You are on page 1of 22

บทที่ 4

การวางแผนและการออกแบบการวิจัย

เมื่อผูวิจัยไดเลือกปญหาและหัวขอวิจัยไดแลว จะตองมีการวางแผน (planning) และ


ออกแบบการวิจัย โดยกําหนดกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูวิจยั จะตองทํา ซึง่ ในบทนี้จะเปนการกลาวถึง
ความหมายของการวางแผน การออกแบบการวิจยั วัตถุประสงคของการออกแบบการวิจัย หลักใน
การออกแบบการวิจยั ดังหัวขอตอไปนี้

1. ความหมายของการวางแผนการวิจัย

ในการวิจัยผูว จิ ัยตองการวางแผนการวิจัยเพื่อใหเขาใจอยางชัดเจนวาปญหาวิจยั คืออะไร


วิธีทําใหชดั เจนคือใหระบุปญ  หาเปนคําถามวิจัยใหอยูในรูปของประโยคคําถาม จากนั้นจึงนิยามตัว
แปรซึ่งจะนิยามในเชิงปฏิบัตกิ ารเพื่อใหสามารถสังเกตหรือวัดตัวแปรไดอยางชัดเจน ถูกตอง การที่
ผูวิจัยจะสามารถกําหนดปญหาวิจยั ไดอยางชัดเจนเพียงใดขึ้นอยูกับการศึกษาคนควาเอกสารและ
งานวิจยั ที่เกีย่ วของดวย และกําหนดวัตถุประสงคของการวิจัยรวมทั้งพิจารณาวาการวิจัยเชิงสํารวจ
เหมาะกับปญหาที่ตองการศึกษาหรือไม ดังนั้นการวางแผนการวิจยั ก็คอื การที่ผูวิจยั พิจารณาปญหา
หรือหัวขอเรื่องการวิจยั โดยคํานึงถึงความชัดเจน ความจําเปน และประโยชนโดยพิจารณาถึง
วัตถุประสงค กําหนดสมมุติฐาน กําหนดกรอบเวลาและกิจกรรม รวมถึงการประมาณคาใชจายใน
การวิจยั

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


56

2. ความหมายออกแบบการวิจัย

ในการใหความหมายของการออกแบบการวิจัยมีผใู หความหมายดังตอไปนี้
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ (2540, หนา 125) ไดมีผูใหความหมายของการออกแบบการวิจยั
ไววาการออกแบบการวิจัยหมายถึงการกําหนดกิจกรรมตาง ๆ และรายละเอียดของกิจกรรมตาง ๆ ที่
ผูวิจัยจะทํา (นับตั้งแตการเตรียมการจัดเก็บขอมูล จากการระบุสมมุติฐาน การกําหนดตัวแปรและ
คํานิยามปฏิบัติการไปจนถึงการวิเคราะหขอ มูล) และวิธีการและแนวทางตาง ๆ ที่จะใชเพื่อใหไดมา
ซึ่งขอมูลจากประชากรเปาหมายหรือจากตัวอยางของประชากร
สุบรรณ พันธวิศวาส และชัยวัฒน ปญจพงษ (ม.ป.ป. ) ไดใหความหมายของการ
ออกแบบการวิจัยวา เปนการวางแผนการวิจัยใหครอบคลุมโครงการที่จะทําการวิจัยทั้งหมดและ
กําหนดโครงสรางของตัวแปรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อพิจารณถึงความสัมพันธของตัวแปรเหลานัน้
กับการกําหนดยุทธวิธี เพื่อที่จะใหไดมาซึง่ ตําตอบที่ประสงคจะทราบจาการวิจัย
ไวรสมา วิลลเลียม (Wiersma William, 1986, pp. 83) ไดใหความหมายไววาการ
ออกแบบการวิจัย หมายถึงการวางแผนงานหรือการกําหนดกลวิธี (strategy) สําหรับการทํา การ
วิจัย
ศิริชัย กาญจนวาสี (2538 อางถึงใน พิชติ ฤทธิ์จรูญ, 2543, หนา 147)) ใหความหมายวา
การออกแบบการวิจยั หมายถึงการกําหนดรูปแบบ ขอบเขต และแนวทางการวิจยั เพื่อใหไดมาซึ่ง
คําตอบหรือขอความรูขอความตามปญหาวิจัยทีต่ ั้งไว
ผองพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ (2543, หนา 24) กลาววาการออกเเบบการ
วิจัยเปนการวางโครงสรางและกรอบการวิจัยครอบคลุมตั้งแตการกําหนดปญหาวิจัย การวาง
กรอบตัวแปร การวิเคราะหขอ มูลและสรุปผล
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2543, หนา 148) กลาวถึงความหมายของการออกแบบการวิจยั วาเปน
การกําหนดกรอบการวิจยั ที่เกี่ยวกับโครงสราง รูปแบบการวิจยั ขอบเขตการวิจัย และแนว
ดําเนินการวิจยั เพื่อใหไดมาซึ่งคําตอบที่เหมาะสมกับปญหาวิจยั ที่กําหนดไวและเคอรลิงเจอร
(Kerlinger, 1986, pp. 279) ยังใหความหมายของการออกแบบวิจัยวาเปนการวางโครงสรางเฉพาะ
ของการวิจยั หนึ่ง ๆ และแนวทางในการคนควาคําตอบของการวิจยั เพือ่ ใหสามารถหาคําตอบปญหา
วิจัยไดอยางมี ประสิทธิภาพที่สุด

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


57

ดังนั้นสรุปไดวาการออกแบบการวิจยั ก็คือการวางแผนการวิจัย โดยการกําหนดกลวิธี


รูปแบบ ขอบเขต และแนวทางการวิจยั ใหครอบคลุมตั้งแตการกําหนดปญหาวิจัย การวางกรอบตัว
แปร แผนการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและสรุปผล เพื่อใหสามารถหาคําตอบปญหา
วิจัยไดอยางมีประสิทธิภาพที่สุด ดังนั้นในที่นี้จึงจะขอกลาวถึงการออกแบบการวิจยั ดัง หัวขอ
ตอไปนี้

3. วัตถุประสงคของการออกแบบการวิจัย

ในการวิจัยถาไมมีการออกแบบการวิจยั ผูวจิ ัยจะไมสามารถดําเนินการวิจัยเพื่อใหได


คําตอบที่ตองการได ดังนั้นในการออกแบบการวิจยั จึงมีวัตถุประสงคที่สําคัญ 2 ประการคือ
(Kerlinger, 1986, pp. 280)
3.1 เพื่อใหไดคําตอบปญหาวิจยั ที่ถูกตอง ตรงประเด็นหรือตรงตามวัตถุที่ตองการ
เที่ยงตรงเชื่อถือได เปนปรนัยและประหยัดมากที่สุด
3.2 เพื่อควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรในการวิจยั โดยหลักการในการควบคุม 3
ประการคือ
3.2.1 การศึกษาใหครอบคลุมขอบขายของปญหาการวิจยั ใหมากที่สุด
3.2.2 การควบคุมอิทธิพลของสิ่งตาง ๆ ที่ไมอยูในขอบขายของการวิจยั แตสงผล
ตอการวิจยั ใหไดมากที่สุด ซึ่งสามารถทําไดหลายวิธี เชน (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2536, หนา
78)
1) การคัดเลือกประชากรที่มีคุณสมบัติเหมือนกันทุกดาน ที่ผวู ิจัยตองการ
ลดหรือควบคุมอิทธิพล
2) การสุมตัวอยางแบบกระจาย เปนวิธีการสุมตัวอยางเปรียบเทียบ 2
หรือ 3 กลุมหรือมากกวานัน้ จากประชากรที่มีคุณสมบัติเหมือนกันทุกดาน
3) การจับคูวิเคราะหเปรียบเทียบ เปนการหาบุคคลที่เหมือนกันในเรื่อง
ที่ตองการควบคุม มาศึกษาเปรียบเทียบกันเพื่อศึกษาถึงอิทธิพลของตัวแปรที่ตองการศึกษา
4) การควบคุมทางสถิติ เปนการใชวธิ ีทางสถิติในการวิเคราะหควบคุม
ความผันแปรของตัวแปรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


58

3.2.3 การลดความผิดพลาดคลาดเคลื่อนใหไดมากที่สุดเทาที่จะทําได

4. ประโยชนของการออกแบบการวิจยั

การออกแบบการวิจยั มีประโยชนดังนี้ (ยุทธพงษ กัยวรรณ, 2543, หนา 92)


4.1 ทําใหผูวิจัยควบคุมคาความแปรปรวนตาง ๆ ไดถูกตอง
4.2 ชวยใหผูวิจัย เห็นแนวทางในการดําเนินการวิจยั อันจะนําไปสูการตอบคําถามหรือ
การพิสูจนสมมุติฐานที่กําหนดไว
4.3 ชวยใหทราบรายละเอียดเกีย่ วกับเวลา กําลังคน และงบประมาณที่จะตองใช
4.4 ชวยใหกาํ หนดขนาดหรือสภาพเครือ่ งมือที่ใชในเรื่องนั้นไดอยางเที่ยงตรงและมี
ความนาเชื่อถือ
4.5 ชวยใหเกิดความตระหนักเกีย่ วกับผลที่ไดวา สามารถนํามาสรางเปนหลักทัว่ ไป
ไดมากนอยเพียงใด

5. หลักการออกแบบการวิจัย

เพื่อใหการวิจยั สามารถตอบปญหาไดตรงประเด็นหรือตรงวัตถุประสงค ดังนั้นในการ


ออกแบบการวิจัยควรมีหลักการดังนี้
5.1 การออกแบบการวิจยั ตองใหมีประสิทธิผล (effectiveness) และประสิทธิภาพ คือ
ตองมุงใหไดคําตอบหรือขอคนพบตรงตามปญหาการวิจัยหรือวัตถุประสงคของการวิจัยดวยการใช
ทรัพยากรที่มอี ยูอยางประหยัดและคุมคา
5.2 การออกแบบการวิจยั ตองทําใหไดผลการวิจัยที่มีความเที่ยงตรง กลาวคือ
5.2.1 ความเที่ยงตรงภายใน (internal validity) การที่จะออกแบบการวิจยั ใหมคี วาม
เที่ยงตรงภายในนั้นผูวจิ ัยตองสามารถออกแบบการวัด เพื่อวัดคาตัวแปรไดอยางเหมาะสม รวมทั้ง
ออกแบบการวิเคราะหขอมูล เพื่อเลือกใชสถิติเชิงบรรยายและวิธวี ิเคราะหขอมูลของกลุมตัวอยาง
ไดอยางถูกตองและเหมาะสม ซึ่งปจจัยทีส่ งผลตอความเที่ยงตรงภายในคือ

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


59

1) ประวัติของกลุมตัวอยางหรือเหตุการณแทรกซอน
2) วุฒภิ าวะของกลุมตัวอยาง
3) การทดสอบ
4) เครื่องมือที่ใชในการวัด
5) การวิเคราะหการถดถอย
6) การคัดเลือกกลุมตัวอยาง
7) การขาดหายไปของกลุมตัวอยาง
8) ปฏิสัมพันธระหวางการเลือกกลุมตัวอยางกับวุฒภิ าวะ
5.2.2 ความเที่ยงตรงภายนอก (external validity) การวิจยั จะมีความเทีย่ งตรง
ภายนอกก็ตอเมื่อผลการวิเคราะหจากกลุมตัวอยางสามารถสรุปอางอิงไปยังประชากรเปาหมายได
อยางถูกตอง ปจจัยที่สงผลตอความเที่ยงตรงภายนอกคือ
1) ปฏิสัมพันธระหวางการเลือกกลุมตัวอยางกับตัวแปร
2) ปฏิกิริยารวมระหวางการทดสอบครั้งแรกกับการทดลอง
3) ปฏิกิริยาอันเนื่องมาจากวิธีทดลอง
4) ปฏิกิริยารวมจากหลาย ๆ วิธีการจัดกระทํา
5.3 การออกแบบการวิจยั ในการออกแบบการวิจัยจะตองคํานึงถึงหลักการ 3
ประการดังนี้
5.3.1 พยายามทําใหความแปรปรวนที่เปนระบบ หรือความแปรปรวนในการ
ทดลองมีคาต่ําสุด กลาวคือตองทําใหความแปรปรวนของตัวแปรอิสระในการวิจยั มีความแตกตาง
กันใหมากที่สดุ (Max.) ซึ่งทําไดโดยการออกแบบวางแผนและดําเนินการวิจัยในสภาพการทดลอง
ใหแตละสภาพ หรือ ตัวแปรแตละประเภทใหมีความแตกตางกันมากที่สุด เพราะจะทําใหไดผลที่
เกิดขึ้นกับตัวแปรแตกตางกัน
5.3.2 พยายามลดความแปรปรวนที่เกิดจากความคลาดเคลื่อน ใหนอ ยที่สุด
(Min.) เชนลดความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการวัด โดยการสรางเครื่องมือที่มีความเทีย่ งตรงสูง เปน
ตน
5.3.3 การควบคุมความแปรปรวนที่เกิดจากตัวแทรกซอนหรือตัวแปรเกิน (Con.)
คือการควบคุมอิทธิพลของตัวเเปรภายนอกที่ไมไดศึกษา อาจจะทําไดโดย การสุมตัวแปรที่เทา
เทียมกัน การกําจัดตัวแปรออก การเพิ่มตัวแปรที่ตองการศึกษา หรือการใชวิธีการทางสถิติ เปนตน

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


60

6. ลักษณะของการออกแบบการวิจัยที่ดี

ในการออกแบบการวิจยั ที่ดีนนั้ จะตองมีลักษณะของการออกแบบการวิจัยทีด่ ีอยู 4


ประการดังนี้ (Wiersma, 1991, pp. 94-95)
6.1 ปราศจากความลําเอียง (freedom from bias) การออกแบบการวิจยั ที่ดจี ะตอง
ปราศจากความลําเอียงใด ๆ ที่จะทําใหไดมาซึ่งขอมูลและการวิเคราะหขอมูลมีความผิดพลาดได
และตองไดขอมูลที่มีความเที่ยงตรง เชื่อถือไดและนําไปสูการตอบปญหาการวิจัยที่ถกู ตอง
6.2 ปราศจากความสับสน (freedom from confounding) อันเกิดจากความ
แปรปรวนของตัวแปรตามทีเ่ กินไปจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปรแทรกซอนที่เกิดขึน้ จนผูวจิ ัยแยก
ไมออกทําใหไมสามารถสรุปไดวาตัวแปรใดที่เปนสาเหตุของความแปรปรวนในตัวแปรตาม
6.3 สามารถควบคุมตัวแปรภายนอกไดทั้งหมด การออกแบบการวิจยั ที่ดจี ะตอง
สามารถควบคุมตัวแปรภายนอกได ทําใหตวั แปรควบคุมคงตัวหรือสามารถขจัดตัวแปรภายนอก
ออกไปไดแลวแตกรณี ซึ่งผลการวิจัยจะตองไดมาจากตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเทานั้น
6.4 มีการใชสถิติที่ถูกตองในการทดสอบสมมุติฐาน ผูวจิ ัยจะตองออกแบบการวิจยั
โดยคํานึงถึงความถูกตองของการทดสอบทางสถิติดวย

7. คําถามหลักของการออกแบบการวิจัย

เมื่อพิจารณาปญหาการวิจยั แลวการที่จะทําการวิจยั ไดดีทกุ ขั้นตอน เมื่อผูวิจัยสามารถตั้ง


คําถามที่จะตองทําการวิจยั ในทุกขั้นตอนแลวจะทําใหผูวจิ ัยสามารถออกแบบการวิจยั ได ในทีน่ ี้จะ
ขอยกตัวอยางของการตั้งคําถามเพื่อเสนอเปนแนวคิดในการออกแบบการวิจยั ดังแสดงในตารางที่
4.1

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


61

ตารางที่ 4.1 แสดงตัวอยางของการตั้งคําถามในการออกแบบการวิจยั

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


62

ขั้นตอนของการวิจัยที่ตองมีการตัดสินใจ คําถามหลัก
1. การกําหนดปญหา 1.1 อะไรคือวัตถุประสงคของการศึกษา
1.2 ในเรื่องนี้มีความรูมากเทาใด
1.3 ตองการขอมูลอะไร
1.4 จะวัดอะไร อยางไร
1.5 จะมีขอมูลไหม
1.6 ควรจะทําวิจัยไหม
1.7 สามารถกําหนดสมมุติฐานไดไหม
2. การคัดเลือกแบบของการวิจยั 2.1 คําถามที่ตองตอบเปนคําถามประเภท
ใด
2.2 ขอคนพบที่ตอ งการเปนเชิงพรรณา
หรือเชิงเหตุและผล
2.3 ขอมูลจะหาไดจากแหลงใด
2.4 จะไดคําตอบเชิงวัตถุวิสัยจากการถาม
บุคคลไหม
2.5 ตองการขอมูลรวดเร็วเพียงใด
2.6 ควรจะตั้งคําถามสํารวจอยางไร
2.7 ควรมีการดําเนินการทดลองไหม
3. การเลือกตัวอยาง 3.1 ใครหรืออะไรเปนแหลงขอมูล
3.2 จะระบุประชากรเปาหมายไดไหม
3.3 การสุมตัวอยางจําเปนไหม
3.4 การสุมตัวอยางระดับประเทศจําเปน
ไหม
3.5 ตัวอยางควรมีขนาดเทาใด
3.6 จะเลือกตัวอยางไดอยางใด

ตารางที่ 4.1 แสดงตัวอยางของการตั้งคําถามในการออกแบบการวิจยั (ตอ)

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


63

ขั้นตอนของการวิจัยที่ตองมีการตัดสินใจ คําถามหลัก
4. การเก็บรวบรวมขอมูล 4.1 ใครเปนผูเก็บรวบรวมขอมูล
4.2 จะใชเวลานานเทาใด
4.3 จะตองมีการควบคุมดูแลหรือไม
4.4 จะตองใชกระบวนการปฏิบตั ิการอะไร
5. การวิเคราะหขอมูล 5.1 สามารถที่จะใชประโยชนจาก
กระบวนการมาตรฐาน ของการลงรหัสและการ
บรรณาธิกรณขอมูลไดหรือไม
5.2 จะแบงกลุมขอมูลอยางไร
5.3 จะใชเครื่องคอมพิวเตอรหรือทําดวยมือ
5.4 ลักษณะของขอมูลเปนอยางไร
5.5 ตองตอบคําถามอะไร
5.6 มีตัวแปรกี่ตัวที่ตองการศึกษาพรอมกัน
6. ประเภทของรายงาน 6.1 ใครเปนผูอานรายงาน
6.2 ตองมีขอเสนอแนะเชิงจัดการหรือไม
6.3 จะตองเสนอกี่ครั้ง
6.4 รูปแบบของรายงานจะตองเปนอยางไร
7. การประเมินภาพรวม 7.1 เสียคาใชจายในการศึกษาเทาใด
7.2 เวลาที่กําหนดไวใชไดหรือไม
7.3 ตองการความชวยเหลือจากภายนอก
หรือไม
7.4 แบบของการวิจัยทีจ่ ะใชทําใหบรรลุถึง
วัตถุประสงคของการวิจยั หรือไม
7.5 เมื่อไหรถึงจะเริ่มลงมือได

ที่มา (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2536, หนา 91-92)


8. เทคนิควิธีการออกแบบการวิจัย

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


64

การออกแบบการวิจยั จะเปนไปในรูปแบบใดนั้นขึน้ อยูก ับประเภทของการวิจยั ซึ่งในที่นี้


จะขอกลาวถึงเทคนิคการออกแบบการวิจยั 2 แบบคือ การออกแบบการวิจยั เชิงทดลองและการ
ออกแบบการวิจัยเชิงบรรยาย ดังนี้
8.1 การออกแบบการวิจยั เชิงทดลอง ในการออกแบบการวิจยั เชิงทดลอง สิ่งที่จะตอง
คํานึงถึงคือสวนประกอบของการออกแบบการวิจยั เชิงทดลองและประเภทของการออกแบบการ
วิจัยเชิงทดลอง ซึ่งจะกลาวถึงพอสังเขปดังนี้
8.1.1 สวนประกอบของการออกแบบการวิจยั เชิงทดลอง มี 4 สวนดังตอไปนี้
1) กรอบแนวคิดในการวิจัย เปนภาพทางความคิดที่ในการวิจัยไดจาก
ทฤษฎี หลักการที่เกีย่ วของ ซึ่งจะทําใหผูวจิ ัยเขาใจประเด็นปญหา และสามารถกําหนดแนว
ทางการวิจยั ไดอยางมีเหตุผล
2) การจัดกลุมสําหรับทดลอง เปนการจัดกลุมการทดลอง เชน เปนกลุม
ทดลอง หรือกลุมควบคุม
3) การจัดดําเนินการแบบสุม เปนการสุมตัวอยางจากประชากร หรือ
การสุมตัวอยางเขากลุมทดลอง
4) การวัดผล เปนการวัดคาของตัวแปรตามทีผ่ ูวิจัยสนใจซึ่งอาจจะวัด
กอนการทดลองและหลังการทดลอง
8.1.2 ประเภทของการออกแบบการวิจยั เชิงทดลอง ในการจัดประเภทของการ
ออกแบบการวิจัยเชิงทดลองสามารถจําแนกไดเปน 3 ประเภท ดังแสดงในตารางที่ 4.2 คือ
1) การออกแบบการวิจยั เชิงทดลองเบื้องตน เปนการออกแบบที่ไมมี
การจัดดําเนินการแบบสุมและไมมีกลุมควบคุม ดังนัน้ ในการทดลองจึงมีกลุมทดลองเพียงกลุมเดียว
2) การออกแบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง เปนการออกแบบที่มีกลุม
ทดลองและมีกลุมควบคุม แตไมมีการดําเนินการแบบสุม
3) การออกแบบการวิจยั เชิงทดลองที่แทจริง เปนการออกแบบที่มี
กลุมทดลองและมีกลุมควบคุม และมีการดําเนินการแบบสุม

ตารางที่ 4.2 แสดงประเภทของการออกแบบการวิจยั เชิงทดลอง

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


65

การจัดดําเนินการแบบสุม
สวนประกอบ
ไมมี มี
ไมมี การออกแบบการวิจยั เชิง -
ทดลองเบื้องตน
การจัดกลุมควบคุม
มี การออกแบบการวิจยั เชิงกึ่ง การออกแบบการวิจยั เชิง
ทดลอง ทดลองที่แทจริง

ที่มา (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2543, หนา 160)

8.2 การออกแบบการวิจยั เชิงบรรยาย เปนการวางแผนการวิจยั เพือ่ คนหาขอเท็จจริงใน


ปจจุบัน บรรยายตัวแปร หรือศึกษาความสัมพันธของตัวแปร ซึ่งในที่นี้จะขอกลาวถึงขั้นตอนการ
ออกแบบการวิจัยเชิงสํารวจ ดังนี้
8.2.1 การกําหนดประชากร
8.2.2 การสุมตัวอยาง
8.2.3 การกําหนดตัวแปรที่สนใจศึกษา
8.2.4 การเก็บรวบรวมขอมูล
8.2.5 การบรรยายลักษณะของประชากรตามตัวแปรทีส่ นใจศึกษา

9. การเขียนเคาโครงการวิจัย

หลักในการทํางานวิจยั ก็เชนเดียวกับการทํางานอื่น ๆ กลาวคือตองมีการวางแผนการ


ดําเนินงานใหชัดเจนทั้งนี้เพือ่ ใหการดําเนินการวิจัยบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายอยางมี
ประสิทธิภาพ การวางแผนการวิจยั จึงเปนการตัดสินใจไวลวงหนาเกี่ยวกับกรอบแนวทางในการ
ดําเนินการวิจยั วา จะทําวิจัยเรื่องอะไร สาเหตุที่ตองทํา ทําเพื่ออะไร เมื่อทําแลวคาดวาจะได
ประโยชนอะไร จะทําอยางไร จะทําเมื่อไร จะใชงบประมาณเทาไร ใครเปนผูรับผิดชอบ ซึ่งจะ
ชวยใหผูวจิ ัยมีความชัดเจนทัง้ ในแนวความคิดและแนวทางในการดําเนินการวิจัย ทําใหเกิดความ

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


66

เชื่อมั่นวาจะสามารถดําเนินการวิจยั ใหประสบผลสําเร็จ การวางแผนการวิจยั ในทางปฏิบัติมักจะ


เขียนในรูปของโครงการวิจัย หรือ ขอเสนอโครงการวิจัย (research proposal) ที่ออกมาเปน
ลายลักษณอกั ษรตามสวนประกอบ หรือโครงการสรางที่กําหนดไว โครงการวิจัยจึงเปรียบเสมือน
พิมพเขียว (blue print) หรือตนแบบของการดําเนินการวิจัยทีแ่ สดงรายละเอียดเกี่ยวกับแนวคิด
และแนวทางในการดําเนินการวิจัยซึ่งจะเปนประโยชนตอ ทั้งผูวิจัย ผูสนับสนุนการวิจัย และ
ผูเกี่ยวของอืน่ ๆ โดยจะกลาวถึงดังนี้
9.1 ความหมายของโครงการวิจยั มีความหมายในลักษณะดังนี้
9.1.1 โครงการวิจัย หมายถึง กรอบแนวคิดในการดําเนินการวิจยั ที่กําหนดไว
ลวงหนาเปนลายลักษณอักษรของโครงการ หรือแผนปฏิบัติการวิจัย
9.1.2 โครงการวิจัย หมายถึง เอกสารที่ผูวิจัยจัดทําขึ้นอยางเปนระบบเพื่อแสดง
รายละเอียดเกีย่ วกับแนวทางในการดําเนินการวิจยั ใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายของการวิจยั
9.2 ความสําคัญของโครงการวิจัย โครงการวิจยั มีความสําคัญดังนี้
9.2.1 ความสําคัญตอนักวิจัย เปนแผนการดําเนินงานวิจัยที่คิดและจัดทําไว
ลวงหนาอยางเปนระบบ ถือวาเปนพิมพเขียว หรือกรอบแนวคิดในการดําเนินการวิจัยทําใหผวู ิจยั
ไดจัดระบบความคิด กรอบแนวทางในการทํางานใหชัดเจน เพราะไดศึกษาวิเคราะหกําหนดปญหา
วิจัย ไดมกี ารศึกษาแนวคิด ทฤษฎีจากเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วของตาง ๆ ทําใหรูวาจะดําเนิน
งานวิจยั อยางไร ใชเวลา งบประมาณ และทรัพยากรอะไรบาง จะใชเครื่องมือชนิดใดเก็บรวบรวม
ขอมูล เก็บขอมูลจากใครและจะวิเคราะหขอมูลอยางไร โครงการวิจัยจึงเปนสิ่งชวยสรางแนวคิด
ใหผูวจิ ัยไดเห็นแนวทางในการดําเนินการวิจัยและเชื่อมัน่ วาจะสามารถดําเนินการวิจัยไดสําเร็จ
9.2.2 ความสําคัญตอบุคคลที่เกี่ยวของ โดยทั่วไปจะมีบุคคลอื่นที่เขามามีสวน
เกี่ยวของ เชน ในกรณีนกั ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจะมีกรรมการทีป่ รึกษากรรมการพิจารณา เคา
โครงวิทยานิพนธเขามามีสวนเกี่ยวของในฐานะเปนที่ปรึกษาและผูพิจารณาเคาโครง
วิทยานิพนธ โครงการวิจยั หรือเคาโครงวิทยานิพนธกจ็ ะเปนเอกสารสื่อกลางหรือหลักฐานในการ
พิจารณาอนุมตั ิ หรือกํากับติดตามการดําเนินการเกีย่ วกับวิทยานิพนธ ในกรณีที่นกั วิจัยใน
หนวยงานตาง ๆ ตองการทําวิจัย หรือขอรับทุนอุดหนุนการวิจยั ก็จะตองใชโครงการวิจัยเปน
เอกสารหรือหลักฐานเสนอตอคณะกรรมการหรือผูมีอํานาจตัดสินใจ เพื่อขออนุมัติดําเนินการวิจัย
หรือขอรับทุนอุดหนุนการวิจัย นอกจากนีห้ ากการดําเนินการวิจยั มีผูรวมรับผิดชอบดําเนินการ
หลายคน โครงการวิจยั ก็เปนเอกสารสื่อกลางที่จะชวยใหผูรวมงานวิจยั มีความเขาใจตรงกัน และ

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


67

สามารถรวมกันดําเนินการวิจัยใหบรรลุสําเร็จได โครงการวิจยั จึงเปนประโยชนทั้งตอคณะผูวจิ ยั


ผูบริหารที่มีอํานาจตัดสินใจอนุมัติโครงการวิจัย และผูสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจยั
9.3 วัตถุประสงคของการเขียนโครงการวิจัย การเขียนโครงการวิจยั มีวัตถุประสงค
ดังนี้
9.3.1 เพื่อใหเปนหลักและกรอบแนวทางในการดําเนินการวิจัย ชวยใหผวู ิจยั
มองเห็นภาพงานวิจยั ตลอดแนว ดําเนินงานวิจยั ไดอยางเปนระบบ เปนขั้นตอนตามแบบที่วางไว
ไมทําใหผวู ิจัยทํางานออกนอกขอบเขตหรือหลงทาง
9.3.2 เพื่อใหเปนเอกสารสื่อสารสรางความเขาใจ และขอตกลงในการทํางานวิจยั
รวมกันระหวางคณะผูวจิ ัยใหมีความเขาใจตรงกันในกรอบแนวทางการดําเนินการวิจยั และสามารถ
ดําเนินการวิจยั รวมกันใหประสบผลสําเร็จ
9.3.3 เพื่อใหเปนเอกสารเสนอขออนุมัติดําเนินการวิจัย ในกรณีที่ผูวิจยั ทําเปนสวน
หนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งจะตองเสนอตอคณะกรรมการพิจารณา
ใหความเห็นชอบและกรณีทเี่ ปนหนวยงานก็ตองเขียนโครงการวิจยั เสนอขออนุมัติตอผูที่มีอํานาจ
ตัดสินใจกอนที่จะดําเนินการตอไป
9.3.4 เพื่อใชเปนหลักฐานในการกํากับติดตาม หรือตรวจสอบการดําเนินการ
วิจัยวาเปนไปตามแผนที่กําหนดไวหรือไม มีความกาวหนาในการดําเนินการเพียงใด มีปญหาและ
อุปสรรคหรือไมอยางไร ซึ่งใชทั้งกํากับตรวจสอบตนเองของผูวิจัย (self – monitoring) และการ
กํากับ ตรวจสอบจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ เชน กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ กรรมการพิจารณา
เคาโครงวิทยานิพนธที่เปนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หรือหนวยงานที่ใหทนุ อุดหนุนการวิจยั ซึ่ง
ตองใชโครงการวิจัยเปนเครือ่ งมือในการกํากับติดตามตรวจสอบความกาวหนาในการดําเนินการ
วิจัยวาเปนไปตามโครงการวิจัยทีก่ ําหนดไวมากนอยเพียงใด
9.3.5 เพื่อใหเปนเอกสารขอรับการสนับสนุนการวิจัย โดยเฉพาะอยางยิ่งการ
ขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยหนวยงานตาง ๆ ผูวิจัยจะตองเสนอโครงการวิจยั ตอหนวยงานเหลานัน้ ที่
เปนเอกสารและหลักฐานทีแ่ สดงรายละเอียดในการดําเนินการวิจัยตามรูปแบบที่กําหนด เพื่อให
หนวยงานดังกลาวใชประกอบการพิจารณาใหอุดหนุนการวิจัย ดังนั้นวัตถุประสงคที่สําคัญที่สุด
ของโครงการวิจัยก็คือ การทําใหผูใหเงินอุดหนุนเชื่อวา การวิจยั ที่จะทํานั้นมีระเบียบวิธีการวิจยั ทีด่ ี
มีขอบเขตที่ชัดเจน ครอบคลุมประเด็นสําคัญไดครบถวน มีความเปนไปได และมีประโยชน
สมควรไดรับเงินอุดหนุน (สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2540)

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


68

9.4 ขั้นตอนการเขียนโครงการวิจัย การเขียนโครงการวิจยั ถือวาเปนภาระที่สําคัญของ


ผูวิจัยทีด่ ําเนินการใหเปนระบบ มีความถูกตอง การเขียนโครงการวิจยั ใหไดดีผวู ิจยั จะตองมี ความรู
อยางนอย 2 ประการ คือ มีความรูเนื้อหาสาระที่จะทําการวิจยั (content) กลาวคือจะตองศึกษา
คนควาใหมีความรูในเรื่องทีจ่ ะทําการวิจยั เปนอยางดี และตองมีความรูในเรื่องระเบียบวิธีวิจยั
(methodology) ไดแกกระบวนการวิจัย การกําหนดตัวแปร การออกแบบวิจัย การเลือกกลุม
ตัวอยาง การสรางเครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การแปลผลขอมูล
และการเขียนรายงานการวิจยั นอกจากความรูดังกลาวขางตนแลว ผูวจิ ัยจะตองมีความเขาใจ
เกี่ยวกับขั้นตอนการเขียนโครงการวิจยั ซึง่ นงลักษณ วิรัชชัย (2543, หนา 399) ไดเสนอขั้นตอน
การเขียนโครงการวิจยั หรือโครงการเสนอทําวิจัย ไวดังนี้
9.4.1 การวางโครงราง (outline) นักวิจัยตองกําหนดโครงรางของโครงการ
เสนอทําวิจยั กอนลงมือเขียนโดยยึดรูปแบบของโครงการเสนอทําวิจยั เปนแนวทางในการกําหนด
แจกแจง หัวขอใหญ หัวขอยอย ตามลําดับขั้นของกระบวนการวิจยั
9.4.2 การเตรียมเนื้อหาสาระ ในขณะทีน่ ักวิจัยคิด และดําเนินการตามขั้นตอน
ของกระบวนการวิจยั นั้น นักวิจัยจะตองจดบันทึกความคิด รายละเอียดของขอเท็จจริง หลักฐาน
อางอิง ทฤษฎี และสาระ อื่น ๆ ตามหัวขอที่กําหนดไวในโครงรางของโครงการเสนอทําวิจัย
วิธีการจดบันทึกที่ดี นิยมบันทึกลงบัตรขนาด 5 คูณ 8 นิ้ว หรือกระดาษบันทึก โดยบันทึก
หนาเดียว และแยกหัวขอการบันทึกลงในบัตรหัวขอละใบเพื่อความสะดวกในการจัดเรียงลําดับ การ
สลับที่ การเพิม่ หรือการตัดทอนสาระ ในปจจุบันซึ่งมีวิทยาการคอมพิวเตอรกาวหนามาก นักวิจยั
อาจบันทึก และเตรียมเนื้อหาสาระโดยใชโปรแกรมเวิรดโปรเซสเซอร (word processor) แบบ
ตาง ๆ ก็ได
9.4.3 การเขียนราง (draft) ขั้นตอนนี้เปนการนําเนื้อหาสาระทีไ่ ดเตรียมไว
ลวงหนามาเรียบเรียงตามโครงรางที่กําหนดไวใหไดโครงการเสนอทําวิจัยฉบับราง ในขั้นตอนนี้
นักวิจัยไมควรพะวงกับการใชภาษาใหมากนัก แตควรใหความสําคัญตอการเรียบเรียงเนื้อหาสาระ
แตละ หัวขอและแตละยอหนาใหถูกตองตามหลักการวิจัย สิ่งที่ควรระมัดระวังคือ ยอหนาแตละ
ยอหนาควรมีใจความสําคัญเพียงประเด็นเดียวและทุกอยางตองมีความสอดคลองเชื่อมโยงกันตลอด
วิธีการเขียนตองเปนไปตามหลักเกณฑและสไตลในการเขียนโครงการเสนอทําวิจยั โดยเฉพาะใน
สวนที่เกีย่ วกับการอางอิง การเสนอตารางหรือแผนภาพ และบรรณานุกรม

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


69

9.4.4 การเกลาสํานวน ขั้นตอนนีเ้ ปนการแกไขปรับปรุงภาษาที่ใช และ


สํานวนใหมีความสละสลวยมากขึ้น นักวิจัยควรเลือกใชถอยคํางาย ๆ ใชประโยคสั้น กะทัดรัด
อานเขาใจงาย หลีกเลี่ยงคําหรือขอความที่ไมจําเปน เชน วลี “เปนที่ทราบกันดีอยูแลววา” “ตาม
ความเปนจริง” เปนตน งดเวนการใชคําซ้ําชอน พร่ําเพรื่อ โดยไมจําเปน รวมทั้งคําสันธานตาง ๆ
ควรใชแตทจี่ ําเปน
9.4.5 การบรรณาธิกรณและการปรับปรุง เมื่อผานขั้นตอนที่ 4 แลว นักวิจยั
จะไดโครงการเสนอทําวิจัยที่เกือบสมบูรณแลว ควรเก็บไว 4 – 5 วัน แลวนํากลับมาอานทบทวน
ไหมหากเปนไปไดใหเพื่อน หรือผูรูชวยอาน และวิจารณ แลวแกไขปรับปรุงทําไดหลายรอบจะยิ่ง
ทําใหไดผลงานที่ดีมากยิ่งขึน้
9.5 สวนประกอบของโครงการวิจยั โครงการวิจัยโดยทั่วไปจะมีสวนประกอบ
สําคัญเหมือนกัน แตอาจจะมีรายละเอียดบางอยางแตกตางกันไปบาง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับแตละ
หนวยงานหรือสถาบันวาไดกําหนดรูปแบบของการเขียนโครงการวิจยั ใหเหมาะสมกับความ
ตองการหรือลักษณะงานของตนเองไวอยางไร ดังนั้นในการเขียนโครงการวิจัย นักวิจยั จะตอง
พิจารณากอนวามีจุดมุงหมายเพื่ออะไร และเขียนเสนอใคร หนวยงานหรือสถาบันใดจะไดเขียนให
ถูกตองตามแบบที่แตละหนวยงานหรือสถาบันนั้นกําหนดไว เชน แบบเสนอโครงการวิจยั ของ
สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ และแบบเสนอโครงการของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการ
วิจัย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
9.5.1 สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ ไดกําหนดแบบเสนอ
โครงการวิจัย (แบบ ว – 1) ไวดังนี้

แบบเสนอโครงการวิจัย

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


70

ประกอบของบประมาณเพื่อการวิจัยประจําป……………
******************************

ลักษณะของการวิจัย…[ ] การวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ [ ] การวิจยั อื่น (โปรดดูคูมือตรวจสอบ)


แผนงานวิจัย……………………………………………………………….(โปรดดูคูมือตรวจสอบ)
แผนงานยอย……………………………………………………………….(โปรดดูคูมือตรวจสอบ)

สวนที่ 1 : สาระสําคัญของโครงการวิจัย
1. ชื่อโครงการ และรหัสหรือทะเบียนโครงการวิจยั ของหนวยงาน (ถามี)
2. หนวยงานที่รับผิดชอบ และที่อยู
3. คณะผูวจิ ัย และสัดสวนที่ทํางานวิจยั (%)
4. ในกรณีที่โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของงาน หรือโครงการใหญ โปรดระบุชื่องานหรือ
โครงการใหญ และชื่อหัวหนาโครงการใหญ
5. ในกรณีที่โครงการนี้ทําการวิจัยรวมกับหนวยงานอืน่ โปรดระบุชื่อหนวยงานและ
ลักษณะของการรวมงาน นัน้ ดวย
6. ประเภทของงานวิจยั (โปรดดูคําชี้แจง)
7. สาขาวิชาที่ทําการวิจยั (โปรดดูคูมือตรวจสอบ)
8. คําสําคัญของเรื่องที่ทําการวิจัย (keywords) (โปรดดูคําชี้แจง)
9. ความสําคัญ ที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย และการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ
(literature survey)
10. วัตถุประสงคของโครงการ
11. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
12. หนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน
13. การวิจัยทีเ่ กี่ยวของ และคลายคลึงกับงานวิจยั ที่ทานทํา
14. เอกสารอางอิง

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


71

15. ระเบียบวิธีวิจัย
16. ขอบเขตของการวิจยั
17. ระยะเวลาที่ทําการวิจยั
18. แผนการดําเนินงานตลอดโครงการ (ใหระบุขั้นตอนใหละเอียด)
19. สถานที่ที่ทําการทดลอง
20. อุปกรณในการวิจัย (ระบุรายละเอียดคุณลักษณะ)
- อุปกรณการวิจัยที่มีอยูแลว
- อุปกรณการวิจัยทีต่ องการเพิ่ม
21. รายละเอียดงบประมาณที่เสนอขอ (เฉพาะปที่เสนอขอ) ตามหมวดเงินประเภทตาง ๆ
(โปรดดูคูมือตรวจสอบ)
22. รายละเอียดงบประมาณที่จะเสนอขอในปตอๆ ไป ตามหมวดเงินประเภทตาง ๆ แตละ
ปตลอดโครงการ (กรณีเปนโครงการตอเนื่อง) และถาเปนโครงการตอเนื่องที่ไดดําเนินการมาแลว
โปรดระบุงบประมาณที่ไดรับอนุมัติในปที่ผานมาดวย (โปรดดูคูมือตรวจสอบ)
23. รายงานความกาวหนาของโครงการ
24. คําชี้แจงอื่น ๆ ถามี

สวนที่ 2 : ประวัติหัวหนาโครงการ / ผูวิจัยหลัก / ผูวิจัยรวม / ที่ปรึกษาโครงการ


1. ชื่อ (ภาษาไทย) นาย, นาง, น.ส. …………………………นามสกุล………………….
(ภาษาอังกฤษ)…………………………………………………………………………..
2. รหัสประจําตัว ………………………………………………………………………….
3. ตําแหนงปจจุบัน…………………………………………………………………………
4. ประวัตกิ ารศึกษา………………………………………………………………………..
ระดับปริญญา

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


72

ปที่จบ (ตรี โท เอก) อักษรยอ สาขาวิชา วิชาเอก ชื่อสถาบัน ประเทศ


การศึกษา และประกาศนียบัตร ปริญญา การศึกษา
และชื่อเต็ม
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………….
5. สาขาวิชาที่มีความชํานาญพิเศษ (แตกตางจากวุฒกิ ารศึกษา)
ระบุ
สาขาวิชา……………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………..
6. ประสบการณที่เกีย่ วของกับงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ : ระบุสถานภาพ
ในการทํางานวิจัยวา เปนหัวหนาโครงการวิจัย หรือผูรวมวิจัยในแตละเรื่อง
6.1 งานวิจยั ที่ทําเสร็จแลว : ชื่อเรื่อง ปที่พิมพ และสถานภาพในการทําวิจัย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
6.2 งานวิจยั ที่กําลังทํา : ชื่อเรื่องและสถานภาพในการทําวิจัย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


73

9.5.2 สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ไดกําหนดแบบเสนอ


โครงการวิจัยไว ดังนี้

แบบเสนอโครงการวิจัย

1. ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย)
(ภาษาอังกฤษ)
2. คณะผูดําเนินการวิจัย
2.1 หัวหนาโครงการ
2.2 นักวิจยั
3. สาขาวิชาที่ทําการวิจยั
4. ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย
5. วัตถุประสงคของโครงการ
6. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของและเอกสารอางอิง
7. การเชื่อมโยงกับนักวิจัยที่เปนผูเชี่ยวชาญในสาขาที่ทําการวิจยั
8. ระเบียบวิธีวิจัย
9. ขอบเขตของการวิจยั
10. อุปกรณทใี่ ชในการวิจยั
11. แผนการดําเนินงานตลาดโครงการและผลที่ไดรับ
12. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
13. งบประมาณ
14. ภาคผนวก (ประวัติคณะวิจัย)

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


74

10. สรุป

ในการออกแบบการวิจยั ผูวิจยั จําเปนทีจ่ ะตองคิดใหละเอียดรอบคอบวาในการวิจัยนั้นมี


ขั้นตอนการวิจัยอยางไร นับตั้งแตหวั ขอของการวิจยั ระบุปญหาที่จะทําการวิจัย การคัดเลือกแบบ
ของการวิจยั การเลือกกลุมตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล ไปจนถึงการ
รายงานผลการวิจัย ไมวาการวิจัยนั้นจะเปนการวิจัยเชิงทดลองหรือเปนการวิจัยเชิงบรรยายหรือเชิง
สํารวจ
ในการทํางานวิจัยจะตองมีการวงแผนการดําเนินงานเพือ่ ใหงานวิจยั ดําเนินไปไดและบรรลุ
เปเหมายอยางมีประสิทธิภาพจึงจําเปนที่จะตองมีการเขียนเคาโครงการวิจัยเพื่อเปนกรอบและ
แนวทางในการวิจัยวาจะทําวิจัยเรื่องอะไร ทําเพื่ออะไร ทําแลวไดประโยชนอะไร ใชงบประมาณ
เทาไร ใครเปนผูรับผิดชอบ

11. แบบฝกหัดทายบท

1. จงบอกถึงความหมายของการวางแผนการวิจัยและการออกแบบการวิจยั
2. วัตถุประสงคของการออกแบบการวิจยั มีอะไรบาง
3. ทําไมจึงตองมีการออกแบบการวิจยั
4. จงบอกถึงหลักในการออกแบบการวิจยั มาพอสังเขป
5. ลักษณะของการออกแบบการวิจัยทีด่ ีเปนอยางไร
6. ในการออกแบบการวิจยั เรามีเทคนิคในการออกแบบการวิจัยเชิงทดลองอยางไร
7. ในขั้นตอนของการวิจยั ตอไปนี้ควรตั้งคําถามแบบใด
ก. การกําหนดปญหา
ข. การคัดเลือกแบบของการวิจยั

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


75

ค. การเลือกตัวอยาง
ง. การเก็บรวบรวมขอมูล
จ. การวิเคราะหขอ มูล
ฉ. การรายงาน
ช. การประเมินภาพรวม
8. จงบอกถึงวัตถุประสงคของการวิจยั มาพอสังเขป
9. ในการเขียนเคาโครงการวิจัยมีขนั้ ตอนอยางไร

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam


76

เอกสารอางอิง

นงลักษณ วิรัชชัย. (2543). “การเขียนโครงการทําวิจยั และรายงานการวิจัย” ใน พรมแดนความรู


ดานการวิจัยและสถิติ รวมบทความทางวิชาการของ ดร. นงลักษณ วิรชั ชัย. หนา 393 –
418. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
นงลักษณ วิรัชชัย. (2543). “แผนแบบการวิจัย” ใน พรมแดนความรูด านการวิจัยและสถิติ รวม
บทความทางวิชาการของ ดร. นงลักษณ วิรชั ชัย. หนา 117 – 125. ชลบุรี: มหาวิทยาลัย
บูรพา.
ผองพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ. (2543). การออกแบบการวิจัย. พิมพครั้ง ที่ 3
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2543). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฏ
พระนคร.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2536). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 8
กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 10
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพเลี่ยงเชียง.
สุบรรณ พันธวิศวาส และชัยวัฒน ปญจพงษ. (ม.ป.ป.). ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบตั ิการ.
กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพโอดียนสโตร.
Kerlinger, F. N. (1986). Foundation of Behavior Research. (3rd.ed.). New York: holt &
Rineheart.
Wiersma, W. (1986). Research Methods in Education : An Introduction. Boston: Allyn
and Bacon.

e-Version 2009 Tiradate Pimtongngam

You might also like