You are on page 1of 5

การดูหมิน่ เหยียดหยามศาสนา (Blasphemy) หรือเสรีภาพในการแสดงออก

(Freedom of Expression)

สองสามสัปดาหกอนพบบทความ ‘The wrong way to combat ‘Islamophobia’


ในหนังสือพิมพฝรัง่ ฉบับหนึง่ เขียนโดย Paula Schriefer ซึง่ เปนผูอ ํานวยการดานทีป่ รึกษา (advocacy
director) ของ the Freedom House 1 โดยในบทความนี้ Paula กลาวถึงกรณีทีม่ ีการรณรงคขอเสียง
สนับสนุนใหประเทศสมาชิกสหประชาชาติออกเสีย งเพื่อลงมติในประเด็นเกี่ยวกับการขจัด การดูหมิ่น
เหยียดหยามศาสนา (On Combating Defamation of Religions) ซึง่ เสนอโดย the Organization of
the Islamic Conference (OIC)2 ตอที่ประชุมสหประชาชาติ โดยเสนอใหประเทศสมาชิกออกกฎหมาย
หามการกระทําที่มีลักษณะเปนการดูหมิน่ เหยียดหยามศาสนา (Blasphemy) เพื่อเปนการขจัดอาการที่
ผูน ํ า มุ สลิ ม เรีย กว า ‘Islamophobia’ (อากาศหวาดกลัว อิส ลาม) ทีม่ ีตอผูนับ ถือศาสนาอิส ลามทัว้ โลก
หลังจากเกิดเหตุการณ ๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ ซึ่งในทัศนะของ Paula เธอไมเห็นดวยกับการใหมีกฎหมาย
กําหนดความผิดดูหมิน่ เหยียดหยามศาสนา (Blasphemy) แตจะดวยเพราะเหตุผลใดนัน้ ขาวสารพัฒนา
กฎหมายฉบับนี้ จึงขออนุญาตเก็บความจากบทความดังกลาวมาเลาสูกันฟง

Blasphemy คือ อะไร

Black’s Law Dictionary ไดอธิบาย Blasphemy วาหมายถึง การพูดหรือการเชียนที่


เปนไปในลักษณะมุงรายตอพระเจา นามของพระเจา ลักษณะหรือเอกลักษณของพระเจา หรือศาสนาของ
พระเจา
อยางไรก็ดี แม Black’s Law Dictionary จะไดใหความหมายไว แตโดยขอเท็จจริงและ
เปนปญหาที่ทุกประเทศพบรวมกันก็คือ เปนเรื่องยากทีจ่ ะกําหนด หรือเจาะจงใหชัดเจนวาการกระทําใน
ลักษณะใด หรือการไมกระทําในลักษณะใดบางเปนการดูหมิ่นเหยียดหยามศาสนา ซึ่งเปนเรื่องทีข่ ึ้นอยูก ับ
แนวความคิด ภูมิหลังและบริบทของสังคมโดยรวมของแตละประเทศ ในบางประเทศการกระทําที่เรียกวา
Blasphemy ก็ ไ ม ถื อ ว า เป น ความผิ ด แต ถื อ เป น เสรี ภ าพในการแสดงความคิ ด เห็ น เช น ในประเทศ
สหรัฐอเมริกา การบัญญัติกฎหมายหามการแสดงออกเชนวานัน้ ก็หมิน่ เหมทีจ่ ะขัดกับรัฐธรรมนูญ (First

1
Freedom House เปนองคกรที่กอตั้งขึ้นเมื่อป ค.ศ. ๑๙๔๑ ในนิวยอรค ซิตี้ ที่มีวัตถุประสงคในการเผยแพรแนวคิดเรื่องเสรีภาพ สิทธิ
มนุษยชน และเสรีภาพของประชาชน
2
the Organization of the Islamic Conference (OIC) เปนองคการระหวางประเทศซึ่งประกอบดวยสมาชิกจากประเทศมุสลิมจํานวน
๕๗ ประเทศ มีวัตถุประสงคหลักเพื่อคุมครองผลประโยชนของมุสลิม และสงเสริมใหเกิดความสงบสุขแกคนทั้งโลก

Amendment)3 หรือบางประเทศทีเ่ คยมีกฎหมายบัญญัติใหการดูหมิ่นเหยียดหยามศาสนาเปนความผิด


แตตอมาก็ไดมีการยกเลิกบทบัญญัติของกฎหมายลักาณะดังกลาว เชน ประเทศอังกฤษและเวลสไดยกเลิก
ความผิดฐานเหยียดหยามไปในป ค.ศ. 2008 4 ตรงกันขามกับบางประเทศโดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศที่มี
3

ศาสนาอิสลามเปนศาสนาประจําชาติท่ีกําหนดวาการเหยียดหยามศาสนาเปนความผิด เชน ปากีสถาน 5 4

มาเลเซีย อินโดนีเซีย เปนตน


อยางไรก็ดี ดวยเนื้อหาของกฎหมายที่มีความไมชัดเจนวาการกระทําใดหรือไมกระทําใด
เปนการดูหมิ่นเหยียดหยามศาสนานี้เอง เมื่อมีการยกประเด็นเรื่องการดูหมิ่นเหยียดหยามศาสนาโดยเสนอ
ใหกําหนดใหความผิดลักษณะนีเ้ ปนความผิดสากลขึ้นสูที่ประชุมสหประชาชาติยอมจะตองมีเสียงสะทอน
ออกมาในหลายแงมมุ ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป

เสียงสะทอนกรณีการเสนอเพื่อลงมติ On Combating Defamation of Religions ตอที่ประชุม


สหประชาชาติ

หลั ง จากมี ก ารเสนอเรื ่อ งต อ ที ่ป ระชุ ม สหประชาชาติ เ พื ่อ ลงมติ ป ระจํ า ป ใ นประเด็ น


เกีย่ วกับการขจัดการดูหมิน่ เหยียดหยามศาสนา (On Combating Defamation of Religions) ซึ่งเสนอ
โดย the Organization of the Islamic Conference (OIC)6 Paula Schriefer ผูอ ํานวยการดาน
ที่ปรึกษา (advocacy director) ไดเขียนบทความแสดงความไมเห็นดวยโดยอางถึงรายงานการศึกษาของ
the Freedom House ที่ทําการศึกษากฎหมายการดูหมิ่นเหยียดหยามศาสนา (Blasphemy law)
ใน ๗ ประเทศ ผลการศึกษาพบวากฎหมายลักษณะดังกลาวมีผลกระทบในทางลบดานสิทธิมนุษยชนตอ
สังคมมากกวาจะเปนผลดี เนื่องจากความไมชัดเจนของบทบัญญัติของกฎหมายทําใหประชาชนผูตอง
ปฏิบัติตามกฎหมายไมทราบวาการกระทําของตนผิดกฎหมายหรือไม และกรณีอาจเลวรายมากยิ่งขึ้นเมื่อ
กฎหมายลักษณะนี้ถูกนําไปใชในประเทศซี่งมีแนวคิดทางประชาธิปไตยที่ไมเขมแข็งพอ กฎหมายดังกลาว

3
การแกไขรัฐธรรมนูญครั้งแรกของประเทศสหรัฐอเมริกา (First Amendment) ไดมีการบัญญัติรองรับสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกของ
ประชาชนไว คือ 1. สิทธิในการแสดงความคิดเห็น (freedom of speech) 2. สิทธิในการพิมพ (freedom of the press) และ
3. สิทธิในการรวมกลุมอยางสงบ (peaceably assemble)
4
Criminal justice and Immigration Act 2008 Section79
5
Pakistan penal Code “Section 295- A Deliberate and malicious Acts intended to outrage religious feelings of any
class by insulting its religion or religious beliefs:
Whoever, with deliberate and malicious intention of outraging the ‘religious feelings of any class of citizens
of Pakistan, by words, either spoken or written, or by visible representations insults the religion or the religious beliefs
of that class, shall be punished with imprisonment of either description for a term which may extend to ten years, or
with fine, or with both.
6
the Organization of the Islamic Conference (OIC) เปนองคการระหวางประเทศซึ่งประกอบดวยสมาชิกจากประเทศมุสลิมจํานวน
๕๗ ประเทศ มีวัตถุประสงคหลักเพื่อคุมครองผลประโยชนของมุสลิม และสงเสริมใหเกิดความสงบสุขแกคนทั้งโลก

จะถูกใชเปนเครือ่ งมือทางการเมืองในการจัดการกับผูทีม่ ีความเห็นตรงกันขาม หรือชนกลุมนอยได ซึง่ ไม


เปนไปตามความมุงหวังทีจ่ ะใหบทบัญญัติของกฎหมายดูหมิน่ เหยียดหยามศาสนาเปนเครือ่ งมือใหเกิด
ความปรองดองขึน้ ในสังคม กรณีตัวอยาง เชน ในประเทศปากีสถาน ซึง่ มีจํานวนประชากรชาวคริสเตียน
และกลุมอะห มั ดดี ย (Ahmadiyya) รวมกัน เป น ๒ เปอร เซ็ น ตข องประชากรทั้ งหมดของประเทศ
อยางไรก็ดี ประชาชนกลุม นี้กลับตกเปนผูถูกดําเนินคดีเกีย่ วกับการดูหมิน่ เหยียดหยามศาสนาถึงครึ่งหนึ่ง
ของคดีดูหมิ่นศาสนาทั้งหมด สวนผูถูกดําเนินดคีที่เหลืออีกครึ่งก็เปนผูนับถือศาสนาอิสลามเอง เพียงเพราะ
แคไมปฏิบัติศาสนกิจเทานั้นก็ถูกดําเนินคดี
การกลาวหาดําเนินคดีโดยงายเชนนี้เอง ที่นําไปสูความไมพอใจของประชาชนจนเกิด
การเดินขบวนและกอใหเกิดความรุนแรงจนถึงมีการกวาดลางประชาชนในทีส่ ุด ดังนั้น การทีผ่ ูนํามุสลิม
เสนอใหประเทศสมาชิกออกกฎหมายกําหนดความผิดเกี่ยวกับการดูหมิ่นเหยียดหยามศาสนาเพือ่ ขจัด
อาการ Islamophobia (อาการหวาดกลั ว อิ ส ลาม) น า จะเป น เรื อ่ งที ่ผิ ด ที ่ผิ ด ทางอย า งเห็ น ได ชั ด
นอกจากนั้น การมีบทบัญญัติกฎหมายในลักษณะนี้ไมนาจะมีขึ้นเพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพในการนับถือ
ศาสนาของประชาชน หากแตเปนเครือ่ งปองกันใหการใชอํานาจของรัฐบาลในการละเมิดสิทธิเสรีภาพใน
การแสดงความคิดเห็นขั้นพื้นฐานของประชาชนเปนเรื่องที่ถูกกฎหมายมากขึ้นเสียมากกวา
อยางไรก็ตาม ที่ประชุมสหประชาชาติไดลงมติเห็นชอบตามขอเสนอของ OIC ในที่สุด

Blasphemy ในประเทศไทย

สํ า หรั บ ประเทศไทยบทบั ญ ญั ติเ กีย่ วกั บ ความผิด ฐานเหยี ย ดหยามศาสนาบั ญ ญั ติใ น


ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๐๖ ดังนี้
“มาตรา ๒๐๖ ผูใ ดกระทําดวยประการใด ๆ แกวัตถุหรือสถานอันเปนที่เคารพในทาง
ศาสนาของหมู ช นใด อั น เป น การเหยี ย ดหยามศาสนานั้น ตอ งระวางโทษจํ าคุ ก ตั้ง แตห นึ่งป ถึ งเจ็ ด ป
หรือปรับตั้งแตสองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นสี่พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
ความผิดฐานนี้คือการกระทําดวยประการใด ๆ แกวัตถุหรือสถานอันเปนที่เคารพในทาง
ศาสนาของหมูชนใด อันเปนการเหยียดหยามศาสนานั้น โดยเจตนา ซึง่ การกระทําของความผิดฐานนี้
กฎหมายไมจํากัดการกระทํา แตตองเปนการกระทําอันเปนการเหยียดหยามศาสนา ซึ่งการจะถือเอาการ
กระทําใดเปนการกระทําอันเปนการเหยียดหยามศาสนาหรือไมนัน้ จะตองพิจารณาถึงความยึดถือในทาง
ศีลธรรมของมนุษยประกอบดวย ฉะนั้น การกระทําอันเปนการเหยียดหยามศาสนาจะตองเปนการกระทํา

ที่ถึงขนาดกอกวนความสงบสาธารณะดวย ซึ่งศาลฎีกาเคยมีคําพิพากษาในเรื่องนี้ตามคําพิพากษาศาลฎีกา
ที่ ๗๓๖/๒๕๐๕ 7 6

เห็ น ได ชั ด ว า บทบั ญ ญั ติ ต ามประมวลกฎหมายอาญาในส ว นที ่เกี ่ย วกั บ ความผิ ด ฐาน


เหยียดหยามศาสนาของเราก็ยังไมมีความชัดเจนวากระทําในลักษณะใดบางที่จะเปนการเหยียดหยาม
ศาสนาอยูนั่นเอง อยางไรก็ดี นับเปนโชคดีท่ีสังคมไทยมักไมปรากฏการแสดงออกที่มีลักษณะเปนการ
ดูหมิ่นเหยียดหยามศาสนาอื่นจนเปนเหตุใหสังคมโดยรวมเกิดความแตกแยก เพราะแคเฉพาะการแสดง
ความคิดเห็นจาบจวงกันในทางการเมืองเทาที่เปนอยูปจจุบันก็แทบจะแยอยูแลว

แถมทาย

เปนที่ยอมรับโดยทั่วไปวาการแสดงความคิดเห็นในเรือ่ งตาง ๆ เปนสิทธิขัน้ พืน้ ฐานของ


ประชาชนและประชาชนยอมแสดงความคิดเห็นไดอยางเสรี (Free speech) แตการแสดงความคิดเห็นนี้
ยอมหลีกเลี่ยงไมไดที่จะกอใหเกิดการกระทบกระทั่งกันขึ้นระหวางผูพ ูดและผูทีถ่ ูกกลาวถึง และในหลาย
กรณีการแสดงความคิดเห็นไดสราง “ความเกลียดชัง” หรือ “ความแตกแยก” ขึ้นในสังคม ซึ่งการแสดง
ความคิดเห็นในลักษณะเชนนี้เรียกกันทั่วไปวา “Hate Speech” ในทางกฎหมายจึงมีประเด็นวา อยางไร
จึงจะเรียกวาเปนการแสดงความคิดเห็นอยางเสรี (Free speech) และอยางไรจึงเปนการแสดงความ
คิดเห็นในลักษณะที่สรางความเกลียดชังหรือความแตกแยกในสังคม (Hate speech) จากการศึกษา
กฎหมายของประเทศตาง ๆ พบวา แตละประเทศมีทัศนะเกีย่ วกับขอบเขตความเหมาะสมของเสรีภาพใน
การแสดงความคิดเห็นแตกตางกันไป
ในประเทศแคนาดา และประเทศฝรั่งเศส ถือวาการแสดงความคิดเห็นในลักษณะดูถูก
เสียดสี หรือเหยียดหยามทางเพศ เชือ้ ชาติ สีผิว ความเชื่อในทางศาสนา เหลานี้เปน “Hate speech”
และผิดกฎหมาย ในทางตรงขามประเทศสหรัฐอเมริกา ไดมีการรองรับสิทธิเสรีภาพในการแสดงความ
คิดเห็นของประชาชน ซึ่งรวมถึงการพูด ใหไดรับการคุมครองตามรัฐธรรมนูญอยางเต็มที่ดวย 8 7

ดังนัน้ การพิจารณาถึงขอบเขตความเหมาะสมของเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
นอกจากจะตองพิจารณาในมุมการใหสิทธิเสรีภาพแลว ยังจะตองคํานึงถึงการปองกันมิใหการใชสิทธิเชน
วานั้ นไปกระทบต อสิทธิของบุคคลอื่ นควบคูกันไปดวย เพื่ อปองกัน มิใหเกิดความแตกแยกขึ้น ในสังคม
โดยรวม

7
ฎีกาที่ ๗๓๖/๒๕๐๕ วินิจฉัยวา การที่จาํ เลยขณะเปนพระภิกษุไดรวมประเวณีกับหญิงในกุฏิของจําเลยบนเขาวัง จังหวัดเพชรบุรี มีกุฏขิ อง
พระภิกษุใกลเคียงหลายหลัง และมีพระพุทธรูปพระฉายอยูบนเขาวัง เปนสถานที่ที่ประชาชนเคารพนับถือนั้น เห็นไดวาเปนการไมสมควร
อยางยิ่ง แตจะถือสวาเปนการเหยียดหยามศาสนาคามความในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๐๖ ยังไมถนัด
8
อางแลวเชิงอรรถที่ ๓

You might also like