You are on page 1of 3

ประวัติวันเข้าพรรษา

วันเข้าพรรษา เป็นวันสำาคัญในพุทธศาสนาวันหนึง่ ทีพ


่ ระสงฆ์อธิษฐานว่าจะพักประจำาอย่่ ณ ทีใ่ ดทีห
่ นึง่

ตลอดระยะเวลา ฤด่ฝนทีม
่ ีกำาหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามทีพ
่ ระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไป

ค้างแรมทีอ
่ ืน
่ หรือทีเ่ รียกติดปากกัน โดยทัว
่ ไปว่า จำาพรรษา ("พรรษา" แปลว่า ฤด่ฝน ,
"จำา" แปลว่า อย่่ ) พิธีเข้าพรรษานีถ
้ ือเป็นศาสนาพิธีสำาหรับพระภิกษุโดยตรง ละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใดๆ

ก็ตาม เริม
่ นับตัง้ แต่วันแรม 1 คำา
่ เดือน 8 ของทุกปี และสิน
้ สุดลงในวันขึน
้ 15 คำา
่ เดือน 11
หรือวันออกพรรษา
ประวัติวันเข้าพรรษา
ในสมัยพุทธกาลนัน
้ พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงบัญญัติพระวินัยให้พระสงฆ์สาวกอย่่ประจำาพรรษา เหล่าภิกษุสงฆ์
จึงต่างพากันออกเดินทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทีต
่ ่างๆ โดยไม่ย่อท้อทัง้ ในฤด่หนาว ฤด่ร้อน และฤด่ฝน
ต่อมาชาวบ้านได้พากันติเตียนว่า พวกสมณะไม่ยอมหยุดพักสัญจรแม้ในฤด่ฝน ในขณะทีน
่ ักบวชในศาสนาอืน

พากันหยุดเดินทางในช่วงฤด่ฝน การทีพ
่ ระภิกษุสงฆ์จาริกไปในทีต
่ ่างๆ แม้ในฤด่ฝน อาจเหยียบยำ่าข้าวกล้า
ของชาวบ้านได้รับความเสียหาย หรืออาจไปเหยียบยำ่าโดนสัตว์เล็กสัตว์น้อยทีอ
่ อกหากินจนถึงแก่ความตาย

เมือ
่ พระพุทธเจ้าทราบเรือ
่ ง จึงได้วางระเบียบให้ภิกษุประจำาอย่่ทีว
่ ัดเป็นเวลา 3 เดือน พระสงฆ์ทีเ่ ข้าจำา

พรรษาแล้วจะไปค้างแรมทีอ
่ ืน
่ ไม่ได้ แต่ถ้าหากเดินทางออกไปแล้วและไม่สามารถกลับมาในเวลาทีก
่ ำาหนด

คือ ก่อนรุ่งสว่าง ก็จะถือว่าพระภิกษุร่ปนัน "


้ ขาดพรรษา”

แต่หากมีกรณีจำาเป็นบางอย่าง พระภิกษุผ้่จำาพรรษาสามารถไปค้างทีอ
่ ืน
่ ได้ โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษา

แต่ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน ก็คอ


1.การไปรักษาพยาบาลภิกษุ หรือบิดามารดาทีเ่ จ็บป่ วย


2.การไประงับภิกษุสามเณรทีอ่ ยากจะสึกมิให้สึกได้
3.การไปเพือ่ กิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิทีช่ ำารุด
4.หากทายกนิมนต์ไปทำาบุญ ก็ไปฉลองศรัทธาในการบำาเพ็ญกุศลของเขาได้
ประเภทของการเข้าพรรษา

การเข้าพรรษาแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ

ปุริมพรรษา (เขียนอีกอย่างว่า บุริมพรรษา) คือ การเข้าพรรษาแรก เริม


่ ตัง้ แต่วันแรม 1 เดือน 8
(สำาหรับปี อธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริม
่ ในวันแรม 1 คำ่า เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึน
้ 15
คำ่า เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระทีอ
่ ย่่จำาพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสท
ิ ธิทีจ
่ ะรับกฐินซึง่ มีช่วง

เวลาเพียงหนึง่ เดือน นับตัง้ แต่วันแรม 1 คำา


่ เดือน 11 ถึงขึน
้ 15 คำ่า เดือน 12
ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีทีพ
่ ระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำาให้กลับมา

เข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 คำ่า เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 คำา


่ เดือน 9
แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึน
้ 15 คำา
่ เดือน 12 ซึง่ เป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนัน
้ พระภิกษุทีเ่ ข้า

ปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระทีเ่ ข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน


เครือ
่ งอัฐบริขารของภิกษุระหว่างการจำาพรรษา
โดยปรกติเครือ
่ งใช้สอยของพระภิกษุตามพุทธาอนุญาตทีใ่ ห้มีประจำาตัวนัน
้ มีเพียง อัฐบริขาร ซึง่ ได้แก่ สบง
จีวร สังฆาฏิ เข็ม บาตร รัดประคด หม้อกรองนำา
้ และมีดโกน แต่ช่วงหน้าฝนของการจำาพรรษาในสมัยก่อน

นัน
้ กว่าพระสงฆ์จะหาทีพ
่ ักแรมได้ บางครัง้ ก็ถ่กฝนเปี ยกปอน ชาวบ้านผ้่ใจบุญจึงถวาย "ผ้าจำานำาพรรษา"
หรือทีเ่ รียกกันโดยทัว
่ ไปว่า ผ้าอาบนำา
้ ฝน เพือ
่ ให้พระสงฆ์ได้ผลัดเปลีย
่ น และยังถวายของจำาเป็นแก่กิจประจำา
วันเป็นพิเศษในช่วงเข้าพรรษา จนเป็นประเพณีทำาบุญสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน
การปฏิบัติตนในวันเข้าพรรษา
แม้การเข้าพรรษาจะเป็นเรือ
่ งของภิกษุ แต่พุทธศาสนิกชนก็ถือเป็นโอกาสดีทีจ
่ ะได้ทำาบุญ รักษาศีล และชำาระ
จิตใจให้ผ่องใส ในวันนีห
้ รือก่อนวันนีห
้ นึง่ วัน พุทธศาสนิกชนมักจะจัดเครือ
่ งสักการะเช่น ดอกไม้ ธ่ปเทียน
เครือ
่ งใช้ เช่น สบ่่ ยาสีฟัน เป็นต้น มาถวายพระภิกษุ สามเณรทีต
่ นเคารพนับถือ หรือมีการช่วยพระ
ทำาความสะอาดเสนาสนะ ซ่อมแซมกุฏิวิหารและอืน
่ ๆ พอถึงวันเข้าพรรษาก็จะไปร่วมทำาบุญตักบาตร ฟั ง
เทศน์ ฟั งธรรมและรักษาอุโบสถศีลกันทีว
่ ัด บางคนอาจตัง้ ใจงดเว้นอบายมุขต่างๆ เป็นกรณีพิเศษ เช่น งด
เสพสุรา งดฆ่าสัตว์ เป็นต้น
มีประเพณีทีส
่ ำาคัญและสืบทอดกันเรือ
่ ยมา ก็คือ ประเพณีหล่อเทียนพรรษา สำาหรับให้พระภิกษุและ

พุทธศาสนิกชนทัว
่ ไปได้จุดบ่ชาพระประธานในโบสถ์ซึง่ เทียนพรรษาสามารถอย่่ได้ตลอด 3 เดือน และเป็น

กุศลทานอย่างหนึง่ ในการให้ทานด้วยแสงสว่าง อีกทัง้ มีการ "ประกวดเทียนพรรษา" ของแต่ละจังหวัดโดย

จัดเป็นขบวนแห่ทัง้ ทางบกและทางนำา

.กิจกรรมต่างๆ ทีค่ วรปฏิบัติในวันเข้าพรรษา
1.ร่วมกิจกรรมทำาเทียนจำานำาพรรษา
2.ร่วมกิจกรรมถวายผ้าอาบนำา้ ฝน และจตุปัจจัย แก่ภิกษุสามเณร
3.ร่วมทำาบุญ ตักบาตร ฟั งพระธรรมเทศนา รักษาอุโบสถศีล
4.อธิษฐาน งดเว้นอบายมุขต่างๆ
5.อย่่กับครอบครัว

You might also like