You are on page 1of 6

หนวยทหารมารักษาพระองคฯ

เมื่อกอนนี้ “หนวยทหารมารักษาพระองค” มีอยูไมกี่หนวย ถาจะนับเปนหนวยระดับกอง พัน ก็มีเพียงไมกี่กองพัน และที่นาสังเกตเปนพิเศษจะเห็นวามีเฉพาะ “หนวยทหารบก” เทานั้นที่มี โอกาสไดรับการสถาปนาใหเปน “หนวยทหารรักษาพระองค” ในปจจุบันทางราชการไดพิจารณาเพ็นวา “สถาบันพระมหากษัตริย” เปนองคประกอบ สวนหนึ่งของ “สถาบันสูงสุดของประเทศ” ซึ่งประชาชนในชาติถือเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ใน การดํารงชีวิตประจําวัน อันไดแก สถาบัน...”ชาติ,ศาสนา และพระมหากษัตริย” จนกลายมาเปนสี สัญลักษณที่ยิ่งใหญที่ใชประกอบเปน “ธงไตรรงค” ซึ่งเปนธงประจําชาติ หรือ “ธงชาติไทย” คือ สีแดง, ขาว และน้ําเงิน ประกอบกับธรรมนูญของการปกครองประเทศ คือ “รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๒๑” ที่ยังใชอยูปจจุบัน มีอยูหลายมาตรที่บัญญัติเกี่ยวกับความจงรักภักดีในองค พระมหากษัตริยเอาไว เปนตนวา... “องคพระมหากษัตริยดํารงอยูในฐานะเปนที่เคาระสักการะ ผูใดจะละเมิดมิได” “ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรอง พระมหากษัตริย ในทางใดมิได” “พระมหากษัตริย ทรงดํารงตําแหนงจอมทัพไทย” เหลานี้เปนตน เพราะความสําคัญใน “องคพระมหากษัตริย” ดังกลาวนี้กระมัง ทางราชการจึงไดเล็งเห็น วา “หนวยทหารรักษาพระองค” ที่มีอยูในปจจุบันนี้ มีนอยไป ไมเพียงพอที่จะถวายความจงรักภักดี และถวายอารักขาตอใตเบื้องยุคลบาท จึงไดนําความกราบบังคมทูล เพื่อขยายการสถาปณาใหมี หนวยทหารรักษาพระองคเพิ่มมากขึ้น และกวางขวางยิ่งขึ้น โดยมีประจําอยูแทบทุกเหลาทัพ เชน ประกาศการประกาศการสถาปนาหนวยทหารรักษาพระองคเพิ่มขึ้น เปนตนวา กรมนักเรียนนาย รอยรักษาพระองคฯ รร.จปร.ทบ.(ทบ.) , กองนักเรียนนายเรือรักษาพระองคฯ รร.นร.(ทร.), กอง นักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองคฯ รร.นอ.(ทอ.), พัน.ร.นย.กรมนาวิกโยธิน ของ ทร.และ พัน อย. กรมอากาศโยธิน ของ ทอ. เปนตน

๔๖

สําหรับเหลาทหารมานั้น แตเดิมมามีหนวยทหารรักษาพระองค ระดับกรม และกองพัน เพียงอยางละ ๑ หนวย คือ “กรมทหารมาที่ ๑ รักษาพระองคฯ” (ม.๑ รอ.) และ “กองพันทหารมาที่ ๑ รักษาพระองคฯ” (ม.พัน.๑ รอ.) แตในปจจุบันไดมี “หนวยทหารมารักษาพระองคฯ” เพิ่มมาก ขึ้น คือ หนวยระดับ กรม และกองพลเพิ่มขึ้นจากเดิมอีก ไดแก.- กองพลทหารมาที่ ๒ รักษาพระองค (พล.ม.๒ รอ.) - กรมทหารมาที่ ๔ รักษาพระองคฯ (ม.๔ รอ.) - กรมทหารมาที่ ๕ รักษาพระองคฯ (ม.๕ รอ.) และหนวยระดับกองพันเพิ่มขึ้นจากเดิมอีก ๑๐ กองพัน ไดแก.- กองพันทหารมาที่ ๓ รักษาพระองคฯ ( ม.พัน.๓ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๔ รักษาพระองคฯ ( ม.พัน.๔ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๕ รักษาพระองคฯ ( ม.พัน.๕ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๑๑ รักษาพระองคฯ ( ม.พัน.๑๑ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๑๗ รักษาพระองคฯ ( ม.พัน.๑๗ รอ.) และ - กองพันทหารมาที่ ๒๐ รักษาพระองคฯ ( ม.พัน.๒๐ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๒๓ รักษาพระองค ( ม.พัน.๒๓ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๒๔รักษาพระองค ( ม.พัน.๒๔ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๒๕ รักษาพระองค ( ม.พัน.๒๕ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๒๗รักษาพระองค ( ม.พัน.๒๗ รอ.) รวมทั้งสิ้น ขณะนี้จะมี “หนวยทหารมารักษาพระองค” อยู ๑ กองพล, ๒ กรม, และ ๑๐ กองพัน เคยมีหลายทานสงสัยและตั้งขอสังเกตวา หนวยทหารมารักษาพระองคมีคํายอ “รอ.” ตอทายนามหนวย (เมื่อเขียนยอ) และทหารสังกัดหนวยนั้นประดับเครื่องหมาย ปรมาภิไธย หรือ พระนามาภิไธยยอที่หนาอกเสื้อดวยนั้น มันอยางไรกันแน? จะถือวาเปน “หนวยทหารรักษา พระองคฯ ดวยหรือเปลา? ก็ขอแยกแยะใหทราบ ดังนี้.๑. หนวยทหารรักษาพระองค ในปจจุบัน โดยหลักกวางๆ มีอยู ๒ แบบ คือ ๒. หนวยทหารรักษาพระองค ตามหนวยบังคับบัญชา ( ตามแจงความกองทัพบก เรื่อง การเรียกชื่อหนวยทหารรักษาพระองค ลง ๓๐ ม.ค.๑๙ ) สําหรับ “เหลาทหารมา” ก็คงมีหนวยที่ทําหนาที่ “หนวยทหารรักษาพระองคฯ” ทั้ง ๒ แบบ ดังกลาวขางตน แตในแบบที่ ๑ ยังแบงออกไดดังนี้ ๑ หนวยทหารรักษาพระองคในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว” ( รัชกาลที่๖ )

๔๗

หนวยทหารมาเหลานี้สถาปนาขึ้นเพี่อเปนการรักษาตํานาน และเปนการเทอดพระเกียรติ อดีตกษัตราธิราชพระองคหนึ่งในจักรีวงค คือ “ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ” แหงกรุงรัตนโกสินทร ในฐานะที่พระองคเคยดํารงตําแหนง “ ผูบังคับการพิเศษกรมทหารมา ที่ ๑ รักษาพระองค ” ตั้งแต พ.ศ.๒๔๗๐ เปนตนมา ทหารที่สังกัด “ หนวยทหารมารักษาพระองค ”ที่กลาวนี้ จะสังเกตไดที่การประดับ เครื่องหมายพระปรมาภิไธยยอ “ รร ๖ ”ปกดวยไหมสีน้ําเงินดํา ที่อกเสื้อเบื้องขวา ของครื่องแบบ ฝกทุกชนิด หนวยทหารมาที่ทําหนาที่เปน “ หนวยทหารรักษาพระองค ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏ เกลาเจาอยูหัว ”มี ๔ หนวย ไดแก.กรมทหารมาที่ ๑ รักษาพระองค ( ม.๑ รอ ) กองพันทหารมาที่ ๑ รักษาพระองค ( ม.พัน.๑ รอ ) กองพันทหารมาที่ ๓ รักษาพระองค (ม, พัน.๓ รอ ) กองพันทหารมาที่ ๑๑ รักษาพระองค ( ม. พัน. ๑๑ รอ ) ๒. หนวยแรกที่ไดรับการสถาปนามาตั้งแต พ.ศ. ๒๔๗๐ สวน ๒ หนวยหลัง ไดรับการสถาปนาเมื่อ ๗ ก.ค. ๒๓ ) ๒ . หนวยทหารรักษาพระองค ในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

หนวยทหารมารักษาพระองคที่กลาวนี้ ไดรับการสถาปนาขึ้นมาเมื่อเร็วๆ นี้ เพื่อเปนการ เทอดพระเกียรติ “สมเด็จยา” ของปวงประชาไทย คือ “สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี”

๔๘

(พระราชชนนีศรีสังวาลย) ผูไดทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจอยางตรากตรําเพื่อปวงชนชาวไทย เสมอมามิไดขาด เปนที่แซซองสรรเสริญกันทั้งผืนแผนดินไทย จนพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลปจจุบันไดทรงถวายตําแหนง “ผูบังคับการกรมพิเศษ” แหงกรมทหารมาหนวยนี้แด “สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี” ตั้งแต ๗ ก.ค.๒๓ เปนตนมา ทหารที่สังกัด “หนวยทหารรักษาพระองค” ที่กลาวนี้ จะประดับเครื่องหมายพระ นามาภิไธยยอ อักษร “สว” ทําดวยโลหะสีทองบนอกเสื้อเบื้องขวา ของเครื่องแบบปกติ หรืออักษร ชนิดเดียวกันปกดวยไหมสีน้ําเงินดํา บนอกเสื้อเบื้องขวาของเครื่องแบบฝกทุกชนิด หนวยทหารมาที่ทําหนาที่เปน “หนวยทหารรักษาพระองค ในสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี” มี ๔ หนวยไดแก.- กรมทหารมาที่ ๔ รักษาพระองค (ม.๔ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๔ รักษาพระองค (ม.พัน.๔ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๕ รักษาพระองค (ม.พัน.๕ รอ.) - กองพันทหารมาที่ ๒๐ รักษาพระองค (ม.พัน.๒๐ รอ.) สําหรับ ม.พัน.๔ รอ. เคยไดรับการสถาปนาเปนหนวยทหารรักษาพระองคมากอน เมื่อ ๑๙ ก.ค.๑๙ โดยเปน “กองพันทหารมาที่ ๔ รักษาพระองค ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ” ประดับพระปรมาภิไธย “ภปร” ที่อกเสื้อเบื้องขวา (ตามแจงความกองทัพบก ลง ๑๑ ส.ค.๑๙) ตอมาเมื่อ ทบ. ไดมีคําสั่งใหโอนการบังคับบัญชา ม.พัน.๔ จาก พล.๑ รอ. ใหไปสังกัด ม.๔ รอ. จึงทําใหกองพันนี้ ไดรับการเปลี่ยนสภาพจากการเปนหนวยทหารรักษาพระองค ใน “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ” มาเปน “หนวยทหารรักษาพระองคในสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี” ตามหนวยตนสังกัดพรอมๆ กับ ม.พัน.๕ รอ. และเปลี่ยนจากการ ประดับเครื่องหมายพระปรมาภิไธยยอ “ภปร” มาประดับเครื่องหมาย พระนามาภิไธยยอ “สว” ตั้งแต ๗ ก.ค.๒๓ เปนตนมา (ตามแจงความกองทัพบก ลง ๗ ก.ค.๒๓ ) ถึงแมนขณะนี้ ม.พัน.๙ รอ. จะเปลี่ยนไปสังกัด พล.๑ รอ. ก็ยังคงสภาพการเปน “หนวยทหารรักษาพระองคในสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี” อยูเชนเดิม สวน ม.พัน.๒๐ รอ. นั้น เปนหนวยขึ้นตรงของ ม.๔ รอ. ซึ่งจัดตั้งขึ้นครั้งหลังสุดและเพิ่ง เชนเดียวกับหนวยตนสังกัด คือ ม.๔ รอ. เมื่อ ๒๕ ก.ค.๒๓ นี่เอง (ตามแจงความกองทัพบก ลง ๒๙ ส.ค. ๒๓) ๓. “หนวยทหารรักษาพระองคในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช” หนวยทหารมาที่ไดรับการสถาปนา ใหเปนหนวยทหารมารักษาพระองค ในพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน ขณะนั้นมีเพียงหนวยเดียว คือ “กองพันทหารมาที่ ๑๗ รักษาพระองค” (ม. พัน.๑๗ รอ.) ซึ่งหนวยนี้เคยมีฐานะเปน “หนวยทหารรักษาพระองคตามหนวยบังคับบัญชา” (พล. ๑ รอ.) มากอน บัดนี้ไดแปรสภาพเปน “หนวยทหารมารักษาพระองคที่ไดรับพระราชทานพระบรม

๔๙

ราชานุญาต” โดยสมบูรณ มีสิทธประดับเครื่องหมายพระปรมาภิไธยยอ “ ภปร” ที่อกเสื้อเบื้อง ขวา เชนเดิม ( แจงความความกองทัพบกลง ๒๓ ก.พ. ๒๕)

ตอมา พล.ม. ๒ รอ. และ ม.พน.๒๗ รอ. ไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาตใน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ประดับเครื่องหมาย พระนามาภิไธยยอ “ภปร” ตั้งแต ๒๐ ธ.ค.๔๔ เปนตนมา (ตามแจงความกองทัพบก ลง ๒๐ ธ.ค.๔๔)

หนวยทหารมารักษาพระองคตามหนวยบังคับบัญชา ยังมี “ หนาวยทหารมา” อีก ๒ หนวย หรือ ๑ กองพัน กับ ๑ กองรอย ที่ทางราชการยังไม ถือวาเปน “ หนวยทหารมารักษาพระองค ที่ไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาติ ”และยังไมเขา หลักเกณฑที่จะใช คํายอ “ รอ.”ตอทายนามยอของหนวย แตทหารที่สังกัดหนวยเหลานี้ มีศักดิ์และ สิทธที่จะประดับเครื่องหมายพระนามาภิไธยยอ หรือ พระปรมาภิไธยยอที่หนาอกเสื้อเบื้องขวาของ เครื่องแบบได คือ.- กองพันทหารมาที่ ๖ ( ม.พัน .๖ ) - กองรอยทหารมา ( ลาดตระเวน ) ที่ ๑ ( รอย. ม. ( ลว.) ที่ ๑ สําหรับ ม.พัน.๖ นั้น เปนหนวยที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏ เกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๖ ที่ไดทรงถวายตําแหนง “ ผูบังคับการกรมพิเศษ ” เมื่อครั้งยังมีฐานะเปน “ กรมทหารมาที่ ๓ ”แด “ สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ” และใหเครื่องหมายอักษร พระบรมนามาภิไธยยอ “ สผ ” ติดที่กึ่งกลางอินทรธนูทั้ง ๒ ขาง ของเครื่องแบบเพื่อเปนเกียรติยศ

๕๐

แก “ กรมทหารมาที่ ๓ ”( ม. พัน. ๓ ) นี้ดวย เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๕ จนกระทั่งหนวยนี้แปรสภาพเปน “ กองพันทหารมาที่ ๖ ” (ม.พัน.๖ ) เมื่อ ๑ ส.ค.๒๔๙๕ จึงไดเปลี่ยนการประดับเครื่องหมายอักษร พระบรมนามาภิไธยยอ “ สผ ”จากอินทรธนูลงมาประดับที่อกเสื้อดานขวา เพื่อเปนการรักษา เกียรติประวัติ และรักษาตํานานใหกับหนวยนี้ตลอดมา สวน รอย.ม. ( ล.ว. ) ที่ ๑ นั้น มีฐานะเปนหนวยขึ้นตรงของ “ กองพลที่ ๑ รักษาพระองค (พล. ๑ รอ ) จึงมีศักดิ์เปน “ หนวยทหารรักษาพระองคตามหนวยบังคับบัญชา ” ทหารที่สังกัด หนวยนี้จึงมีสิทธประดับเครื่องหมายอักษรพระปรมาภิไธยยอ “ ภปร ” ที่หนาอกเสื้อเบื้องขวา เชนเดียวกับ พล. ๑ รอ. โดยกองทัพบกใหถือเปนธรรมเนียมวา... หนวยที่ขึ้นตรงตอหนวยทหาร รักษาพระองค ” จะเปน “ หนวยทหารรักษาพระองคฯ.”ตามไปดวยการเรียกชื่อ ให ใชชื่อหนวย ทหารรักษาพระองคที่เปนหนวยบังคับบัญชานั้นตอทายไดเลย แตเมื่อใดพนจากการเปนหนวยขึ้น ตรงแลว ก็พนจากความเปน “ หนวยทหารรักษาพระองคที่ไดรับพระราชทานพระบรมราชานุ ญาติ”...( แจงความกองทัพบกเรื่องการเรียกชื่อหนวยทหารรักษาพระองค ลง ๓๐ ม.ค.๑๙ ) ฉะนั้น การที่จะเรียกชื่อ “ รอย.ม. ( ลว . ) ที่ ๑ .”ใหถูกตองตามแบบธรรมเนียมของ ทบ.ก็ จะตองเรียกวา............. “กองรอยทหารมา ( ลาดตระเวน ) ที่ ๑ กองพลที่ ๑ รักษาพระองคฯ ”

You might also like