งนี้เนื่องจากนักการ
หะดี ษ ได ทํ า การ ศึ ก ษาวิ เ คราะห พ บว า หะดี ษ มุ อั ล ลั้ ก ในหนั ง สื อ ทั้ ง สองมี ก าร

(3)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 1/300
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 131
รายงานดวยสายรายงานที่ติดตอกันโดยทราบจากสะนัดอื่นตั้งแตสองสะนัดหรือ
มากกวา และสะนัดอื่นนั้นอยูในระดับเศาะหีหฺหรืออยางต่ําอยูในระดับหะซัน
2. หะดีษมุอัลลั้กในหนังสืออัซซุนัน อัลมะสานีด อัลมุศอนนะฟาต และ
หนังสืออื่น ๆ จะตองพิจารณาสํานวนการรายงานเปนหลักดังนี้
ก. หากการรายงานหะดีษมุอัลลั้กนั้นใชสํานวน ‫( ﺟﺰﻡ‬สํานวนชัดเจนชี้ชัด)
เชน กลาววา “‫ ”ﻗﺎﻝ‬หรือ “‫ ” ﹶﺫ ﹶﻛ َﺮ‬หรือ “‫ ” َﺣ ﹶﻜﻲ‬หะดีษมุอัลลั้กอยูในระดับหะดีษ
เศาะหีหฺ
ข. หากการรายงานหะดี ษ มุ อั ล ลั้ ก นั้ น โดยใช สํ า นวน ‫( ﲤﺮﻳﺾ‬สํ า นวน
คลุมเครือ) เชน กลาววา “‫ ”ﻗﻴﻞ‬หรือ “‫ ” ﹸﺫ َِﻛﺮ‬หรือ “‫ ”ﺣُ ِﻜ َﻲ‬หะดีษมุอัลลั้กใน
ลักษณะเชนนี้ไมสามารถจะตัดสินเปนหะดีษเศาะหีหฺได บางหะดีษเปนหะดีษ
เศาะหี หฺ หะดี ษ หะซั น และหะดี ษ เฎาะอี ฟ หรือแม แ ต ห ะดีษ เมาฎ อฺ ขึ้ น อยู กับ
สถานภาพของสายรายงานที่ไดรายงานหะดีษที่เกี่ยวของ(1)

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมุอัลลั้กสามารถนํามาใชเปนหลักฐานได หากเปนหะดีษเศาะหีหฺหรือ
หะดีษหะซัน โดยเฉพาะอยางยิ่งหะดีษในเศาะหีหฺอัลบุคอรียและเศาะหีหฺมุสลิม
สวนหะดีษมุอัลลั้กที่เปนหะดีษเฎาะอีฟจะมีหุกมเหมือนกับหุกมของหะดีษเฎาะอีฟ
ทั่วไป

5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺻﺤﻴﺢ ﻣﺴﻠﻢ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺻﺤﻴﺢ ﺍﻟﺒﺨﺎﺭﻱ‬.1
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺴﻨﻦ ﺍﻷﺭﺑﻌﺔ‬.2
(1)
ดู มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 134
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 132

ชนิดที่ 2 หะดีษมุรซัลตาบิอีน
หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในสายรายงาน เนื่องจาก
ตกหลนผูรายงานหนึ่งคนหรือสองคนในชวงทายของสะนัดเรียกวา หะดีษมุรซัล
ตาบิอีน
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﺮﺳﻞ‬มาจากรากศัพทของคํา “‫ ”ﺃﺭﺳﻞ ﻳﺮﺳﻞ ﺇﺭﺳﺎ ﹰﻻ‬แปลวา ขาม
ไปปลอยไป หมายถึง ผูรายงานขามผูรายงานอีกทานหนึ่ง (1)
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุรซัลตาบิอีน คือ หะดีษที่ตกหลนผูรายงานหนึ่งคนหรือสองคน
ในชวงทายของ สะนัดหลังจากรุนตาบิอีน(2)
หะดีษมุรซัลตาบิอีนเปนการตกหลนเศาะหาบะฮฺหรือตาบิอีน ซึ่งเปนการ
รายงานของตาบิอีนที่กลาววา จากรสูลุลลอฮฺ 
2. ตัวอยางหะดีษมุรซัลตาบิอีน

‫ ﺛﻨﺎ‬،‫ ﺛﻨﺎ ﺣﺠﲔ‬،‫ ﺣﺪﺛﲏ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺭﺍﻓﻊ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﻣﺴﻠﻢ‬


‫ ﻋﻦ ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ ﺍﳌﺴﻴﺐ ﺃﻥ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﺷﻬﺎﺏ‬،‫ ﻋﻦ ﻋﻘﻴﻞ‬،‫ﺍﻟﻠﻴﺚ‬
.‫ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻬﻧﻰ ﻋﻦ ﺍﳌﺰﺍﺑﻨﺔ‬

(1)
ผูรายงานในชวงตนและชวงกลางของสะนัดมีการกลาวอยางชัดเจน มิไดตัดออกหรือตกหลนแตอยางใด แตหาก
การตกหลนนั้นในสองชวง คือ ชวงตนหรือชวงกลางและชวงทายของสะนัด หะดีษในลักษณะนี้จะมีสองชื่อ คือ
หะดีษมุรซัลและหะดีษมุนเกาะฏิอฺ
(2)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 23
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 133

ความวา : จากสะอีด เบ็ญ อัลมุสัยยิบ แทจริงรสูลุลลอฮฺ  ไดหามการคา


ขายชนิดอัลมุซาบะนะฮ(1)

หะดีษบทนี้มีผูรายงานทานหนึ่งตกหลนในสะนัด เนื่องจากสะอีด เบ็ญ


อัลมุสัยยิบซึ่งอยูในรุนตาบิอีนไดกลาวรายงานจากทานนบีซึ่งเปนที่รูกันวาตาบิอีน
นั้นไมไดยินหะดีษโดยตรงจากทานนบี  แตการรายงานของทานพาดพิงไปยัง
ทานนบี ดังนั้น การรายงานนี้เปนการรายงานที่ขาดตอนระหวางสะอีด เบ็ญ
อัลมุสัยยิบกับทานนบี  คือ เศาะหาบะฮฺ

3. ฐานะของหะดีษมุรซัลตาบิอีน
หะดีษมุรซัลตาบิอีนเปนหะดีษเฎาะอีฟเนื่องจากขาดคุณสมบัติของหะดีษ
เศาะหีหฺ คือ สะนัดที่ขาดตอน เพราะตกหลนผูรายงานระหวางตาบิอีนกับ
ทานนบี  จะเปนตาบิอีนหรือเศาะหาบะฮฺ
อยางไรก็ตาม บรรดาอุละมาอฺหะดีษมีความเห็นวาหะดีษมุรซัลตาบิอีนใน
หนังสือเศาะหีหฺอัลบุคอรียและเศาะหีหฺมุสลิมเปนหะดีษมุรซัลที่เศาะหีหฺ เพราะมี
กระแสรายงานอื่นที่ติดตอกันมายืนยันและเปนการรายงานของคนษิเกาะฮฺ(2)

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
การนําหะดีษมุรซัลตาบิอีนมาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตามนั้นมีทัศนะ
อุละมาอฺที่หลากหลายพอสรุปไดดังนี้

(1)
บันทึกโดยมุสลิม : 15/198
(2)
หะดีษมุรซัลตาบิอีนจะมีสายรายงานสองลักษณะดวยกัน คือ ลักษณะที่ขาดตอนสําหรับสายรายงานหนึ่งและ
ลักษณะที่ติดตอกันอีกสายรายงานหนึ่ง
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 134
ทัศนะที่ 1 ไมอนุญาตใหใชหะดีษมุรซัลตาบิอีนเปนหลักฐาน ทัศนะนี้เปน
ทัศนะของอุละมาอฺสวนใหญ เชน อุละมาอฺหะดีษ อุละมาอฺฟกฮ และอุละมาอฺ
อุศูล อัลฟกฮฺ
ทัศนะที่ 2 อนุญาตใหนําหะดีษมุรซัลตาบิอีนมาใชเปนหลักฐาน ทัศนะนี้
เป น ทั ศ นะของ อิ ม าม อะบู ห ะนี ฟ ะฮฺ อิ ม ามมาลิก และอิม ามอะหฺมั ด เบ็ ญ
หันบัล
ทัศนะที่ 3 อนุญาตใหนําหะดีษมุรซัลตาบิอีนเปนหลักฐานขึ้นอยูกับ
เงื่อนไขเปนทัศนะของอิมามอัชชาฟอียและอุละมาอฺบางทาน เงื่อนไขที่วานี้คือ
1. ผูรายงานที่ขามนั้นตองเปนตาบิอีนรุนอาวุโสเทานั้น เชน สะอีด เบ็ญ
อัลมุสัยยิบ และทานอื่น ๆ
2. ผูรายงานที่กลาวอางตองเปนผูรายงานที่ษิเกาะฮฺ
3. หากมี ผู อื่ น ร ว มรายงานหะดี ษ ด ว ยผู ร ายงานคนนี้ ก็ ต อ งเป น คนที่ มี
ความจํ า ดี เ ยี่ ย มและมี คุ ณ ธรรม และไม ขั ด แย ง กั บ การรายงานของคนอื่ น ที่
เหนือกวา
4. ตองมีการรายงานหะดีษจากสายรายงานอื่นที่มีสะนัดติดตอกัน(1)
ตัวอยาง

‫ ) ) ﺍﻃﻠﺒﻮﺍ‬: ‫ ﻋﻦ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬،‫ﻋﻦ ﻣﻜﺤﻮﻝ‬


(( ‫ ﻭﻧﺰﻭﻝ ﺍﻟﻐﻴﺚ‬،‫ ﻭﺇﻗﺎﻣﺔ ﺍﻟﺼﻼﺓ‬،‫ﺍﺳﺘﺠﺎﺑﺔ ﺍﻟﺪﻋﺎﺀ ﻋﻨﺪ ﺍﻟﺘﻘﺎﺀ ﺍﳉﻴﻮﺵ‬

(1)
เงื่อนไขที่ 4 โดยเลือกเงื่อนไขหนึ่งเงื่อนใดตอไปนี้ คือ 1) ผูรายงานที่ขามนั้นตองไมใชเปนผูที่โกหกหรือถูก
กลาวหาวาเปนคนโกหก 2) ผูรายงานที่ขามนั้นไมใชตาบิอีนรุนเล็ก
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 135
ความวา : จากมักฮูล จากรสูลุลลอฮฺ  กลาววา “จงแสวงหาการตอบ
รับการดุอาอฺ คือ เมื่อมีการเผชิญหนากับศัตรู และเวลายืนขึ้นจะ
ละหมาด และเวลาฝนตกหนัก (วาตภัย)”(2)

5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﺑﻮ ﺩﺍﻭﺩ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﺮﺍﺳﻴﻞ‬.1
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﺣﺎﰎ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﺮﺍﺳﻴﻞ‬.2
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﻌﻼﺋ ّﻲ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺟﺎﻣﻊ ﺍﻟﺘﺤﺼﻴﻞ ﻷﺣﻜﺎﻡ ﺍﳌﺮﺍﺳﻴﻞ‬.3

หัวขอยอย
หะดีษมุรซัลเศาะหาบีย
1. นิยาม
หะดีษมุรซัลเศาะหาบีย คือ หะดีษที่รายงานโดยเศาะหาบะฮฺทานหนึ่งจาก
ทานนบี ซึ่งไมไดยินโดยตรงจากทานนบี  ในสิ่งที่เขารายงานจะเปน
คําพูดหรือการกระทํา(3)
สาเหตุของการเปนหะดีษมุรซัลเศาะหาบียนั้น อันเนื่องมาจากเศาะหาบะฮฺ
ทานนั้นอายุยังนอย เขารับนับถือศาสนาอิสลามในชวงปลายของชีวิตหรือไมได
อยูในเหตุการณ เชน อิบนุอับบาส อิบนุอัซซุบัยร และทานอื่น ๆ

(2)
บันทึกโดยอัชชาฟอีย: 1/223-224 อิมามอันนะวะวียกลาววา: หะดีษนี้เปนหะดีษมุรซัลและอัลอัสเกาะลานียระบุ
วา อิสนาดจัยยิด (อิบนุ อัลลาน : 1/451)
(3)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 73
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 136
2. ตัวอยางหะดีษมุรซัลเศฺาะหาบีย

‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻤﺎ ﺃﻥ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬


‫ ﻭﻣﺎ‬،‫ ﻭﺍﻟﻨﺴﻴﺎﻥ‬،‫ )) ﺇﻥ ﺍﷲ ﲡﺎﻭﺯ ﱄ ﻋﻦ ﺃﻣﱵ ﺍﳋﻄﺄ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬
(( ‫ﺍﺳﺘﻜﺮﻫﻮﺍ ﻋﻠﻴﻪ‬

ความวา : จากอิบนุอับบาส  แทจริงรสูลุลลอฮฺ  กลาววา “แทจริง


อัลลอฮฺไดผอนผันแกฉันที่เกี่ยวของกับความผิดของประชาชาติ
ของฉันที่เกิดจากความผิดพลาด ลืมตัว และการถูกบังคับ”(1)
3. ฐานะของหะดีษมุรซัลเศฺาะหาบีย
อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นแตกตางกันเกี่ยวกับฐานะของหะดีษมุรซัลเศาะ-
หาบีย สรุปไดออกเปน 2 ทัศนะ
ทัศนะที่ 1 หะดีษมุรซัลเศาะหาบียเปนสวนหนึ่งของหะดีษมักบูล เพราะ
การตกหลนเศาะหาบะฮฺอันเนื่องมาจากการรายงานของเศาะหาบะฮฺดวยกันไมมี
ผลตอการใหการยอมรับหะดีษแตอยางใด ทัศนะนี้เปนทัศนะของอุละมาอฺหะดีษ
สวนใหญ อุละมาอฺฟกฮฺ และอุละมาอฺอุศูล อัลฟกฮฺ
ทัศนะที่ 2 หะดีษมุรซัลเศาะหาบียมีฐานะเหมือนกับหะดีษมุรซัลอื่น ๆ
เนื่องจากผูรายงานรับหะดีษจากตาบิอีนดวยกัน ซึ่งการตกหลนในลักษณะนี้มีผล
ตอการยอมรับหะดีษและความเศาะหีหฺของหะดีษ คือ สายรายงานขาดตอนเปน
ทัศนะของอะบูอิสหาก อัลอิสฟรอยีนีย และอุละมาอฺบางทาน
อยางไรก็ตาม จากสองทัศนะที่ไดกลาวขางตน ทัศนะที่ถูกตองควรแก
การนํามาปฏิบัติและใชเปนหลักฐาน คือ ทัศนะที่หนึ่ง เพราะการตกหลนเศาะ

(1)
บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺ : 1/659, อัดดารอกุฏนีย : 4/170 และอัลบัยฮะกีย : 7/356
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 137
หาบะฮฺไมมีผลตอการยอมรับหะดีษแตอยางใด เนื่องจากผูแอบอางรับหะดีษจาก
ทานนบี  เปนคนษิเกาะฮฺ หรืออยางนอยเปนคนเศาะดูก โดยเฉพาะอยางยิ่ง
เปนการรายงานของตาบิอีนรุนอาวุโส

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
ตามทัศนะอุละมาอฺสวนใหญ (อุละมาอฺหะดีษ อุละมาอฺฟกฮฺ และอุละมาอฺ
อุศูล อัลฟกฮฺ) มีความเห็นวา หะดีษมุรซัลเศาะหาบียสามารถนํามาใชเปน
หลักฐานได

ชนิดที่ 3 หะดีษมุรซัลเคาะฟย

หะดีษที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในสายรายงานเนื่องจากมีผูรายงาน
ตกหลนระหวางตาบิอีนกับเศาะหาบะฮฺ หะดีษในลักษณะเชนนี้เรียกวา หะดีษ
มุรซัลเคาะฟย

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﺧﻔﻲ‬แปลวา ไมปรากฏ หรือซอนเรน หมายถึง ผูรายงานที่ตก
หลนไปจากสะนัดซอนอยูหรือไมปรากฏใหเห็นอยางชัดเจน
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุรซัลเคาะฟย คือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่เคยพบเห็น หรือ
รวมสมัย การรายงานนั้นโดยใชสํานวนไดชัดเจน แตทั้งสองไมเคยปรากฏรับหะ
ดีษโดยตรง(1)
(1)
อิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 145
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 138
จากนิ ย ามข า งต น สามารถรู จั ก หะดี ษ มุ ร ซั ล เคาะฟ ย ด ว ยประการใด
ประการหนึ่งจาก 3 ประการตอไปนี้
1. อุละมาอฺผูเชี่ยวชาญระบุวา ผูรายงานคนนั้นไมไดพบเห็น หรือไมไดฟง
หะดีษจากผูที่ถูกแอบอาง(2)
2. ผูรายงานกลาวยอมรับเองวา เขาแอบอางจากบุคคลที่เขาไมไดยินและ
ไมไดฟง
3. มีกระแสรายงานอื่นระบุถึงผูรายงานที่ตกหลนระหวางผูรายงานทั้งสอง(3)

2. ตัวอยางหะดีษมุรซัลเคาะฟย

‫ ﺃﻧﺒﺄﻧﺎ ﻋﺒﺪ‬،‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﳏﻤﺪ ﺑﻦ ﺍﻟﺼﺒّﺎﺡ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﺑﻦ ﻣﺎﺟﻪ‬


‫ ﻋﻦ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﺻﺎﱀ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ ﺍﺑﻦ ﺯﺍﺋﺪﺓ‬،‫ﺍﻟﻌﺰﻳﺰ ﺑﻦ ﳏﻤﺪ‬
‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳـﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﲏ ﻗﺎﻝ‬ ّ ‫ ﻋﻦ ﻋﻘﺒﺔ ﺑﻦ ﻋﺎﻣﺮ ﺍﳉﻬ‬،‫ﻋﺒﺪ ﺍﻟﻌﺰﻳﺰ‬
(( ‫ )) ﺭﺣﻢ ﺍﷲ ﺣﺎﺭﺱ ﺍﳊﺮﺙ‬: ‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬

ความวา : จากอุกบะฮฺ เบ็ญ อามิร อัลุฮะนียเลาวา รสูลุลลอฮฺ 


กล า วว า “อั ล ลอฮฺ ท รงเมตตาต อ ผู ที่ ทํ า หน า ที่ รั ก ษาความ
ปลอดภัย (ยาม)”(1)

(2)
ระหวางตาบิอีนกับเศาะหาบะฮฺจากการรายงานของตาบิอีนดวยกันหรือตาบิอ ตาบิอีน
(3)
มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 79
(1)
บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺ : 2/925
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 139
หะดี ษ บทนี้ คื อ หะดี ษ มุ ร ซั ล เคาะฟ ย อั ล หาฟ ศ อั ล มิ ซ ซี ย กล า วว า
เนื่องจากอุมัร เบ็ญ อับดุลอะซีซ ไมไดรับหะดีษโดยตรงจากอุกบะฮฺ เบ็ญ อามิร

3. ฐานะของหะดีษมุรซัลเคาะฟย
หะดีษมุรซัลเคาะฟยเปนหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากขาดคุณสมบัติของหะดีษ
มักบูล คือ สะนัดไมติดตอกัน เพราะมีผูรายงานตกหลนหนึ่งคนระหวางตาบิอีน
กับเศาะหาบะฮฺ อุละมาอฺบางทานใหเหตุผลวา หะดีษในลักษณะนี้เปนทั้งหะดีษ
มุรซัลเคาะฟยและหะดีษ มุนเกาะฏิอฺ(2)

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดี ษ มุ ร ซั ล เคาะฟ ย ด ว ยสายรายงานที่ ต กหล น จั ด อยู ใ นระดั บ หะดี ษ
เฎาะอีฟ ไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐาน เวนแตจะมีสะนัดอื่นที่เศาะหีหฺระบุ
ถึ ง ผู ร ายงานที่ ต กหล น ไปจึ ง สามารถนํ า มาใช เ ป น หลั ก ฐานได โ ดยได รั บ การ
สนับสนุนจากสะนัดอื่นนั้น(3)

5. ตําราที่เกี่ยวของ

‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ‬،‫ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﻔﺼﻴﻞ ﳌﺒﻬﻢ ﺍﳌﺮﺍﺳﻴﻞ‬

(2)
คือ พิจารณาดานตกหลนของผูรายงานระหวางเขากับอาจารยของเขา
(3)
สะนัดอื่นนั้นตองประกอบดวย 1) มีหนึ่งสะนัดหรือมากกวา 2) สะนัดติดตอกัน 3) มีฐานะเดียวกันหรือ
เหนือกวา
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 140

ชนิดที่ 4 หะดีษมุอฺฎอล

หะดีษที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในสะนัดเนื่องจากมีการตกหลน
ผูรายงานสองคนติดตอกันเรียกวา หะดีษมุอฺฎอล
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﻌﻀﻞ‬มาจากรากศัพทของคําวา “‫ﻼ‬ ‫”ﺃﻋﻀﻞ ﻳﻌﻀﻞ ﺇﻋﻀﺎ ﹰﻻ ﻭﻣﻌﻀ ﹰ‬
แปลวา ติด ๆ กัน หรือติดตอกัน
ตามหลักวิชาการ
หะดี ษ มุ อฺ ฎ อ ล คื อ หะดี ษ ที่ มี ผู ร ายงานตกหล น ในสะนั ด สองคนหรื อ
มากกวาติดตอกัน(1)
การตกหลนสองคนหรือมากกวานั้นไดแกการตกหลนในชวงกลางของสะ
นัดและ หากมีการตกหลนไมติดตอกัน หรือตกหลนหลายคนในหลายๆ ชวงของ
สะนัด(2)ไมเรียกวา หะดีษมุอฺฎอล
2. ตัวอยางหะดีษมุอฺฎอล
: ‫ﻣﺎ ﺭﻭﺍﻩ ﺍﳊﺎﻛﻢ ﻋﻦ ﻣﺎﻟﻚ ﺃﻧﻪ ﺑﻠﹼﻐﻪ ﺃﻥ ﺃﺑﺎ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ‬
‫ )) ﻟﻠﻤﻤﻠﻮﻙ ﻃﻌﺎﻣﻪ ﻭﻛﺴﻮﺗﻪ‬: ‫ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬
(( ‫ ﻭﻻ ﻳﻜﻠﻒ ﻣﻦ ﺍﻟﻌﻤﻞ ﺇ ﹼﻻ ﻣﺎ ﻳﻄﻴﻖ‬،‫ﺑﺎﳌﻌﺮﻭﻑ‬

(1)
อัสสุยูฏีย : 2/ 234
(2)
หมายความวา ตกหลนในชวงตนหรือชวงกลางของสะนัด ไมใชหลาย ๆ ที่ของสะนัด สวนใหญแลวมักเกิดขึ้น
ในชวงกลางของสะนัด คือ รุนตาบิอีนหรือตาบิอฺ ตาบิอีน
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 141

ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  ได


กลาววา “สําหรับบาวนั้นตองมีอาหารและเครื่องนุงหมใช
เหมือนกับคนอื่น และไมควรมอบงานแกเขา เวนแตงานที่
เขาสามารถทําได(1)
ในสะนัดหะดีษบทนี้มีผูรายงานตกหลนสองคนติดตอกันระหวางอิมามมา
ลิกกับอะบูฮุรอยเราะฮฺ คือ มุฮํามัด เบ็ญ อิจญลานและบิดาของเขา การรูวา
เปนการตกหลนใน สะนัดสองคน เนื่องจากสายรายงานอื่นที่ไดระบุอยางชัดเจน
ถึงผูรายงานที่ตกหลน
3. ฐานะของหะดีษมุอฺฎอล
อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นพองกันวา หะดีษมุอฺฎอลเปนสวนหนึ่งของหะ
ดีษเฎาะอีฟเนื่องจากมีความบกพรองในสะนัดจากการตกหลนผูรายงานหลายคน
ติดตอกัน(2)
4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมุอฺฎอลไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐาน เวนแตเมื่อมีสะนัดอื่น
หนึ่งสะนัดระบุผูรายงานที่ตกหลนอยางชัดเจน(3)

(1)
บันทึกโดยอัลหากิม ทานกลาววา “หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุอฺฎอลจากมาลิก (อางในหนังสืออุลูม อัลหะดีษ
ของอิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 46)
(2)
การตกหลนติดตอกันหลายคนนั้นในชวงตนหรือชวงกลางของสะนัดเทานั้น แตหากตกหลนทั้งชวงตนและชวง
กลางไมเรียกวา หะดีษมุอฺฎอล อาจจะเปนหะดีษมุรซัลเศาะหาบีย หรือหะดีษมุรซัลเคาะฟย หรือหะดีษมุอัลลั้ก
(3)
สะนัดอื่นนั้นตองเปนสะนัดที่ติดตอกันหนึ่งสะนัดหรือมากกวา ซึ่งมีฐานะเดียวกันหรือเหนือกวา
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 142

5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺳﻨﻦ ﺳﻌﻴﺪ ﺑﻦ ﻣﻨﺼﻮﺭ‬.1
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﺍﻟﺪﻧﻴﺎ‬.2

ชนิดที่ 5 หะดีษมุนเกาะฏิอฺ

หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรอง อันเนื่องมาจากการตก
หลนในสะนัดหนึ่งคนหรือสองคนไมติดตอกันเรียกวา หะดีษมุนเกาะฏิอฺ

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﻨﻘﻄﻊ‬มาจากรากศัพทของคํา “‫ ”ﺍﻧﻘﻄﻊ ﻳﻨﻘﻄﻊ ﺍﻧﻘﻄﺎﻋﹰﺎ‬แปลวา ทํา
ใหขาดตอน หรือไมติดตอกัน
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุนเกาะฏิอฺ คือ หะดีษที่มีผูรายงานตกหลนในสะนัดหนึ่งคน หรือ
มากกวาแตไมติดตอกัน(1)
จากนิยามขางตนพอสรุปไดวา หากมีการตกหลนผูรายงานในหลายที่ของ
สะนัด เรียกวา หะดีษมุนเกาะฏิอฺเหมือนกัน

(1)
อัสสุยูฏีย : 2/349
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 143

2. ตัวอยางหะดีษมุนเกาะฏิอฺ

‫ ﻋﻦ ﺯﻳﺪ ﺑﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﺇﺳﺤﺎﻕ‬،ّ‫ ﻋﻦ ﺍﻟﺜﻮﺭ ﻱ‬،‫ﻣﺎ ﺭﻭﺍﻩ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﺯﺍﻕ‬


(( ‫ﻱ ﺃﻣﲔ‬
ّ ‫ )) ﺇﻥ ﻭﻟﻴﺘﻤﻮﻫﺎ ﺃﺑﺎ ﺑﻜﺮ ﻓﻘﻮ‬: ‫ ﻋﻦ ﺣﺬﻳﻔﺔ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬،‫ﻳﺸﻴﻊ‬

ความวา : จากหุซัยฟะฮฺ -มัรฟูอฺ เลาวา “หากพวกเจามอบสิ่งนั้นแกอะ


บูบักร แนนอนทานเปนคนที่แข็งเเกรงและปลอดภัย”(2)
หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุนเกาะฏิอฺ เนื่องจากมีผูรายงานหนึ่งคนตกหลนใน
สะนัดระหวางอัษเษารียกับอะบูอิสหาก ผูรายงานคนนั่น คือ ชะรีก เพราะอัษเษา
รียไมไดยินหะดีษโดยตรงจากอะบูอิสหาก แตเขาไดยินมาจากชะรีก จากอะบู
อิสหาก

3. ฐานะของหะดีษมุนเกาะฏิอฺ
อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นตรงกันวา หะดีษมุนเกาะฏิอฺเปนสวนหนึ่ง
ของหะดีษ เฎาะอีฟ เนื่องจากการตกหลนของผูรายงานในสะนัดนั้นไมทราบวา
เปนใคร

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมุนเกาะฏิอฺไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตาม เวน
แตเมื่อมี สะนัดอื่นที่ติดตอกันมายืนยันผูรายงานที่ตกหลน สะนัดอื่นนั้นมีหนึ่ง
สะนัดหรือมากกวา

(2)
บันทึกโดยอะหฺมัด อัลบัซซารและอัตฏอบะรอนีย (อัลฮัยตะมีย : 5/176)
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 144

5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺴﻨﻦ ﻭﻏﲑﻫﺎ‬.1

ชนิดที่ 6 หะดีษมุดัลลั้ส

หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากการตกหลนผูรายงานในสะนัดเนื่องจาก
การปกปดที่ซอนเรนเรียกวา หะดีษมุดัลลั้ส
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﺪﻟﺲ‬มาจากคําวา “‫ ”ﺩﻟﹼﺲ ﻳﺪﻟﺲ ﺗﺪﻟﻴﺴﹰﺎ‬แปลวา ปกปด ซอนเรน
หมายถึง การปกปดผูรายงาน
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุดัลลั้ส คือ หะดีษที่มีการรายงานในลักษณะปกปดผูรายงานโดย
เจตนาเพื่อใหเห็นภายนอกวาเปนหะดีษที่ไมมคี วามบกพรองแตอยางใด(1)
2. ประเภทของหะดีษมุดัลลัส
หะดีษมุดัลลั้สแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ตัดลีสอิสนาดและ
ตัดลิสสุยูค แตละประเภทมีรายละเอียดดังนี้
ประเภทที่ 1 ตัดลิสอิสนาด (‫)ﺗﺪﻟﻴﺲ ﺍﻹﺳﻨﺎﺩ‬
1. ความหมาย

(1)
อัสสุยูฏีย : 2/234
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 145
หะดีษตัดลีสอิสนาด หมายถึง หะดีษที่ผูรายงานไดรายงานหะดีษที่เขา
ไมไดยินจากบุคคล (อาจารย) ที่เขาเคยไดยินหะดีษโดยไดระบุวารับหะดีษมาจาก
อาจารยทานนั้น(1)
2. ตัวอยาง
‫ ﻗﺎﻝ ﻟﻨﺎ ﺍﺑﻦ‬: ‫ﻣﺎ ﺃﺧﺮﺟﻪ ﺍﳊﺎﻛﻢ ﺑﺴﻨﺪﻩ ﺇﱃ ﻋﻠ ّﻲ ﺑﻦ ﺧﺸﺮﻡ ﻗﺎﻝ‬
‫ ﻭﻻ‬،‫ ﻻ‬: ‫ ﲰﻌﺘَﻪ ﻣﻦ ﺍﻟﺰﻫﺮﻱّ؟ ﻓﻘﺎﻝ‬: ‫ ﻗﻴﻞ ﻟﻪ‬،ّ‫ ﻋﻦ ﺍﻟﺰﻫﺮﻱ‬: ‫ﻋﻴﻴﻨﺔ‬
.‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺣﺪﺛﲏ ﻋﺒﺪ ﺍﻟﺮﺯﺍﻕ ﻋﻦ ﻣﻌﻤﺮ ﻋﻦ ﺍﻟﺰﻫﺮ‬.‫ﻱ‬ّ ‫ﳑﻦ ﲰﻌﻪ ﻣﻦ ﺍﻟﺰﻫﺮ‬
แปลวา : หะดีษรายงานโดยอัลหากิมดวยสะนัดถึงอะลี เบ็ญ คอชรอมเลา
วา อิบนุอุยัยนะฮฺไดเลาใหแกพวกเราวารับหะดีษจากอัซซุฮฺรีย
บางคนถามทานวา คุณไดยินหะดีษจากอัซซุฮฺรียจริงหรือ? ทาน
ตอบวาไมและไมไดยินจากคนที่ไดฟงหะดีษจากอัซซุฮฺรียเหมือนกัน
แตฉันรับหะดีษจากอับดุลรอซาค จากมะอฺมัร จากอัซ ซุฮฺรีย(2)
หะดีษบทนี้ คือ หะดีษตัดลีสอิสนาด เนื่องจากอิบนุอุยัยนะฮฺไดทําการ
ปกปด ผูรายงานสองคนระหวางเขากับอัซซุฮฺรีย ทั้งสองทานนั้น คือ อับดุลรอ-
ซาคและมะอฺมัร
3. หุกมการตัดลีสอิสนาด
อุละมาอฺสวนใหญไดตําหนิการกระทําตัดลีสอิสนาด และอิมามชุอฺบะฮฺผู
หนึ่ ง ที่ เ ป น ผู ที่ ตํ า หนิ อ ย า งหนั ก ต อ การกระทํ า ตั ด ลี ส อิ ส นาด ท า นกล า วว า
“ตัดลีสนั้นเสมือนเปนเพื่อนของการโกหก”(3)

(1)
อัตตะฮานะวีย หนา 41
(2)
อัลหากิม หนา 130
(3)
อัศศอนอานีย หนา 131
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 146
4. เปาหมายของตัดลีสอิสนาด
การทําตัดลีสอิสนาดมีเปาหมายหลายประการดวยกันที่สําคัญ คือ
1. เพื่อตองการใหเห็นวาหะดีษนั้น ๆ มีอิสนาดอาลีย (อิสนาดที่สูง)
2. เพื่อตองการลดการรับหะดีษจากอาจารยบอยครั้ง
3. เพื่อลบภาพพจนของอาจารยที่เปนคนเฎาะอีฟหรือไมษิเกาะฮฺ
4. เพื่อปกปดคนอื่นที่ไดยินหะดีษรวมกับเขาจากอาจารยคนเดียวกัน
5. เพื่อปกปดอาจารยที่มีอายุนอยกวาเขา
ประเภทที่ 2 ตัดลีสสุยูค (‫)ﺗﺪﻟﻴﺲ ﺍﻟﺸﻴﻮﺥ‬
1. ความหมาย
หะดี ษ ตั ด ลี ส สุ ยู ค หมายถึ ง ผู ร ายงานได ร ายงานหะดี ษ โดยตรงจาก
อาจารยที่เขาเคยไดยิน โดยที่เขาไมไดระบุชื่ออาจารยอยางชัดเจน แตกลาวเปน
ชื่ออื่นที่ไมเปนที่รูจักกันมากอน(1)
หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง คือ ผูรายงานไดรายงานหะดีษที่เขารับโดยตรงจาก
อาจารยทานหนึ่ง ซึ่งเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายในสังคม เมื่อกลาวรายงาน
หะดีษ ผูรายงานไมไดเอยชื่อของอาจารยทานนั้นอยางชัดเจน แตกลับใชชื่ออื่น
หรื อ ใช ส ร อ ย หรื อ บอกลั ก ษณะที่ เ ป น ที่ รู จั กกั น การกระทํ า เช น นี้ เ พื่อ ปกป ด
อาจารยนั้นเอง

2. ตัวอยาง
‫ ﺣﺪﺛﻨﺎ ﻋﺒﺪ ﺍﷲ ﺑﻦ‬: ‫ﻗﻮﻝ ﺃﰊ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﳎﺎﻫﺪ ﺃﺣﺪ ﺃﺋﻤﺔ ﺍﻟﻘﺮّﺍﺀ‬
.‫ﱐ‬
‫ ﻳﺮﻳﺪ ﺃﺑﺎ ﺑﻜﺮ ﺑﻦ ﺃﰊ ﺩﺍﻭﺩ ﺍﻟﺴﺠﺴﺘﺎ ﹼ‬،‫ﺃﰊ ﻋﺒﺪ ﺍﷲ‬

(1)
อิบนุอัศเศาะลาหฺ หนา66
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 147
แปลวา : คําพูดของอะบูบักร เบ็ญ มุญาฮิด (หนึ่งในบรรดานักอาน) กลาว
วา อับดุลเลาะ เบ็ญ อะบีอับดุลเลาะไดรายงานแกพวกเรา
หมายถึง อะบูบักร เบ็ญ อะบูดาวูด อัซซิญิสตานีย(1)

3. หุกมของการตัดลีสสุยูค
การตัดลีสสุยูคนั้นเปนที่นารังเกียจของบรรดาอุละมาอฺ
4. เปาหมายของการตัดลีสสุยูค
การตัดลิสสุยูคมีเปาหมายที่สําคัญดังนี้
1. เพื่อปกปดอาจารยที่มีสถานภาพเฎาะอีฟ
2. เพื่ อ ปกป ด ผู ร ายงานคนอื่ น ที่ ร ว มรั บ หะดี ษ กั บ เขาอั น เนื่ อ งมาจาก
อาจารยมีอายุยืน
3. เพื่อปกปดตัวเองที่มีอายุมากกวาอาจารย
4. เพื่อปกปดการรายงานของเขาจากอาจารยบอยครั้ง

3. รายชื่อผูรายงานที่มีสถานภาพเปนตัดลีส
ผูรายงานที่มีสถานภาพเปนนักตัดลีสอิสนาดตอหะดีษนะบะวียนั้นแบง
ออกเปน 5 รุนดวยกัน(1)
กลุมที่ 1 ผูที่ไดทําการตัดลีสเปนบางครั้งบางคราวเทานั้น เชน ยะหฺยา
เบ็ญ สะอีด อัลอันศอรีย
กลุมที่ 2 ผูที่อุลามาอฺนับเปนนักตัดลีสแตมีการรายงานในหนังสือเศาะหีหฺ
เนื่อจากความเปนอิมามของเขาและการทําตัดลีสนอยมากเมื่อมีการรายงาน

(2)
อัสสุยูฏีย : 2/234
(1)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 23-24
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 148
หะดีษหรือการทําตัดลีสของเขานั้นมาจากผูรายงานที่มีสถานภาพษิเกาะฮฺ เชน
สุฟยาน เบ็ญ อุยัยนะฮฺ
กลุมที่ 3 ผูที่บรรดาอุลามาอฺมีความเห็นที่แตกตางกันในความเปนนักตัด
ลีสของเขา ซึ่งอุละมาอฺบางทานใหการยอมรับการรายงานของเขาและอุละมาอฺ
อีกกลุมหนึ่งไมยอมรับการรายงานของเขาในการนํามาใชเปนหลักฐาน เวนแตใน
กรณีที่เขารายงานหะดีษโดยใชสํานวนที่ชัดเจน เชน อะบูอัซซุบัยร อัลมักกีย
กลุมที่ 4 ผูที่อุละมาอฺมีความเห็นตรงกันวาไมสามารถนําหะดีษจากการ
รายงานของเขามาเปนหลักฐาน เวนแตในกรณีที่เขารายงานหะดีษโดยใชสํานวน
ที่ ชั ด เจน เนื่ อ งจากการตั ด ลี ส ของเขาจากผู ร ายงานที่ มี ส ถานภาพเฎาะอี ฟ
บ อ ยครั้ ง หรื อ ผู ที่ ไ ม รู จั ก กั น อย า งแพร ห ลายในสั ง คมว า เป น นั ก หะดี ษ เช น
บะกิยะฮฺ เบ็ญ อัลวะลีด
กลุมที่ 5 ผูรายงานที่เฎาะอีฟเนื่องมาจากสาเหตุอื่นที่ไมไดมาจากการ
ตัดลีส การรายงานหะดีษของเขาตองปฏิเสธ แมนวาการรายงานของเขานั้นโดย
ใชสํานวนชัดเจนก็ตาม เวนแตไดรับการยอมรับจากผูที่ษิเกาะฮฺวาเปนคนเฎาะอีฟ
เล็กนอย เชน อับดุลเลาะ เบ็ญ ละฮีอะฮฺ แตหากการรายงานของเขาใชสํานวน
คลุมเครือ หะดีษนั้นยอมเปนหะดีษเฏาะอีฟที่ใชไมได

4. ฐานะของหะดีษมุดัลลั้ส
หะดีษมุดัลลั้สเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากขาดคุณสมบัติของ
หะดีษมักบูล คือ ความบกพรองในการรายงาน(2)

(2)
การตัดลีสเปนการปกปดผูรายงานโดยเจตนา ซึ่งถือวาเปนการกระทําที่ไมเหมาะสม นักหะดีษถือวาเปนความ
บกพรองชนิดหนึ่งในบรรดาความบกพรองทั้งหลาย
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 149

5. การนํามาใชเปนหลักฐาน
การนําหะดีษมุดัลลั้สมาใชเปนหลักฐานและปฏิบัติตามในเรื่องบทบัญญัติ
ตางๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องศาสนามีการขัดแยงในกลุมอุละมาอฺออกเปนหลาย
ทัศนะ แตที่แพรหลายมากที่สุดมี 2 ทัศนะเทานั้นคือ
ทัศนะที่ 1 ไมอนุญาตนําหะดีษมุดัลลั้สมาใชเปนหลักฐานไมวาในกรณี
ใดๆ ก็ตาม เนื่องจากการตัดลีสเปนเสมือนกับการโกหกตอทานนบี 
ทัศนะที่ 2 พิจารณาจากลักษณะการรายงานของนักตัดลีส คือ
1. หากการรายงานนั้นใชสํานวนชัดเจน เชน กลาววา “ُ‫ ” َﺳ ِﻤ ْﻌﺖ‬หรือ
อื่นๆ สามารถนําหะดีษมาใชเปนหลักฐานได
2. ถาการรายงานนั้นใชสํานวนคลุมเครือ เชน กลาววา “‫ ”ﻋﻦ‬หรือที่
เรียกวา “‫ ”ﻫﻮ ﻣﺪﻟﺲ ﻭﻗﺪ ﻋﻨﻌﻨﺔ‬แปลวา เขาเปนนักตัดลีสโดยใชสํานวน “‫”ﻋﻦ‬
ไมสามารถนําหะดีษมาเปนหลักฐานได
จากสองทั ศ นะที่ ไ ด ก ล า วข า งต น ทั ศ นะที่ ถู ก ต อ ง คื อ ทั ศ นะที่ ส อง
เนื่องจากการรายงานนั้นโดยใชสํานวนที่ชัดเจนซึ่งแสดงถึงการมีผูรายงานไดยิน
หะดีษจริงจากอาจารยไมใชเปนการตัดลีสแตอยางใด

6. ตําราที่เกี่ยวของ

‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﺒﻴﲔ ﻷﲰﺎﺀ ﺍﳌﺪﻟﺴﲔ‬.1
‫ﱯ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺑﺮﻫﺎﻥ ﺍﻟﺪﻳﻦ ﺑﻦ ﺍﳊﻠ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﺒﻴﲔ ﻷﲰﺎﺀ ﺍﳌﺪﻟﺴﲔ‬.2
،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺗﻌﺮﻳﻒ ﺃﻫﻞ ﺍﻟﺘﻘﺪﻳﺲ ﲟﺮﺍﺗﺐ ﺍﳌﻮﺻﻮﻓﲔ ﺑﺎﻟﺘﺪﻟﻴﺲ‬.3
‫ﺍﳊﺎﻓﻆ ﺍﺑﻦ ﺣﺠﺮ ﺍﻟﻌﺴﻘﻼﱐ‬
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 150

หะดีษเฎาะอีฟอันเนื่องมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน
ชนิดที่ 1 หะดีษมุอัลลั้ล

หะดี ษ ที่ มี ส าเหตุ ม าจากความบกพร อ งของผู ร ายงานในแง ค วามจํ า


เนื่องมาจากการสับสนในการรายงาน หะดีษในลักษณะนี้เรียกวา หะดีษมุอัลลั้ล
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫(”ﻣﻌﻠﻞ‬1) มาจากรากศัพทของคํา “‫ﻼ‬ ‫ ” َﻋ ﹶٌﻞ ﹶﻝ ُﻳ ٌَﻌِﻠﻞﹸ ﺗُﻌﻠﻴ ﹰ‬แปลวา มี
ความบกพรอง หรือขอเสีย และคําวา “มุอัลลั้ล” สิ่งที่มีความบกพรองที่ซอนเรน
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุอัลลั้ล คือ หะดีษที่ผูเชี่ยวชาญพิจารณาแลวพบวามีความบกพรอง
ตอการเปน หะดีษเศาะหีหฺ ซึ่งดูภายนอกมีสถานภาพเปนหะดีษเศาะหีหฺ(2)
จากนิยามขางตนจะเห็นไดชัดวา การที่จะเรียกหะดีษเปนหะดีษมุอัลลั้ลนั้น
ตองประกอบดวยเงื่อนไข 2 ประการ
หนึ่ง เปนการรายงานที่คลุมเครือและซอนเรน
สอง มีผลเสียตอการเปนหะดีษเศาะหีหฺ
หากขาดเงื่ อ นไขหนึ่ ง เงื่ อ นไขใดแล ว ไม เ รี ย กว า หะดี ษ มุ อั ล ลั้ ล ตาม
ความหมายของหะดีษมุอัลลั้ลที่แทจริง(3)

(1)
อุละมาอฺหะดีษมุตะกอดดิมูน เรียกวา หะดีษมะอฺลูล และอุละมาอฺหะดีษมุตะอัคคิรูน เรียกวา หะดีษมุอัล สวนอุ
ละมาอฺภาษาศาสตรสวนใหญเรียกวา มุอัลลั้ล
(2)
อัสสุยูฏีย : 2/245
(3)
ดู มะหฺมูด อัตเฏาะหฺหาน หนา 98-99
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 151

2. ชนิดและตัวอยางหะดีษมุอัลลั้ล
หะดีษมุอัลลั้ลแบงออกเปน 2 ชนิด คือ มุอัลลั้ลอิสนาดและมุอัลลั้ลมะตัน
ชนิดที่ 1 มุอัลลั้ลอิสนาด ตัวอยาง

،‫ ﻋﻦ ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﺩﻳﻨﺎﺭ‬،ّ‫ ﻋﻦ ﺍﻟﺜﻮﺭﻱ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﻳﻌﻠﻰ ﺑﻦ ﻋﺒﻴﺪ‬


.(( ‫ )) ﺍﻟﺒﻴﻌﺎﻥ ﺑﺎﳋﻴﺎﺭ‬: ‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬

ความวา : จากอิบนุอุมัร -มัรฟูอฺ- ทานนบี  กลาววา “การซื้อขายนั้น


ทั้งผูซื้อและผูขาย- โดยมีการเลือก”(4)

หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุอัลลั้ล เนื่องจากผูรายงานที่ชื่ออัษเษารียสับสนใน
การรายงานหะดีษที่กลาววา จากอัมรฺ เบ็ญ ดีนาร แตผูรายงานหะดีษที่ถูกตองก็
คือ มาจาก อับดุลเลาะ เบ็ญ ดีนาร
ชนิดที่ 2 มุอัลลั้ลมะตัน ตัวอยาง

‫ﱯ‬
ّ ‫ﺖ ﺧﻠﻒ ﺍﻟﻨ‬
ُ ‫ ﺻﻠﻴ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﺃﻧﺲ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻗﺎﻝ‬
‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻭﺃﰊ ﺑﻜﺮ ﻭﻋﻤﺮ ﻓﻜﺎﻧﻮﺍ ﻳﺴﺘﻔﺘﺤﻮﻥ‬
.‫ﺑﺎﳊﻤﺪ ﷲ ﻻ ﻳﻘﺮﺃ ﺑﺴﻢ ﺍﷲ ﺍﻟﺮﲪﻦ ﺍﻟﺮﺣﻴﻢ‬

(4)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 7/125
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 152
ความวา : จากอะนัส เบ็ญ มาลิก  เลาวา ฉันเคยละหมาดอยู
ดานหลัง (เปนมะมูม) ของ นบี  และหลัง อะบูบักร และหลัง
อุมัร เขาเหลานั้นเริ่มการละหมาดดวยการอาน ‫ ﺍﳊﻤﺪﷲ‬โดยมิได
อาน บิสมิลลาฮฺฮิรเราะฮฺมานิรริหีม(1)

หะดีษบทนี้ดวยสายรายงานของอัลวะลีด คือ หะดีษมุอัลลั้ล เนื่องจาก


การรายงานที่ขัดแยงกับการรายงานที่มีฐานะเศาะหีหฺทั้งในดานสถานภาพของ
ผูรายงานและมะตัน(2)เชน หะดีษจากอะนัสเลาวา (( ‫ﻛﺎﻥ ﺭﺳـﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ‬
‫ )) ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻳﺴ ﱡﺮ ﺍﻟﺒﺴﻤﻠﺔ‬ความวา “รสูลุลลอฮฺ  ไดอานบิสมิลาฮฺดวยเสียง
เบา” และหะดีษอื่น ๆ อีกหลายบทที่กลาวในเรื่องเดียวกัน การกลาวถึงการอาน
บิสมิลลาฮฺนั้น หากพิจารณาตัวบทหะดีษหรือความเขาใจจากเจตนารมณของ
หะดีษซึ่งแสดงใหเห็นวาเปนการอานเสียงเบามากกวาปฏิเสธ ทั้งหะดีษที่ได
บันทึกโดยอัลบุคอรีย มุสลิม หรืออิมามทานอื่น ๆ

3. ฐานะของหะดีษมุอัลลั้ล
หะดีษมุอัลลั้ลเปนหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากขาดคุณสมบัติของหะดีษมักบูล
คื อ บกพร อ งในแง ค วามจํ า ของผู ร ายงานที่ ม าจากสาเหตุ ค วามสั บ สนในการ
รายงานหะดีษ(3)

(1)
อิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 83
(2)
การรายงานที่เศาะหีหฺหมายถึง หะดีษจากอะบูฮุรัยเราะฮฺ อะนัส เบ็ญ มาลิก อับดุลเลาะ อิบนุ อับบาส อุษมาน
เบ็ญ อัฟฟาน อะลี เบ็ญ อะบีฏอลิบ อัมมาร เบ็ญ ยาซิร และอันนุมาน
(3)
ลักษณะของหะดีษ เชน ผูรายงานกลาวรายงานหะดีษดวยความสับสนของเขา กลาวคือ รายงานหะดีษที่มี
ลักษณะมุรซัลเปนหะดีษเมาศูล หรือมีการรายงานหะดีษหนึ่งเปนหะดีษอื่น หะดีษเศาะหีหฺเปนหะดีษเฎาะอีฟ
หรือไมกลาตัดสินหะดีษ (ดู อุมัร ฟุลลาตะฮฺ : 2/79)
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 153

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมุอัลลั้ลไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐานและนํามาปฏิบัติตาม เวน
แตเมื่อมีการรายงานจากสะนัดอื่นหนึ่งสะนัดหรือหลายสะนัด ซึ่งมีฐานะเดียวกัน
หรือเหนือกวามาสนับสนุนสายรายงานดังกลาว(1)

5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ﲏ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﺑﻦ ﺍﳌﺪﻳ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻌﻠﻞ‬.1
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﺑﻦ ﺃﰊ ﺣﺎﰎ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﻋﻠﻞ ﺍﳊﺪﻳﺚ‬.2
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﲪﺪ ﺑﻦ ﺟﻨﺒﻞ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻌﻠﻞ ﻭﻣﻌﺮﻓﺔ ﺍﻟﺮﺟﺎﻝ‬.3
‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺘﺮﻣﺬ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻌﻠﻞ ﺍﻟﻜﺒﲑ ﻭﺍﻟﻌﻠﻞ ﺍﻟﺼﻐﲑ‬.4

ชนิดที่ 2 หะดีษมุดรอจญ
หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน
เนื่ อ งจากการขั ด แย ง ของผู ร ายงานจนทํ า ให มี สํ า นวนหะดี ษ เพี้ ย นไปเรี ย กว า
หะดีษมุดรอจญ

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﺪﺭﺝ‬มาจากรากศัพทของคําวา “‫ ”ﺃﺩﺭﺝ ﻳﺪﺭﺝ ﺇﺩﺭﺍﺟﹰﺎ‬แปลวา มี
การแทรกเขาไป หรือมีการเพิ่มเติม

(1)
สะนัดอื่นนั้นตองเปนสะนัดที่ติดตอกันและไมใชเปนการบกพรองในแงคุณธรรมของผูรายงาน
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 154

ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุดรอจญ คือ หะดีษที่มีการเปลี่ยนแปลงสะนัด หรือมีการแทรกใน
มะตัน ที่ไมใชตัวบทหะดีษ(2)
จากนิยามขางตน การอิดรอจญเกิดขึ้นทั้งในสะนัดและในมะตัน
1. การอิดรอจญในสะนัด หมายถึง เปลี่ยนผูรายงานจากคนเดิมกลายเปน
คนอื่น
2. การอิดรอจญในมะตัน หมายถึง ผูรายงานนําคําพูดของตนเองหรือ
สํานวนคนอื่นแทรกในตัวบทหะดีษ

2. ชนิดและตัวอยางหะดีษมุดรอจญ
ชนิดที่ 1 การอิดรอจญในสะนัด ตัวอยาง

‫ﺕ ﺻﻼﺗﻪ‬
ْ ‫ " ﻣﻦ ﻛﺜﺮ‬: ‫ﻗﺼﺔ ﺛﺎﺑﺖ ﺑﻦ ﻣﻮﺳﻰ ﺍﻟﺰﺍﻫﺪ ﰲ ﺭﻭﺍﻳﺘﻪ‬
." ‫ﺑﺎﻟﻠﻴﻞ ﺣﺴﻦ ﻭﺟﻬﻪ ﺑﺎﻟﻨﻬﺎﺭ‬

แปลวา : เรื่องราวของษาบิต เบ็ญ มูซา อัลซาฮิดในบางรายงานของทาน


เลาวา “ผูใดขยันละหมาดในเวลากลางคืน (ละหมาดตะฮัจุด)
ใบหนาของเขาจะแจมใสในเวลากลางวัน”(1)

(2)
อัสสุยูฏีย : 2/245
(1)
บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺ : 1/422
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 155
หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุดรอจญ ผูทําการอิดรอจญ คือ ษาบิต เบ็ญ มูซา
ซึ่งเขาใจวาสํานวนนี้เปนหะดีษของสายรายงานดังกลาว(2)
ชนิดที่ 2 การอิดรอจญในมะตัน
การอิดรอจญในมะตันมี 3 ลักษณะดวยกัน
ลักษณะที่ 1 การอิดรอจญในชวงตนของมะตัน ตัวอยาง

‫ ﻋﻦ‬،‫ﻱ ﻣﻦ ﺭﻭﺍﻳﺔ ﺃﰊ ﻗﻄﻦ ﻭﺷﺒﺎﺑﺔ‬


ّ ‫ﻣﺎ ﺭﻭﺍﻩ ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩ‬
‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ‬: ‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﻗﺎﻝ‬،‫ ﻋﻦ ﳏﻤﺪ ﺍﺑﻦ ﺯﻳﺎﺩ‬،‫ﺷﻌﺒﺔ‬
‫ﻭﻳﻞ ﻟﻸﻋﻘﺎﺏ‬،‫ )) ﺃﺳﺒﻐﻮﺍ ﺍﻟﻮﺿﻮﺀ‬: ‫ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬
.(( ‫ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬

ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺเลาวา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “พวกเจาจง


อาบน้ํ า ละหมาดให ส มบูร ณ นรกเวลสํ า หรั บผู ที่ล า งเทา (เวลา
อาบน้ําละหมาด) ไมครอบคลุม (ตาตุม)”(1)

(2)
ที่มาของเรื่องราวขางตน คือ แทจริงษาบิต เบ็ญ มูซา เขามาในมัจญลิสของชะริก เบ็ญ อับดุลเลาะ อัลกอฎีย
ในขณะที่กําลังกลาวหะดีษ ทานกลาววา “อัลอะอฺมัชไดรายงานแกพวกเรา จากอะบีสะอีด จากญาบิร ซึ่งทาน
กลาววา รสูลุลลอฮฺ  ไดกลาววา “.......” ทานก็หยุดพักครูหนึ่งเพื่อใหผูฟงทําการบันทึกหะดีษ ในขณะนั้นทาน
(อะลี บินอับดุลเลาะ) ก็เห็นษาบิต (ซึ่งเปนคนขยันละหมาดตะฮัจุด) เขามา ทาน (อะลี) กลาววา (( ‫ﻣﻦ ﻛﺜﺮﺕ‬
‫ ))ﺻﻼﺗﻪ ﺑﺎﻟﻠﻴﻞ ﺣﺴﻦ ﻭﺟﻬﻪ ﺑﺎﻟﻨﻬﺎﺭ‬เมื่อษาบิตไดยินประโยคนั้นเขาใจวาเปนตัวบทหะดีษของ สะนัดดังกลาว
ทาน (ษาบิต) ก็รายงานตามที่ไดฟงจากอะลีจนกลายเปนตัวบทหะดีษไป ดวยเหตุดังกลาว อุละมาอฺหะดีษมี
ความเห็นวา หะดีษนี้เปนหะดีษเมาฎอฺ
(1)
อัสสุยูฏีย : 1/270
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 156
ประโยคที่นํามาแทรกในหะดีษ คือ (( ‫ )) ﺃﺳﺒﻐﻮﺍ ﺍﻟﻮﺿﻮﺀ‬ซึ่งเปนคําพูด
ของอะบูฮุรอยเราะฮฺที่ถูกนํามาแทรกในชวงตนของหะดีษ อัลเคาะฏีบ อัลบัฆดาดีย
กลาววา อะบูกุฏนฺและชะบาบะฮฺเขาใจผิดวาเปนคําพูดของทานนบี  ซึ่งสังเกต
ไดจากการรายงานของอัลบุคอรีย จากอาดัม จากชุอฺบะฮฺ จากมุฮั มมัด เบ็ญ
ซิยาด จากอะบูฮุรอยเราะฮฺกลาววา

‫ )) ﻭﻳﻞ‬: ‫ ﻓﺈﻥ ﺃﺑﺎ ﺍﻟﻘﺎﺳﻢ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬،‫ﺃﺳﺒﻐﻮﺍ ﺍﻟﻮﺿﻮﺀ‬


(( ‫ﻟﻸﻋﻘﺎﺏ ﻣﻦ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬
ความวา : จงอาบน้ําละหมาดใหสมบูรณ เนื่องจากอะบูอัลกอซิม  ได
กลาววา “นรกเวลนั้นสําหรับผูที่ลางเทาไมครอบคลุม (ตาตุม)”(2)

ลักษณะที่ 2 การอิดรอจญในชวงกลางของมะตัน ตัวอยาง


‫ )) ﺃﻭﻝ ﻣﺎ ﺑﺪﺉ ﺑﻪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﺎﺋﺸﺔ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ‬
،‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﻣﻦ ﺍﻟﻮﺣﻲ ﺍﻟﺮﺅﻳﺎ ﺍﻟﺼﺎﳊﺔ ﰲ ﺍﳌﻨﺎﻡ‬
‫ﺐ ﺇﻟﻴﻪ‬
َ ‫ ﰒ ﺣُﱢﺒ‬،‫ﻓﻜﺎﻥ ﻻ ﻳﺮﻯ ﺭﺅﻳﺎ ﺇ ﹼﻻ ﺟﺎﺀﺕ ﻣﺜﻞ ﻓﻠﻖ ﺍﻟﺼﺒﺢ‬
– ‫ ﻭﻛﺎﻥ ﳜﻠﻮ ﺑﻐﺎﺭ ﺣﺮﺍﺀ ﻓﻴﺘﺤﻨﺚ ﻓﻴﻪ – ﻭﻫﻮ ﺍﻟﺘﻌﺒﺪ‬،‫ﺍﳋﻼﺀ‬
.(( ‫ﺍﻟﻠﻴﺎﱄ ﺫﻭﺍﺕ ﺍﻟﻌﺪﺩ‬

ความวา : จากอาอิชะฮฺ  กลาววา สิ่งแรกที่รสูลุลลอฮฺ  เริ่มรับวะหฺ


ยู คือ การฝนที่เปนจริงในขณะนอนหลับ ซึ่งทาน(นบี) ไมเคยฝน
นอกจากมันมาเสมือนแสงกระพริบในรุงอรุณ หลังจากนั้น ทาน
(2)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 1/267
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 157
(นบี) ชอบนั่งเงียบ ๆ โดยที่ทาน (นบี) ออกไปยังถ้ําฮิรออฺ ทําการ
สักการะ – ทําอิบาดะฮฺ- เปนเวลาหลายคืน(3)
คําวา “ ‫ ” ﻭﻫﻮ ﺍﻟﺘﻌﺒﺪ‬แปลวา ทําการสักการะ เปนคําพูดของอัซซุฮฺรียซึ่ง
ถู ก นํ า มาแทรกในช ว งกลางของหะดี ษ เพื่ อ อธิ บ ายความหมายของคํ า ว า
“‫ ”ﻓﻴﺘﺤﻨﺚ‬คือ ทําอิบาดะฮฺ มิใชเปนคําพูดของทานหญิงอาอิชะฮฺ  คําอธิบาย
นี้มาจากการรายงานของยูนุ ส เบ็ญยะซีด จากอิบนุชิฮาบ จากอุรวะฮฺ เบ็ญ
อัซซุบัยร จากทานหญิงอาอิชะฮฺ ‫ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ‬ไมเหมือนกับตัวบทหะดีษที่มา
จากการรายงานตอไปนี้
‫ ) ) ﻛﺎﻥ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﺎﺋﺸﺔ ﰲ ﺑﺪﺀ ﺍﻟﻮﺣﻲ‬
.(( ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻳﺘﺤﻨﺚ ﰲ ﻏﺎﺭ ﺣﺮﺍﺀ ﻭﻫﻮ ﺍﻟﺘﻌﺒﺪ ﺍﻟﻠﻴﺎﱄ ﺫﻭﺍﺕ ﺍﻟﻌﺪﺩ‬
ความวา : ทานนบี  ทําการสักการะในถ้ําหิรออฺ ทานทําอิบาดะฮฺเปน
เวลาหลายคืน(1)

ลักษณะที่ 3 การอิดรอจญในชวงทายของมะตัน ตัวอยาง


،‫ ) ) ﻟﻠﻌﺒﺪ ﺍﳌﻤﻠﻮﻙ ﺍﻟﺼﺎﱀ ﺃﺟﺮﺍﻥ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬
‫ﻭﺍﻟﺬﻱ ﻧﻔﺴﻲ ﺑﻴﺪﻩ ﻟﻮ ﻻ ﺍﳉﻬﺎﺩ ﰲ ﺳﺒﻴﻞ ﺍﷲ ﻭ ﺍﳊﺞ ﻭﺑﺮ ﺃﻡ‬
(( ‫ﺖ ﺃﻥ ﺃﻣﻮﺕ ﻭﺃﻧﺎ ﳑﻠﻮﻙ‬ُ ‫ﻷﺣﺒﺒ‬

(3)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 1/23
(1)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 10/ 715
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 158
ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺกลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา
“สําหรับผูเปนทาสที่ดีไดรับผลบุญสองเทา ฉันขอสาบานตอผูที่
ชีวิตของฉันอยูในพระหัตถของพระองค หากไมมีการญิฮาดใน
หนทางของอัลลอฮฺ การทําฮัจญ และการทําความดีตอมารดาแลว
ไซร แนนอนฉันพรอมที่จะตายในขณะที่ฉันเปนทาส”(2)

ประโยค “‫ ”ﻭﺍﻟﺬﻱ ﻧﻔﺴﻲ ﺑﻴﺪﻩ‬คือ คํามุดรอจญเปนคําพูดของอะบูฮุรอย-


เราะฮฺที่ถูกนํามาแทรกในชวงทายของหะดีษ ซึ่งสังเกตไดจากการรายงานของ
อิสมะอีลีย จากอิบนุ อัลมุบารอก จากอะบูฮุรอยเราะฮฺกลาววา

‫) ) ﻭﺍﻟﺬﻱ ﻧﻔﺲ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺑﻴﺪﻩ ﻟﻮ ﻻ ﺍﳉﻬﺎﺩ ﰲ ﺳﺒﻴﻞ ﺍﷲ‬


... ‫ﻭﺍﳊﺞ‬

ความวา “แทจริงชีวิตของอะบูฮุรอยเราะฮฺอยูในพระหัตถของพระองค
หากไมมีการญิฮาด การทําฮัจญ และการทําความดีตอมารดาแลว
ไซร แนนอนฉันพรอมที่จะตายในขณะที่ฉันเปนทาส(3)

จากตัวอยางขางตน เปนที่นาสังเกตเกี่ยวกับหะดีษมุดรอจญ 2 ประการ


ประการที่ 1 สาเหตุที่ทําใหเกิดการอิดรอจญในหะดีษ พอสรุปดังนี้
1. เพื่อการอธิบายบทบัญญัติของศาสนา
2. เพื่อการอธิบายหุกมจากหะดีษในขณะรายงานหะดีษ
(2)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 5/175
(3)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 5/176
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 159
3. เพื่อขยายความศัพทที่มีการกลาวในหะดีษ
ประการที่ 2 วิธีการรูจักหะดีษมุดรอจญ ซึ่งสามารถทราบไดจากหลาย
ประการ
1. มีการรายงานจากกระแสรายงานอื่นระบุอยางชัดเจนของการ
อิดรอจญ
2. อุละมาอฺผูเชี่ยวชาญบางทานระบุวา เปนคําพูดของผูรายงานที่
ถู ก นํ า มาแทรกในมะตั น หรื อ แทรกผู ร ายงานคนอื่ น ในสะนั ด
หะดีษ
3. ผูรายงานกลาวยอมรับวา เขาเองไดแทรกในสะนัดหรือในมะตัน
4. สํานวนหรือประโยคเหลานั้นเปนไปไมไดวามาจากทานนบี  จริง

3. ฐานะของหะดีษมุดรอจญ
หะดีษมุดรอจญเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟเนื่องจากขาดคุณสมบัติของ
หะดีษมักบูล คือ การขัดแยงกับการรายงานของคนอื่นที่มีฐานะเปนคนษิเกาะฮฺ(1)

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมุดรอจญนํามาใชเปนหลักฐานไมไดหากมิใชมาจากสาเหตุที่ไดกลาว
มาขางตน เชน เพิ่มสํานวน แตถาการอิดรอจญนั้นมีการแยกสํานวนระหวางตัว
บทหะดีษกับคําพูดของผูรายงานและมีฐานะเปนหะดีษเศาะหีหฺหรือไดรับการ
สนับสนุนจากสายรายงานอื่นที่มีฐานะเดียวกันหรือเหนือกวาก็สามารถนํามาใช
เปนหลักฐานได

(1)
การแทรกจะเปนในสะนัดโดยนําผูรายงานที่ไมใชผูรายงานคนเดิมหรือแทรกในมะตันหะดีษไมไดแยกใหอยาง
ชัดเจนระหวางสํานวนตัวบทกับประโยคที่นํามาแทรกนั้น อาจจะมาจากสาเหตุตาง ๆ เชน ผูรายงานที่มีความจํา
ไมดี หลงลืม หรือสับสนในขณะที่รายงานหะดีษ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 160

5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩﻱ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻔﺼﻞ ﻟﻠﻮﺻﻞ ﺍﳌﺪﺭﺝ ﰲ ﺍﻟﻨﻘﻞ‬.1
‫ﱐ‬
‫ ﺍﳊﺎﻓﻆ ﺍﺑﻦ ﺣﺠﺮ ﺍﻟﻌﺴﻘﻼ ﹼ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺗﻘﺮﻳﺐ ﺍﻟﻨﻬﺞ ﺑﺘﺮﺗﻴﺐ ﺍﳌﺪﺭﺝ‬.2

ชนิดที่ 3 หะดีษมักลูบ

หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน
คือ การขัดแยงโดยการสับเปลี่ยนจากกอนเปนหลังหรือสลับกัน หะดีษลักษณะนี้
เรียกวา หะดีษมักลูบ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﻘﻠﻮﺏ‬มาจากรากศัพทของคํา “‫ ”ﻗﻠﺐ ﻳﻘﻠﺐ ﻗﻠﺒﹰﺎ‬แปลวา
สับเปลี่ยน หมายถึง การสับเปลี่ยนจากกอนเปนหลังหรือจากหลังเปนกอน
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมักลูบ คือ หะดีษที่มีการสับเปลี่ยนในสะนัดหรือในมะตันจากกอน
เปนหลังหรือจากหลังเปนกอน(1)
จากนิยามพบวา การสับเปลี่ยนนั้นสามารถเกิดขึ้นทั้งในสะนัดและในมะ
ตันของหะดีษ ไมวาในชวงตน ชวงกลาง และชวงทายของทั้งสอง

(1)
อัสสุยูฏีย : 2/234
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 161
มักลูบในสะนัดหมายถึง การสับเปลี่ยนชื่อของผูรายงานเปนชื่อพอ เชน
ผูรายงานชื่อวา กะอฺบ เบ็ญ มุรเราะฮฺ เปนมุรเราะฮฺ เบ็ญ กะอฺบ การสับเปลี่ยน
ในประเภทนี้อุละมาอฺหะดีษเรียกวา “การโจรกรรมหะดีษ”(2)
มั กลู บในมะตั นหมายถึ ง การสั บเปลี่ ยนคํ าบางคํ าจากก อนเป นหลั งหรื อ
สับเปลี่ยน ตัวบทของสะนัดหนึ่งเปนตัวบทของอีกสะนัดหนึ่งที่มิใชตัวบทหะดีษนั้น ๆ(3)

2. ชนิดและตัวอยางหะดีษมักลูบ
หะดีษมักลูบแบงออกเปน 2 ชนิด
ชนิดที่ 1 มักลูบในสะนัด การสับเปลี่ยนชนิดนี้มี 2 รูปแบบ
รูปแบบที่หนึ่ง การสับเปลี่ยนชื่อของผูรายงานเปนชื่อพอดังตัวอยางที่ได
กลาวมาแลว
รูปแบบที่สอง การสับเปลี่ยนตัวผูรายงานที่รูจักกันวาเปนผูรายงานหะดีษ
นั้น ๆ เปนอีกคนหนึ่งที่ไมเปนที่รูจัก ซึ่งทั้งสองรวมสมัยเดียวกัน ตัวอยาง

‫ ﻋﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺻﺎﱀ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻷﻋﻤﺶ‬،ّ‫ﺣﺪﻳﺚ ﺭﻭﺍﻩ ﲪﺎﺩ ﺍﻟﻨﺼﻴﱯ‬


‫ )) ﺇﺫﺍ ﻟﻘﻴﺘﻢ ﺍﳌﺸﺮﻛﲔ ﰲ‬: ‫ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬
(( ‫ﻃﺮﻳﻖ ﻓﻼ ﺗﺒﺪﺅﻫﻢ ﺑﺎﻟﺴﻼﻡ‬
ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ -มัรฟูอฺ- กลาววา “เมื่อพวกเจาเจอกับ
คนมุชริกีน พวกเจาอยาเริ่มกลาวสะลามตอพวกเขา”(1)

(2)
อุมัร หะสัน ฟุลลาตะฮฺ : 2/234
(3)
หนังสือเดิม
(1)
อิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 134
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 162
สะนัดหะดีษนี้มีการสับเปลี่ยนกันโดยหัมมาด อันนะศีบีย ซึ่งไดรายงาน
กลาววาไดยินมาจากอัลอะอฺมัช แตที่ถูกตองจากสุฮัยลฺ ดังการรายงานของอิ
มามมุสลิม คือ

‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺻﺎﱀ‬،‫ ﻋﻦ ﺳﻬﻴﻞ‬،‫ﻋﻦ ﲪﺎﺩ ﺍﻟﻨﺼﻴﱯ‬


‫ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬

ชนิดที่ 2 มักลูบในมะตัน การสับเปลี่ยนชนิดนี้มี 2 รูปแบบ


รูปแบบที่หนึ่ง การสับเปลี่ยนตัวบทหะดีษจากกอนเปนหลัง ตัวอยาง

‫ ) ) ﻭﺭﺟﻞ ﺗﺼﺪﻕ ﺑﺼﺪﻗﺔ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬


(( ‫ﻓﺄﺧﻔﺎﻫﺎ ﺣﱴ ﻻ ﺗﻌﻠﻢ ﳝﻴﻨﻪ ﻣﺎ ﺗﻨﻔﻖ ﴰﺎﻟﻪ‬

ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ  “และผูที่ใหบริจาคสิ่งหนึ่ง เขาก็ได


ปกปดมันไวจนมือขวาของเขาไมทราบในสิ่งที่มือซายของเขาได
บริจาคไว”(2)

หะดีษบทนี้ คือ หะดีษมักลูบเนื่องจากผูรายงานไดสับเปลี่ยนคําบางคําที่


เปนตัวบทหะดีษจากหลังเปนกอน แตตัวบทที่ถูกตองดังนี้

(2)
ดู อัสสุยูฏีย : 2/345
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 163
‫)) ﻭﺭﺟﻞ ﺗﺼﺪﻕ ﺑﺼﺪﻗﺔ ﻓﺄﺧﻔﺎﻫﺎ ﺣﱴ ﻻ ﺗﻌﻠﻢ ﴰﺎﻟﻪ ﻣﺎ ﺗﻨﻔﻖ‬
(( ‫ﳝﻴﻨﻪ‬

ความวา “และผูที่ใหบริจาคสิ่งหนึ่ง เขาก็ปกปดมันไวจนมือซายของเขาไม


ทราบในสิ่งที่มือขวาของเขาไดบริจาคไว”

รูปแบบที่สอง การสับเปลี่ยนทั้งตัวบทและสะนัด การสับเปลี่ยนในแบบที่


สองนี้เพื่อทดสอบความจําของผูรายงานหะดีษดังเชน การทดสอบความจําของอิ
มามอัลบุคอรีย
การทดสอบความจําของอิมามอัลบุคอรียมีทั้งหมด 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ที่
เมืองบัฆดาด ผูทดสอบมีประมาณ 100 ทาน ครั้งที่ 2 ที่เมืองซะมัรกอน
ผูทดสอบมีทั้งหมดประมาณ 400 ทาน และครั้งที่ 3 ที่เมืองบัศเราะฮฺ ผูทดสอบมี
ทั้งหมดประมาณ 1,000 ทาน ผูทําหนาที่ทดสอบมาจากหลายสาขาวิชามีทั้งอุ
ละมาอฺหะดีษ อุละมาอฺฟกฮฺ และนักวิชาการแขนงอื่น ๆ วิธีการทดสอบ คือ ทํา
การสับเปลี่ยนระหวางตัวบทกับสะนัดอื่น ทั้งหมดไดรับการยืนยันจากอิมาม-
อัลบุคอรียโดยไดทําการแกไขระหวางตัวบทกับสะนัด ที่ถูกสับเปลี่ยนให
เหมือนเดิมของมันอยางถูกตองไมมีการผิดพลาดแมแตนิดเดียว(1) ตัวอยาง
บางส ว นเช น อิ ม ามอั ล บุ ค อรี ย ต อบว า สะนั ด หะดี ษ นี้ ไ ม ใ ช ท า นมั น ศู ร เป น
ผูรายงาน แตเปนการรายงานของยู ซุฟ เบ็ญ มูซา พร อมกับอานสะนัดของ
มะตันหะดีษที่ถูกตอง
จากรู ป ต า ง ๆ ของการสั บ เปลี่ ย นข า งต น พอสรุ ป ได ว า หุ ก ม ของการ
สับเปลี่ยนนั้นมีทั้งที่เปนหุกมหะรอมและหุกมญาอิซ (อนุญาต) ดังนี้

(1)
ดู อัลอัสเกาะลานีย หนา 486-487
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 164
1. ถาการสับเปลี่ยนนั้น (การอิกลาบ) เพื่อดึงดูดความสนใจผูอื่นใหการ
ยอมรับการรายงานและยอมรับหะดีษของเขา การสับเปลี่ยนในลักษณะนี้เปน
หุกุมหะรอม
2. ถาการสับเปลี่ยนนั้น (การอิกลาบ) เพื่อทดสอบความจําของผูรายงาน
ดั ง ที่ ไ ด เ กิ ด ขึ้ น กั บ อิ ม ามอั ล บุ ค อรี ย การสั บ เปลี่ ย นในลั ก ษณะเช น นี้ เ ป น
หุกมญาอิซ (ฮารุส)
3. ถาการสับเปลี่ยนนั้นมาจากความผิดพลาดของผูรายงานเองโดยไมได
ตั้งใจ การสับเปลี่ยนในลักษณะนี้เปนหุกมญาอิซ (ฮารุส)(2)
4. ถาการสับเปลี่ยนนั้นเนื่องมาจากความตั้งใจของผูรายงานเป น
หุกมหะรอม(3)

3. ฐานะของหะดีษมักลูบ
หะดีษมักลูบเปนหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากผูรายงานขาดความอะมานะฮฺ
และไมมีความรับผิดชอบในการรายงานหะดีษโดยตั้งใจทําการสับเปลี่ยนเพื่อ
ดึงดูดความสนใจหรือทําใหระดับของหะดีษจากหะดีษเศาะหีหฺหรือหะดีษหะซัน
เปนหะดีษเฎาะอีฟ

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
ตามทัศนะของอุละมาอฺหะดีษ การนําหะดีษมักลูบมาใชเปนหลักฐานมี
ความเห็นดัง ตอไปนี้

(2)
มะหฺมูด อัลเฏาะหฺหาน หนา 89
(3)
อุมัร หะสัน ฟุลลาตะฮฺ : 1/83
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 165
1. หะดีษมักลูบอันเนื่องมาจากจุดประสงคเพื่อดึงดูดความสนใจผูอื่น
นํ า มาใช เ ป น หลั ก ฐานไม ไ ด การกระทํ า ในลั ก ษณะเช น นี้ เ ป น การกระทํ า ของ
ผูอุปโลกนหะดีษ
2. หะดีษมักลูบอันเนื่องมาจากเพื่อการทดสอบความจําของนักรายงาน
นํามาใชเปนหลักฐานไดแตมีเงื่อนไขวา(1) จะตองบอกใหชัดเจนถึงตัวบทหะดีษที่
ถูกตองกอนที่จะเสร็จสิ้นจากการทดสอบ ถาไมเชนนั้นแลวไมอนุญาตใหนํามา
ปฏิบัติโดยเด็ดขาด
3. หะดีษมักลูบอันเนื่องมาจากความผิดพลาด(2) ของนักรายงานหะดีษ
หรือไม ระมัดระวังในการรายงานหะดีษ กรณีเชนนี้ไมอนุญาตใหนํามาเปน
หลั ก ฐานเว น แต มี ก ระแสรายงานอื่ น ที่ มี ฐ านะเดี ย วกั น หรื อ เหนื อ กว า ระบุ
สถานภาพของหะดีษที่ถูกตองมาสนับสนุน
5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺭﺍﻓﻊ ﺍﻹﺭﺗﻴﺎﺏ ﰲ ﺍﳌﻘﻠﻮﺏ ﻣﻦ ﺍﻷﲰﺎﺀ ﻭﺍﻷﻟﻘﺎﺏ‬.1
‫ﺍﳋﻄﻴﺐ ﺍﻟﺒﻐﺪﺍﺩﻱ‬

ชนิดที่ 4 หะดีษมุตเฏาะร็อบ

หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน
เนื่องมาจากการขัดแยงกับสายรายงานอื่นที่มีจํานวนมากกวา หะดีษในลักษณะนี้
เรียกวา หะดีษมุตเฏาะร็อบ

(1)
การวางเงื่อนไขเชนนี้เพื่อปองกันไมใหเกิดการเขาใจผิดตอหะดีษ
(2)
ความผิดพลาดในที่นี้ คือ ความผิดพลาดบางครั้งบางคราวเทานั้น ไมใชบอยครั้ง
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 166

1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﻀﻄﺮﺏ‬มาจากรากศัพท “‫ ”ﺍﺿﻄﺮﺏ ﻳﻀﻄﺮﺏ ﺍﺿﻄﺮﺍﺑﹰﺎ‬แปลวา
เพี้ยน หรือซับซอนกัน
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุตเฏาะร็อบ คือ หะดีษที่มีการรายงานที่หลากหลาย ซึ่งทุกสาย
รายงาน มีสถานภาพเทาเทียมกัน(3)
จากนิ ย าม การที่ จ ะเรี ย กหะดี ษ เป น หะดี ษ มุ ต เฏาะร็ อ บได นั้ น ต อ ง
ประกอบดวยเงื่อนไข 2 ประการ
1. กระแสรายงานที่ขัดแยงกันไมอาจประสานเขากันได
2. กระแสรายงานมีสถานภาพเทาเทียมกันไมสามารถตัดสินเปนอยางอื่น
ไดเชน กระแสรายงานใดเปนเศาะหีหฺและกระแสรายงานใดเปนเฎาะอีฟ
หากสามารถตัดสินหรือประสานเขากันไดระหวางกระแสรายงานของหะ
ดีษ ไมเรียกวา หะดีษมุตเฏาะรอบ แตเรียกกระแสรายงานที่ถูกตองเปนหะดีษ
มักบูลและ กระแสรายงานที่ผิดเปนหะดีษมัรดูด(1)

2. ชนิดและตัวอยางหะดีษมุตเฏาะร็อบ
หะดีษมุตเฏาะรอบสามารถเกิดขึ้นไดทั้งในสะนัดและในมะตันหะดีษ และ
บาง ครั้งอาจเกิดขึ้นทั้งสองดานที่มาจากผูรายงานคนเดียวกันหรือหลาย ๆ คน(2)

(3)
อัตเฏาะหานะวีย หนา 44
(1)
หะดีษมุตเฏาะร็อบอาจจะเปนหะดีษมักบูลและหะดีษมัรดูด หากขาดเงื่อนไขดังกลาว
(2)
ดู อิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 84-85
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 167
ชนิดที่ 1 หะดีษมุตเฏาะร็อบในสะนัด หมายถึง หะดีษที่รายงานจาก
บุคคลคนเดียวกันที่มีฐานะเทากันหรือมากกวา แตเกิดการขัดแยงกัน หะดีษชนิด
นี้เกิดขึ้นเปนสวนใหญ ตัวอยาง

‫ ﻳﺎ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺃﺭﺍﻙ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ ﺃﰊ ﺑﻜﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﺃﻧﻪ ﻗﺎﻝ‬


(( ‫ ﺷﻴﺒﺘﲏ ﻫﻮﺩ ﻭﺃﺧﻮﺍﻬﺗﺎ‬: ‫ ﻗﺎﻝ‬،َ‫ﺷْﺒﺖ‬

ความวา : หะดีษอะบูบักร อัศศิดดีก  กลาววา โอรสูลุลลอฮฺ ฉันเห็น


ทานผมขาว ทานกลาววา“สิ่งที่ทําใหผมของฉันเปนสีขาว คือ ซู
เราะฮฺฮูด และซูเราะฮฺที่เหมือนกัน”(3)
อิ ม ามอั ด ดารอกุ ฏ นี ย กล า วว า หะดี ษ บทนี้ เ ป น หะดี ษ มุ ต เฏาะร็ อ บ
เนื่องจากไมมีการรายงานนอกจากอะบูอิสหากคนเดียวซึ่งไดรายงานขัดแยงกับ
คนอื่นถึง 10 สาย บางกระแสเปน สะนัดมุรซัล บางสะนัดเปนสะนัดเมาศูล
บางกระแสเปน มุ สนั ด เชน มุ สนัด อะบูบักรฺ มุสนัดสะอฺ ดและมุสนั ดอาอิช ะฮฺ
ผูรายงานตั้งแตคนแรกจนถึงอะบูอิสหากมีสถานภาพษิเกาะฮฺไมมีใครเหนือกวา
กันและไมสามารถประสานกันไดดวย(4)
ชนิดที่ 2 หะดีษมุตเฏาะรอบในมะตัน หมายถึงหะดีษที่มีการรายงานดวย
กระแสรายงานเดียวกันแตสํานวนตัวบทขัดแยงกัน หะดีษชนิดนี้มีนอยกวาชนิดที่
หนึ่ง ตัวอยาง

(3)
บันทึกโดยอัตติรมิซีย : 5/402 คําวา “ซูเราะฮฺที่เหมือนกัน” ในหะดีษนี้หมายความถึง ซูเราะฮฺอัลวากิอะฮฺ และ ซู
เราะฮฺอัลมุรซะลาต
(4)
อัสสุยูฏีย : 1/266
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 168
‫ ﻋﻦ ﻓﺎﻃﻤﺔ ﺑﻨﺖ‬،ّ‫ ﻋﻦ ﺍﻟﺸﻌﱯ‬،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﲪﺰﺓ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﺷﺮﻳﻚ‬
‫ ﺳﺌﻞ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬: ‫ﻗﻴﺲ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ ﻗﺎﻟﺖ‬
(( ‫ )) ﺇﻥ ﰲ ﺍﳌﺎﻝ ﳊﻘﺎ ﺳﻮﻯ ﺍﻟﺰﻛﺎﺓ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻋﻦ ﺍﻟﺰﻛﺎﺓ ﻓﻘﺎﻝ‬
ความวา : จากฟาติมะฮฺ เบ็ญตุ กอยสฺ  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  ถูก
ถามเกี่ยวกับซะกาต ทานตอบวา “แทจริงยอมถือเปนสิทธิ์ใน
ทรัพยสินนอกจากซะกาต”(1)
ในเรื่องเดียวกันมีการรายงานอีกสะนัดหนึ่งที่แตกตางในดานตัวบทของหะ
ดีษ คือ

(( ‫)) ﻟﻴﺲ ﰲ ﺍﳌﺎﻝ ﺣﻖ ﺳﻮﻯ ﺍﻟﺰﻛﺎﺓ‬

ความว า : จากฟาติ ม ะฮฺ เบ็ ญ ตุ ก อยสฺ ซึ่ ง นางได ยิ น จากท า นนบี 


กลาววา “ไมถือเปนสิทธิ์ในทรัพยสินนอกจากซะกาต”(2)
อิมามอัลอิรอกีย กลาววา หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุตเฏาะร็อบโดยไมตอง
สงสัยและไมจําเปนตองตีความเปนอยางอื่นแตอยางใด(3)

3. ฐานะของหะดีษมุตเฏาะร็อบ
หะดี ษ มุ ต เฏาะร็ อ บเป น หะดี ษ เฎาะอี ฟ เนื่ อ งจากผู ร ายงานหะดี ษ ได
รายงานขัดแยงกับผูรายงานมีสถานภาพเดียวกัน(4)

(1)
บันทึกโดยอัตตัรมิซีย : 3/39
(2)
บันทึกโดยอิบนุมาญะฮฺ : 1/582
(3)
อัลอิรอกีย : 1/244
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 169

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
ไมอนุญาตใหนําหะดีษมุตเฏาะรอบมาใชเปนหลักฐานดวยสายรายงาน
ของมั น เอง เว น แต มี ก ระแสรายงานอื่ น ที่ ไ ม ใ ช ห ะดี ษ มุ ต เฏาะร อ บซึ่ ง มี ฐ านะ
เดียวกันหรือเหนือกวามาสนับสนุน ไมวาจะเปนประเภทหะดีษมัรฟูอฺหรือประเภท
หะดีษเมากูฟ
หากไมมีสายรายงานอื่นมาสนับสนุน หรือสายรายงานอื่นมีฐานะต่ํากวา
ฐานะของหะดีษมุตเฏาะร็อบ เชน หะดีษเฎาะอีฟญิดดันและหะดีษเมาฎอฺ สาย
รายงานลักษณะเชนนี้ไมสามารถใหการสนับสนุนได และหะดีษมุตเฏาะร็อบไม
สามารถนํามาใชเปนหลักฐานไดแมวาสะนัดนั้นมีการรายงานหลายกระแสก็ตาม
5. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ﱐ‬
‫ ﺍﳊﺎﻓﻆ ﺍﺑﻦ ﺣﺠﺮ ﺍﻟﻌﺴﻘﻼ ﹼ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﻘﺘﺮﺏ ﰲ ﺑﻴﺎﻥ ﺍﳌﻀﻄﺮﺏ‬.1

ชนิดที่ 5 หะดีษชาซ
หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําเนื่องจากการ
ขัดแยงกันกับคนอื่นที่เหนือกวา หะดีษในลักษณะนี้เรียกวา หะดีษชาซ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﺷﺎﺫ‬มาจากรากคํา “‫ ”ﺷﺬ ﻳﺸﺬ ﺷﺬﻭﺫﺍ ﻭﺷﺎﺫﹰﺍ‬แปลวา แปลกกวา
สิ่งอื่น หมายถึง การรายงานที่ขัดแยงกับการรายงานของคนอื่น

(4)
เนื่องจาก การผิดพลาดโดยไมไดตั้งใจ หากตั้งใจทําการอิดติร็อบหะดีษ ๆ ชนิดนี้เรียกวา หะดีษมุนกัรหรือหะ
ดีษเมาฎอฺ (ดู รายละเอียดในเรื่องหะดีษเมาฎอฺ)
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 170

ตามหลักวิชาการ
หะดี ษ ช า ซ คื อ หะดี ษ ที่ ร ายงานโดยผู ร ายงานษิ เ กาะฮฺ ขั ด แย ง กั บ การ
รายงานของผูที่มีสถานะษิเกาะฮฺกวา(1)
การขัดแยงในที่นี้หมายถึง การขัดแยงระหวางผูรายงานที่ษิเกาะฮฺกับการ
รายงานของผูรายงานที่ษิเกาะฮฺกวา(2) โดยการสังเกตจากสํานวนที่บอก
สถานภาพของผูรายงานจะใชสํานวนระหวางอิสิมมัศดัร (อาการนาม) กับ
อิสิมตัฟฎีล (นามตัฟฎีล) ตัวอยาง

นามมัศดัร นามตัฟฎีล
ษิเกาะ เอาษัก
เศาะดูก อัศดัก
ษับตุน อัษบัต

การขัดแยงหรือชาซเกิดขึ้นไดทั้งในสะนัดและในมะตันหะดีษ
การขัดแยงในสะนัด หมายถึง การขัดแยงในตัวบุคคลของนักรายงานหะ
ดีษที่มีฐานะเหนือกวา
การขัดแยงในมะตัน หมายถึง การขัดแยงในตัวบทอันเนื่องมาจากการ
รายงานของนักรายงานที่มีฐานะต่ํากวา

2. ชนิดและตัวอยางหะดีษชาซ
หะดีษชาซแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ชาซในสะนัดและชาซในมะตัน

(1)
อัลอัสเกาะลานีย หนา 37
(2)
อัลตะฮานะวีย หนา 42
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 171
ชนิดที่ 1 ชาซในสะนัด ตัวอยาง
‫ ﻋﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﻋﻮﺳﺠﺔ‬،‫ ﻋﻦ ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﺩﻳﻨﺎﺭ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﻴﻴﻨﺔ‬
‫ﻼ ﺗﻮﰲ ﻋﻠﻰ ﻋﻬﺪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬ ‫ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﺃﻥ ﺭﺟ ﹰ‬
.‫ﻭﺳﻠﻢ ﻭﱂ ﻳﺪﻉ ﻭﺍﺭﺛﹰﺎ ﺇ ﹼﻻ ﻣﻮﱃ ﻫﻮ ﺃﻋﺘﻘﻪ‬

ความวา : จากอิบนุอับบาส เลาวา แทจริงมีผูชายคนหนึ่งเสียชีวิตในสมัย


ของทานนบี  ไมมีใครเลยที่เปนทายาทของเขา เวนแตบาวคน
หนึ่งที่เขาไดปลอยใหเปนไท(1)

หะดีษบทนี้เปนหะดีษชาซ เนื่องจากอิบนุอุยัยนะฮฺไดรายงานจากอัมรฺ เบ็ญ


ดินาร (ษิเกาะฮฺ) จากเอาซะญะฮฺ จากอิบนุอับบาส ซึ่งขัดแยงกับการรายงานของ
ผูรายงานที่มีฐานะเหนือกวา (ษิเกาะฮฺกวา) คือ หัมมาด เบ็ญ ซัยดฺ จากอัมรฺ เบ็ญ
ดินาร จากเอาซะญะฮฺ จากอิบนุอับบาส ดวยสํานวนดังนี้
‫ﻼ ﺗﻮﰲ ﻋﻠﻰ ﻋﻬﺪ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬ ‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ ﺃﻥ ﺭﺟ ﹰ‬
‫ ﻫﻞ ﻏﲑﻩ ﻣﻦ‬: ‫ ﻗﺎﻝ‬.‫ﻭﺳﻠﻢ ﻭﱂ ﻳﺪﻉ ﻭﺍﺭﺛﹰﺎ ﺇ ﹼﻻ ﻣﻮﱃ ﻫﻮ ﺃﻋﺘﻘﻪ‬
‫ ﻓﺄﻋﻄﺎﻩ ﺇﻳﺎﻩ ﺃﻭ ﻛﻤﺎ ﻗﺎﻝ‬،‫ ﺇ ﹼﻻ ﻣﻮﱃ ﻫﻮ ﺃﻋﺘﻘﻪ‬،‫ ﻻ‬: ‫ﻭﺭﺛﺘﻪ؟ ﻗﺎﻟﻮﺍ‬
ความวา : จากอิบนุอับบาส  แทจริงมีผูชายคนหนึ่งเสียชีวิตในสมัย
รสูลุลลอฮฺ และเขาไมมีญาติ เวนแตคนรับใชที่เขาไดไถใหเปน
อิสระ ทานนบีถามบรรดาเศาะหาบะฮฺวา “นอกจากคนรับใชแลว
ยังมีใครอีกบาง? เศาะหาบะฮตอบวา ไมมีใครเลย นอกจากคน

(1)
บันทึกโดยอัลตัรมิซีย : 4/423 และอิบนุมาญะฮฺ : 2/915
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 172
รับใชคนนี้ที่เขาไดใหความเปนอิสระแกเขา (ทานนบี  ) ก็ยก
มรดกใหเขา (คนรับใชคนนั้น)”(1) หรือเสมือนกับคํากลาวคํานั้น

ชนิดที่ 2 ชาซในมะตัน ตัวอยาง


،‫ ﻋﻦ ﺃﰊ ﺻﺎﱀ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻷﻋﻤﺶ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﺒﺪﺍﻟﻮﺍﺣﺪ ﺑﻦ ﺯﻳﺎﺩ‬
‫ )) ﺇﺫﺍ ﺻﻠﻰ ﺃﺣﺪﻛﻢ ﺍﻟﻔﺠﺮ ﻓﻠﻴﻀﻄﺠﻊ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﻫﺮﻳﺮﺓ ﻣﺮﻓﻮﻋﹰﺎ‬
(( ‫ﻋﻦ ﳝﻴﻨﻪ‬

ความวา : จากอะบูฮุรอยเราะฮฺ -มัรฟูอฺ- ทานนบีกลาววา “เมื่อคนหนึ่ง


คนใดในหมูพวกเจาละหมาดซุบฮฺ (ละหมาดสุนัตกอนซุบฮฺ) ก็จง
นอนตะแคงดานขวามือ”(2)

หะดีษบทนี้คือ หะดีษชาซ เนื่องจากอับดุลวะฮีด เบ็ญ ซิยาฎ (ษิเกาะฮฺ) ได


รายงานในลักษณะหะดีษเกาลีย (หะดีษที่เปนคําพูดของทานนบี) ขัดแยงกับการ
รายงานของสะอีด เบ็ญ อะบีอัยยูบ(3) และการรายงานของอิบนุอัลวาริษ(4) ซึ่งทั้ง
สองมี ฐ านะษิ เกาะฮฺ กวา ไดร ายงานในลั ก ษณะหะดี ษ ฟ อฺ ลี ย (หะดี ษ ที่ เป น การ
ปฏิบัติของทานนบี) มีสํานวนดังนี้

(1)
บันทึกโดยอะบูดาวูด : 3/324
(2)
บันทึกโดยอัลติรมิซีย : 2/281 อะบูอีซา กลาววา หะดีษนี้เปนหะดีษหะซันเศาะหีหฺเฆาะรีบ หมายถึง กระแส
รายงานของอัตติรมิซีย
(3)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 3/43
(4)
บันทึกโดยมุสลิม : 6/16 และอิบนุมาญะฮฺ : 1/378
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 173
‫ ﻛﺎﻥ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ‬: ‫ﻋﻦ ﻋﺎﺋﺸﺔ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ ﻗﺎﻟﺖ‬
.‫ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ ﺇﺫﺍ ﺻﻠﻰ ﺭﻛﻌﱵ ﺍﻟﺼﺒﺢ ﺍﺿﻄﺠﻊ ﻋﻠﻰ ﳝﻴﻨﻪ‬

ความวา : จากทานหญิงอาอิชะฮฺ  ไดกลาววา เมื่อรสูลุลลอฮฺ 


ละหมาดสองรอกะอัตซุบฮฺ (ละหมาดสุนัตกอนซุบฮฺ) ทานก็นอน
ตะแคงดานขวามือ(5)

จากการอธิบายขางตนจะเห็นไดวา หะดีษชาซที่มีเพียงสะนัดเดียวของมัน
เอง จะเปนหะดีษเศาะหีหฺเพราะผูรายงานแตละคนมีสถานะเปนคนษิเกาะฮฺ
แตหากหะดีษนั้นมีหลายสะนัดก็ตองพิจารณาวา การรายงานนั้นขัดแยงหรือไม
ในกรณีไมขัดแยงก็ตองใชหลักการการประสานระหวางหะดีษ(1) แตเมื่อขัดแยงกัน
สะนัดที่เหนือกวาจะเปนสะนัด ที่เศาะหีหฺและอีกสะนัดหนึ่งจะเปนหะดีษชาซ
ดังนั้น การที่จะตัดสินวาเปนหะดีษชาซนั้นก็ตอเมื่อมีการขัดแยงกันกับสะนัดอื่น
ที่มาจากการรายงานของผูรายงานที่มีสถานภาพ ที่ษิเกาะฮฺกวา และหะดีษทั้ง
สองบทไมสามารถจะประสานกันได

(5)
บันทึกโดยมุสลิม : 6/16 และอิบนุมาญะฮฺ : 1/378
(1)
หลักการ “ประสานระหวางหะดีษ” หรือที่เรียกวา “‫ ”ﺍﳉﻤﻊ ﺑﲔ ﺍﳊﺪﻳﺜﲔ ﺍﻟﺼﺤﻴﺤﲔ‬เปนหลักการที่ใชในกรณีที่มี
การขัดแยงกันระหวางหะดีษเศาะหีหฺดวยกัน ตามหลักมุศเฏาะละหฺ อัลหะดีษ เมื่อหะดีษเศาะหีหฺดวยกันขัดแยง
ในดานตัวบทหะดีษ จะตองพิจารณาหลักการประสานกัน หากสามารถประสานกันได แตในกรณีการขัดแยงที่
ไมสามารถจะประสานเขากันไดแลว ตามหลักวิชาการหะดีษจะตองพิจารณาสถาน ภาพของสายรายงานของแต
ละหะดีษ สายรายงานที่เหนือกวาเนื่องจากสถานภาพของผูรายงานดีกวา หะดีษนี้เรียกวา หะดีษเศาะหีหฺและ
อีกหะดีษหนึ่งเรียกวา หะดีษชาซ แตหากการขัดแยงกันระหวางหะดีษเศาะหีหฺกับหะดีษเฎาะอีฟจะไมเขาขาย
เรื่องหะดีษชาซเลยแมแตนิดเดียว
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 174

3. ฐานะของหะดีษชาซ
หะดีษชาซเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากขาดคุณสมบัติของ
หะดีษมักบูล คือ ขัดแยงกับการรายงานของคนอื่นที่มีฐานะเหนือกวา

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดี ษ ช า ซด ว ยสะนั ด ที่ ขั ด แย ง กั น ไม ส ามารถนํ า มาใช เ ป น หลั ก ฐานได
เว น แต เ มื่ อ ได รั บ การสนั บ สนุ น จากกระแสรายงานอื่ น ที่ ติ ด ต อ กั น ซึ่ ง มี ฐ านะ
เดียวกันหรือเหนือกวา(2)

5. ตําราที่เกี่ยวของ
ยังไมมีหนังสือเฉพาะที่เขียนเกี่ยวกับหะดีษชาซ

ชนิดที่ 6 หะดีษมุเศาะหฺหัฟ

หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําของผูรายงาน
หะดี ษ คื อ การผิ ด พลาดที่ ทํ า ให เ ปลี่ ย นแปลงตั ว อั ก ษร หะดี ษ ในลั ก ษณะนี้
เรียกวา หะดีษมุเศาะหฺหัฟ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﺼﺤﻒ‬มาจากรากศัพทของ “‫ ”ﺻﺤّﻒ ﻳﺼﺤّﻒ ﺗﺼﺤﻴﻔﹰﺎ‬แปลวา
เปลี่ยนไป หรือแทนที่

(2)
สะนัดอื่นนั้นมีหนึ่งสะนัดหรือมากกวา
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 175

ตามหลักวิชาการ
หะดี ษ มุ เ ศาะหฺ หั ฟ คื อ หะดี ษ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นตั ว อั ก ษรในสะนั ด หรื อ ใน
มะตัน ซึ่งเปนการรายงานที่ไมเหมือนกับการรายงานของผูษิเกาะฮฺ(1)
หะดี ษ ในลั ก ษณะนี้ มิ ใ ช เ ป น การขั ด แย ง กั น เหมื อ นกั บ หะดี ษ ช า ซซึ่ ง มี
ผูรายงานสองคนไดรายงานขัดแยงกัน แตเปนการเปลี่ยนตัวอักษรเพียงหนึ่งตัว
เทานั้น สวนคําของมันยังเหมือนเดิมไมเปลี่ยนเปนคําอื่น
การตัศหีฟสามารถเกิดขึ้นไดทั้งในสะนัดและในมะตัน
การตั ศหี ฟ ในสะนั ด หมายถึ ง การเปลี่ ย นตั ว อั ก ษรของชื่ อ ผู ร ายงาน
หะดีษ สวนการตัศหีฟในมะตันก็ หมายถึง การเปลี่ยนตัวอักษรของตัวบทหะดีษ(2)

2. ชนิดและตัวอยางหะดีษมุเศาะหฺหัฟ
หะดีษมุเศาะหฺหัฟมี 2 ชนิด คือ มุเศาะหฺหัฟในสะนัดและมุเศาะหฺหัฟใน
มะตัน
ชนิดที่ 1 มุเศาะหฺหัฟในสะนัด ตัวอยาง

‫ ﻋﻦ ﺃﰊ‬،‫ ﻋﻦ ﺍﻟﻌﻮّﺍﻡ ﺑﻦ ﻣﺮﺍﺟﻢ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﺭﻭﺍﻩ ﻋﻦ ﺷﻌﺒﺔ‬


.‫ ﻋﻦ ﻋﺜﻤﺎﻥ ﺍﺑﻦ ﻋﻔﺎﻥ‬،‫ﻋﺜﻤﺎﻥ‬

แปลว า : หะดี ษ จากชุ อฺ บ ะฮฺ จากอั ล อั ว วาม เบ็ ญ มุ ร อญิ ม จากอะบู


อุษมาน จากอุษมาน เบ็ญ อัฟฟาน(1)

(1)
อัลเฏาะหานะวีย หนา 40
(2)
การพิจารณาถึงการตัศหีฟหะดีษนั้นตองพิจารณาจากการรายงานของผูรายงานมิใชมาจากการตีพิมพ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 176

สวนยะหฺยา เบ็ญ มะอีนคราวรายงานหะดีษขางตนกลาววา “หะดีษจาก


ชุ อฺ บ ะฮฺ จากอั ล อั ว วาม เบ็ ญ มุ ซ าญิ ม จากอะบู อุ ษ มาน จากอุ ษ มาน เบ็ ญ
อัฟฟาน”
ชนิดที่ 2 มุเศาะหฺหัฟในมะตันหะดีษ ตัวอยาง
อะบูบักร อัศศูลียคราวรายงานหะดีษขางตนกลาววา

(( ... ‫)) ﻣﻦ ﺻﺎﻡ ﺭﻣﻀﺎﻥ ﻭﺃﺗﺒﻌﻪ ﺷﻴﺌﹰﺎ ﻣﻦ ﺷﻮﺍﻝ‬

ความวา “ผูใดถือศีลอดในเดือนรอมะฎอนและถือศีลอดอีกบางวันของ
เดือนเชาวัล”
ตัวบทหะดีษที่ถูกตองคือ

(( .... ‫ﺎ ﻣﻦ ﺷﻮﺍﻝ‬‫ )) ﻣﻦ ﺻﺎﻡ ﺭﻣﻀﺎﻥ ﻭﺃﺗﺒﻌﻪ ﺳﺘ‬: ‫ﻋﻦ ﺃﰊ ﺃﻳﻮﺏ‬

ความวา : จากอะบูอัยยูบ เลาวา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “ผูใดถือศีลอด


ในเดือน เราะมะฎอนและไดถือศีลอดอีกหกวันของเดือนเชาวัล
…”(2)
สวนสาเหตุที่ทําใหเกิดการตัศฮีฟนั้น คือ มาจากการคัดลอกหะดีษจาก
ตําราและการบันทึกโดยไมไดฟง (‫ )ﺗﹶﻠﻘﱢﻲ‬โดยตรงจากอาจารยดวยวิธีการอาน
เพราะเหตุนี้ บรรดา อุละมาอฺ หะดีษไดมีการเตือนใหระมัดระวังการปฏิบัติ

(1)
บันทึกโดยมุสลิม : 8/18
(2)
บันทึกโดยมุสลิม : 3/196
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 177
เชนนั้น โดยกลาววา หามรับหะดีษโดยยึดจากการบันทึก หรือรับหะดีษจาก
บุคคลอื่นที่รับหะดีษดวยวิธีการคัดลอกจากหนังสือ
3. ฐานะของหะดีษมุเศาะหฺหัฟ
หะดีษมุเศาะหฺหัฟเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากขาดคุณสมบัติ
ของหะดีษมักบูล คือ ความจําไมดี
4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
การตัศหีฟที่เกิดจากการรายงานที่ผิดพลาดเปนบางครั้งบางคราวไมมีผล
ตอการนําหะดีษมาใชเปนหลักฐานแตอยางใด แตหากการตัศหีฟนั้นเกิดจาก
การผิดพลาดบอยครั้งไมอนุญาตนํามาใชเปนหลักฐาน เวนแตมีหะดีษอื่นระบุ
อย า งชั ด เจนของการตั ศ หี ฟ ไม ว า ในสะนั ด หรื อ ในมะตั น หะดี ษ อื่ น นั้ น มี ฐ านะ
เดียวกันหรือเหนือกวา หนึ่งสะนัดหรือมากกวา

5. ตําราที่เกี่ยวของ

‫ﲏ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﻟﺪﺍﺭﻗﻄ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﺘﺼﺤﻴﻒ‬.1
‫ﰊ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺍﳋﻄﹼﺎ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺇﺻﻼﺡ ﺧﻄﺄ ﺍﶈﺪﺛﲔ‬.2
‫ﻱ‬
ّ ‫ ﺍﻹﻣﺎﻡ ﺃﰊ ﺃﲪﺪ ﺍﻟﻌﺴﻜﺮ‬،‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺗﺼﺤﻴﻔﺎﺕ ﺍﶈﺪﺛﲔ‬.3

ชนิดที่ 7 หะดีษมุหัรรอฟ
หะดีษเฎาะอีฟที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงความจําเนื่องจาก
ความผิ ด พลาดในการรายงานหะดี ษ ทํ า ให เ ปลี่ ย นแปลงสระเรี ย กว า
หะดีษมุหัรรอฟ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 178
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﳏﺮﻑ‬มาจากรากคํา “‫ ”ﺣﺮﱠﻑ ﳛﱢﺮﻑ ﲢﺮﻳﻔﹰﺎ‬แปลวา เปลี่ยนแปลง
หมายถึง เปลี่ยนแปลงสระ
ตามหลักวิชาการ
หะดีษมุหัรรอฟ คือ หะดีษที่มีการเปลี่ยนแปลงสระไมเปลี่ยนตัวอักษร(1)
การตะหฺรีฟมีทั้งในสะนัดและในมะตัน
1. การตะหฺรีฟในสะนัด หมายถึง เปลี่ยนสระของชื่อผูรายงานหะดีษ
2. การตะหฺรีฟในมะตัน หมายถึง เปลี่ยนสระของตัวบทหะดีษ(2)

2. ชนิดและตัวอยางหะดีษมุหัรรอฟ
หะดีษมุหัรรอฟมี 2 ชนิด
ชนิดที่ 1 การตะหฺรีฟในสะนัด เชน ผูรายงานชื่อ ‫ َﻋ ِﻘﻴْﻞ‬เปลี่ยนเปน ‫ُﻋ ﹶﻘْﻴﻞ‬
จาก‫ َﺣ ْﻤ ٌﺮ‬เปลี่ยนเปน ‫ َﺣ ْﻤ ٌﺪ‬เปนตน
ชนิดที่ 2 การตะหฺรีฟในมะตัน ตัวอยาง
(( ‫ )) ﺭﻣﻲ ﹸﺃَﺑﻲّ ﻳﻮﻡ ﺍﻷﺣﺰﺍﺏ‬: ‫ﻋﻦ ﺟﺎﺑﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬
แปลวา : จากญาบิร กลาววา “อุบัยยิงธนูในสงครามอัลอะฮฺซาบ”(1)

(1)
ดู อัตตะหานะวีย หนา 41
(2)
เปลี่ยนในที่นี่หมายถึง เปลี่ยนจากสระขางบนเปนสระขางลาง หรือจากสระขางลางเปนสระขางหนา
(1)
บันทึกโดยมุสลิม : 7/22
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 179
หะดีษที่ถูกตองไดรายงานตัวบทหะดีษกลาววา

(( ‫ﰊ ﻳﻮﻡ ﺍﻷﺣﺰﺍﺏ‬
ْ ‫)) ﺭﻣﻲ ﺃ‬

ความวา : “พอของญาบิรยิงธนูในสงครามอัลอะฮฺซาบ”
การเปลี่ยนแปลงในลักษณะเชนนี้เปนการเปลี่ยนเฉพาะสระเทานั้น สวนคํา
ยังเขียนในรูปเดิมของมันครบทุกตัวอักษร ไมขาดตกบกพรองแมแตตัวอักษร
เดียว

3. ฐานะของหะดีษมุหัรรอฟ
หะดีษมุหัรรอฟเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟ เนื่องจากขาดคุณสมบัติ
ของหะดีษเศาะหีหฺ คือ ความสับสน

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
หะดีษมุหัรรอฟเหมือนกับหะดีษมุเศาะหฺหัฟทุกประการ

5. ตําราที่เกี่ยวของ
ไมมีหนังสือที่แตงขึ้นเฉพาะหะดีษมุหัรรอฟ

ระดับที่สี่ หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน

หะดีษระดับนี้มีสาเหตุมาจากความบกพรองในแงคุณธรรมของนักรายงาน
ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป น คนฟาสิ ก ถู ก กล า วหาว า เป น คนโกหก มั ต รู ก มุ น กั ร
เฎาะอีฟญิดดัน
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 180

1. นิยาม
หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน คือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่มีลักษณะตาง
ๆ ดังที่กลาวมาขางตน เชน มัตรูก มุนกัร ถูกกลาวหาวาเปนคนโกหก ฟาสิก
และเฎาะอีฟญิดดัน

2. ตัวอยางหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน
หะดี ษ เฎาะอี ฟ ญิ ด ดั น มี ม ากมาย แต ที่ จ ะยกตั ว อย า งเพี ย งบางหะดี ษ
เทานั้น เชน
‫ﻋﻦ ﻋﺒﺪ ﺍﷲ ﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻤﺎ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬
‫ )) ﻣﺎ ﳝﻨﻊ ﺃﺣﺪﻛﻢ ﺇﺫﺍ ﻋﺴﺮ ﻋﻠﻴﻪ ﺃﻣﺮ ﻣﻌﻴﺸﺘﻪ ﺃﻥ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬
،‫ ﺑﺴﻢ ﺍﷲ ﻋﻠﻰ ﻧﻔﺴﻲ ﻭﻣﺎﱄ ﻭﺩﻳﲏ‬: ‫ﻳﻘﻮﻝ ﺇﺫﺍ ﺧﺮﺝ ﻣﻦ ﺑﻴﺘﻪ‬
‫ ﻭﺑﺎﺭﻙ ﱄ ﻓﻴﻤﺎ ﻗﺪﺭ ﱄ ﺣﱴ ﻻ ﺃﺣﺐ‬،‫ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺭﺿﲏ ﺑﻘﻀﺎﺋﻚ‬
(( ‫ﺖ‬
ُ ‫ﺕ ﻭﻻ ﺗﺄﺧﲑ ﻣﺎ ﻋﺠﻠ‬
ُ ‫ﺗﻌﺠﻴﻞ ﻣﺎ ﺃﺧﺮ‬
ความวา : จากอับดุลเลาะ เบ็ญอุมัร  เลาจากทานนบี  ซึ่งทานกลาว
วา “ไมมีสิ่งใดกีดกั้นคนใดในหมูพวกเจา เมื่อรูสึกยุงยากตอการ
งานใหเขาอานดุอาอฺในขณะที่จะกาวเทาออกจากบาน “ ‫ﺑﺴﻢ ﺍﷲ‬
‫ ﻭﺑﺎﺭﻙ ﱄ ﻓﻴﻤﺎ‬،‫ ﺍﻟﻠﻬﻢ ﺭﺿﲏ ﺑﻘﻀﺎﺋﻚ‬،‫ﻋﻠﻰ ﻧﻔﺴﻲ ﻭﻣﺎﱄ ﻭﺩﻳﲏ‬
‫(” ﻗﺪﺭ ﱄ ﺣﱴ ﻻ ﺃﺣﺐ ﺗﻌﺠﻴﻞ ﻣﺎ ﺃﺧﺮﺕ ﻭﻻ ﺗﺄﺧﲑ ﻣﺎ ﻋﺠﻠﺖ‬1)

(1)
บันทึกโดยอิบนุอัซซุนนีย หนา 321 หมายเลขหะดีษ 352
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 181
อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย กลาววา หะดีษนี้เปนหะดีษเฆาะรีบ บันทึก
โดย อิบนุ อัสสุนนีย ซึ่งในสะนัดของหะดีษมีผูรายงานทานหนึ่งชื่อวา อีซา
เบ็ญ มัยมูน มีสถานะเปนคนเฎาะอีฟญิดดัน (ออนมาก)
3. ฐานะของหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน
หะดีษเฎาะอีฟญิดดันมีฐานะสูงกวาหะดีษเมาฎอฺและต่ํากวาหะดีษเฎาะอีฟ
(หะดีษเฎาะอีฟธรรมดา) เนื่องจากผูรายงานในสะนัดมีสถานภาพที่ต่ํากวา
4. สถานะของหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน
หะดีษเฎาะอีฟญิดดันไมสามารถใหการสนับสนุนหะดีษเฎาะอีฟที่มาจาก
สาเหตุความบกพรองในกระบวนการรายงานและความบกพรองในแงความจํา
ของผูรายงาน และยังไมสามารถรับการสนับสนุนจากสายรายงานอื่นอีกดวย
แมวามีกระแสรายงานมากมายก็ตาม เนื่องจากความบกพรองของผูรายงาน
หะดีษนี้เกี่ยวของกับคุณธรรม(1)
5. การรายงานหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน
ตามทัศนะของอุละมาอฺหะดีษไมอนุญาตใหรายงานหะดีษเฎาะอีฟญิดดันที่
เกี่ยวของกับเรื่องศาสนา เวนแตจะระบุระดับของหะดีษอยางชัดเจนหลังจาก
กลาวหะดีษ

6. การนํามาใชเปนหลักฐาน
ตามทัศนะของบรรดาอุละมาอฺไมอนุญาต (หะรอม) นําหะดีษเฎาะอีฟญิด
ดันมาใชเปนหลักฐานและนํามาปฏิบัติตามในเรื่องตาง ๆ ของศาสนาอิสลาม

(1)
คุณธรรมเปนเงื่อนไขที่สําคัญมากสําหรับวิชาการอิสลามในทุก ๆ สาขาวิชา โดยเฉพาะอยางยิ่งวิชาการหะดีษ
และตัฟซีร ซึ่งมีความเกี่ยวของกับคําดํารัสของอัลลอฮฺและคํากลาวของรสูลุลลอฮฺ 
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 182
เชน เรื่องอะกีดะฮฺ เรื่องอิบาดะฮฺ เรื่องอะฮฺกาม เรื่องอีมาน เรื่องคุณคาของ
อะมาล เรื่องการสนับสนุนใหทําความดีและหามปรามการทําความชั่ว เปนตน
อยางไรก็ตาม เมื่อมีการขัดแยงกันระหวางหะดีษเฎาะอีฟญิดดันกับหะดีษ
เศาะหีหฺหรือหะดีษหะซัน จะตองปฏิบัติตามหะดีษศอหีหฺและหะดีษหะซัน เชน
หะดีษของอิบนุอุมัร และหะดีษอื่น ๆ ที่มีฐานะเดียวกัน ตัวอยาง

‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬: ‫ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻤﺎ ﻗﺎﻝ‬
(( ‫ )) ﺍﺫﻛﺮﻭﺍ ﳏﺎﺳﻦ ﻣﻮﺗﺎﻛﻢ ﻭﻛﻔﻮﺍ ﻋﻦ ﻣﺴﺎﻭﻳﻬﻢ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ‬

ความวา : จากอิ บนุ อุมั ร ‫ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﻢ ﺍ‬ เลาวา รสูลุลลอฮฺ 


กลาววา “พวกเจาจงกลาวสิ่งที่ดี ๆ ตอคนตายในหมูพวกเจา และ
จงปกปดสิ่งชั่วรายที่พวกเขาไดกระทําไว”(1)

หะดีษบทนี้เปนหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน เนื่องจากมีผูรายงานคนหนึ่งชื่อ อิ
มรอน เบ็ญ อัลหุศ็อยนฺ อัลมักกีย อิมามอัลบุคอรียกลาววา “มีสถานภาพเปน
คนมุนกัรหะดีษ” และหะดีษบทนี้ขัดแยงกับหะดีษจากอาอิชะฮฺ ‫ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ‬
และจากอานัส เบ็ญ มาลิก 
1) หะดีษจากอาอิชะฮฺ ‫ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ‬กลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา

(( ‫)) ﻻ ﺗﺴﺒﻮﺍ ﺍﻷﻣﻮﺍﺕ ﻓﺈﻬﻧﻢ ﻗﺪ ﺃﻓﻀﻮﺍ ﺇﱃ ﻣﺎ ﻗﺪﻣﻮﺍ‬

(1)
บันทึกโดยอัตติรมิซีย : 3/330
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 183
ความวา : “พวกเจาอยาสาปแชงคนที่เสียชีวิตไปแลว เพราะพวกเขาได
จากในสิ่งที่พวกเขาไดกอไว”(2)

2) หะดีษจากอะนัส เบ็ญมาลิก  กลาววา

‫ ﻓﻘﺎﻝ ﺍﻟﻨﱯ ﺻـﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬،‫ﻣﺮﻭﺍ ﲜﻨـﺎﺯﺓ ﻓﺄﺛﻨﻮﺍ ﻋﻠﻴﻬﺎ ﺧﲑﺍﹰ‬


‫ ﻓﻘﺎﻝ‬،‫ ﰒ ﻣﺮﻭﺍ ﺑﺄﺧﺮﻯ ﻓﺄﺛﻨﻮﺍ ﻋﻠﻴﻬﺎ ﺷﺮﺍﹰ‬.‫ﺖ‬ ْ ‫ ) ) ﻭﺟﺒ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ‬
‫ﺖ ﻓﻘﺎﻝ ﻋﻤﺮ ﺑﻦ ﺍﳋﻄﺎﺏ‬ ْ ‫ ﻭﺟﺒ‬: ‫ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬
‫ ﻫﺬﺍ ﺃﺛﻨﻴﺘﻢ ﻋﻠﻴﻪ ﺧﲑﹰﺍ‬: ‫ ﻣﺎ ﻭﺟﺒﺖ؟ ﻗﺎﻝ‬: ‫ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ‬
‫ ﺃﻧﺘﻢ‬،‫ﺖ ﻟﻪ ﺍﻟﻨﺎﺭ‬
ْ ‫ ﻭﻫﺬﺍ ﺃﺛﻨﻴﺘﻢ ﻋﻠﻴﻪ ﺷﺮﹰﺍ ﻓﻮﺟﺒ‬،‫ﺖ ﻟﻪ ﺍﳉﻨﺔ‬
ْ ‫ﻓﻮﺟﺒ‬
.(( ‫ﺷﻬﺪﺍﺀ ﺍﷲ ﰲ ﺍﻷﺭﺽ‬

ความวา : พวกเขา (บรรดาเศาะหาบะฮฺ) ไดเดินผานมายัต มีบางทานได


กลาวสรรเสริญตอมายัต ดังนั้น รสูลุลลอฮฺ  กลาววา “แนแท
เปนเชนนั้นจริง” และพวกเขาเดินผานมายัตอื่นอีก มี (เศาะ
หาบะฮฺ)บางทาน กลาวตําหนิตอมายัตที่อยูในสุสานนั้น ทานนบี
 กลาววา “แนแทเปนเชนนั้นจริง” อุมัร เบ็ญ อัลคอฏฏอบถาม
วา ที่เปนเชนนั้นจริงคืออะไร? ทานนบีตอบวา “คนที่พวกเจากลาว
สรรเสริญ เขามีสิทธิ์ที่จะเขาสวรรค และคนที่พวกเจากลาวตําหนิ
พวกเขานั้นก็มีสิทธตกนรก พวกเจาก็เปนพยานของอัลลอฮฺใน พื้น
แผนดินนี้”(3)

(2)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 3/258, อันนะสาอีย : 4/53 และอัลบัยฮะกีย : 4/126
(3)
บันทึกโดยอัลบุคอรีย : 3/228, มุสลิม : 2/655 และอัลบัยฮะกีย : 4/126
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 184

7. ชนิดของหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน
หะดีษเฎาะอีฟญิดดันแบงออกเปน 2 ชนิด
ชนิดที่ 1 หะดีษมุนกัร
ชนิดที่ 2 หะดีษมัตรูก

ชนิดที่ 1 หะดีษมุนกัร
หะดีษที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองของผูรายงานในแงคุณธรรมที่มี
ลักษณะคือเฎาะอีฟญิดดัน มุนกัรหะดีษ ฟสกฺ ฟุฮฺชู เฆาะลัฏ กัษเราะฮฺฆอฟ
ละฮฺ และกัษเราะฮฺเอาฮามเรียกวา หะดีษมุนกัร
1. นิยาม
หะดีษมุนกัร คือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่เฎาะอีฟขัดแยงกับการ
รายงานของผูรายงานที่ษิเกาะฮฺ(1) หรือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานเปนคนฟา
สิก และอื่น ๆ
2. ตัวอยางหะดีษมุนกัร
1) หะดีษจากอะบูสะอีด อัลคุดรีย  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา

‫ ﻓﺈﻥ ﺫﻟﻚ ﻻ ﻳﺮ ّﺩ‬،‫)) ﺇﺫﺍ ﺩﺧﻠﺘﻢ ﻋﻠﻰ ﻣﺮﻳﺾ ﻓﻨﻔﺴﻮﺍ ﻟﻪ ﰲ ﺃﺟﻠﻪ‬


.(( ‫ﺷﻴﺌﹰﺎ ﻭﻳﻄﻴﺐ ﻧﻔﺴﻪ‬

(1)
อัลเฏาะหานะวีย หนา 42
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 185
ความวา : “เมื่อพวกเจาเขาเยี่ยมผูปวย ก็จงทําใหเขามีความสบายใจ
ในอะญัลของเขา เนื่องจากสิ่งนั้นไมสามารถปฏิเสธไดแมแตนิด
เดียว และจงปะน้ําหอมบนตัวของเขา”(2)
หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุนกัร เนื่องจากมีผูรายงานทานหนึ่งชื่อวา มูซา เบ็ญ
มุฮัมมัด เบ็ญ อิบรอฮีม อัตตัยมีย มีสถานภาพเปนคนมุนกัรหะดีษ
2) จากอิบนุอุมัร  กลาววา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา

(( ‫))ﺍﺫﻛﺮﻭﺍ ﳏﺎﺳﻦ ﻣﻮﺗﺎﻛﻢ ﻭﻛﻔﻮﺍ ﻋﻦ ﻣﺴﺎﻭﻳﻬﻢ‬

ความวา : “พวกเจาจงพูดถึงสิ่งดี ๆ ในตัวผูตาย และจงปกปดสิ่งชั่วรายที่


เขาไดกอไว”(1)
หะดีษบทนี้เปนหะดีษมุนกัร (เฎาะอีฟญิดดัน) เนื่องจากในสะนัดมี
ผูรายงานทานหนึ่งชื่อ อิมรอน เบ็ญ หุศัยนฺ อัลมักกีย ซึ่งอัลบุคอรีย กลาววา :
มุนกัรหะดีษ
3. ฐานะของหะดีษมุนกัร
หะดีษมุนกัรเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟยิดดัน(2) และหะดีษชนิดนี้มี
ฐานะ ต่ํากวา หะดีษมัตรูก

(2)
บันทึกโดยอัตตัรมิซีย : 4/412 อะบูอีซากลาววา หะดีษนี้เปนหะดีษเฆาะรีบ
(1)
บันทึกโดยอัตติรมิซีย : 3/330
(2)
อุละมาอฺบางทานมีความเห็นวา หะดีษมุนกัรเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟโดยไมไดแยกระหวางหะดีษเฎาะ
อีฟธรรมดากับหะดีษเฎาะอีฟญิดดัน ซึ่งเปนการพิจารณาที่ระดับของหะดีษเทานั้นโดยไมไดพิจารณาที่
สถานภาพของผูรายงานหะดีษแตอยางใด
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 186

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
อุละมาอฺหะดีษมีความเห็นวา ไมอนุญาตใหรายงานหะดีษมุนกัรใหสังคม
ฟงนอกจากจะระบุสถานภาพของหะดีษอยางชัดเจน และไมอนุญาตใหนํามาใช
เปนหลักฐานในเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับศาสนา
มี การเข า ใจผิ ด เกี่ ย วกั บ ระดั บของหะดีษ มุน กั ร วา เป น หะดี ษ เฎาะอี ฟที่
สามารถนํามาใชเปนหลักฐานในสวนที่เปนหุกมสุนัต เชน การละหมาดสุนัต
การถือศีลอดสุนัต การทําความดี และการหามปรามทําความชั่ว เปนตน จาก
นิยามขางตนพอสรุปไดวา หากพิจารณาลักษณะเดิมของสายรายงานที่เปน
เฎาะอีฟ หรือการรายงานของคนเฎาะอีฟที่ ไมขัดแยงกับการรายงานของคน
ษิเกาะฮฺ หะดีษในลักษณะนี้จะถือเปนหะดีษเฎาะอีฟ แตการพิจารณาของการ
เปนหะดีษมุนกัรนั้นก็ตองพิจารณาระหวางการรายงานของคนเฎาะอีฟที่ขัดแยง
กับการรายงานของคนษิเกาะฮฺ ดังนั้น การตัดสินหะดีษเปนหะดีษมุนกัรจะตอง
พิจารณาจํานวนสายรายงานที่มีมากกวาหนึ่งสายหรือสายรายงานที่มาจากการ
รายงานของคนฟาสิก เปนตน

ชนิดที่ 2 หะดีษมัตรูก
หะดีษที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองของผูรายงานในแงคุณธรรมคือ ถูก
กล า วหาว าเป น คนโกหก มั ต รู ก หะดี ษ และซาฮิบหะดีษ หะดี ษ ในลั ก ษณะนี้
เรียกวา หะดีษมัตรูก
1. นิยาม
หะดีษมัตรูก คือ หะดีษที่รายงานโดยผูรายงานที่มีสถานภาพเปนคนถูก
กลาววาเปนคนโกหก หรือซาฮิบหะดีษ หรือมัตรูกหะดีษ(1)

(1)
อัลศอนอานีย หนา 252
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 187
จากนิยามขางตนพอสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับหะดีษมัตรูก 2 ประการ
หนึ่ง ลักษณะของผูรายงานหะดีษมัตรูก
1. ผูที่ทราบกันอยางแพรหลายวาเปนคนที่ชอบพูดโกหก(2) แตไมเคย
ปรากฏการโกหกตอหะดีษนะบะวียแมแตนิดเดียว
2. ผูที่ถูกกลาววาเปนคนโกหกตอหะดีษนะบะวีย
สอง การเรียกชื่อหะดีษเปนหะดีษมัตรูก
การเรียกหะดีษมัตรูกนั้นตองประกอบดวยเงื่อนไข 2 ประการคือ
1. มีการรายงานหะดีษจากผูรายงานเพียงคนเดียวเทานั้น
2. หะดีษที่ถูกรายงานนั้นมีเนื้อหาที่ขัดแยงกับหลักการทั่วไปของ
บทบัญญัติ(3)
อุละมาอฺบางทานเรียกหะดีษมัตรูก วา “หะดีษมัตรูหฺ”(4)

2. ตัวอยางหะดีษมัตรูก
1. หะดีษจากอัมรฺ เบ็ญ ชัมมัร อัลุอฺฟย อัลกูฟย อัลชีอีย จากญาบิร
จาก อะบูอัลฏฟยลฺ จากอะลีและอัมรฺ ทั้งสองทานนี้กลาววา

‫ ﻋﻦ‬،‫ ﻋﻦ ﺟﺎﺑﺮ‬،‫ﺣﺪﻳﺚ ﻋﻤﺮﻭ ﺑﻦ ﴰﺮ ﺍﳉﻌﻔﻲ ﺍﻟﻜﻮﰲ ﺍﻟﺸﻴﻌﻲ‬


‫ ﻛﺎﻥ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬: ‫ ﻋﻦ ﻋﻠﻲ ﻭﻋﻤﺮﻭ ﻗﺎﻻ‬،‫ﺃﰊ ﺍﻟﻄﻔﻴﻞ‬
،‫ﻭﺳﻠﻢ ﻳﻘﻨﺖ ﰲ ﺍﻟﻔﺠﺮ ﻭﻳﻜﱪ ﻳﻮﻡ ﻋﺮﻓﺔ ﻣﻦ ﺻﻼﺓ ﺍﻟﻐﺪﺍﺓ‬
.‫ﻭﻳﻘﻄﻊ ﺻﻼﺓ ﺍﻟﻌﺼﺮ ﺃﺧﺮ ﺃﻳﺎﻡ ﺍﻟﺘﺸﺮﻳﻖ‬
(2)
เปนที่รูกันในสังคมวาเขาเปนที่ชอบพูดโกหก
(3)
อิบนุ อัลเศาะลาหฺ หนา 43
(4)
อัลศอนอานีย หนา 253
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 188

ความวา : “ทานนบี  อานกุนูตในละหมาดซุบฮฺ และทานกลาวตักบีรใน


วันอะรอฟาตตั้งแตละหมาดซุฮรฺและสิ้นสุดเวลาละหมาดอัศรฺ
วันสุดทายของวันตัชรีก”(1)

อิมามอันนะสาอียและอิมามอัดดารอกุฏนียกลาววา จากอัมรฺ เบ็ญ ชัมมัร


ทานเปนผูรายงานมัตรูก(2)
2. จากอับดุลเลาะ เบ็ญ มัสอูด  เลาจากทานนบี  กลาววา

‫ﻋﻦ ﻋﺒﺪﺍﷲ ﺑﻦ ﻣﺴﻌﻮﺩ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻪ ﻋﻦ ﺍﻟﻨﱯ ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ‬


.((‫ ))ﻣﻦ ﻋﺰﻯ ﻣﺼﺎﺑﺎ ﻓﻠﻪ ﻣﺜﻞ ﺃﺟﺮﻩ‬: ‫ﻭﺳﻠﻢ ﻗﺎﻝ‬

ความวา : “ผูใดที่ยกยองในความถูกตองแลว เขาจะไดรับผลบุญเทากับ


ผลบุญของเขา”(3)

หะดี ษ บทนี้ เ ป น หะดี ษ มั ต รู ก เนื่ อ งจากในสายรายงานของหะดี ษ มี


ผูรายงานทานหนึ่งมีสถานภาพเปนคนที่ถูกกลาวหาวาเปนโกหกคือ อะลี เบ็ญ
อาเศ็ม(4)

(1)
อัซซะฮะบีย : 2/268
(2)
หนังสือเดิม
(3)
บันทึกโดยอัลติรมิซีย : 3/376 และอัลบัยฮะกีย : 4/49
(4)
ดู มุฮัมมัด เบ็ญ อัลลาน : 4/137
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 189
3. ฐานะของหะดีษมัตรูก
หะดีษมัตรูกเปนสวนหนึ่งของหะดีษเฎาะอีฟญิดดันมีฐานะต่ํากวาหะดีษ
มุนกัรและสูงกวาหะดีษเมาฎอฺ

4. การนํามาใชเปนหลักฐาน
การนําหะดีษมัตรูกมาใชเปนหลักฐานเหมือนกับการนําหะดีษมุนกัรเปน
หลักฐาน

ระดับที่หา หะดีษเมาฎอฺ

หะดีษที่มีสาเหตุมาจากความบกพรองของผูรายงานในแงคุณธรรม คือ
กล า วเท็ จ ต อ ท า นนบี แ ละหะดี ษ ของท า น หะดี ษ ในลั ก ษณะนี้ เ รี ย กว า
หะดีษเมาฎอฺ
1. นิยาม
ตามหลักภาษาศาสตร
คําวา “‫ ”ﻣﻮﺿﻮﻉ‬เปนคํานามในรูปมัฟอูล มาจากรากศัพทของคํา ‫ﻭﺿﻊ‬
‫ ﻳﻀﻊ ﻭﺿﻌﹰﺎ‬แปลว า กุ หรื อ ประดิ ษ ฐ หรื อ แต ง ขึ้ น มา ดั ง นั้ น คํ า ว า “เมาฎ อฺ ”
หมายถึง สิ่งที่ถูกกุขึ้นมา
ตามหลักวิชาการ
หะดีษเมาฎอฺ คือ หะดีษทีอุปโลกนขึ้นมาแลวพาดพิงไปยังทานนบี  ไม
วาดวยความตั้งใจหรือเกิดจากการผิดพลาด(1)
อุลามาอฺบางทาน กลาววา ควรแยกระหวางการโกหกโดยตั้งใจกับการ
ผิดพลาด กลาวคือ สิ่งที่กุขึ้นมาโดยเจตนาโกหกแลวพาดพิงไปยังทานนบี 
(1)
อัสสุยูฏีย : 1/273
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 190
เรียกวา หะดีษเมาฎอฺสวนสิ่งพาดพิงไปยังทานนบี  เนื่องจากไมไดตั้งใจหรือ
เกิดจากการผิดพลาดเรียกวา หะดีษบาติล(2) และสิ่งที่พาดพิงไปยังทานนบี 
จากคําพูดหรือการกระทําของใครคนหนึ่งคนใดนั้นนาจะเรียกวา ลาอัศลาละฮฺ
(ไมรูที่มาที่ไป)
อุ ล ะมาอฺ บ างท า นได อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม กล า วว า ทุ ก อย า งที่ พ าดพิ ง ไปยั ง
เศาะหาบะฮฺและตาบิอีน แตมีขอสังเกตวา เมื่อมีการพูดนั้นถูกกลาวไวในลักษณะ
อิสระแลวความหมายของมันจะเจาะจงเฉพาะการโกหกตอทานนบี  เทานั้น
สวนคําพูดที่ถูกกลาวในลักษณะเงื่อนไข คํานี้มักจะใชกับเศาะหาบะฮฺเทานั้น เชน
เมาฎอฺตออิบนุอับบาสและตอตาบิอีน เชน เมาฎอฺตอมุญาฮิด(3) เปนตน
โดยทั่วไปแลวหะดีษในระดับนี้จะมีชื่อเรียกที่หลากหลาย เชน
หนึ่ง หะดีษเมาฎอฺ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﳌﻮﺿﻮﻉ‬
สอง หะดีษบาติล (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﺍﻟﺒﺎﻃﻞ‬
สาม หะดีษลาอัศลาละฮฺ (‫)ﺍﳊﺪﻳﺚ ﻻ ﺃﺻﻞ ﻟﻪ‬

2. ที่มาของหะดีษเมาฎอฺ
จากนิยามขางตนสามารถทราบไดวา ที่มาของหะดีษเมาฎอฺมี 2 แหลง
หนึ่ง ผูกุหะดีษไดแตงสํานวนขึ้นมาจากตัวเขาเอง แลวพาดพิงไปยัง
ทานนบี  หรือพาดพิงไปยังเศาะหาบะฮฺ หรือพาดพิงไปยังตาบิอีน

(2)
อุมัร หะสัน ฟุลลาตะฮฺ : 1/100
(3)
อะบูชุฮฺบะฮฺ หนา 14
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 191
สอง ผูกุหะดีษลอกคําพูดของเศาะหาบะฮฺบางทาน ตาบิอีนบางทาน
คําพูดของนักแตงเรื่อง (หุกะมาอฺ) นักซูฟย หรือจากเรื่องราวของชาวอิสรออีล
แลวพาดพิงไปยังทานนบี  โดยหวังไดรับการยอมรับจากบุคคลทั่วไป(1)

3. ตัวอยางหะดีษเมาฎอฺ
หะดีษเมาฎอฺ หะดีษบาติล และหะดีษลาอัศลาละฮฺ สวนมากแลวการกุหะ
ดีษนั้น จะพาดพิงไปยังบุคคลตาง ๆ 4 รุนดวยกัน
(1) คําพูดที่พาดพิงไปยังทานนบี  ตัวอยาง
หะดีษที่ 1 มีการรายงานวา ทานนบี  กลาววา

‫ )) ﻣﻦ ﺗﻜﻠﻢ ﰲ ﺍﳌﺴﺠﺪ ﻣﻦ ﻛﻼﻡ ﺍﻟﺪﻧﻴﺎ ﻓﻘﺪ ﺃﺣﺒﻂ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ‬


.(( ‫ﺍﷲ ﺃﻋﻤﺎﻟﻪ ﺃﺭﺑﻌﲔ ﺳﻨﺔ‬

ความวา : “ผูใดที่พูดในมัสยิดเกี่ยวกับเรื่องทางโลก อัลลอฮฺทรงทําใหอะ


มาลของเขาเสียในระยะเวลา 40 ป”(2)
หะดีษที่ 2 จากอิบนุอุมัร  เลาวา รสูลุลลอฮฺ  กลาววา

‫ ﻗﺎﻝ ﺭﺳﻮﻝ ﺍﷲ‬: ‫ ))ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﻤﺮ ﺭﺿﻲ ﺍﷲ ﻋﻨﻬﺎ ﻗﺎﻝ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ‬
‫ ﻭﻣﻔﺘﺎﺡ ﺍﳉﻨﺔ ﺣﺐ‬،‫ )) ﻟﻜﻞ ﺃﻣﺮ ﻣﻔﺘﺎﺡ‬: ‫ﺻﻠﻰ ﺍﷲ ﻋﻠﻴﻪ ﻭﺳﻠﻢ‬
((‫ ﻭﻫﻢ ﺟﻠﺴﺎﺀ ﺍﷲ ﻳﻮﻡ ﺍﻟﻘﻴﺎﻣﺔ‬،‫ﺍﳌﺴﺎﻛﲔ ﻭﺍﻟﻔﻘﺮﺍﺀ‬

(1)
อะบูชุฮฺบะฮฺ หนา 14
(2)
อัชเชากานีย หนา 62
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 192
ความวา : “ทุก ๆ การงานมีกุญแจของมัน กุญแจของสวนสวรรคคือ รัก
และเอ็ น ดู ค นยากจน ซึ่ ง พวกเขาเหล า นี้ เ ป น คนที่ ส วามิ ภั ก ดิ์
ตออัลลอฮฺในวันกิยามัต” (3)

หะดีษบทนี้มีการวิพากษวิจารษมากมาย แตขอยกเปนตัวอยางเพียงสอง
ทัศนะเทานั้น(1) คือ อิมามอิบนุอัลเญาซีย กลาววา : อัดดารอกุฏนียกลาววา:
หะดีษบทนี้มาจากการกุขึ้นมาโดยอุมัร เบ็ญ รอชิด อัลญารีย จากมาลิก เบ็ญ
อะนัสแลวพาดพิงไปยังอะบูมัศอับ(2) และอิบนุหิบบาน กลาววา : เปนหะดีษ
เมาฎอฺ มาจากการกุของอะหฺมัด เบ็ญ ดาวุด เขาเปนนักกุหะดีษ ไมอนุญาตให
นําหะดีษนี้บอกกลาวใหคนอื่นฟง เวนแตเพื่อเปดเผยใหคนทั่วไปไดทราบฐานะ
ของหะดีษเพื่อจะไดหลีกเลี่ยงการนําหะดีษมาใชจากการรายงานของเขา(3)
(2) คําพูดของเศาะหาบะฮฺบางคนซึ่งถูกนํามาพาดพิงไปยังทานนบี 
ตัวอยาง
หะดีษที่ 3 มีการรายงานมาจากทานนบี  ซึ่ง
ทานกลาววา

‫ )) ﺃﺣﺒﺐ ﺣﺒﻴﺒﻚ ﻫﻮﻧﺎ ﻣﺎ ﻋﺴﻰ ﺃﻥ ﻳﻜﻮﻥ ﺑﻐﻴﻀﻚ ﻳﻮﻣﺎ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ‬


((‫ ﻭﺃﺑﻐﺾ ﺑﻐﻴﻀﻚ ﻫﻮﻧﺎ ﻣﺎ ﻋﺴﻰ ﺃﻥ ﻳﻜﻮﻥ ﺣﺒﻴﺒﻚ ﻳﻮﻣﺎ ﻣﺎ‬،‫ﻣﺎ‬

(3)
บันทึกโดยอิบนุอะดีย : 6/2375, อิบนุอัลเญาซีย : 3/141 จากสายรายงานของอะหฺมัด เบ็ญดาวูด เบ็ญ อับ
ดุลกอเดร จากอะบูมัศอับ จากมาลิด เบ็ญ อะนัส จากนาฟอฺ จากอิบนุอุมัร
(1)
ดู อัลอัลบานีย : 3/582-584
(2)
บันทึกโดยอิบนุหิบบาน : 1/146-147
(3)
อิบนุอัลเญาซีย : 3/141
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 193
ความวา : “จงรักคนที่เขารักทาน (พอประมาณ) เผื่อวาสักวันหนึ่งทานจะ
เกลียดเขา และจงเกลียดคนที่เขาเกลียดทาน(พอประมาณ) เผื่อ
วาสักวันหนึ่งเขาจะรักทาน”(4)
สํานวนหะดีษขางตนไมใชคําพูดของทานนบี  แตอยางใด แตเปนคําพูด
ของทาน อะลี เบ็ญ อะบีฏอลิบ
(3) คํ า พู ด มาจากตาบิ อี น บางท า นแล ว พาดพิ ง ไปยั ง ท า นนบี 
ตัวอยาง
หะดีษที่ 4 มีการรายงานมาจากทานนบี  ซึ่งทานกลาววา
.((‫ ﻭﺑﺎﻵﺧﺮﺓ ﱂ ﺗﺰﻝ‬،‫ ))ﻛﺄﻧﻚ ﰲ ﺍﻟﺪﻧﻴﺎ ﱂ ﺗﻜﻦ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ‬

ความวา : “เสมือนกับวาคุณไมไดอยูในโลกนี้ และชีวิต (ของคุณ) ในวัน


อาคิเราะฮฺนั้นตลอดไป”(5)

สํา นวนหะดี ษ ข า งต น เป น คํ า กล า วของอุ มั ร เบ็ ญ อั บดุ ล อะซี ซ (6) แต ถู ก
พาดพิงไปยังทาน นบี 
(4) คําพูดของฮุกะมาอฺ(1)บางคนแลวพาดพิงไปยังทานนบี  ตัวอยาง
หะดีษที่ 5 มีการรายงานวา ทานนบี  กลาววา

(4)
อะบูชุฮฺบะฮฺ หนา 14-15
(5)
หนังสือเดิม
(6)
อุมัร เบ็ญ อับดุลอะซีซ ไมไดพบเจอและฟงหะดีษโดยตรงจากรสูลุลลอฮฺ  เนื่องจากทานเกิดหลังจากที่ทาน
เสียชีวิตไปแลว
(1)
หุกะมาอฺ หมายถึง นักพูดหรือนักอรรถาธิบายเรื่องราวตาง ๆ
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 194
‫ ﻭﻋﻮﺩﻭﺍ ﻛﻞ‬،‫ ﻭﺍﳊﻤﻴﺔ ﺃﺻﻞ ﺍﻟﺪﻭﺍﺀ‬،‫ )) ﺍﻟﺒﻄﻨﺔ ﺃﺻﻞ ﺍﻟﺪﺍﺀ‬: ‫ﺣﺪﻳﺚ‬
((‫ﺟﺴﻢ ﻣﺎ ﺍﻋﺘﺎﺩ‬

ความวา : “ทองเปนแหลงแหงโรคทั้งหลาย การลดกินในบางสิ่งเปนเจา


แห ง ยาทั้ ง หลาย และจงสร า งความเคยชิ น ให ทุ ก ๆส ว นของ
รางกาย ดวยกินสิ่งที่มันเคยไดรับความเคยชิน”(2)

หะดีษบทนี้เปนหะดีษลาอัศลาละฮฺ มาจากการรายงานของอัลุวัยบะรีย
อิมาม อัลซุฮฺรีย กลาววา อัลุบะรียเปนนักกุหะดีษแลวพาดพิงไปยังทานนบี 
(3)

หะดีษบทนี้เปนหะดีษลาอัศลาละฮฺ (‫ )ﻻ ﺃﺻﻞ ﻟﻪ‬ทานอัลฮาฟซอัลอิรอกีย


กลาววา “ฉันไมเคยพบที่มาของหะดีษบทนี้” ความเห็นของอัลอิรอกียนี้ไดรับการ
สนับสนุนจาก อัลหาฟศ อัลซะคอวีย อิมามอิบนุ อัลกัยยิมกลาวในหนังสือซาด
อัลมะอาดวา “ที่จริงแลวหะดีษบทนี้เปนคําพูดของอัลฮาริษ เบ็ญกิลดะฮฺ ซึ่งเปน
หมอชาวอาหรับ การแอบอางเปนคําพูดของทานนบี  เปนสิ่งที่ไมถูกตอง”(4)
นอกจากหะดี ษ ที่ ไ ด ก ล า วข า งต น แล ว ยั ง มี ห ะดี ษ เมาฎ อฺ อี ก มากมายที่
แพรหลายในสังคมมุสลิมโดยเฉพาะหะดีษเมาฎอฺที่เกี่ยวกับอิบาดาต คุณคา
ของอะมาล การสนับสนุนใหทําความดีและหามปรามทําความชั่ว และที่สําคัญ
มากที่สุดจะเปนหะดีษเมาฎอฺที่พูดถึง เศาะหาบะฮฺ เชน การเปนเคาะลีฟะฮฺไมวา

(2)
บันทึกโดยอิบนุอะดีย : 2/207
(3)
อัลอัลบานีย : 1/415
(4)
ดู หนังสือเดิม : 3/582-584
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 195
จะยกยองหรือตําหนิ การสั่งเสีย การสนับสนุนทานหนึ่งทานใดและปฏิเสธพวก
เขา เปนตน
4. ฐานะของหะดีษเมาฎอฺ
หะดีษเมาฎอฺ คือ หะดีษที่มีฐานะต่ําที่สุดในบรรดาหะดีษเฎาะอีฟเนื่องจาก
เปนการกลาวเท็จตอหะดีษนบี  และเปนเพียงคําพูดของสามัญชนเทานั้นแลว
พาดพิงไปยังทานนบี 
5. การรายงานหะดีษเมาฎอฺ
บรรดาอุ ละมาอฺ มีความเห็น พองกัน วา ไมอนุ ญาต (หะรอม) แกผู ที่
ทราบวาเปนหะดีษเมาฎอฺนํามารายงานใหแกสาธารณชนทั้งหลายที่เกี่ยวกับเรื่อง
ตาง ๆ ของศาสนา เชน อะกีดะฮฺ อิบาดะฮฺ คุณคาของอะมาล และอื่น ๆ เวน
แตมีการระบุระดับของหะดีษดวย(1) เนื่องจากมีหะดีษบทหนึ่ง ซึ่งทานนบี 
กลาววา

((‫))ﻣﻦ ﺣﺪﺙ ﻋﲏ ﲝﺪﻳﺚ ﻳﺮﻯ ﺃﻧﻪ ﻛﺬﺏ ﻓﻬﻮ ﺃﺣﺪ ﺍﻟﻜﺎﺫﺑﲔ‬

ความวา : “ผูใดรายงานหะดีษหนึ่งบทจากฉัน ทั้ง ๆ เห็นวามันโกหก


แนนอนเขาเปนคนหนึ่งในบรรดาผูโกหกทั้งหลาย”(2)
6. การนํามาใชเปนหลักฐาน
บรรดาอุละมาอฺมีความเห็นพองกันวา ไมอนุญาต (หะรอม) ใหนําหะดีษ
เมาฎอฺ มาใชเปนหลักฐานและนํามาปฏิบัติตามที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนา เชน
อะกีดะฮฺ อิบาดาต หุกมหะกัม การนิกาหฺ ญะนาซะฮฺ มุอามะลาต คุณคา

(1)
อิบนุ อัศเศาะลาหฺ หนา 109
(2)
บันทึกโดยมุสลิม : 2/231
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 196
ของอะมาล ชีวประวัติของทาน นบีและเศาะหาบะฮฺ การสนับสนุนใหทําความดี
และหามปรามทําความชั่ว เปนตน(3)

7. การรูจักหะดีษเมาฎอฺ
การรูจักหะดีษเมาฎอฺสามารถพิจารณาจากหลาย ๆ อยางตอไปนี้
1. ผูกุหะดีษยอมรับสารภาพวาเขากุขึ้นมาเอง เชน การสารภาพของนักกุ
หะดีษวา เขาได กุหะดีษเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดของศาสนาและเรื่องอื่นๆ เชน
การสารภาพของอะบูอัศมะฮฺ นูหฺ เบ็ญ อะบีมัรยัม
2. คําหรือสํานวนที่มีความหมายเหมือนกับการสารภาพ หรือการยอมรับ
ของการกุหะดีษ เชน มีการรายงานหะดีษจากอาจารยทานหนึ่งซึ่งเขาไมเคยรับหะ
ดีษมากอนและหะดีษนั้นไมมีใครคนอื่นที่รายงานนอกจากเขาเพียงผูเดียวเทานั้น
3. มีกรณีแวดลอมในตัวผูรายงาน เชน ผูรายงานเปนพวกรอฟเฎาะฮฺหรือ
ชีอะฮฺ(1) โดยสวนใหญแลวมักจะกุหะดีษเกี่ยวกับครอบครัวของทานนบี  (2)
4. ตัวบทของหะดีษขัดแยงอยางชัดเจนกับอัลกุรอาน หะดีษเศาะหีหฺและ
ความคิดที่ถูกตอง(3)

8. ประวัติความเปนมาของหะดีษเมาฎอฺ
ดังที่กล าวมาแลวในเรื่ องของสะนัด วา บรรดาเศาะหาบะฮฺ เป นคนที่ มี
คุณธรรม ซึ่งไดรับการยอมรับจากอัลลอฮฺ  วาเปนกัลยาณชนที่ชอบปฏิบัติ
ตามและเลียนแบบทานนบี  ดวยจิตวิญญาณและการกระทําตลอดชีวิตของ
พวกเขา อะนัส เบ็ญ มาลิกไดรายงาน หะดีษบทหนึ่งเลาวา มีผูชายคนหนึ่งถาม

(3)
อุมัร หะสัน ฟุลลาตะฮฺ : 1/135
(1)
กลุมรอฟเฎาะฮฺและกลุมชีอะฮฺก็นับถือศาสนาอิสลามเชนกัน แตไมใชอะฮฺลุสสุนนะฮฺ วัลญะมาอะฮฺ
(2)
มะหฺมูด อัลเฏาะหฺหาน หนา 176
(3)
อุมัร หะสัน ฟุลลาตะฮฺ : 1/334
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 197
ทานวา “ทานไดฟงหะดีษจากรสูลุลลอฮฺ  ใชหรือไม?” ทานตอบวา “ใช หรือ
ทานกลาววา ฉันไดยินมาจากบุคคลไมเคยพูดโกหก ขาขอสาบานดวยพระนาม
ของอัลลอฮฺวา พวกเราไมเคยโกหกและพวกเราไมทราบดวยซ้ําไปวาวิธีการโกหก
นั้นเปนอยางไร”(4)
การกุหะดีษไมใชเปนฝมือของผูที่ศรัทธาตออัลลอฮฺ  อยางแทจริง
โดยเฉพาะมุสลิมที่อยูในชวงตนๆ ของอิสลาม แตมาจากฝมือของพวกมุนาฟกีนที่
ตองการทําลายอิสลามและใสรายมุสลิม ซึ่งเริ่มตนตั้งแตสมัยเคาะลีฟะฮฺอุษมาน
หลักฐานบางอยางบงบอกถึงเรื่องนี้อยางชัดเจน ซึ่งไดติดตามผูที่มีสวนเกี่ยวของ
ในการรายงานหะดีษของทาน นบี  มุฮัมมัด เบ็ญ สีรีน (110ฮ.ศ.) ไดกลาวไววา
“พวกเขา(บรรดาเศาะหาบะฮฺ) ไมเคยถามเลยเกี่ยวกับอิสนาดหะดีษ เมื่อฟตนะฮฺ
ไดเกิดขึ้นพวกเขาก็เริ่มมีการตรวจสอบสถานะของนักรายงานโดยใหบอกชื่อของ
เขา ดังนั้น เมื่อหะดีษมาจากกลุม อะฮลฺ อัลซุนนะฮฺพวกเขาจะยอมรับหะดีษ
และเมื่อพบวาหะดีษมาจากกลุมบิดอะฮฺพวกเขาจะไมรับหะดีษ”(5)
จากขอเท็จจริงนี้ สามารถยืนยันตอประวัติการเริ่มตนของการโกหกตอรสู
ลุลลอฮฺ  และหะดีษของทาน ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของการแพรหลายหะดีษเมาฎอฺ
ในสังคมอิสลามอยางกวางขวางและเปนสาเหตุหนึ่งทําใหสังคมอิสลามเกิดความ
แตกแยกเปนกลุม ๆ
ส ว นหะดี ษ เมาฎ อฺ ที่ถู กกุ ขึ้ น มาเป น ครั้ ง แรก คื อ หะดี ษ ที่ เกี่ ย วกั บ ความ
ประเสริฐของบุคคลซึ่งมีอับดุลเลาะ เบ็ญ อุบัย เบ็ญ สะลูลเปนหัวหนากลุมนี้ได
ทําการกุหะดีษเมาฎอฺอยางมากมายโดยเริ่มจากหะดีษที่เกี่ยวกับความประเสริฐ
ของผูนํา มีการบอกเลาวากลุมแรกที่ไดริเริ่มกุหะดีษ คือ กลุมของชีอะฮฺ อิบนุ
อะบีอัลหะดีดไดกลาววา “พึงรูไววา เดิมทีนั้นการโกหกมดเท็จที่เกี่ยวกับความ

(4)
บันทึกโดยอิบนุอะดีย : 1/51
(5)
บันทึกโดยมุสลิม : 1/15
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 198
ประเสริฐมาจากกลุมชีอะฮฺ ซึ่งไดรับการตอบรับเชนกันจากกลุมอะฮฺลุซซุนนะฮฺ
บางคนที่ไมมีความรูในเรื่องนี้”(1)
ที่ จ ริ ง แล ว พวกชี อ ะฮฺ มี ห ลายกลุ ม ด ว ยกั น แต ที่ เ ป น กลุ ม แรกที่ ทํ า
การกุหะดีษเมาฎอฺนั้นคือ กลุมรอฟเฎาะฮฺ มีคนถามอิมามมาลิกเกี่ยวกับเรื่อง
ดังกลาว ทานตอบวา “อยาไปพูดกับพวกเขาและอยารายงานหะดีษจากพวกเขา
เพราะพวกเขาเปนคนโกหก”(2)

อิมามอัชชาฟอีย กลาววา “ฉันไมเคยเห็นกลุมที่ปฏิบัติตามอารมณของ


ตนเอง แมแตกลุมเดียวเทานั้นที่โกหกตื้น ๆ มากกวากลุมรอฟเฎาะฮฺ”(3)
สวนเมืองที่เปนสถานที่ในการเผยแพรหะดีษเมาฎอฺที่โดงดังมากที่สุดใน
สมัยนั้นคือ เมืองอิรอก (อิรัก) อิมามอัซซุฮฺรีย กลาววา “ตัวบทหะดีษที่มาจาก
การรายงานของพวกเราแคคืบเดียวเทานั้น แตหะดีษนั้นกลับมายังพวกเราอีก
ครั้งจากการรายงานของชาวอิรอกยาวเปนศอก”(4)
การกุหะดีษเมาฎอฺของกลุมรอฟเฎาะฮฺ คือ พยายามกุหะดีษใหสอดคลอง
กับความตองการและอารมณของพวกเขาใหมากที่สุด อิมามอัลเคาะลีลกลาววา
“กลุมรอฟเฎาะฮฺไดทํากุหะดีษที่เกี่ยวกับความประเสริฐของอะลี เบ็ญอะบีฏอลิบ
และครอบครัวของทานหรือ อะฮฺลฺ อัลบัยตฺ มีจํานวนประมาณ 3,000 หะดีษ”(5)
อาทิเชน

.((‫))ﻫﺬﺍ ﻭﺻﻴﻲ ﻭﺃﺧﻲ ﻭﺍﳋﻠﻴﻔﺔ ﻣﻦ ﺑﻌﺪﻱ ﻓﺎﲰﻌﻮﺍ ﻭﺃﻃﻴﻌﻮﺍ‬

(1)
มุศเฏาะฟา อัสสิบาอีย หนา 75-76
(2)
ชัยคฺอิสลามอิบนุตัยมิยะฮฺ : 1/13
(3)
หนังสือเดิม
(4)
มุศเฏาะฟา อัสสิบาอีย หนา 79
(5)
หนังสือเดิม หนา 80-81
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 199

ความวา “นี้คือผูที่ฉันไดสั่งเสีย และเปนสหายของฉัน และผูจะเปนเคาะ


ลีฟะฮฺตอจากฉัน ดังนั้น จงภักดีและเชื่อฟงเขา”(6)
‫)) ﻣﻦ ﺃﺭﺍﺩ ﺃﻥ ﻳﻨﻈﺮ ﺇﱃ ﺁﺩﻡ ﰲ ﻋﻠﻤﻪ ﻭﺇﱃ ﻧﻮﺡ ﰲ ﺗﻘﻮﺍﻩ ﻭﺇﱃ‬
‫ﺇﺑﺮﺍﻫﻴﻢ ﰲ ﺣﻠﻤﻪ ﻭﺇﱃ ﻣﻮﺳﻰ ﰲ ﻫﻴﺒﺘﻪ ﻭﺇﱃ ﻋﻴﺴﻰ ﰲ ﻋﺒﺎﺩﺗﻪ‬
((‫ﻓﻠﻴﻨﻈﺮ ﺇﱃ ﻋﻠﻲ‬

ความวา : “ผูใดตองการพิจารณาความรูของนบีอาดัม และความยําเกรง


ของนะบีนูฮฺ และความออนโยนของนบีอิบรอฮีม และความนา
เกรงขามของนบีมูซา และความขยันในการทําอิบาดะฮฺของนบีอี
ซา ก็จงพิจารณาทานอะลี”(1)
9. สาเหตุของการแพรหลายของหะดีษเมาฎอฺ
การแพรหลายของหะดีษเมาฎอฺในสังคมอิสลามนั้นมีสาเหตุมาจากหลาย
ประการดวยกัน แตที่สําคัญดังนี้
1. การทํ า อิ บ าดะฮฺ ตอ อั ล ลอฮฺ  จุ ด ประสงค บ างประการของ
การกุหะดีษเมาฎอฺเพื่อสนับสนุนใหผูคนขยันทําอิบาดะฮฺ แสดงพิธีการปฏิบัติ
ศาสนกิจ และประกอบการที่ดี ๆ โดยแอบอางหะดีษเมาฎอฺเปนหลักฐานเพื่อ
แสดงใหเห็นวาอิบาดะฮฺนั้นเปนเรื่องจริงและทําใหหลงเชื่อในพิธีการนั้น การ
ปฏิบัติเชนนี้เปนการปฏิบัติที่ไรสาระ เนื่องจากคนอื่นใหการยอมรับและปฏิบัติ

(6)
หะดีษบทนี้มีการเลาวาเปนสวนหนึ่งในจํานวนการสั่งเสียของทานนบี  ซึ่งทานไดกลาวหะดีษนี้ ณ ตําบลเฆาะ
ดีรคอม (ดู มุศเฏาะฟา อัสสิบาอีย หนา 79-80)
(1)
มุศเฏาะฟา อัสสิบาอีย หนา 80
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 200
ตามวิธีการที่ผิด ๆ ซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานของหะดีษเมาฎอฺที่ไมสามารถจะอางอิงได
เด็ดขาด
ตัวอยาง เชน อิบนุมะฮฺดีย กลาววา “ฉันกลาวแกมัยซะเราะฮฺ เบ็ญ
อับดุลรอบบิฮฺ วา คุณไดรับหะดีษนี้มาจากใคร คือ หะดีษที่วาใครอานสูเราะฮฺนี้
จะไดรับผลบุญเทานี้? เขาตอบวา ฉันเองกุมันขึ้นมาเพื่อสนับสนุนใหคนอื่นทํา
อิบาดะฮฺ (ตออัลลอฮฺ )”(2)
2. ใหการสนับสนุนมัซฮับของตนเองหรือนิกายของกลุมพวกพอง วิธีหนึ่งที่
สามารถดึงดูดคนอื่นหันมาใหการสนับสนุนมัซฮับ หรือพรรคการเมืองของตนเอง
โดยอางหลักฐานจากหะดีษเมาฎอฺดังที่ไดปรากฏจากการกระทําของพวกชีอะฮฺ
และเคาะวาริจญ ซึ่งกลุมเหลานี้ไดกุหะดีษเมาฎอฺแลวกลาววาเปนหะดีษของ
ทานนบี  เพราะมุสลิมคลั่งไคลในหะดีษและปฏิบัติตามซุนนะฮฺของทานในทุก
ๆ เรื่อง ตัวอยาง เชน

."‫ ﻣﻦ ﺷﻚ ﻓﻴﻪ ﻛﻔﺮ‬، ‫"ﻋﻠﻰ ﺧﲑ ﺍﻟﻨﺎﺱ‬

ความวา : “ทานอะลีเปนเลิศที่สุดในบรรดามวลชน ดังนั้นผูใดสงสัยใน


ตัวอะลี เขาเปนคนกะฟร”(1)
3. ดูหมิ่นศาสนาอิสลาม ในการนี้ไดกุหะดีษเมาฎอฺที่เกี่ยวของกับความ
บกพรองของศาสนาอิสลามในดานตาง ๆ และความไมเฉลียวฉลาดของมุสลิม
ตลอดจนสรางความวุนวายใหแกสังคมอิสลาม วิธีการเชนนี้สวนมากมาจากฝมือ
ของกลุมซะนาดิเกาะฮฺ เชน มุฮัมหมัด เบ็ญ สะอีด อัชชามีย อัลมัศลูบ เปนตน
ตัวอยาง

(2)
อัสสุยูฏีย : 1/273
(1)
อัสสุยูฏีย : 1/273
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 201

" ‫"ﺃﻧﺎ ﺧﺎﰎ ﺍﻟﻨﺒﻴﲔ ﻻ ﻧﱯ ﺑﻌﺪﻱ ﺇﻻ ﺃﻥ ﻳﺸﺎﺀ ﺍﷲ‬

ความวา : “ฉันเปนนบีคนสุดทายในบรรดานบี ไมมีนบีอีกแลวหลังจากฉัน


เวนแตอัลลอฮฺทรงประสงค”(2)
4. สรางความใกลชิดกับผูนํา เพื่อใหเปนที่รักใครของผูนํา บุคคลประเภทนี้
จะเปนคนที่มีลักษณะชอบเอาใจคนอื่น ยกยองคนอื่นนานาประการแมที่ไมใชเปน
ของเขาก็ตาม หรือกลุมคนที่ตองการแสวงหาผลประโยชนใสตัวเอง พวกเขาจะ
ใช ห ลั ก ฐานเท็ จ จากหะดี ษ เมาฎ อฺ ห รื อ หะดี ษ ที่ ไ ม มี มู ล ความจริ ง มาจาก
ทานนบี  ตัวอยาง
เรื่ อ งราวของฆิ ย าบ เบ็ ญ อิ บ รอฮี ม อั น นะเคาะอี ย อั ล กู ฟ ย กั บ อะมี ร
อั ล มุ มิ นี น อั ล มะฮฺ ดี ย ตอนที่ เ ขาเข า พบท า นอั ล มะฮฺ ดี ย ซึ่ ง ในขณะนั้ น อะมี ร
อัลมุมินีนกําลังเลนกับนกพิราบ เขากลาววา “ไมมีอื่นใดนอกจากนุศล หรือคอฟ
หรือหาฟร หรือญะนาหฺ” เขาเพิ่มคําวา “ญะนาหฺ” เพื่อเอาใจอะมีรอัลมุมินีน
เนื่องจากเปนที่รูกันวา อะมีรอัลมุมินีน ชอบนกพิราบ แตคําพูดเชนนี้ไมสามารถ
ดึงดูดความสนใจอะมีรอัลมุมินีนได เพราะอะมีร อัลมุมินีนรูทันวาคําพูดของนั้น
หมายความถึงอะไร ดังนั้น ทานก็ไดสั่งใหฆานกพิราบ นั้นเสีย และทานกลาววา
“ฉันไดขจัดมันแลว”(3)
สาเหตุตาง ๆ ที่กลาวมานั้นไมใชเปนไปตามเชนนั้นเสมอไป แตมันเปน
เพียงเฉพาะสถานที่หรือชวงเวลาเทานั้น บางครั้งอาจเปลี่ยนแปลงเปนปจจัยอื่น
ๆ ซึ่ ง ขึ้ น อยู กับ เหตุ ก ารณ ห รื อ สภาพแวดล อ มของแต ล ะสั ง คม สถานที่ การ
สื่อสาร และวิวัฒนาการทางเทคโนโลยีของแตละสมัย เปนตน

(2)
หนังสือเดิม : 1/283
(3)
อุมัร หะสัน ฟุลลาตะฮฺ : 1/270
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 202

10. ความผิดพลาดของนักอรรถาธิบายหะดีษ
มี อี ก เรื่ อ งที่ สํ า คั ญ มากสมควรแก ก ารพู ด ถึ ง เมื่ อ กล า วถึ ง หะดี ษ เมาฎ อฺ
นั่นคือ ความ ผิดพลาดของนักอรรถาธิบายหะดีษบางทานที่ไดหยิบยกหะดีษ
เมาฎอฺมาอางเปนหลักฐานในการอรรถาธิบายอัลกุรอานบางอายะฮฺโดยไมได
ระบุระดับของหะดีษอยางชัดเจนวาเปนหะดีษเมาฎอฺ เชน อิมามอัลษะอฺละบีย
อิมามอัลวาหิดีย อิมามอัชเชากานีย อิมาม อัลบัยฎอวีย และอิมามอัลซะมัคชะรีย
อยางไรก็ตาม สําหรั บผูที่คนควาความรูจากหนังสือตั ฟซีรขางตนควร
ตระหนักในเรื่องนี้ดวยโดยการสืบคนหะดีษกอนนํามาใชเปนหลักฐาน อยางนอย
ๆ ให ค น หาระดั บของหะดี ษ จากหนั งสื อตั ครีจ หะดี ษ เพื่อ สามารถยื น ยั น ความ
ถูกตองของหะดีษ
11. ตําราที่เกี่ยวของ
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﳌﻮﺿﻮﻋﺎﺕ ﻟﻺﻣﺎﻡ ﺍﺑﻦ ﺍﳉﻮﺯﻱ‬.1
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻼﱄﺀ ﺍﳌﺼﻨﻮﻋﺔ ﰲ ﺃﺣﺎﺩﻳﺚ ﺍﳌﻮﺿﻮﻋﺔ ﻟﻺﻣﺎﻡ ﺍﻟﺴﻴﻮﻃﻲ‬.2
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺗﱰﻳﻪ ﺍﻟﺸﺮﻳﻌﺔ ﺍﳌﺮﻓﻮﻋﺔ ﻋﻦ ﺍﻷﺣﺎﺩﻳﺚ ﺍﻟﺸﻨﻴﻌﺔ ﺍﳌﻮﺿﻮﻋﺔ ﻻﺑﻦ‬.3
‫ﻋﺮﺍﻕ ﺍﻟﻜﺘﺎﱐ‬
‫ ﻛﺘﺎﺏ ﺍﻟﻔﻮﺍﺋﺪ ﺍﺠﻤﻟﻤﻮﻋﺔ ﻟﻺﻣﺎﻡ ﺍﻟﺸﻮﻛﺎﱐ‬.4
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 203
หัวขอยอย อัลอิสรออีลิยาต
1. นิยาม
คําวา “อิสรออีลิยาต” เปนคําพหูพจนของคําวา “อิสรออีลิยะฮฺ” คือ
เรื่องราวของ บะนีอิสรออีล (เผาอิสรออีล) หมายถึง เผานบียะอฺกูบ และบะนี
อิสรออีลในที่นี้ก็คือครอบครัวของนบียะอฺกูบและรุนตอ ๆ มาจากวงศตระกูลของ
ทาน(1)
อิสรออีล คือ ยะฮูด(2) กลุมนี้เปนกลุมที่มีความรูและวัฒนธรรมของตัวเอง
มาจากคัมภีรเตารอฮฺและหนังสืออธิบายของเตารอฮฺ อัลอัสฟารและเนื้อหาของ
มั น คั ม ภี ร ตั ล มู ด และหนั ง สื อ อธิ บ าย เรื่ อ งเล า ต า ง ๆ และเรื่ อ งงมงาย
ขอกลาวหาที่เปนเท็จ หรือเรื่องราวตางๆ ที่เลาสูกันฟงจากกลุมอื่นๆ
เรื่องตาง ๆ ขางตนเปนแหลงที่มาที่แทจริงของอิสรออีลิยาต ซึ่งมักจะ
บรรจุไวในหนังสือตัฟซีร หนังสือประวัติศาสตร และหนังสือที่มีการอธิบาย
เกี่ยวกับเรื่องราวตาง ๆ ของศาสนา สิ่งเหลานี้มีทั้งที่เปนจริงและบางสวนเปน
เท็จ แตสวนมากจะเปนเท็จที่ไมสามารถอางไดมาจากคัมภีรเตารอฮฺ(1)
ที่เรียกวา อิสรออีลิยาต เพราะสวนใหญแลวมาจากวัฒนธรรมของบะนี
อิสรออีล หรือมาจากหนังสือตาง ๆ ที่พวกเขาแตงขึ้นมาเอง หรือมาจากการเลา
สูกันฟงในหมูพวกเขาโดยไมมีการอางอิงที่สามารถเชื่อถือได(2)
2. ประเภทของอิสรออีลิยะฮฺ
อิมามอิบนุกะษีรกลาวในหนังสือตัฟซีรวา อิสรออีลิยาตมี 3 ประเภทคือ
1. อิสรออีลิยาตที่สามารถพิสูจนไดวาถูกตองหรือเศาะหีหฺ

(1)
อะบูชุฮฺบะฮฺ หนา 12
(2)
เมื่อกลาวถึงยะฮูดจะหมายถึงพวกยะฮูดีย (ยิว)
(1)
อะบูชุฮฺบะฮฺ หนา 13
(2)
อะบูซะฮฺเราะฮฺ : 1/165
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 204
2. อิสรออีลิยาตที่พิสูจนแลวเปนของปลอมหรือเฎาะอีฟ
3. อิสรออีลิยาตที่ไมสามารถพิสูจนไดระหวางอันไหนเปนเศาะหีหฺและอัน
ไหนเปนเฎาะอีฟ ไมสามารถเชื่อไดและไมสามารถที่จะปฏิเสธไดเหมือนกัน เชน
อิสรออีลิยะฮฺที่กลาวถึงชาวอัลกะฮฺฟย สีสุนัขของพวกเขา จํานวนของชาวอัลกะฮฺ
ฟย (ที่อยูในถ้ํา) ไมเทาของนบีมูซาทํามาจากอะไร ชื่อนกที่อัลลอฮฺ  ไดใหมี
ชีวิตใหมสําหรับนบีอิบรอฮีม และอื่น ๆ(3)
3. ตัวอยางอิสรออีลิยะฮฺ
เรื่องอิสรออีลิยะฮฺมีมากมาย แตขอยกตัวอยางเพียงบางสวนเทานั้น เชน

‫) ) ﻣﺎ ﻭﺳﻌﲏ ﲰﺎﺋﻲ ﻭﻻ ﺃﺭﺿﻲ ﻭﻟﻜﻦ ﻭﺳﻌﲏ ﻗﻠﺐ ﻋﺒﺪﻱ‬


.(( ‫ﺍﳌﺆﻣﻦ‬

แปลวา : “ฉันไมมีความสามารถเหนือชั้นฟาและพื้นแผนดิน แตหัวใจของ


บาวที่เปนมุมินคือ เต็มเปยมดวยความสามารถ”(1)
อิบนุตัยมิยะฮฺ กลาววา นี้คือ อิสรออีลิยะฮฺที่ไมสามารถอางอิงถึงทานนบี
มุฮัมมัด  ไดโดยเด็ดขาด(2)
. "‫ "ﻣﻦ ﺃﻥ ﻋﻤﺮ ﺍﻟﺪﻧﻴﺎ ﺳﺒﻊ ﺃﻻﻑ‬: ‫ﻣﺎ ﺭﻭﻯ ﻋﻦ ﺍﺑﻦ ﻋﺒﺎﺱ‬

แปลวา : มีการรายงานจากอิบนุอับบาส กลาววา “สวนหนึ่งที่มีการพูดถึง


อายุของโลกคือ 7,000 ป”(3)
(3)
อิบนุกะษีร : 1/4
(1)
อะบูชุฮฺบะฮฺ หนา 15
(2)
หนังสือเดิม
(3)
หนังสือเดิม
บทที่ 7 การจําแนกหะดีษโดยพิจารณาจํานวนของผูรายงาน 205
และอื่น ๆ อีกมากมาย
4. ฐานะของอิสรออีลิยะฮฺ
อิสรออี ลิ ย าตมี 3 ระดั บดว ยกัน คือ อิสรออี ลิยะฮฺที่เป น เศาะหีหฺ
อิสรออีลิยะฮฺ ที่เปนเฎาะอีฟ และอิสรออีลิยะฮฺที่เปนเมาฎอฺ
5. การรายงานอิสรออีลิยะฮฺ
ไมอนุญาตใหรายงานอิสรออีลิยะฮฺที่เปนเฎาะอีฟและที่เปนเท็จ (เมาฎอฺ)
เกี่ยวกับเรื่องตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับศาสนาอยางเด็ดขาด เวนแตจะระบุ
สถานภาพอยางชัดเจน ผูใดตั้งใจรายงาน อิสรออีลิยะฮฺโดยไมระบุระดับดวย
จะถือวาเปนการกระทําที่เปนบาปใหญและนับเปนผูมุสาในจํานวนบรรดานัก
มุสาทั้งหลาย

6. การนํามาใชเปนหลักฐาน
อิสรออีลิยะฮฺที่เปนเศาะหีหฺอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐานได สวนอิสรอ
อีลิยะฮฺที่เปนเฎาะอีฟหรือเมาฎอฺไมอนุญาตใหนํามาใชเปนหลักฐานและหาม
ปฏิบัติตามโดยเด็ดขาด
บทที่ 8 บทสงทาย 206

บทที่ 8
บทสงทาย

หะดี ษ นบี เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของวะฮฺ ยู อั ล ลอฮฺ  ซึ่ ง เป น แหล ง ที่ ม าของ
บัญญัติอิสลามรองจากอัลกุรอาน มุสลิมทุกคนวาญิบตองนอมรับและนํามาใช
เปนหลักฐานตลอดจนนํามาปฏิบัติในทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวกับศาสนาอิสลามและ
เรื่องทางโลกเมื่อสามารถยืนยัน หะดีษนั้นๆวามาจากทานนบีมุฮัมมัด  จริง
โดยใชหลักการและกฎเกณฑของวิชามุศเฎาะละหฺ อัลหะดีษและวิชาอื่น ๆ ที่
เกี่ยวของ
การนําหะดีษมาใชเปนหลักฐาน และปฏิบัติตามนั้นเปนการแสดงถึงการ
จงรักภักดีตอคําสั่งของอัลลอฮฺ  ที่ใหมุสลิมทุกคนนอมรับในหะดีษของทาน
นบี  ดังที่ปรากฏใน อัลกุรอาน

 ‫ ﻭﻣﺎ ﺁﺗﺎﻛﻢ ﺍﻟﺮﺳﻮﻝ ﻓﺨﺬﻭﻩ ﻭﻣﺎ ﻬﻧﺎﻛﻢ ﻋﻨﻪ ﻓﺎﻧﺘﻬﻮﺍ‬

ความวา “และสิ่งที่ทานรสูลของพวกเจาไดนํามาจงรับมันไว และสิ่งที่


ทานรสูลของพวกเจาหามจงละทิ้งมันเสีย”(1)

(1)
สูเราะฮฺอัลหัชรฺ อายะฮฺที่7
บทที่ 8 บทสงทาย 207
อิมามอัชชาฟอียอธิบายวา “ทุกสิ่งทุกอยางที่ทานนบี  ไดปฏิบัติหรือ
แสดงออก เปนแบบฉบับนั้น อัลลอฮฺ  บังคับใหปฏิบัติตามซึ่งเปนการแสดง
ถึงการเคารพภักดี ตอพระองคอัลลอฮฺ  และรสูลุลลอฮฺ  สวนการ
หลีกเลี่ยงไมยอมปฏิบัติตามหะดีษถือเปนมุอฺศิยะฮฺและไมแสดงตนเปนคนนอม
รับคําสั่งของอัลลอฮฺ  เพราะการปฏิบัติตาม หะดีษเปนทางเลือกที่ดีที่สุด”
ตามความเป น จริ ง แล ว การปฏิ บั ติ ต ามหะดี ษ หรื อ อั ส สุ น นะฮฺ นั้ น เป น
สิ่งจําเปนอยางมากสําหรับมุสลิมเพราะเปนการเลือกวิถีทางดําเนินชีวิตที่ถูกตอง
และเปนการปฏิบัติตามผูที่ไดรับคัดเลือกจากอัลลอฮฺ  มาเปนแบบอยางอันดี
งามในทุก ๆ ดานสําหรับมนุษยชาติ โดยเฉพาะมุสลิมที่ศรัทธายิ่งในอัลลอฮฺ 
และรสูลุลลอฮฺ  และหามปฏิบัติขัดแยงกับคําพูดและการปฏิบัติของทานนบี
 อัลลอฮฺ  ทรงตรัสไววา

‫ ﻓﻠﻴﺤﺬﺭ ﺍﻟﺬﻳﻦ ﳜﺎﻟﻔـﻮﻥ ﻋﻦ ﺃﻣـﺮﻩ ﺃﻥ ﺗﺼﻴﺒﻬﻢ ﻓﺘﻨـﺔ‬


 ‫ﺃﻭ ﻳﺼﻴﺒﻬﻢ ﻋﺬﺍﺏ ﺃﻟﻴﻢ‬

ความวา : “ดังนั้นก็จงระวังพวกที่ปฏิบัติขัดแยงกับการปฏิบัติของทาน
(นบี) พวกเขาจะประสบกับฟตนะฮฺหรือพวกเขาจะพบกับความ
หายนะที่แสนสาหัส”(1)
อัลหะซัน อัลบัศรีย กลาววา “การศรัทธานั้นไมใชเปนความฝนและไมใช
เปนการแสดงออกที่ลอย ๆ เทานั้น แตการศรัทธานั้นเปนการปฏิบัติอยางจริงจัง
และนอมรับดวยการกระทําตามขอบัญญัติตาง ๆ ที่ไดกําหนดไวในอัลกุรอาน” ก็
เชนเดียวกันกับการศรัทธาตอรสูลุลลอฮฺ  ดวยการปฏิบัติตามหะดีษหรือ

(1)
สูเราะฮฺอันนูร อายะฮฺที่ 63
บทที่ 8 บทสงทาย 208
อัสสุนนะฮฺ ซึ่งแสดงถึงการรักรสูลุลลอฮฺ และยกยองทาน อัลลอฮฺ ทรง
ตรัสไววา
‫ ﻗﻞ ﺇﻥ ﻛﻨﺘﻢ ﲢﺒﻮﻥ ﺍﷲ ﻓﺎﺗﺒﻌﻮﱐ ﳛﺒﺒﻜﻢ ﺍﷲ ﻭﻳﻐﻔﺮ‬
 ‫ﻟﻜﻢ ﺫﻧﻮﺑﻜﻢ‬

ความวา : “จงกลาวเถิด (มุฮัมมัด ) วา หากพวกเจารักในอัลลอฮฺ ก็


จงปฏิบัติตามฉัน (ทานนบี ) แนนอนอัลลอฮฺจะทรงรัก
พวกเจา และพระองคพรอมใหอภัยพวกเจาเสมอ”(2)
อิมามอิบนุ อัลกอยยิม กลาววา “เราไดยินหลายตอหลายคนเมื่อคนที่ตน
ใหความเคารพปฏิบัติสอดคลองกับหะดีษของทานนบี  มักจะอางวาเปนการ
ปฏิบัติที่ถูกตองแลว แตเมื่อการปฏิบัติของคนนั้นขัดแยงกับหะดีษซึ่งมาจากการ
รายงานของคนอื่น มักจะกลาววา การปฏิบัติตามหะดีษนั้นสําหรับผูรายงาน
ไมใชผูที่ฟงหรือผูที่เห็น” การอางในลักษณะเชนนั้นเปนการอางอยางไรเหตุผล
และไมมีความรับผิดชอบตอหะดีษของทานนบี เพราะหะดีษไมไดกําหนดมา
เฉพาะตัวบุคคลที่มีลักษณะหนึ่งลักษณะใดเทานั้น แตเปนบทบัญญัติสําหรับทุก
คนที่ศรัทธาตอทานนบี  ไมวาจะสอดคลองกับการปฏิบัติของเขาหรือไมก็ตาม
ในทางมารยาทแลว สิ่งเดียวเทานั้นที่อนุญาตใหกลาวเชนนั้นได คือ ในสิ่ง
ที่ มี ส ว นเกี่ ย วข อ งกั บ หะดี ษ ที่ ไ ม ถู ก ต อ งหรื อ หะดี ษ ที่ ไ ม ส ามารถนํ า มาใช เ ป น
หลักฐานไดเทานั้นเชน หะดีษเฎาะอีฟญิดดัน หะดีษเมาฎอฺ หรือเรื่องราวตาง ๆ
ที่มาจากอิสรออีลิยะฮฺ เนื่องจากการนําหะดีษเหลานั้นมารายงานหรือใชเปน
หลักฐานเปนการเลือกสิ่งที่ผิด และจะนํามา ซึ่งความเสียหายตอหลายเรื่องที่
เกี่ยวของกับศาสนาโดยเฉพาะเรื่องอะกีดะฮฺ อิบาดะฮฺ หุกมหะกัม หะลาลและ

(2)
สูเราะฮฺอัลอะหฺซาบ อายะฮฺที่ 21
บทที่ 8 บทสงทาย 209
หะรอม มุนากะฮาต เปนตน และอีกประการหนึ่งที่สําคัญ คือ การนําหะดีษ
เหล า นั้ น เป น หลั ก ฐานเป น การปฏิ บั ติ ใ นสิ่ งที่ เป น บิด อะฮฺ (อุ ต ริ ก รรมในเรื่ อ ง
ศาสนา) ซึ่งสิ่งที่เปนบิดอะฮฺทั้งหลายควรแกการหลีกเลี่ยงโดยเด็ดขาด แมแตนํา
หะดีษดังกลาวมารายงานเปนที่ตองหามเหมือนกันเพราะแสดงถึงการชี้นําใหคน
อื่นหลงผิดจากหลักคําสอนที่ถูกตอง อะบูฮุรอยเราะฮฺ  เลาวา รสูลุลลอฮฺ 
กลาววา

‫)) ﻣﻦ ﺩﻋﺎ ﺇﱃ ﻫﺪﻯ ﻓﻠﻪ ﺃﺟﺮ ﻣﺜﻞ ﺍﻷﺟﻮﺭ ﻣﻦ ﺗﺒﻌﻪ ﻻ ﻳﻨﻘﺺ‬


‫ ﻭﻣﻦ ﺩﻋﺎ ﺇﱃ ﺿﻼﻟﺔ ﻓﻠﻪ ﺃﺟﺮ ﻣﺜﻞ ﺍﻷﺟﻮﺭ ﻣﻦ‬،‫ﺫﻟﻚ ﺷﻴﺌﺎﹰ‬
(( ‫ﺗﺒﻌﻪ ﻻ ﻳﻨﻘﺺ ﺫﻟﻚ ﺷﻴﺌﹰﺎ‬

ความวา : “ผูใดเชิญชวน (แนะนําคนอื่น) ที่เปนทางนํา เขาจะไดรับผลบุญ


เหมือนกับผลบุญของผูปฏิบัติจริงโดยผลบุญนั้นไมลดแมแตนิด
เดียว และผูใดเชิญชวน (ชี้แนะคนอื่น) ในทางที่หลงผิด เขาจะได
บาปเหมือนกับบาปของผูปฏิบัติจริงโดยบาปนั้นไมลดแมแตนิด
เดียว”(1)
ดังนั้น มุสลิมทุกคนควรปฏิบัติตามหะดีษที่ถูกตองสามารถยืนยันวาเปน
หะดีษ นบีจริงพรอมกับแนะนําใหคนอื่นปฏิบัติดวย ในทางตรงกันขาม มุสลิมไม
สมควรเปนอยางยิ่งที่จะนําหะดีษผิดๆ มาปฏิบัติแลวอางวาเปนหะดีษของทาน
นบี  ยิ่งกวานี้ ยังแนะนําใหคนอื่นปฏิบัติอีกดวย ลักษณะเชนนี้เปนการโกหก
ตอรสูลุลลอฮฺ 

(1)
บันทึกโดยอัตติรมิซีย : 4/149 ทานกลาววา: หะดีษนี้เปนหะดีษหะสันเศาะหีหฺ

You might also like