You are on page 1of 13

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย

 กฎหมาย คือ คำำสั่งของรัฐ ใครฝ่ำฝืนถูกลงโทษ สั้นๆง่ำยๆได้ใจควำม


 ลักษณะกฎหมาย หลักๆก็มีอยู่ 5 ข้อ แต่ขอให้จำำแม่นๆ คือ 2 ข้อแรกนะ เพรำะมันเด่นๆ

1) มาจากรัฏฐาธิปัตย์ ต้องเป็นคนที่มีอำำนำจในทำงกฎหมำยด้วย ถ้ำในไทย ก็ รัฐสภำ


2) มีสภาพบังคับ ทำำผิด ฝ่ำฝืน ต้องโดนลงโทษ *เป็นจุดเด่นที่ทำำให้ กม. ต่ำงจำกศำสนำ
3) ใช้ได้ทั่วไป ใช้ได้กับทุกคน ในพื้นที่ที่กำำหนดไว้ทำงกฎหมำย ยกเว้น king
4) ใช้ได้เสมอ ใช้ได้เรื่อยๆ จนกว่ำจะถูกยกเลิก
5) ไม่มีผลย้อนหลัง ถ้ำแก้ กม. ใหม่ จะเอำมำย้อนหลัง ควำมผิดที่ทำำไปแล้วไม่ได้
เว้นแต่ว่ำจะเป็นประโยชน์ต่อจำำเลย
 ระบบกฎหมาย

1) Civil Law กฎหมายลายลักษณ์อักษร ตัดสินคดีต่ำงๆจำกที่จดๆกันไว้


คนที่จดหรือสร้ำงไว้ ก็คือ “รัฐสภำ” = รัฐสภำ เป็นที่มำของกฎหมำยนี้
ประเทศที่ใช้ : อิตำลี ไทย ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น ออสเตรีย บรำซิล สวิตฯ
2) Common Law กฎหมายจารีตประเพณี ตัดสินคดีโดยกำรนำำคำำพิพำกษำของศำลก่อนๆมำใช้
ดังนั้น “ศำล” จึงเป็นที่มำของ กม.นี้
ประเทศที่ใช้ : อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อเมริกำ มำเลเซีย สิงคโปร์
* Civil Law เวลำเกิดช่องว่ำงของกฎหมำย จะเอำจำรีตประเพณีมำตัดสิน
 บ่อเกิดของกฎหมายไทย ประเทศไทยถือตำมแบบ Civil Law เรำสำมำรถแบ่งประเภทได้ดังนี้

1) รัฐธรรมนูญ กม.สูงสุดของประเทศ กำำหนดในเรื่องกำรใช้อำำนำจอธิปไตย


กำำหนดสิทธิ เสรีภำพ หน้ำที่ของประชำชน
2) พ.ร.บ. ประกอบ รัฐธรรมนูญ ขยำยรำยละเอียดจำกรัฐธรรมนูญ
3) พ.ร.บ. กม. ที่ฝำ่ ยนิติบัญญัติ (รัฐสภำ) เป็นผู้ออก ถือว่ำเป็น “กฎหมำยโดยแท้”
ถ้ำเอำเรื่องเดียวกัน มำจัดหมวดจัดหมู่ก็จะกลำยเป็น “ประมวลกฎหมำย”
* ดังนั้นถ้ำพูดถึงลำำดับศักดิ์ พ.ร.บ. จะเท่ำกับ ประมวลกฎหมำย
4) พ.ร.ก. กม. ที่ออกโดยฝ่ำยบริหำร ออกเมื่อยำมบ้ำนเมืองยำ่ำแย่!!!
*ข้อสังเกต ถ้ำตำมลำำดับศักดิ์แล้ว ปกติ พ.ร.ก. จะเท่ำกับ พ.ร.บ. แต่!! ในควำมเป็นจริงแล้ว
พ.ร.ก. มีภำษีน้อยกว่ำ พ.ร.บ. และประมวลกฎหมำย ซึ่งทั้งสองอันนี้เป็น “กฎหมำยแท้”
ดังนั้นในข้อสอบ เรำควรเอำ พ.ร.บ. กับ ประมวลกฎหมำยขึ้นก่อน พ.ร.ก. นะ
5) พ.ร.ฎ. กม. ที่ King ตรำตำมคำำแนะนำำของคณะรัฐมนตรี ขยำยรำยละเอียด พ.ร.บ.
6) กฎกระทรวง รมต.กระทรวงเป็นผู้ตรำ แต่ต้องได้รับกำรยอมรับจำกคณะรัฐมนตรีด้วย
เนื้อหำเหมือนๆกับ พ.ร.ฎ. แต่เรื่องไม่ค่อยสำำคัญ
7) ข้อบัญญัติองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กม. ที่ท้องถิ่นออกเอง เพื่อไปบังคับใช้กับประชำชน ได้แก่ ข้อบัญญัติ อบจ. , ข้อบัญญัติ อบต.
เทศบัญญัติ , ข้อบัญญัติ กทม. , ข้อบัญญัติเมืองพัทยำ

ต่อมำดูเรื่องลำาดับศักดิ์กฎหมายกันบ้ำงนะ เรำสำมำรถสรุปได้ ดังนี้


1.รัฐธรรมนูญ
2.พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ, ประมวลกฎหมำย, พระรำชบัญญัติ, พระรำชกำำหนด
3.พระรำชกฤษฎีกำ
4.กฎกระทรวง
5.ประกำศกระทรวง
6.ข้อบังคับ
กฎเกณฑ์ : ศักดิ์ตำ่ำกว่ำขัดศักดิ์สูงกว่ำไม่ได้ ถ้ำขัดกัน ศักดิ์ตำ่ำกว่ำก็โดนยกเลิกไป
*เพิม่ เติม ถ้ำหำกเกิดข้อสงสัยว่ำ กม. นีข้ ัดกับ รัฐธรรมนูญไหม? ต้องถำม “ศาลรัฐธรรมนูญ”

 ประเภทของกฎหมาย แบ่งกันหลำยแบบหลำยแนวนะ แต่เอำหลักๆ 2 อย่ำงคือ


1) แบ่งตามคูก่ รณี
- กฎหมำยมหำชน = บุคคลกับรัฐ = กม. ที่น่ำจำำคือ กม.ล้มละลำย , ป.วิ ทั้งหลำย , รัฐธรรมนูญ
- กฎหมำยเอกชน = บุคคลกับบุคคล = มีอยู่ตัวเดียว คือ กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
- กฎหมำยระหว่ำงประเทศ = รัฐกับรัฐ = มี 3 แผนกคือ คดีเมือง,บุคคล,อำญำ
2) แบ่งตามบทบาท
- กฎหมำยสำรบัญญัติ = เนื้อควำมของกฎหมำย = แพ่ง อำญำ
- กฎหมำยสหบัญญัติ = ระบุวิธีกำรดำำเนินคดี = ป.วิต่ำงๆ ,พระธรรมนูญศำลยุติธรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………
 Note :
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
Part 1 : ลักษณะบุคคล
 บุคคล สิ่งที่ กม. รับรองให้มีสิทธิและหน้ำที่ได้ตำม กม. หรือเรียกว่ำ “ผู้ทรงสิทธิ” แบ่งได้ 2 ประเภท
1) บุคคลธรรมดา ก็คือคนธรรมดำๆ เนี่ยแหละ
- กำรเริ่มสภำพบุคคลจะเริ่มก็ต่อเมื่อ “คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทำรก”
- สิ้นสุดเมื่อตำย ซึ่งกำรตำยมี 2 แบบคือ ตำยตำมธรรมชำติ กับตำยด้วยผลของ กม. (สำบสูญ)
กำรตำยด้วยผลของ กม. จะต้องถูกศาลสั่งว่ำ สำบสูญเท่ำนั้น จะเอำไปพูดเองไม่ได้
โดยให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือพนักงำนอัยกำรยื่นร้องขอต่อศาล แต่มีเงื่อนไขว่ำ
บุคคลนั้นต้องหายไปจากภูมิลำาเนา (ที่ๆอยู่ปกติ) 5 ปี หรือ 2 ปี (ในกรณีร้ำยแรง ไม่นำ่ รอด)
- บุคคลธรรมดำสำมำรถกระทำำกำรใดๆก็ได้ แต่บุคคล 4 ประเภทที่ถูกจำำกัดควำมสำมำรถ ได้แก่
ผู้เยำว์ / คนวิกลจริต / คนไร้ควำมสำมำรถ / คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
2) นิติบุคคล มันไม่ใช่คน!! แต่ กม. รับรองให้มันมีสิทธิและหน้ำที่เหมือนคน โอเค๊?
- เริ่มสภำพนิติบุคคลก็ต่อเมื่อ ทำำกำรจดทะเบียนต่อเจ้ำหน้ำที่
- สิ้นสุดสภำพบุคคลก็ต่อเมื่อ ปิดกิจกำร หรือล้มละลำย!!
- นิติบุคคลมี 2 ประเภทได้แก่ นิติบุคคลตำม กม. เอกชน และนิติบุคคลตำม กม. มหำชน
ถ้ำตาม กม. เอกชนก็ได้แก่ ห้ำงหุ้นส่วน บริษัทจำำกัด บริษัทมหำชนจำำกัด สมาคม มูลนิธิ
ถ้ำตาม กม. มหาชนเช่น กระทรวง ทบวง กรม มหำวิทยำลัยของรัฐ วัดในพุทธฯ พรรคกำรเมือง
 ความสามารถของบุคคล เรำมำเม้ำส์ถึงบุคคลที่ถูกจำำกัดควำมสำมำรถ 4 คนดีกว่ำเนอะ

1) ผู้เยาว์ คือคนที่ยังไม่บรรลุนิติภำวะ จะบรรลุก็ต่อเมื่ออายุ 20 ปีบริบูรณ์ แต่ถำ้ เรำอยำกจะ


บรรลุผู้เยำว์ก่อนวัยอันควรก็ทำำได้นะ โดยกำรแต่งงานตอนอำยุไม่ตำ่ำกว่ำ 17 ปีพ่อแม่ต้องยินยอมด้วย
แต่ถ้ำตำ่ำกว่ำ 17 ปีให้พ่อแม่ไปร้องขอกับศาลนะจ้ะ เอำละมำดูว่ำผู้เยำว์อย่ำงเรำๆทำำอะไรกับเค้ำได้บ้ำง
- ทำำพินัยกรรม (อำยุ 15 ปีบริบูรณ์)
- รับรองบุตร (สำำหรับผู้ชำย นะฮะ ,ผูห ้ ญิงคลอดออกมำยังไงก็บุตรของหล่อนอะคะ ไม่ต้องรับรอง)
- รับทรัพย์โดยควำมรู้สึกใคร่ (เสน่หำ) ไร้ภำระผูกพันธ์
- เล็กๆน้อยๆที่ทำำได้
นอกนั้น จะทำำนิติกรรมอะไร “ผู้แทนโดยธรรม” ต้องยินยอม ไม่งั้นนิติกรรมที่ผู้เยำว์ทำำถือว่ำเป็น “โมฆียะ”
ระวังงงงง!!! มีอย่ำงเดียวที่ผู้เยำว์ทำำแล้วเป็น “โมฆะ” คือ กำรทำำพินัยกรรม นะจ้ะ!!!
2) คนวิกลจริต เป็นพวกที่มีปัญหำทำงจิตจนบำงครั้งควบคุมตัวเองไม่ได้ จัดเป็นร่ำงออริจินอล ก่อนกลำยพันธุ์
เป็น “คนไร้ควำมสำมำรถ” เพรำะระหว่ำงนี้ศำลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ควำมสำมำรถ สัง่ ปุ๊ป ถึงจะกลำยร่ำง
ใหม่ คนพวกนี้โชคดีที่ยังทำำนิติกรรมต่ำงๆได้ แต่ถ้ำ 1.ทำาตอนวิกลจริต และ 2. คู่สัญญารู้ว่าคนนั้นวิกลจริต
นิติกรรมนั้นก็ต้องตกเป็น ”โมฆียะ”
3)คนไร้ความสามารถ กลำยร่ำงมำจำก “คนวิกลจริต” เพรำะถูกศำลสั่งแล้ว ตอนนี้ทำำนิติกรรมเองไม่ได้แล้ว
ต้องให้ “ผู้อนุบาล” ที่ศำลได้แต่งตั้งให้ ทำาแทนเท่ำนั้น ยำ้ำว่ำ ทำำแทน ไม่ใช่ยินยอม
ไม่งั้นนิติกรรมนั้นเป็นโมฆียะ (ยกเว้น พินัยกรรม ทำำแล้วเป็นโมฆะ นะจ้ะ)
4) คนเสมือนไร้ความสามารถ ไม่ได้มีปัญหำทำงจิตเหมือน แค่บกพร่องบำงอย่ำง จนบำงครั้งกำำหนดเจตนำ
ตัวเองไม่ได้ เช่น กายพิการ,จิตฟั่นเฟือน (ไม่ถึงขนำดวิกลจริตนะ เช่น ขี้หลงขี้ลืมบ่อยเกิ๊น)
ไอ้เก้ำเที่ยวเล่นเสเพลเป็นอาจิณ,ติดเหล้าเมายา ปกติแล้วคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถก็ทำำนิติกรรมได้
แต่มีนิติกรรมบำงอย่ำงที่คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถทำำเองไม่ได้ ศาลจึงต้องส่งคนมำช่วยแก้ไขควำมบกพร่อง
เหล่ำนี้โดยกำรส่ง “ผู้พิทักษ์” mega ranger มำเพื่อยินยอมและยืนยัน นิติกรรมบำงอย่ำง เช่น กำรนำำเงิน
ไปลงทุน , กำรกู้หรือให้กู้เงิน , กำรเช่ำหรือให้เช่ำสังหำฯเกิน 6 เดือน / อสังหำฯ เกิน 3 ปี การให้โดยเสน่หา ,
กำรขำยสังหำฯหรืออสังหำฯรำคำสูง , กำรก่อสร้ำงดัดแปลงโรงเรือน , กำรฟ้องคดีต่อศำล , กำร
ประนีประนอมยอมควำม เป็นต้น พูดมำซะเยอะเอำเป็นว่ำ เรื่องใหญ่ๆต้องได้รับการยินยอมก่อน
ประมำณนี้ ถ้ำไม่ได้รับกำรยินยอม นิติกรรมเป็นโมฆียะ
*ข้อสังเกต คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ ทำำนิติกรรมเองได้นะจ้ะ ^^~
*ข้อสรุป ดูตำมตำรำงเลยจ้ำ
บุคคล การทำานิติกรรม คนดูแล นิติกรรมสมบูรณ์เมื่อผู้ดูแล… ไม่ทำาตามมีผลเป็น…
โมฆียะ
ผูเ้ ยำว์ ทำำได้บำงอย่ำง ผูแ้ ทนโดยธรรม ยินยอม
(พินัยกรรม โมฆะ)
สมบูรณ์
คนวิกลจริต ทำำได้หมด - -
(โมฆียะ ถ้ำเข้ำเงื่อนไข)
โมฆียะ
คนไร้ควำมสำมำรถ ทำำไม่ได้เลย ผูอ้ นุบำล ทำำแทน
(พินัยกรรม โมฆะ)
คนเสมือนไร้ควำม
ส่วนใหญ่ทำำได้ ผู้พิทักษ์ ยินยอม โมฆียะ
สำมำรถ

 ภูมิลำาเนา ก็ถิ่นที่อยู่ตำมกฎหมำย อันนี้จำำอย่ำงเดียวไม่ต้องเข้ำใจ


ภูมลิ ำำเนำของหญิงมีสำมี = ภุมลิ ำำเนำสำมี
ภูมลิ ำำเนำของผู้เยำว์ = ภูมลิ ำำเนำของบิดำมำรดำหรือผู้ปกครอง (* ถ้ำพ่อแม่แยกกันก็มี 2 ทีเ่ ลยนะ ฮ่ำๆ)
ภูมลิ ำำเนำของข้ำรำชกำร = ทีท่ ำำงำนประจำำ
คำาถามก่อนจบบท : นำยเพื่อนเก้ำอำยุ 25 ปี มีอุปนิสัยเสเพลเป็นอำจิณ ชอบเที่ยวเตร็ดเตร่ตำมผับตำมบำร์ ชอบคุยกับ
คนแปลกหน้ำ ชอบเฮฮำ และบ้ำผู้ชำยมำกๆ ไม่มีงำนทำำด้วย จนเป็นที่น่ำสังเวชเวทนำกับทุกคนในละแวกนั้นวันหนึ่งนำย
เพื่อนเก้ำได้ไปทำำสัญญาซื้ออำคำรหลังหนึ่งกับนำยแดงเพื่อเปิดอำบอบนวด นำยแดงรู้ถึงนิสัยของนำยเพื่อนเก้ำดีแต่ก็ยัง
ทำำสัญญำกัน จนเรื่องถึงหูหม่อมแม่ของเพื่อนเก้ำ หม่อมแม่โกรธมำกๆ จึงไปฟ้องศำลเพื่อระงับสัญญำนี้ อยำกทรำบว่ำ
ถ้ำพิจำรณำตำมเหตุกำรณ์แล้ว สัญญำในตอนนี้อยู่ในสภำพใด (สมบูรณ์ / โมฆะ / โมฆียะ)
เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………
Part 2 : นิติกรรม
 นิติกรรม หมำยถึง การกระทำาทีถ่ ูกกม. โดยใจสมัคร มุ่งผูกนิตสิ ัมพันธ์ เพื่อก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับทำง
กฎหมำย : ควำมหมำยยำวมำกไม่ต้องไปจำำหรอก - -“ นิติกรรมแบ่งออกเป็น 2 อย่ำงคือ นิติกรรมฝ่ายเดียว
(พินัยกรรม) กับนิติกรรมสองฝ่าย (สัญญำ)
 ความไม่สมบูรณ์ของนิติกรรม ก็คือควำมบกพร่องอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งของนิติกรรม ซึ่งเป็นหนทำงที่ทำำให้นิติกรรมนัน ้
สิ้นไป อย่ำงที่กล่ำวมำแล้วข้ำงต้นมนเรื่องของควำมสำมำรถของบุคคล เรำจะเจอแบบของควำมไม่สมบูรณ์ 2 ตัวคือ
โมฆะ กับ โมฆียะ
โมฆะ = ไม่มีผลตำมกฎหมำยตั้งแต่แรก เหมือนว่ำมันไม่ได้เกิดขึ้นมำเลย
โมฆียะ = มันยังคงสมบูรณ์อยู่ จนกว่ำจะมีใครไปบอกล้ำงมันทิ้งซะ บอกล้างแล้วกลำยเป็นโมฆะทันที
แต่ถึงอย่ำงไร ถ้ำเรำไม่คิดจะบอกล้างก็ไปให้สัตยาบันเสียหน่อยก็ไม่เสียหำยนะ
กำรบอกล้ำงต้องบอกล้ำงภำยใน 10 ปีเท่ำนั้นนะ ไม่งนั้ เค้ำจะถือว่ำเรำจำำยอมนิติกรรมนั้นไปแล้ว
Part 3 : ทรัพย์และทรัพย์สิน
 ความหมาย
1) ทรัพย์ คือ วัตถุที่มีรูปร่ำง
2) ทรัพย์สิน คือ วัตถุที่มีรูปร่ำง และไม่มีรูปร่ำง (ถือเอำ หวงกันได้และมีรำคำ)
ถำมเล่นๆนะ ชื่อ-นำมสกุล จัดว่ำเป็นทรัพย์สินไหม? …………………
 ประเภทของทรัพย์สิน

1) อสังหาริมทรัพย์ เคลื่อนที่ไม่ได้ ติดอยู่กับที่ดิน รวมถึงสิทธิในอสังหำริมทรัพย์ด้วย เช่น สิทธิครอบครอง


2) สังหาริมทรัพย์ เคลื่อนที่ได้ ไม้ล้มลุก รวมถึงสิทธิในสังหำริมทรัพย์ เช่น ลิขสิทธิ์
3) สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ เคลื่อนที่ได้แต่ยำก ได้แก่ เรือกำำปั่น เรือกลไฟ แพ สัตว์พำหนะ เครื่องจักร
อำกำศยำน
 ส่วนควบ อุปกรณ์ ดอกผล

1) ส่วนควบ คือทรัพย์ที่ติดมำกับทรัพย์ประธำน แยกออกแล้ว ทำำให้ทรัพย์ประธำนเสียรูปไปทันที


2) อุปกรณ์ คือทรัพย์ที่เสริมมำ ถึงไม่มีมันทรัพย์ประธำนก็ไม่เสียไป
3) ดอกผล คือทรัพย์ที่งอกเงยมำจำกทรัพย์ประธำน แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
- ดอกผลธรรมดา คือ ทรัพย์ที่งอกเงยมำจำกตัวแม่ที่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
- ดอกผลนิตินัย คือ ทรัพย์ที่งอกเงยมำกจำกตัวแม่สิ่งที่ไม่ใช่ธรรมชาติ เช่น กำำไร ดอกเบี้ย
Part 4 : สัญญาพาณิชย์
สัญญำ ก็คือ นิติกรรมอย่ำงหนึ่งซึ่งเกิดจำกกำรตกลงของทั้ง 2 ฝ่ำยซึ่งเกิดคำำเสนอ และคำำเสนอที่ตรงกัน
สัญญำมีมำกมำย ถ้ำหำกนับในประมวลกฎหมำยแล้ว มีถึง 23 ชนิดด้วยกัน แต่นี่เรำจะแยกมำเฉพำะสัญญำที่
เกี่ยวข้องกับกำรพำณิชย์เท่ำนั้นนะจ้ะ
 สัญญาที่เกีย ่ วข้องกับการแลกเปลี่ยน
1) ซื้อขาย สัญญำที่ผู้ซื้อชำำระรำคำให้ผู้ขำยโดยที่ผู้ขำยโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นให้ผู้ซื้อ (สมบูรณ์เมื่อส่งมอบ)
สังหาฯ ไม่ต้องจดทะเบียน แต่ถำ้ 20,000 ขึ้นไปต้องมีหลักฐำน อสังหาฯ ต้องจดทะเบียนต่อเจ้ำหน้ำที่
2) จะซื้อจะขาย กำรสัญญำว่ำจะมำซื้อขำยกัน ซึ่งมีกำำหนดว่ำจะซื้อในอนำคต
3) ขายตามตัวอย่าง เห็นของตัวอย่ำงก่อนซื้อ (เวลำซื้อกัน เรำได้ของใหม่ที่ไม่ใช่ตัวอย่ำงนะ)
4) ขายตามคำาพรรณนา ไม่เห็นของเลย แค่ฟังคำำโฆษณำเอำ แล้วเรำต้องตัดสินใจเองว่ำจะซื้อป่ำว
5) ขายทอดตลาด ก็คือกำรประมูลนั่นแหละ แต่ต้องมีผู้มำทอดตลำดอย่ำงน้อย 2 คนนะ
(ไม่งั้นไม่ต่ำงไรกับซื้อขำย)
6) ขายฝาก สัญญำที่ผู้ขำยฝำก มีสิทธิชำำระรำคำเพื่อเอำสินค้ำคืนได้ ถ้ำถึงวันไถ่คืน ไม่ไปไถ่ก็โดนยึด
7) ซื้อขายเงินผ่อนส่ง สัญญำซื้อขำยอย่ำงหนึ่งที่ผู้ซื้อสำมำรถผ่อนชำำระหนี้ได้ตำมจำำนวนงวด
และรำคำที่ตกลงไว้
8) เช่าทรัพย์ ก็คือสัญญำผู้ให้เช่ำ ตกลงให้ผู้เช่ำใช้สอยทรัพย์ของตนโดยกำรให้ผู้เช่ำชำำระรำคำ
9) เช่าซื้อ สัญญำที่ผู้ให้เช่ำนำำเอำทรัพย์ออกมำให้ผู้เช่ำ เช่ำแล้วให้คำำมั่นว่ำจะขำยให้ ถ้ำชำำระรำคำครบ
เช่ำซื้อถ้ำจ่ำยเป็นงวด หำกไม่ชำำระรำคำติดต่อกัน 2 งวด ผู้ให้เช่ำมีสิทธิ์ริบทรัพย์ทใี่ ห้เช่ำคืนได้ *ระวังนะ

# วิเคราะห์ : สัญญาซื้อขายผ่อนส่ง กับสัญญาเช่าซื้อ #


ทั้งสองสัญญำนี้มีสิ่งที่เหมือนกันคือ มีกำรผ่อนชำำระเป็นงวดๆ เช่นกัน แต่ก็มีสิ่งที่ต่างกัน 2 ประการ ประกำร
แรกคือเรื่องของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้น ซื้อขำยเงินผ่อนได้กรรมสิทธิ์ทนั ทีตั้งแต่งวดแรก ส่วนเช่ำซื้อกรรมสิทธิ์ได้มำเมื่อ
จ่ำยครบในงวดสุดท้ำยเท่ำนั้น และประกำรที่สองคือการผิดนัดชำาระราคา ซื้อขำยผ่อนส่งเมื่อผิดนัดแล้ว เจ้ำหนี้สำมำรถ
ยึดรถคืนได้แต่ต้องคืนเงินให้กับลูกหนี้ด้วย ส่วนจะเก็บค่ำเสียหำยอะไรก็อีกเรื่องหนึ่ง
ส่วนกำรเช่ำซื้อเมื่อผิดนัด เจ้ำหนี้ซื้อบอกเลิกสัญญำแล้วยึดทรัพย์ได้เลย และไม่ต้องคืนเงินแม้แต่สตำงค์เดียว
สรุปแล้ว ซื้อขำยเงินผ่อนคนที่ได้เปรียบ คือ ลูกหนี้ ส่วนเช่ำซื้อ เจ้ำหนี้ จะได้เปรียบแทน

 สัญญาที่เกีย่ วข้องกับการยืม
1) ยืมใช้คงรูป ยืมเสียเปล่ำ คืนในสภำพเดิม
2) ยืมใช้สิ้นเปลือง ยืมเสียเปล่ำเช่นกัน แต่คืนของใหม่ให้
3) กู้ยม ื เงิน ก็คือกำรยืมใช้สิ้นเปลืองอย่ำงหนึ่ง ใช้ในกรณีที่เป็นเงินอย่ำงเดียว ตำมกฎหมำยจะ + ดอกเบี้ยให้
ทันที (ร้อยละ 7.5 ต่อปี) ทีท่ ำำสัญญำกู้ยืมเงินกัน เว้นเสียแต่จะตกลงในอัตรำดอกเบี้ยอื่น หรือตกลงหรือ
รู้กันว่ำไม่ต้องชำำระดอกเบี้ย
เพิ่มเติม
กฎหมำยใหม่บอกว่ำ หำกกู้ยืมเงินมำกกว่ำ 2,000 บำท ต้องมีหลักฐำนเป็นหนังสือลงลำยมือชื่อผู้ยืมด้วย
ระวังด้วย หำกคิดดอกเบี้ยเกินร้อยละ 15 ต่อปี ดอกเบี้ยเป็นโมฆะเน้อ แล้วจะผิดทำงอำญำ ตำม
พรบ. ห้ำมเรียกดอกเบี้ยเกิน พ.ศ. 2475 นะจ้ะ (ถ้ำ กม. จริงจัง ร้ำนมือถือ ม.น. โดนจับหมดอะ)
 สัญญาที่เกีย ่ วข้องกับการคำ้าประกัน
1) จำานำา เป็นหลักกำรคำ้ำประกันโดยกำรใช้สังหาริมทรัพย์
2) จำานอง เป็นหลักกำรคำ้ำประกันโดยกำรใช้อสังหาริมทรัพย์ และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
3) คำ้าประกัน เป็นหลักกำรคำ้ำประกันโดยกำรใช้คน
ผู้คำ้ำประกันของผูค้ ำ้ำประกันเค้ำเรียกว่ำว่ำ อาวัล นะ
ถามซักนิดซักหน่อย :
ถ้ำ นส.ใหม่ศรี จะนำำรถยนต์ไปคำ้ำประกันกำรชำำระหนี้ของตน นส.ใหม่ศรีต้องใช้วิธีใด (จำำนำำ / จำำนอง)
ข้อสังเกต : สัญญำในหมวดนี้มักไม่เกิดขึ้นมำเอง จะต้องมีสัญญำอื่นเกิดขึ้นก่อนเสมอ เช่น สัญญำกู้ยืม
สัญญำซื้อขำยเงินผ่อน เป็นต้น ปรับควำมเข้ำใจใหม่ด้วยนะ

# วิเคราะห์ : สัญญาขายฝาก กับสัญญาจำานอง #


ทั้งสองสัญญำนี้มีสิ่งที่เหมือนกันคือ มีกำรเอำทรัพย์มำประกันไว้เหมือนกัน แต่สิ่งที่ต่างกัน
ก็คงหนีไม่พ้นเรื่องกรรมสิทธิ์ ขำยฝำกกรรมสิทธิ์จะตกไปที่เจ้ำหนี้ทันที ส่วนจำำนองกรรมสิทธิ์ยังไงก็เป็นของลูกหนี้
การผิดนัดชำาระราคา หำกเป็นจำำนองสำมำรถวิ่งเต้นหำเงินมำชำำระได้ในระหว่ำงที่เจ้ำหนี้ฟ้องศำล แต่ขำยฝำกหมดเวลำ
ไถ่ก็คือหมดเวลำไถ่เรียกร้องไม่ได้ทั้งนั้น
สรุป เจ้ำหนี้ได้เปรียบในสัญญำขำยฝำก แต่ลูกหนี้ได้เปรียบในสัญญำจำานอง

# เพิม่ เติม : ลักษณะเพิ่มเติมของจำานองและจำานำา #


จำานำา จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีกำรส่งมอบสังหำริมทรัพย์ โดยไม่ต้องทำำหนังสือใดๆ
หำกลูกหนี้ผิดนัด เจ้ำหนี้สำมำรถนำำทรัพย์ไปขำยทอดตลำดได้ หำกเงินขำด ลูกหนี้ต้องชำำระเพิ่ม
จำานอง จะเกิดก็ต่อเมื่อจดทะเบียนต่อเจ้ำหน้ำที่ แต่ไม่ต้องส่งมอบ (ใครจะไปยกมำฟร่ะ!!)
หำกลูกหนี้ผิดนัด เจ้ำหนี้สำมำรถนำำทรัพย์ไปขำยทอดตลำดได้ หำกเงินขำด ลูกหนี้ไม่ต้องชำำระเพิ่ม

คำาถามวัดความฉลาด :
ถ้ำเรำจะซื้อรถจักรยำนยนต์ซักคัน แต่ต้องซื้อแบบผ่อน จะซื้อแบบไหนดีนะ (ซื้อขำยเงินผ่อน / เช่ำซื้อ)

Part 5 : ครอบครัว
วัดความรู้ทั่วไปหน่อยสิ :
มี 4 จังหวัดในประเทศไทยที่ไม่ได้ใช้กฎหมำยตำม ปพ.บรรพ 5-6 คือ ……........ ……........ ……........ ……........
 การหมั้น คือ กำรสัญญำว่ำจะสมรสกัน โดยที่ทั้ง 2 ฝ่ำยต้องมีอำยุไม่ตำ่ำกว่ำ 17 ปี ถ้ำตำ่ำกว่ำต้องได้รับอนุญำต

จำก ………….(ไม่งั้นเป็น โมฆะ) ในกำรหมั้นปกติฝ่ำยชำยจะให้ของหมั้นแก่ฝำ่ ยหญิง


และมอบสินสอดแก่พ่อแม่ของฝ่ำยหญิงเพื่อเป็นกำรตอบแทนที่ฝ่ำยหญิงยอมแต่งงำนกับตน นะจ้ะ
อุทาหรณ์สอนใจ :
นำยก้ำวหน้ำได้ตกลงจะทำำกำรหมั้นกับ นส.พิศใหม่ โดยในวันหมั้นนำยก้ำวหน้ำได้ลืมแหวนหมั้นของหมั้นฝ่ำยหญิงไว้ที่
บ้ำน และได้ให้สัญญำว่ำจะนำำมำให้ในวันรุ่งขึ้น และได้มอบสินสอดเป็นต้นกล้วยแขกพันธุ์งำมไว้ก่อน วันรุ่งขึ้นหลังจำกวัน
หมั้นแล้วนำยก้ำวหน้ำก็เอำแหวนหมั้นมำให้จริงๆ อยำกทรำบว่ำกำรหมั้นเกิดขึ้นในวันใด
(วันหมั้น / วันรุ่งขึ้นหลังจำกกำรหมั้น / ไม่มีกำรหมั้นเกิดขึ้น / มันจะไม่มีเหตุกำรณ์แบบนี้เกิดขึ้นแน่ๆ!!!)
*ข้อสังเกต : กำรหมั้นจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีของหมั้นในขณะที่หมั้นเท่ำนั้น เพรำะฉะนั้นหำกนำำของมำให้นอกเหนือจำกวัน
ที่ตกลงกันไว้ว่ำจะหมั้น ของสิ่งนัน้ ก็ไม่ใช่ของหมั้นแล้ว และกำรหมั้นก็ถือว่ำไม่ได้เกิดขึ้นด้วย สรุปคือ สำระสำำคัญของกำร
หมั้น อยู่ที่ของหมั้น
*เพิม่ เติม : หำกไม่มีกำรสมรส ฝ่ำยชำยเรียกสินสอดคืนได้เสมอ
แต่สำำหรับของหมั้นฝ่ำยชำยเรียกคืนได้ กรณีที่ฝ่ำยหญิงผิดสัญญำหมั้นเท่ำนั้น
หำกฝ่ำยชำยผิดสัญญำหมั้น หรือฝ่ำยชำยตำย ฝ่ำยหญิงก็ไม่ต้องไปคืนของหมั้นนะ!!!
 การสมรส ก็คือกำรแต่งงำนกัน เป็นกำรตกลงของชำยหญิงว่ำจะกินอยู่กันฉันสำมีและภรรยำ

อำยุไม่ตำ่ำกว่ำ 17 ปีนะจ้ะ ถ้ำตำ่ำกว่ำ 17 ปี จำำเป็นต่อไปขออนุญำตจำก ……….. (ไม่งั้นเป็นโมฆียะ)


คนที่จะแต่งงำนด้วยกันจะต้อง
1) ไม่วิกลจริตจิตวิกล
2) ไม่สืบสำยโลหิตเดียวกัน (ไม่รู้วำ่ ใช้เหตุผลทำงศีลธรรม หรือเรื่องพันธุกรรมนะที่ไม่ให้แต่งงำนกัน T T)
คำาถามชวนคิด :
ท็อฟฟี่เลี้ยงบุตรบุญธรรมชื่อ มำริโอ้ เมำแล้วเหรอ อยู่มำวันหนึ่งเกิดอำกำรปิ๊งกันเข้ำเลยจะแต่งงำนกัน อยำกถำมว่ำทั้งคู่จะ
แต่งงำนกันได้ไหม? (ได้สิ รักแท้มีอยู่ทุกที่แหละ / ไม่ได้หรอก เพรำะกรณีนี้ถือว่ำสืบสำยเลือดทำงกฎหมำยแล้ว )
 สินส่วนตัว และสินสมรส

1) สินสมรส คือ ทรัพย์สินที่ได้มำระหว่ำงสมรส / ดอกผลสินส่วนตัว


2) สินส่วนตัว คือ ทรัพย์สน ิ ที่ได้มำก่อนกำรสมรส / ของส่วนตัว / ของทีใ่ ช้ประกอบอำชีพ
คำาถามชวนคิด :
ก่อนแต่งงำนท็อฟศรีได้ซื้อหวยมำ 1 ใบ หลังจำกแต่งงำนกันไปท็อฟศรีเอำหวยมำตรวจดู ปรำกฏว่ำถูกรำงวัลที่ 1 ได้เงินมำ
ถึง 3,000,000 บำท อยำกถำมว่ำเงินที่ได้จัดเป็น (สินส่วนตัว / สินสมรส)
 การสิ้นสุดการสมรส สิน ้ สุดก็ต่อเมื่อฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งตำย หรือศำลพิพำกษำให้กำรสมรสเป็นโมฆะ หรือโดย
กำรหย่ำซึ่งทำำได้โดยกำรไปจดทะเบียนหย่ำกันเองเลย หรือฟ้องหย่ำกันก็ได้ แต่ต้องมีเหตุฟ้องหย่าได้แก่
1) ทำำร้ำยร่ำงกำยอย่ำงรุนแรง
2) ดูถูกบุพกำรีอย่ำงรุนแรง (พ่อแม่ใคร ใครก็รักว่ำมะ)
3) จงใจทิ้งอีกฝ่ำยเกิน 1 ปี (จงใจให้หยำกไย่ขึ้นก็หย่ำกันไปเลยดีกว่ำ , รวมถึงกรณีอีกฝ่ำยติดคุกด้วยนะ)
4) ชำยหรือหญิงมีชู้ ไม่ว่ำชู้จะสปีชี่ไหนก็ตำย (อันนี้แก้ใหม่ ไม่งนั้ ชำยมีชู้กับชำย ก็ไม่ใช่เหตุฟ้องอย่ำสิ)
5) ชำยหรือหญิงแอบเลี้ยงเด็ก (อุปกำระเลี้ยงดู ฉันสำมีภรรยำ เมียที่บ้ำนยังไม่ดูแลดีขนำดนี้เลย)
 หน้าที่ในครอบครัว

พ่อ แม่ เลี้ยงดูบุตร กำำหนดที่อยู่ สำมำรถทำำโทษบุตรและมอบหมำยงำนได้ตำมควร


อีกทั้งเป็นผู้แทนโดยธรรมในกำรทำำนิติกรรมต่ำงๆด้วย
บุตร อุปกำระพ่อแม่ตอบแทน
ห้ามบุตรฟ้องบุพกำรีของตน ถ้ำจำำเป็นต้องฟ้องให้อัยกำรยื่นฟ้องเอำ >>> คดีอุทลุม
Part 5 : กฎหมายมรดก (ไม่เห็นเคยออกซักปี แต่อ่านไปเถอะ)
 ทายาท แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ทายาทโดยธรรม กับทายาทโดยพินัยกรรม (ภำษีดีกว่ำทำยำทโดยธรรมนะ)
ทำยำทโดยธรรมแบ่งออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่ ผู้สืบสันดาน บิดามารดา พี่น้องร่วมบิดำมำรดำ พี่น้องร่วมแต่บิดำมำรดำ
ปู่ย่ำตำยำย ลุงป้ำน้ำอำ
 การเขียนพินัยกรรม

ผู้เขียนพินัยกรรม จะต้องมีอำยุ ……. ปีบริบรู ณ์ และต้องไม่เป็นคน…….ควำมสำมำรถ มิฉะนั้นนิติกรรมเป็น………….


พินัยกรรมมี 2 แบบคือ เขียนเอง และพิมพ์ แบบพิมพ์ต้องมีพยำน เซ็นชื่อเท่ำนั้น (พยำนจะเป็นผู้รับมรดกไม่ได้)
พินัยกรรมหลำยฉบับให้ดูฉบับล่ำสุดนะ
 เกณฑ์การแบ่งมรดก

เมื่อเจ้ำพินัยกรรมตำยปั๊ปต้องพิจำรณำก่อนว่ำ เค้าได้เขียนว่าให้ใครโดยเฉพาะหรือไม่ ถ้ำเขียนไว้ก็ให้คนนั้นไป


แต่ถ้ำไม่มีแบ่งแบบนี้เลย
- เอำสินส่วนตัวกับสินสมรสหาร 2 มำรวมกัน เกิดเป็นกองมรดก
- ถ้ำมีคู่สมรสแบ่งให้คู่สมรสทันทีครึ่งนึง!!! ทีเ่ หลือให้ลำำดับถัดไป
- ถ้ำมีทำยำทลำำดับที่ 1 หรือ 2 หรือคู่สมรส กองมรดกจะต้องถูกแบ่งเท่ำๆกัน
- ถ้ำไม่มีลำำดับใดก็บัดมรดกให้ลำำดับถัดไปเรื่อยๆ
- หลักเกณฑ์นี้เรียกว่ำ หลักญาติสนิทตัดญาติห่าง
คำาถามคิดเล่นๆ : เจมส์ พอตเตอร์และลิลลี่ พอตเตอร์แต่งงำนกัน มีลูกชื่อแฮร์รี่ พอตเตอร์ เมื่อเจมส์ พอตเตอร์ถึงแก่
ควำมตำย ในตอนนั้นมีสินส่วนตัวจำำนวน 2 ล้ำนบำท และสินสมรสทั้งหมด 6 ล้ำนบำท อยำกถำมว่ำ ลิลลี่ และแฮร์รี่จะได้
รับมรดกเท่ำไหร่บ้ำง ตอบ…………........
จบแล้วโว้ย ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
กฎหมายอาญา
Part 1 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายอาญา
 กฎหมายอาญา กฎหมำยที่กำำหนดควำมสัมพันธ์ของรัฐกับเอกชน (กฎหมำยมหำชน) โดยบัญญัติเกี่ยวกับควำมผิดไว้
กฎหมำยอำญำต้องตีควำมตำมตัวอักษรอย่ำงเคร่งครัดทุกตัวอักษร โทษทำงอำญำจะเกิดเมื่อมีบญ ั ญัติไว้เท่ำนั้น แต่ถ้ำ
ไม่มีบัญญัติถือว่ำสิ่งที่ทำำไปนั้นไม่ผิด
 ขอบเขตการใช้กฎหมาย กฎหมำยไทยก็ต้องใช้ในรำชอำณำจักรไทย รำชอำณำจักรไทย ก็ได้แก่

1) พื้นดิน พืน้ นำ้ำที่อยู่ในเขตแดนไทย


2) ทะเลอำนำเขต 12 ไมล์ทะเล
3) พื้นอำกำศเหนือพื้นดิน พื้นนำ้ำ ตำม 1) 2)
4) เรือไทย อำกำศยำนไทย
 ประเภทความผิดตามอัตราโทษ

1) ความผิดลหุโทษ คือ ควำมผิดเล็กน้อย ที่มีโทษจำำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บำท หรือทั้งจำำทั้งปรับ


ตัวอย่างเช่น ดูหมิ่นผู้อื่น ทำำกำรอันอับอำยต่อสำธำรณะ กำรกระทำำทำรุณต่อสัตว์
2) ความผิดทั่วไป คือ ควำมผิดที่มีอัตรำโทษสูงกว่ำควำมผิดลหุโทษ (ควำมหมำยมันช่ำง - -“)
ตัวอย่างเช่น ควำมผิดฐำนฆ่ำคนตำย ลักทรัพย์ ทำำให้เสียทรัพย์
 ประเภทความผิดตามผู้เสียหายและการดำาเนินคดี

1) ความผิดอาญาแผ่นดิน คือ ควำมผิดที่ยอมควำมไม่ได้ไม่ว่ำกรณีใด เพรำะส่งผลกระทบต่อแผ่นดิน


ตัวอย่างเช่น ฆ่ำคนตำย ลักทรัพย์ ทำำร้ำยร่ำงกำย ก่อกำรร้ำย
2) ความผิดส่วนตัว คือ ควำมผิดที่ผู้เสียหำยได้รับผลร้ำยเฉพำะ เป็นควำมผิดที่ยอมควำมได้
ตัวอย่างเช่นเช่น ยักยอกทรัพย์ หมิ่นประมำท ฉ้อโกง บุกรุก โหน่งเหนี่ยวกักขัง
 ผู้กระทำาความผิดทางอาญา

1) ตัวการ บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกระทำำควำมผิด มีเจตนำกระทำำควำมผิดร่วมกัน


2) ผู้ใช้ บุคคลที่ก่อให้เกิดกำรกระทำำผิดทุกหนทุกแห่ง เป็นผู้จ้ำงวำน รับโทษเสมือนตัวกำร
3) ผู้สนับสนุน บุคคลที่ให้ควำมช่วยเหลือผู้กระทำำควำมผิด
 การกระทำาผิดทางอาญา

1) กระทำาผิดโดยเจตนา ตั้งใจจะทำำจริงๆ ประสงค์ และเล็งเห็นต่อผลที่จะเกิดขึ้น


2) กระทำาโดยไม่เจนา มีเจตนำร้ำย แต่ไม่ได้ประสงค์ให้ผลของสิ่งนั้นเกิดขึ้น
3) กระทำาโดยประมาท ไม่ระมัดระวังขำดควำมรอบคอบ
4) พยายามกระทำาความผิด ลงมือแต่กระทำำไม่ตลอด หรือกระทำำตลอดแต่ไม่บรรลุผล
 การกระทำาที่ กม. ถือว่าไม่ผิดตามกฎหมาย เช่น กำรป้องกันตัวเอง (ไม่เกินกว่ำเหตุ) กำรยินยอมให้กระทำำ

 การกระทำาที่ กม. ยกเว้นโทษ (แต่ผิด) เช่น กำรกระทำำโดยจำำเป็น กำรกระทำำของเด็กไม่เกิน 10 ปี และ

ไม่เกิน 15 ปีกำรกระทำำของคนวิกลจริต กำรกระทำำตำมคำำสั่งเจ้ำพนักงำน กำรกระทำำของคนมึนเมำ กำรกระทำำผิดบำง


ทำงทรัพย์บำงฐำนของสำมีภรรยำ (ลักทรัพย์ วิ่งรำว ฉ้อโกง ยักยอก รับของโจร ทำำให้เสียทรัพย์ บุกรุก)
 การกระทำาที่ กม. ลดโทษ (แต่ก็ยังผิด) เช่น ควำมไม่รู้กฎหมำย ป้องกันหรือจำำเป็นเกินเหตุ บันดำลโทสะ
ผู้กระทำำอายุกว่า 15 ปีแต่ไม่เกิน 18 ปี หรือเกิน 18 ปีแต่ไม่เกิน 20 ปี กำรกระทำำควำมผิดบำงฐำนเกี่ยวกับญำติมิตร
(เหมือนของสำมี ภรรยำ : ลักทรัพย์ วิง่ รำว ฉ้อโกง ยักยอก รับของโจร ทำำให้เสียทรัพย์ บุกรุก)
 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์

1) ลักทรัพย์ ก็คือกำรขโมยนี่แหละ เอาทรัพย์ไปลับหลังโดยที่เขำไม่เห็น ทรัพย์เคลื่อนที่ไปนิ๊ดเดียวก็ถือว่ำ


ลักทรัพย์แล้ว
2) วิ่งราวทรัพย์ เอำทรัพย์ไปซึ่งๆหน้าเลย โจรมันฉกไปแล้ววิ่งหนีไปเลย ฮ่ำๆ
3) ชิงทรัพย์ ใช้กำำลังประทุษร้ายเพื่อเอำทรัพย์มำ โหดร้ำยจริงๆ + ขู่วำ่ จะทำำร้ำย ณ ตอนนั้นเลย
4) ปล้นทรัพย์ ควำมหมำยเหมือนชิงทรัพย์ แต่เวอร์ชั่นนี้ต้อง 3 คนขึ้นไป
5) กรรโชก ก็คือมีกำรขู่เพื่อให้ได้มำซึ่งทรัพย์นั้นมำ จำำไว้ ขู่กรรโชกๆ
6) ยักยอก เบียดบังเอำทรัพย์นั้นไปทั้งๆที่รู้ว่ำเป็นของคนอื่นอยู่ หรือเรียกว่ำการแย่งการครอบครอง
7) ทำาให้เสียทรัพย์ ทำำให้ทรัพย์สินของผู้อื่นเสียหำย
 โทษทางอาญา ได้แก่ ริบทรัพย์ ปรับ กักขัง จำำคุก ประหำรชีวิต

 วิธกี ารเพื่อความปลอดภัย ได้แก่ กำรกักกัน เรียกประกัน ทัณฑ์บน คุมตัวไว้ในสถำนพยำบำล ห้ำมเข้ำเขตที่กำำหนด


ห้ำมประกอบอำชีพบำงอย่ำง (วิธีนี้ทำำเพื่อไม่ให้ผู้กระทำำควำมผิด ไปกระทำำควำมผิดอีก)

อำญำจบแล้ว ที่จริงมีเยอะกว่ำนี้อีก แต่ทว่ำ มันไม่จำำเป็นต้องรู้มำก เพรำะมันออกข้อสอบเอ็นซ์ไม่เยอะอะนะ


กฎหมายในชีวิตประจำาวัน
 กฎหมายเกี่ยวกับทะเบียนราษฎร์
1) เกิด แจ้งกำรเกิดแก่นำยทะเบียนภำยใน 15 วัน
2) ตาย แจ้งภำยใน 24 ชม. แจ้งกับนำยทะเบียนเช่นกัน
3) ย้ายที่อยู่ ทัง้ ย้ำยเข้ำ-ย้ำยออก แจ้งภำยใน 15 วัน
4) บัตรประจำาตัวประชาชน ให้ทำำภายใน 60 วันนับแต่แต่อำยุครบ 15 ปีบริบูรณ์ บัตรมีอำยุ 6 ปีถ้ำจะขอให้
ต้องขอภำยใน 60 วันก่อนวันที่บัตรหมดอำยุเช่นกัน ทำำบัตรตอนอำยุ 15-70 ปีบริบูรณ์ คนที่ไม่ต้องทำำก็มี
พระบรมวงศำนุวงษ์ตั้งแต่พระองค์เจ้ำขึ้นไป สมเด็จพระรำชินี นักบวช กำยพิกำรเดินไม่ได้ เป็นใบ้
ตำบอดสองข้ำง จิตฟัน่ เฟือนไม่สมประกอบ ผู้ถูกคุมขัง บุคคลที่กำำลังศึกษำต่อต่ำงประเทศ
 กฎหมายเกี่ยวกับภาษี

1) ภาษีเงินได้ เรียกเก็บจำกบุคคลที่มีรำยได้ตั้งแต่ 100,000 บาทต่อปี โดยกำรคำำนวณ


คำำนวณจำกรำยได้ของบุคคลในปีๆหนึ่งเรียกว่ำ “รายได้พึงประเมิน”
เสียตำมอัตรำภำษีก้ำวหน้ำ ตัง้ แต่ร้อยละ 5-37 ยืน่ ปีละครั้งภำยในวันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไป
2) ภาษีบำารุงท้องที่ เรียกเก็บจำกเจ้ำจองที่ดินตำมจำำนวนที่ดินที่ถือครองอยู่
เพื่อนำำไปบำำรุงองค์กำรปกครองส่วนท้องถิ่น
3) ภาษีโรงเรียนและที่ดิน เรียกเก็บจำกเจ้ำของทรัพย์สิน
4) ภาษีมูลค่าเพิ่ม เรียกเก็บจำกผู้ซื้อสินค้ำนั้นๆ ผลมำจำกกำรผลักภำระของผู้ผลิต VAT 7% จ้ำ
5) ภาษีสรรพสามิต เก็บจำกสินค้ำที่ผลิตและนำำเข้ำ
6) อากรแสตมป์ เก็บจำกกำรทำำตราสารต่ำงๆ เช่น สัญญำเช่ำ สัญญำกู้ยืมเงิน
7) ไม่เสียภาษี เป็นโทษทำง………… ต้องโดนเรียกเก็บเงินเพิ่ม เบี้ยปรับ ถูกฟ้องร้องได้
 กฎหมายเกี่ยวกับภาษี ชำยไทยที่มีอำยุ ……. บริบูรณ์ลงทะเบียนทหำรกองเกิน (ทำงปฏิบัติต้องมำอำยุย่ำงเข้ำ…

..ปี)พอย่ำงเข้ำ ……… ปี เกณฑ์ทหำรกองประจำำกำร (ถ้ำเรียน ร.ด. เรำจะเป็นทหำรกองหนุนไปจนอำยุ 46 ปีจ้ำ)


 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

1) ลิขสิทธิ์ คุ้มครองผู้สร้ำงสรรค์ผลงำนวรรณกรรม นำฏกรรม ดนตรี โสตทัศนวัสดุ ภำพยนตร์ งำนแผนก


วิทยำศำสตร์และศิลปะ อำยุกำรคุ้มครองจะเริ่มตั้งแต่วันที่สร้ำงผลงำนจนถึงวันที่ผู้สร้ำงผลงำนตำยไปแล้ว
50 ปี หำกถูกละเมิดสำมำรถไปฟ้องศำลทรัพย์สินทำงปัญญำ และกำรค้ำระหว่ำงประเทศได้นะ
(ลิขสิทธิ์ไม่ต้องจดทะเบียนนะ)
2) สิทธิบัตร คุ้มครองพวกสิ่งประดิษฐ์ และออกแบบผลิตภัณฑ์ ทีไ่ ด้สร้ำงสรรค์ขึ้นใหม่ ได้รับกำรคุ้มครองก็ต่อ
เมื่อจดสิทธิบัตร ซึ่งสิ่งประดิษฐ์คุ้มครอง 20 ปี ออกแบบคุ้มครอง 10 ปี ถ้ำงำนประดิษฐ์ไม่ได้ใหญ่มำกก็
สำมำรถจดอนุสิทธิบัตรได้ มีอำยุกำรคุ้มครอง 6 ปี หลังกำรจดสิทธิบัตร
3) เครื่องหมายการค้า คุ้มครองควำมเป็นเจ้ำของ ของผลิตภัณฑ์นั้นๆ คุ้มครองเมื่อจดทะเบียน 10 ปี
กระบวนการของศาล
 การดำาเนินคดีทางแพ่ง ผู้เสียหำยจะต้องตั้งทนำยให้ทนำยฟ้องศำล
 การดำาเนินคดีทางอาญา ผู้เสียหำยแจ้งควำมกับตำำรวจซึ่งตำำรวจจะทำำกำรสืบสวน(หำข้อเท็จจริง) และสอบสวน(

รวบรวมหลักฐำนเพื่อส่งเรื่องฟ้อง) จำกนั้นเจ้ำหน้ำที่ตำำรวจจึงส่งสำำนวนให้กับอัยกำร อัยกำรก็จะพิจำรณำว่ำ สั่งฟ้องหรือ


ไม่สั่งฟ้อง แล้วอัยกำรก็จะส่งสำำนวนไปให้ศำลพิพำกษำคดี
แต่เรำก็สำมำรถยื่นฟ้องศำลได้ด้วยตนเองเช่นกัน แต่ศลจะต้องไต่สวนมูลฟ้องก่อน
 กระบวนการยุติธรรมของคดีทางแพ่ง เมื่อศำลพิพำกษำให้จำำเลยมีควำมผิด จำำเลยต้องเสียค่ำสินไหมทดแทน (ค่ำ

เสียหำย) แก่โจทก์ตำมคำำพิพำกษำของศำล โดยมีพนักงานบังคับคดีหรือพนักงานพิทักษ์ทรัพย์คอยควบคุม


 กระบวนการยุติธรรมของคดีทางอาญา เมื่อศำลพิพำกษำจำำเลยต้องได้รับโทษตำมคำำพิพำกษำ(5 ฐำน) โดยมี

พนักงานราชทัณฑ์หรือพนักงานคุมความประพฤติคอยบังคับคดี
 เพิม ่ เติม : เปรียบเทียบระหว่างคดีแพ่งและอาญา
1) คดีแพ่งเสียเงินขึ้นศำล คดีอำญำไม่เสียเงินขึ้นศำล(แต่อำจเสียค่ำธรรมเนียม)
2) คดีแพ่งโจทก์มักเป็นรำษฎร คดีอำญำมีทั้งรำษฎรและอัยกำร
3) คดีแพ่งบำงครั้งอำจเป็นคดีที่ไม่มีข้อพิพำทก็ได้ แต่อำญำต้องมีข้อพิพำทเสมอ
4) คดีแพ่งสำมำรถยอมควำม ผ่อนปรนได้ คดีอำญำบำงคดียอมควำมไม่ได้เพรำะเป็นเรื่องที่กระทบต่อแผ่นดิน
5) คดีแพ่งเรำฟ้องศำลได้โดยตรง (จ้ำงทนำยควำมก็ได้) แต่อำญำต้องแจ้งควำมกับเจ้ำหน้ำที่ตำำรวจก่อน หรือ
จะฟ้องเองก็ได้แต่ต้องผ่ำนกำรไต่สวนมูลฟ้องก่อน

You might also like