You are on page 1of 22

สไลด์ ฟิล์มสตริป

สไลด์และฟิล์มสตริปจะช่วยเร้าความสนใจแล
ะแปลความหมายของเนื้อหาวิชาได้ดี
และถูกต้องกว่าการฟังแต่เพียงอย่างเดียว
สไลด์ (Slides)
สไลด์ (Slides) คืออะไร
 สไลด์เป็นแผ่นภาพนิ่งโปร่งแสง ที่มีภาพบันทึกอยู่บนฟิล์มหรือกระจก
ลักษณะของภาพที่ปรากฏบนสไลด์ไม่ว่าจะเป็นสไลด์ที่ทำาด้วยฟิล์ม
หรือสไลด์ที่ทำาด้วยกระจกก็ตาม
จะเป็นภาพที่มีลักษณะตรงกับความเป็นจริงทั้งสีและขาวดำา
สำาหรับกรอบภาพมักนิยมหุ้มด้วยกรอบกระดาษหรือกรอบพลาสติก
หรือกรอบโลหะ
ประเภทของสไลด์
 สไลด์ที่นิยมใช้แบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
 1. สไลด์ที่ทำาด้วยกระจก (Lantern Slide) เป็นภาพโปร่งแสงบนแผ่นกระจก
สไลด์ชนิดนี้มีขนาด 3.25” x 4” หรือขนาด 3” x 3”
เป็นสไลด์ขนาดมาตรฐานและเป็นสไลด์ชนิดแรกที่นำามาใช้ในการเรียนการส
อน ข้อดีของสไลด์ขนาด 3.25” x 4” คือให้ภาพขนาดใหญ่และชัดเจน
จึงให้รายละเอียดได้มาก
ประเภทของสไลด์ (ต่อ)
 2. สไลด์ที่ทำาด้วยฟิล์ม (Film Slide) ทีน่ ิยมส่วนมากเป็นขนาด 2” x 2”
สามารถทำาได้โดยวิธีการถ่ายรูป (Photographic Slide)
อาจจะเป็นฟิล์มสีหรือฟิลม์ ขาวดำา ในประเทศไทยส่วนมากนิยมใช้ฟิล์มขนาด
35 มม. ซึ่งเป็นขนาดทีใ่ ช้กับกล้อง 35 มม. มาตรฐานทัว่ ไป
และเป็นทีน่ ิยมใช้กันมากเนื่องจากใช้สะดวก คุณภาพสีดีมาก ราคาไม่แพง
และจัดหาได้ง่าย ตลอดจนสะดวกในการจัดเก็บเนื่องจากมีขนาดเล็ก
และนำ้าหนักเบา
คุณค่าทั่วไปของสไลด์
 เตรียมสไลด์ได้จากกล้อง 35 มม. ทุกชนิดและผู้สอนสามารถทำาสไลด์เองได้
 วิธีทำาใช้เพียงฟิล์ม นำาไปล้างแล้วนำามาเข้ากรอบ
 สะดวกในการทำาขึ้นใหม่ ทำาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ เมื่อแผ่นใดเก่าก็ทิ้งไป
และเปลี่ยนแผ่นใหม่แทนได้
 จัดลำาดับภาพได้ตามทีเ่ ราต้องการ หรือนำาไปใช้สลับกับชุดอื่นๆได้
 สะดวกในการใช้ และการเก็บรักษา เพราะเก็บไว้ที่เล็กๆได้ และมีนำ้าหนักเบา
 ใช้ร่วมกับเทปได้เมื่อมีการบรรยายข้อความ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น
 สไลด์สมารถใช้กับเครื่องฉายฟิลม์ สตริปได้
 ไม่ต้องใช้ห้องทีม่ ืดมากในการฉายสไลด์
คุณค่าของสไลด์ตอ่ การศึกษา
 สามารถทำาสไลด์ได้จากภาพวาด ข้อความต่างๆ ตัวพิมพ์ดีด สิ่งพิมพ์ รูปภาพ
และทำาได้ทงั้ ในรูปแบบสี และขาวดำา
และสามารถนำาฟิล์มทีเ่ สียแล้วนำามาใช้วาดรูปประกอบจัดทำาเป็นสไลด์ได้
 สามารถฉายได้นานตามที่ต้องการ และฉายสลับภาพหรือย้อนกลับ
 สไลด์ช่วยให้นกั เรียนศึกษาได้ด้วยตนเอง และใช้ทบทวนบทเรียน
ช่วยให้นักเรียนจำาสิ่งทีเ่ รียนผ่านมาแล้วได้มากขึน้
 สามารถรวมจุดสนใจของผู้เรียน และเร้าความสนใจของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
และช่วยประกอบการอธิบายของอาจารย์ให้เข้าใจได้ชัดเจนและง่ายขึน้
 ใช้สอนได้ทุกระดับ ตั้งแต่ชั้นประถมจนถึงมหาวิทยาลัย
คุณค่าของสไลด์ต่อการศึกษา (ต่อ)
 ใช้ร่วมกับอุปกรณ์อื่นสะดวก เช่น ใช้ร่วมกับภาพยนตร์ เครื่องบันทึกเสียง
 โรงเรียนส่วนมากมีกล้องถ่ายรูปและเครื่องใช้อยู่แล้ว
จึงสะดวกในการทำาสไลด์
 สไลด์มีราคาไม่แพงนัก การเก็บรักษาจึงไม่ต้องระวังว่าจะหาย
 พื้นทีภ่ าพในสไลด์มีมากกว่าฟิล์มสตริป ทำาให้เห็นภาพได้ชดั เจนกว่า
และให้รายละเอียดปลีกย่อยได้ชดั เจนกว่า สามารถปรับปรุง
แก้ไขภาพทีผ่ ิดหรือชำารุดหรือล้าสมัยได้ง่ายกว่าฟิลม์ สตริป
 ใช้สอนได้ทุกกระบวนวิชา
ข้อจำากัดของสไลด์
 ภาพอาจกระจัดกระจายกันอยู่ทำาให้การเรียงลำาดับภาพสับสนได้
 เครื่องฉายสไลด์มีราคาแพงกว่าเครื่องฉายฟิล์มสตริป
 เมื่อเปรียบเทียบกับฟิล์มสตริป
สไลด์ที่ผลิตจำาหน่ายมีราคาแพงกว่าฟิล์มสตริป
การเก็บสไลด์
ให้มีสภาพดี คงทน และสะดวกในการนำาไปใช้ ทำาได้ดังนี้
 เก็บเรียงลำาดับในกล่องสไลด์ โดยวางเรียงในแนวตั้ง

 เก็บในแผ่นซองพลาสติกซึ่งทำาเป็นช่องๆ สำาหรับสอดสไลด์เข้าไป

 เก็บในตู้เก็บสไลด์

 เก็บในถาด (Tray) หรือกล่อง (Magazine) สำาหรับฉายสไลด์

โดยวางสไลด์ตามแนวตั้งในช่องบรรจุสไลด์ตามหมายเลขช่อง
วิธีรกั ษาสไลด์
 เข้ากรอบสไลด์เพื่อป้องกันฝุ่นละออง รอยนิว้ มือ
และการโค้งงอเมื่อถูกความร้อนในเครื่องฉาย
 เวลาจับสไลด์ ไม่ควรให้ถูกฟิล์ม เพราะจะทำาให้รอยนิว้ มือปรากฏบนสไลด์
ควรจับทีข่ อบหรือกรอบสไลด์
 เก็บสไลด์ให้พ้นจากความร้อน ถ้าเก็บไว้ในตู้เก็บสไลด์ควรใส่สารเคมีกันชื้น
 เมื่อกรอบสไลด์ฉีกขาดควรเปลี่ยนใหม่ทันที
 ในขณะเคลื่อนย้ายสไลด์ไปในที่ต่างๆ ควรบรรจุสไลด์ไว้ในกล่องแบ่งเป็นชุด
หรือเป็นเรื่อง เพื่อไม่ให้สญ
ู หาย
 หลังจากการใช้สไลด์แล้ว ควรเก็บเข้าทีเ่ ดิมให้เรียบร้อย
ฟิล์มสตริป
ฟิลม์ สตริป คืออะไร
 ฟิล์มสตริป
เป็นอนุกรมของภาพนิ่งโปร่งแสงชุดหนึ่งที่มีเรื่องราวติดต่อกันเรียงตามลำาดับ
อยู่บนฟิล์มที่มีขนาดกว้าง 35 มม. ใต้ภาพแต่ละภาพจะมีคำาบรรยาย (Caption)
ฟิล์มสตริปหนึ่งเรื่อง มักจะจบในหนึ่งม้วน ซึ่งมีความยาวนับเป็นจำานวนภาพ
(Frames) โดยทั่วไปจะมีภาพระหว่าง 20-50 ภาพ
แต่ในบางเรื่องอาจจะยาวกว่านี้ ภาพที่ปรากฏจะเป็นภาพชนิด “โพสิทีฟ
(Position)” มีทงั้ สีและขาวดำา
ประเภทของฟิล์มสตริป
 ฟิล์มสตริปแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
 1. ฟิล์มสตริปชนิดธรรมดา หรือหนึ่งกรอบภาพ (Single Frame Filmstrip )
มีขนาดเป็นครึ่งหนึ่งของภาพสไลด์ปกติ คือมีขนาดเท่ากับ 1″×0.75″
เป็นชนิดทีฉ่ ายแบบแนวตั้งหรือทางตั้ง (Vertical Projection Filmstrip)
ซึ่งเป็นขนาดมาตรฐานของประเทศแถบอเมริกาเหนือ
(ประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา)
 2. ฟิล์มสตริปชนิดภาพโต หรือกรอบภาพคู่ (Double Frame Filmstrip)
มีขนาด 1″×1.25″ เป็นชนิดพิเศษทีฉ่ ายตามแนวนอน (Horizontal Projection
Filmstrip) เป็นทีแ่ พร่หลายในประเทศแถบยุโรป
ประเภทของฟิลม์ สตริป (ต่อ)

ปัจจุบันได้มีการบันทึกเสียงคำาบรรยายบนเทปคาสเซทใช้ควบคูก่ ันไปกับฟิล์
ม เรียกว่า ฟิล์มสตริปประกอบเสียง (Sound filmstrip)
โดยเครื่องฉายฟิล์มสตริปอาจมีเครื่องเสียงในตัว
และเทปเสียงมีสัญญาณควบคุมให้ภาพและเสียงสัมพันธ์กัน
คุณค่าทั่วไปของฟิลม์ สตริป
 ใช้ง่าย
 ราคาไม่แพง
 ไม่เปลืองทีเ่ ก็บ
 ไม่ต้องใช้ห้องมืดมาก
 จัดภาพไว้ตามลำาดับ
 มีให้เลือกใช้กับวิชาต่างๆมากมาย
คุณค่าทางการศึกษาของฟิลม์ สตริป
 เพื่อเป็นรากฐานให้เกิดความเข้าใจสัญลักษณ์ตา่ งๆ
 เพื่อสอนทักษะ
 เพื่อให้ความรู้
 เพื่อใช้แทนหรือลดขนาดของอุปกรณ์อื่นๆ
 เพื่อส่งเสริมให้ผเู้ รียนรู้สึกชื่นชมในสุนทรียภาพ
 เพื่อให้ผเู้ รียนสนใจในเรื่องที่จะเรียนต่อไป
 เพื่อทบทวนเรื่องที่เรียน
 เพื่อรวมจุดความสนใจของนักเรียน
 เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์อื่นได้ดียิ่งขึน้
 เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกหัดทักษะในด้านต่างๆ
ข้อจำากัดของฟิลม์ สตริป
 ฟิล์มสตริปเป็นภาพนิ่ง
 ภาพในฟิล์มสตริปเรียงลำาดับไว้ตายตัว
 ฟิล์มสตริปชำารุดเสียหายง่าย และยากที่จะซ่อมแซมได้
การเก็บรักษาฟิล์มสตริป
 ฟิล์มสตริปให้ม้วนเก็บไว้ในแมกกาซีน
สำาหรับบรรจุฟิล์มสตริปแยกเป็นม้วนๆแล้วเก็บในตู้สำาหรับเก็บฟิล์มสตริป
ซึ่งมีลกั ษณะเป็นช่องๆขนาดเท่ากับของแมกกาซีน
เพื่อสะดวกในการหยิบใช้
ข้อได้เปรียบ – เสียเปรียบ ระหว่างสไลด์และฟิล์มสตริป

• ทำาได้งา่ ยสามารถทำาขึ้นใช้เองใ • เห็นได้งา่ ย ไม่สับสน


ห้เหมาะสมตามความมุ่งหมายข • ใช้สะดวก
องบทเรียน ใส่เครื่องฉายครั้งเดียวแล้วหมุน
• ราคาถูก เดินหน้าไปเรื่อยๆจนจบเรื่อง
• เวลาฉายอาจใส่เรียงลำาดับใหม่ได้ • มีคำาบรรยายอยูใ่ ต้ภาพ
• ทำาใหม่เพิ่มเติมได้และนำาถึงภา และบางม้วนมีคำาสรุปไว้ให้อย่าง
พทีไ่ ม่ต้องการออก เรียบร้อย
• ถ้าใช้ไม่ระวังอาจสูญหายได้ • ถึงแม้จะผลิตได้เองแต่คอ ่ นข้างย
• สไลด์ทม ี่ ักจะสลับทีก
่ น
ั เสมอ ากและแพง
ก่อนฉายทุกครั้งจึงต้องเสียเวล • เป็นภาพอนุกรมทีต ่ ิดกันตายตัว
ี าตรวจสอบ จึงดัดแปลงหรือสลับหรือเพิม ่ ตา
• เวลาฉายต้องเสียเวลาบรรจุสไ มความประสงค์ของบทเรียนไม่ไ
ลด์เข้าเครื่อง ทำาให้เสียเวลา ด้
• การมีคำาบรรยายใต้ภาพ
ทำาให้นก ั เรียนสนใจภาพน้อยลง
ผูจ้ ัดทำา
 นางสาวกาญจนา ดิษสมาน
รหัสนิสิต 48101010431

 นางสาวณัฐฐา เกิดมณี

รหัสนิสิต 48101010435

You might also like