You are on page 1of 125

สาขา: อุตสาหการ วิชา: IE04 Quality Control

ขอที่ : 1
ขอใดตอไปนี้ไมใชความหมายของการควบคุมคุณภาพ
คําตอบ 1 : การทําแผนหรือระบบเพื่อสรางความมั่นใจใหลูกคา เพื่อตอบสนองสิ่งที่ลูกคาคาดหวัง


คําตอบ 2 : การรักษาคุณภาพใหไดในระดับเดิม โดยแกไขเมื่อกระบวนการผิดจากเปาหมาย

่ า
คําตอบ 3 : การควบคุมคาเฉลี่ยของกระบวนการใหคงที่


คําตอบ 4 : การควบคุมคาความผันแปรของกระบวนการใหคงที่

ขอที่ : 2

จ ำ ห

ขอใดตอไปนี้แทนนิยามของการปรับปรุงคุณภาพ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การวางแผนที่เปนระบบเพื่อสรางความมั่นใจใหลูกคา เพื่อตอบสนองสิ่งที่ลูกคาคาดหวัง
คําตอบ 2 : การดําเนินการเพื่อใหผลิตภัณฑมีคุณสมบัติเหมาะสมตอการใชงาน
คําตอบ 3 : การตรวจสอบผลิตภัณฑเพื่อใหเปนไปตามที่ลูกคาตองการ

ิท
คําตอบ 4 : การลดความผันแปรในกระบวนการผลิตและ/หรือลดการผันแปรของผลิตภัณฑ

นส

ขอที่ : 3


คุณสมบัติของผลิตภัณฑและ/หรือบริการในการตอบสนองตอความตองการในการใชงาน ตรงกับขอใด
คําตอบ 1 : Performance

อ ส

คําตอบ 2 : Serviceability

กร
คําตอบ 3 : Durability


คําตอบ 4 : Conformance

ขอที่ : 4

าว ศ


คุณสมบัติของผลิตภัณฑ และ/หรือบริการ ที่ตรงกับแบบหรือความตั้งใจของผูออกแบบ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
Performance
Serviceability
Durability
คําตอบ 4 : Conformance

ขอที่ : 5 1 of 125
คํากลาวในขอใดไมถูกตอง
คําตอบ 1 : "Nonconforming Product" คือ ผลิตภัณฑที่บกพรองและไมเหมาะกับการใชงาน
คําตอบ 2 : ผลิตภัณฑที่มี "Nonconformity" คือ ผลิตภัณฑที่ไมเหมาะสมตอการใชงาน
คําตอบ 3 : "Nonconformity" คือ ความบกพรองที่เกิดกับผลิตภัณฑ
คําตอบ 4 : "Nonconforming Product" จะมี "nonconformity" อยู

ขอที่ : 6

่ า ย
คํากลาวในขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : Concurrent Engineering คือ ความกาวหนาดานวิศวกรรมปจจุบัน


คําตอบ 2 : Reverse Engineering คือ ความกาวหนาดานวิศวกรรมโดยใชพื้นฐานของวิทยาศาสตรดั้งเดิม (Classical Science)

จ ำ
คําตอบ 3 : Control Chart คือ แผนภูมิที่แสดงใหเห็นถึงความบกพรองของผลิตภัณฑ และทําใหสามารถคัดผลิตภัณฑที่บกพรองออกจากกระบวนการผลิต


คําตอบ 4 : วัตถุประสงคหลักของการปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement) คือ การลดความแปรปรวน (Variability) ในกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 7
ขอใดตอไปนี้ไมใชตัววัดคุณภาพ

ิท
คําตอบ 1 : Durability


คําตอบ 2 : Aesthetics

ว น
คําตอบ 3 : Features


คําตอบ 4 : Price

อ ส

ขอที่ : 8

กร
ขอใดมีขั้นตอนคลายกับ DMAIC


คําตอบ 1 : PDCA



คําตอบ 2 : DFSS

าว
คําตอบ 3 : TQM


คําตอบ 4 : ISO

ขอที่ : 9

จุดประสงคของการทํา QC คือขอใด
คําตอบ 1 : วิเคราะหสาเหตุของความลมเหลวของผลิตภัณฑในเชิงคุณภาพ
คําตอบ 2 : เพิ่มประสิทธิภาพทางการตลาด
คําตอบ 3 : ขจัดขอโตแยงระหวางผูผลิตและผูใช
2 of 125
คําตอบ 4 : ควบคุมคุณภาพใหไดมาตรฐานตามที่กําหนดไว
ขอที่ : 10
ถาจะวางระบบ QC ในโรงงาน ควรศึกษาหาขอมูลใดกอน
คําตอบ 1 : ขอกําหนดของทุกผลิตภัณฑ (Specification)
คําตอบ 2 : กรรมวิธีการผลิต
คําตอบ 3 : การสรางแผนภูมิควบคุม


คําตอบ 4 : แผนการสุมตัวอยาง

น่ า

ขอที่ : 11


ตามแนวคิดของ ดร.โนริอาคิ คาโน (Noriaki Kano) กําหนดใหผลิตภัณฑควรมีคุณภาพ ที่จะเปนจุดขายเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันคุณภาพดังกลาวคือดานใด
คําตอบ 1 : คุณภาพที่ตองมี (Must – be Quality)

มจ
า้
คําตอบ 2 : คุณภาพมิติเดียว (One – Dimensional Quality)

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : คุณภาพที่มีเสนห (Attractive Quality)
คําตอบ 4 : คุณภาพที่กระจายมาจากประโยชนใชสอย (Quality Function Deployment)

ขอที่ : 12

ส ิท
ว น
ถาตองการเปนผูนําทางดานการคิดคนพัฒนา หรือนวัตกรรมใหม คุณภาพระดับใดที่จะตองตอบสนอง


คําตอบ 1 : Attractive


คําตอบ 2 : One-Dimensional


คําตอบ 3 : Must Be
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

กร ข
ขอที่ : 13


ิ ว
าว
QA และ QC มีความสัมพันธกันอยางไร


คําตอบ 1 : QA เนนกระบวนการ หรือวิธีการ QC เนนผลลัพธ ไมสัมพันธกัน


คําตอบ 2 : QA เนนผลลัพธ QC เนนกระบวนการ หรือวิธีการ ไมสัมพันธกัน
คําตอบ 3 : QA เนนกระบวนการ หรือวิธีการ QC เนนผลลัพธ เเละ QC เปนสวนหนึ่งของ QA
คําตอบ 4 : QA เนนผลลัพธ QC เนนกระบวนการ หรือวิธีการ เเละ QA เปนสวนหนึ่งของ QC

ขอที่ : 14
ขอใดเปนตัวชี้วัดคุณภาพที่เหมาะสมสําหรับสถาบันการศึกษา ซึ่งเปนผูผลิตบัณฑิตวิศวกรรมอุตสาหการเพื่อเขาสูตลาดแรงงาน หรือศึกษาตอ
3 of 125
คําตอบ 1 : เปอรเซ็นตการไดงานทํา หรือศึกษาตอ
คําตอบ 2 : คะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาที่จบในแตละรุน
คําตอบ 3 : เปอรเซ็นตของบัณฑิตที่จบภายในระยะเวลาที่กําหนด
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 15
ขอใดตอไปนี้ผิด

่ า ย
สาเหตุของความแปรปรวนในกระบวนการแบงออกเปน ความแปรปรวนเนื่องมาจากธรรมชาติของกระบวนการผลิต (Common Cause) และความแปรปรวนเนื่องมาจาก


คําตอบ 1 : สาเหตุเฉพาะหรือสาเหตุพิเศษ (Special cause) ความแปรปรวนอันเนื่องมาจากสาเหตุเฉพาะนี้มักเปนผลพวงมาจากการที่มีความผิดปกติในกระบวนการการผลิต เชน


การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ วิธีการผลิต หรือ เครื่องจักร


คําตอบ 2 : เปาหมายหลักของการใชแผนภูมิควบคุม คือ การลดความแปรปรวนในกระบวนการ


คําตอบ 3 : ผูผลิตควรมุงเนนตรวจสอบเพื่อคัดของเสียออกจากกระบวนการ มากกวาที่จะปองกันการเกิดของเสีย

า้ ม
คําตอบ 4 : คุณภาพ คือ ความพึงพอใจของลูกคา

ิธ์ ห
ขอที่ : 16

ิท
ผูเชี่ยวชาญดานคุณภาพ เดมมิ่ง เสนอแนวคิดเรื่องใด


คําตอบ 1 : การตรวจสอบผลิตภัณฑที่กระบวนการผลิตสุดทาย


คําตอบ 2 : การฝกอบรมใหความรูแกพนักงาน

ง ว
คําตอบ 3 : การมีบทลงโทษพนักงานหากผลิตเสียจํานวนมากกวาที่กําหนด


คําตอบ 4 : หาผูขาย (supplier) ที่กําหนดราคาต่ําสุด

ขอ
กร
ขอที่ : 17
เปาหมายของการตรวจสอบคุณภาพคืออะไร
คําตอบ 1 :


ิ ว
ตรวจจับผลิตภัณฑที่ไมดี

าว
คําตอบ 2 : เพิ่มคุณคาใหกับผลิตภัณฑหรือบริการ
คําตอบ 3 : แกไขขอบกพรองของผลิตภัณฑ

ส ภ
คําตอบ 4 : แกไขระบบที่บกพรอง

ขอที่ : 18
เทคนิคใดใชในการควบคุมคุณภาพในระหวางกระบวนการผลิต
คําตอบ 1 : การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment)
คําตอบ 2 : แผนภูมิควบคุม (Control Chart)
คําตอบ 3 : การชักตัวอยางเพื่อการยอมรับ (Acceptance Sampling) 4 of 125
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก
ขอที่ : 19
ความคาดหวังของลูกคาในการถายรูปไดของโทรศัพทมือถือคือขอใด
คําตอบ 1 : Performance
คําตอบ 2 : Feature
คําตอบ 3 : Aesthetics


คําตอบ 4 : Serviceability

น่ า

ขอที่ : 20


ขอใดไมใชมิติคุณภาพ 8 ประการ (dimensions of quality) ที่นําเสนอโดย Garvin (1987)
คําตอบ 1 : performance

มจ
า้
คําตอบ 2 : reliability

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : fitness for use
คําตอบ 4 : aesthetics

ขอที่ : 21

ส ิท
ว น
ผูจัดการโรงงานแหงหนึ่งสงชางเชื่อมที่กอใหเกิดงานเสียเนื่องจากการเชื่อมบอย เขาฝกอบรมในหลักสูตร “การเชื่อมเพื่อลดของเสีย” คาใชจายในการสงชางเชื่อมเขาอบรมจัดเปนคา


ใชจายประเภทใด


คําตอบ 1 : prevention costs


คําตอบ 2 : appraisal costs

กร ข
คําตอบ 3 : internal failure costs
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก


ิ ว
าว
ขอที่ : 22
ขอใดคือความสัมพันธระหวางคุณภาพ (Quality) ของผลิตภัณฑ ความผันแปรของกระบวนการ (Variation) และ ผลิตภาพ (Productivity) ของกระบวนการที่ถูกตอง


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ภ การปรับปรุงคุณภาพใหดีขึ้น สงผลใหความผันแปรลดลงและผลิตภาพสูงขึ้น
การปรับปรุงกระบวนการเพื่อลดความผันแปร สงผลใหคุณภาพและผลิตภาพสูงขึ้น
การปรับปรุงผลิตภาพใหสูงขึ้น สงผลใหคุณภาพสูงขึ้นและความผันแปรลดลง
คําตอบ 4 : ความผันแปรจะแปรผันกับคุณภาพโดยไมสงผลตอผลิตภาพ

ขอที่ : 23
5 of 125
กระบวนการกลึงเพลา มีขอกําหนดขนาดเสนผานศูนยกลาง 20 +/-0.2 มม. โดยใชเครื่องกลึงแบบกึ่งอัตโนมัติ พนักงานแผนก QA สุมชิ้นงานที่กลึงแลวจํานวน 30 ชุด ๆ ละ 4 ชิ้น มา
ตรวจสอบเพื่อสรางแผนภูมิควบคุม พบวากระบวนการอยูภายใตการควบคุม โดยมีคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางและคาเฉลี่ยของพิสัยเทากับ 19.99 และ 4.118 มม. ตามลําดับ เรา
ควรจะปรับปรุงกระบวนการอยางไร
คําตอบ 1 : เพิ่มคาเฉลี่ยของกระบวนการ
คําตอบ 2 : ลดความผันแปรของกระบวนการ
คําตอบ 3 : เพิ่มคาเฉลี่ยของกระบวนการและลดความผันแปรของกระบวนการพรอมกัน
คําตอบ 4 : กระบวนการมีความสามารถดีอยูแลว

่ า ย
ขอที่ : 24


ในชวงใดที่ควรจะวิเคราะห "ชิ้นสวนวิกฤต" ที่มีผลกระทบกับคุณภาพของผลิตภัณฑ


คําตอบ 1 : ในชวงระหวางการออกแบบ

จ ำ
คําตอบ 2 : เมื่อออกแบบเสร็จแลว


คําตอบ 3 : เมื่อกําลังจะทดสอบตนแบบ

า้
คําตอบ 4 : เมื่อจะเริ่มทําการผลิต

ขอที่ : 25
ิธ์ ห
ิท
ขอใดคือความหมายของ "คุณภาพ" ในสมัยใหม


คําตอบ 1 : ความเหมาะสมของการนําไปใชงาน

ว น
คําตอบ 2 : ความสามารถในการตอบสนองตอความพึงพอใจของลูกคา


คําตอบ 3 : ความสอดคลองกับขอกําหนดของผลิตภัณฑ


คําตอบ 4 : การที่ผลิตภัณฑมีความผันแปรต่ํา

ขอ
กร
ขอที่ : 26


ขอใดเปนมิติของคุณภาพที่ลูกคาควรคํานึงถึง



คําตอบ 1 : ความสามารถในการใชงาน

าว
คําตอบ 2 : ความทนทาน


คําตอบ 3 : ความสวยงาม


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 27
ขอใดเปนความหมายของการควบคุมคุณภาพ
คําตอบ 1 : การเปรียบเทียบสิ่งที่ทําไดกับเปาหมายและแกไขในสวนตาง
คําตอบ 2 : การคัดแยกของดีออกจากของเสีย
6 of 125
คําตอบ 3 : การยกระดับเปาหมายใหสูงขึ้น
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 28
ขอใดไมไดเปนองคประกอบของ "Juran Trilogy"
คําตอบ 1 : Quality Planning
คําตอบ 2 : Quality Control
คําตอบ 3 : Quality Improvement

่ า ย

คําตอบ 4 : Inspection

ขอที่ : 29

จ ำ ห

ขอใดไมใชแนวคิดทางดานคุณภาพของ เดมมิ่ง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ผูบริหารยอมรับฟงขอเสนอแนะจากพนักงาน
คําตอบ 2 : การเลือกผูสงมอบที่ใหราคาถูก
คําตอบ 3 : การเนนการปรับปรุงอยางตอเนื่อง

ิท
คําตอบ 4 : การกําจัดความกลัวของพนักงาน

นส

ขอที่ : 30


ขอใดไมไดจัดอยูในตนทุนคุณภาพดานความลมเหลวภายใน (Internal Failure Cost)
คําตอบ 1 : การนํากลับไปซอมใหม

อ ส

คําตอบ 2 : การนํากลับไปทดสอบใหม

กร
คําตอบ 3 : การทดสอบเครื่องมือใหพรอมใชงาน


คําตอบ 4 : การวิเคราะหสาเหตุของของเสียที่เกิดขึ้น

ขอที่ : 31

าว ศ


ขอใดจัดอยูในตนทุนคุณภาพดานความลมเหลวภายนอก (External Failure Cost)


คําตอบ 1 : การตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบที่จะเขาสูกระบวนการผลิต
คําตอบ 2 : การซอมสินคาใหลูกคาในชวงเวลารับประกัน
คําตอบ 3 : การทดสอบเครื่องมือใหพรอมในการใชงาน
คําตอบ 4 : การวิเคราะหถึงสาเหตุของของเสียที่เกิดขึ้น

ขอที่ : 32 7 of 125

ขอใดเปนลําดับของการจัดฝกอบรมทางดานคุณภาพ 1. กําหนดหัวขอการอบรม 2. จัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม 3. กําหนดวัตถุประสงคของการอบรม 4. กําหนดความตองการ


ในการอบรม
คําตอบ 1 : 4, 1, 3, 2
คําตอบ 2 : 4, 3, 1, 2
คําตอบ 3 : 3, 4, 1, 2
คําตอบ 4 : 1, 4, 3, 2

่ า ย
ขอที่ : 33


ทานคิดวาขอใดตอไปนี้กลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการบริหารคุณภาพแบบ TQM


คําตอบ 1 : TQM เปนระบบที่ใหพนักงานมีสวนรวมในการปรับปรุงการทํางาน

จ ำ
คําตอบ 2 : TQM เปนการสรางความมั่นใจใหกับลูกคาในเชิงรุก


คําตอบ 3 : TQM เปนระบบที่มุงปฏิบัติตามลายลักษณอักษร

า้
คําตอบ 4 : TQM เปนระบบที่ฝายบริหารตองมีสวนรวมโดยตรง

ขอที่ : 34
ิธ์ ห
ิท
ขอใดตอไปนี้ไมใชประเภทของการตรวจติดตามคุณภาพในระบบ ISO9001:2000


คําตอบ 1 : Internal Audit

ว น
คําตอบ 2 : Second Party Audit


คําตอบ 3 : Third Party Audit


คําตอบ 4 : Product Audit

ขอ
กร
ขอที่ : 35


ตําแหนงตอไปนี้ เปนที่นิยมอยูในผังองคกรที่ดําเนินงานตามระบบบริหารงานแบบ Six Sigma ยกเวนขอใด



คําตอบ 1 : Champion

าว
คําตอบ 2 : Black Belt


คําตอบ 3 : Red Belt


คําตอบ 4 : Green Belt

ขอที่ : 36
หัวใจของการบริหารคุณภาพแบบ TQM คือ
คําตอบ 1 : สรางผลกําไร
คําตอบ 2 : ลดตนทุน
8 of 125
คําตอบ 3 : สรางความพึงพอใจตอลูกคา
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 37
ขอใดไมใชแนวคิด (concept) ของการบริหารคุณภาพแบบ TQM ตามรูปแบบของ ดร.คาโน
คําตอบ 1 : กระบวนการถัดไป คือลูกคา
คําตอบ 2 : วงจร P – D – C – A
คําตอบ 3 : การจัดทํามาตรฐานการทํางาน (Standardization)

่ า ย

คําตอบ 4 : การทํางานขามสายงาน (Cross Function Team)

ขอที่ : 38

จ ำ ห

ขอใดไมไดจัดอยูในประเภทของแนวคิดของการบริหารคุณภาพแบบ TQM

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Market-In
คําตอบ 2 : Management by Fact
คําตอบ 3 : Process Oriented

ิท
คําตอบ 4 : 7 QC Tools & Suggestion System

นส

ขอที่ : 39


ขอใดคือแนวคิดของการลดตนทุนที่ถูกตองตามหลักการของการบริหารคุณภาพแบบ TQM
คําตอบ 1 :

อ ส
การลดตนทุน คือ การตัดคาใชจายลง


คําตอบ 2 : การลดตนทุน คือ การลดคุณภาพของสินคาลง

กร
คําตอบ 3 : การลดตนทุน คือ การตอรองราคาวัตถุดิบใหต่ําสุด


คําตอบ 4 : การลดตนทุน คือ การลดความสูญเปลาในระบบงาน

ขอที่ : 40

าว ศ


ขอใดเปนสิ่งแรกที่ควรกระทําเพื่อใหไดระดับคุณภาพที่ดี


คําตอบ 1 : การกําหนดขั้นตอนการผลิตที่ชัดเจน
คําตอบ 2 : การวางแผนการตรวจสอบคุณภาพ
คําตอบ 3 : การกําหนดวิธีการปองกันปญหาดานคุณภาพ
คําตอบ 4 : การศึกษาถึงความตองการของลูกคา

ขอที่ : 41 9 of 125
QA ในโรงงานหมายถึงขอใด
คําตอบ 1 : Quality Analysis
คําตอบ 2 : Quality Automation
คําตอบ 3 : Quality Acceptance
คําตอบ 4 : Quality Assurance

ขอที่ : 42

่ า ย
QCC หมายถึงขอใด


คําตอบ 1 : Quality Control Cooperation


คําตอบ 2 : Quality Control Circle

จ ำ
คําตอบ 3 : Quality Control Concept


คําตอบ 4 : Quality Control Conventional

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 43
การเริ่มทํา QCC ควรเริ่มจากกิจกรรมอะไรกอน

ิท
คําตอบ 1 : แบงพนักงานในบริษัทเปนกลุม


คําตอบ 2 : กําหนดเปนนโยบายบริษัทโดยผานความเห็นชอบจากผูบริหารระดับสูงกอน

ว น
คําตอบ 3 : ตั้งชื่อคณะกรรมการดูแลกิจกรรม QCC


คําตอบ 4 : พนักงานในบริษัทลงคะแนนเสียงเพื่อเลือกหัวขอ QCC

อ ส

ขอที่ : 44

กร
ขอใดตอไปนี้ ไมใช ตนทุนคุณภาพ


คําตอบ 1 : งานที่ตองทิ้ง (Scrap)



คําตอบ 2 : งานทําซ้ํา (Rework)

าว
คําตอบ 3 : งานทดสอบซ้ํา (Retest)


คําตอบ 4 : ตนทุนผลิตภัณฑ (Product Cost)

ขอที่ : 45

10 of 125

สินคาที่มีเครื่องหมายดังตอไปนี้ ไมไดครอบคลุมถึง

่ า
คําตอบ 1 : การคุมครองผูบริโภค
คําตอบ 2 : การรักษาสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาติ

หน

คําตอบ 3 : การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศใหสามารถแขงขันไดในตลาดโลก


คําตอบ 4 : การสรางความเปนธรรมในการซื้อขาย ขจัดปญหา และอุปสรรคทางการคาที่เกิดจากมาตรการดานมาตรฐาน

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 46
การขอรับรองสัญลักษณฉลากเขียวของสินคาที่ผลิตขึ้น แสดงวาสินคาที่ผลิตมีสวนชวยในการลดมลภาวะจากสิ่งแวดลอม และเพื่อผลักดันใหผูผลิตใชเทคโนโลยี หรือวิธีการผลิต ที่
ใหผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย จะสามารถติดตอขอรับรองไดจากหนวยงานใดของรัฐ

ิท
คําตอบ 1 : กรมสงเสริมอุตสาหกรรม
คําตอบ 2 : กรมสงเสริมการสงออก

นส

คําตอบ 3 : สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม


คําตอบ 4 : กรมโรงงาน

อ ส

ขอที่ : 47

กร
ขอใดไมใชหลักการพื้นฐานของการบริหารคุณภาพแบบ TQM


คําตอบ 1 : มีการจัดการที่เกี่ยวของและยอมรับจากทางฝายบริหารระดับสูงลงสูผูปฎิบัติการและจากระดับผูปฏิบัติการไปสูผูบริหารระดับสูง

าว ศ

คําตอบ 2 : มีการใหความรวมมือจากทุกฝาย
คําตอบ 3 : มีการปรับปรุงคุณภาพอยางตอเนื่องทั้งทางธุรกิจและการผลิต


คําตอบ 4 : ลดปริมาณของเสียเปนศูนย

ขอที่ : 48

ขอใดเปนตนทุนที่เกี่ยวของกับคุณภาพ
คําตอบ 1 : ตนทุนการปองกัน (Prevention costs)
คําตอบ 2 : ตนทุนการประเมินคุณภาพ (Appraisal costs)
คําตอบ 3 : ตนทุนความลมเหลว (Failure costs)
11 of 125
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก
ขอที่ : 49
การซอมของเสีย เปนตัวอยางของตนทุนคุณภาพในดานใด
คําตอบ 1 : ตนทุนความลมเหลวภายใน (Internal failure costs)
คําตอบ 2 : ตนทุนความลมเหลวภายนอก (External failure costs)
คําตอบ 3 : ตนทุนการปองกัน (Prevention costs)


คําตอบ 4 : ตนทุนการประเมินคุณภาพ (Appraisal costs)

น่ า

ขอที่ : 50


ISO 9000 มีวัตถุประสงคในดานใด
คําตอบ 1 : ผลิตภัณฑ

มจ
า้
คําตอบ 2 : ขั้นตอนในการผลิต

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ขั้นตอนในการจัดการดานคุณภาพ
คําตอบ 4 : ขอกําหนดของผูขาย

ขอที่ : 51

ส ิท
ว น
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 14000


คําตอบ 1 : ไมไดเปนเงื่อนไขที่ตองทําใหเสร็จกอนสําหรับการขอการรับรอง ISO 9000


คําตอบ 2 : เปนการจัดการดานสิ่งแวดลอม


คําตอบ 3 : เปนระบบที่ดีในการปองกันมลภาวะ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

กร ข
ขอที่ : 52


ิ ว
าว
การบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management) เนนในเรื่องใด


คําตอบ 1 : ความรับผิดชอบของทีมงานดานคุณภาพในการระบุและแกปญหาที่เกี่ยวของกับคุณภาพ


คําตอบ 2 : การบริหารจัดการคุณภาพที่เนนใหทุกคนในองคกรมีสวนรวมในดานคุณภาพ
คําตอบ 3 : ระบบที่ผูจัดการซึ่งที่มีอํานาจจะเปนผูตัดสินใจไดเทานั้น
คําตอบ 4 : การใหนักสถิติเปนผูแกปญหาดานคุณภาพ

ขอที่ : 53
ขอใดมิใชหลักการของการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management)
12 of 125
คําตอบ 1 : การปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่อง
คําตอบ 2 : การใหพนักงานมีสวนรวมในการปรับปรุงคุณภาพ
คําตอบ 3 : อํานาจในการตัดสินใจที่ศูนยกลาง
คําตอบ 4 : การใชเครื่องมือทางสถิติในการปรับปรุงคุณภาพ

ขอที่ : 54
ไคเซนเปนภาษาญี่ปุนมีความหมายวาอยางไร
คําตอบ 1 : วิธีการปองกันความผิดพลาด

่ า ย

คําตอบ 2 : การผลิตแบบทันเวลา


คําตอบ 3 : การจัดทํามาตรฐาน

จ ำ
คําตอบ 4 : การปรับปรุงอยางตอเนื่อง

ขอที่ : 55

า้ ม
ิธ์ ห
โปกาโยเกะ (Poka-yoke) เปนภาษาญี่ปุนหมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : บัตร (Card)

ิท
คําตอบ 2 : เทคนิคปองกันความผิดพลาด (Foolproof)


คําตอบ 3 : การปรับปรุงอยางตอเนื่อง

ว น
คําตอบ 4 : การผลิตแบบทันเวลา

ส ง

ขอที่ : 56


ระบบการใหคะแนนรางวัลคุณภาพแหงชาติจะขึ้นอยูกับการประเมินใน 2 มิติไดแก

กร
คําตอบ 1 : กระบวนการ และ วิธีการ


คําตอบ 2 : ผลลัพธ และ คุณภาพ



คําตอบ 3 : วิธีการ และ คุณภาพ

าว
คําตอบ 4 : กระบวนการ และ ผลลัพธ

ขอที่ : 57

ส ภ
คาโนไดแบงคุณลักษณะของสินคาที่มีผลตอความพึงพอใจของลูกคาออกเปน 3 ประเภท ขอใดหมายถึง คุณลักษณะที่ลูกคาไมไดคาดหวัง แตหากผูขายมี ก็จะทําใหลูกคาพึงพอใจ
อยางมาก
คําตอบ 1 : Dissatisfier
คําตอบ 2 : Satisfier
คําตอบ 3 : Attractive Quality
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด 13 of 125
ขอที่ : 58
การแบงลูกคาเปนลูกคาภายในและลูกคาภายนอกเพื่อวัตถุประสงคใดเปนสําคัญ
คําตอบ 1 : เพื่อจะไดทราบความตองการของลูกคา
คําตอบ 2 : เพื่อใหสามารถแยกวิธีการบริหารออกจากกันไดเด็ดขาด
คําตอบ 3 : เพื่อลดความซับซอนในการบริหารงาน


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

น่ า

ขอที่ : 59


ขอใดเปนกิจกรรมในการวางแผนคุณภาพ
คําตอบ 1 : การทําแผนดานคุณภาพเพื่อรักษาระดับความพึงพอใจของลูกคา

มจ
า้
คําตอบ 2 : การตั้งเปาหมายทางคุณภาพ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การพิจารณาความตองการของลูกคา
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 60

ส ิท
ว น
การจัดของที่ใชงานใหเปนหมวดหมูเปนกิจกรรมใดใน 5 ส


คําตอบ 1 : สะสาง


คําตอบ 2 : สะดวก


คําตอบ 3 : สะอาด
คําตอบ 4 : สุขลักษณะ

กร ข
ขอที่ : 61


ิ ว
าว
โดยปกติ พื้นที่ใตโคงปกติที่อยูนอก μ±6σ มีคา 0.002 ppm แตทําไมในระบบ Motorola six-sigma จึงมีสัดสวนของเสียที่อยูนอก μ±6σ จึงมีคา 3.4 ppm


คําตอบ 1 : เพราะคาเฉลี่ยของกระบวนการคงที่


คําตอบ 2 : เพราะคาเฉลี่ยของกระบวนการคอนขางคงที่
คําตอบ 3 : เพราะมีสมมติฐานใหคาเฉลี่ยของกระบวนการเบี่ยงเบนได ±1.5σ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 62
ขอใดตอไปนี้ไมใชกิจกรรมในชวงการวางแผนการตรวจสอบคุณภาพ (audit)
14 of 125
คําตอบ 1 : การศึกษาทบทวนเอกสาร
คําตอบ 2 : การเตรียมรายการตรวจสอบ (checklists)
คําตอบ 3 : การชี้แจงจุดประสงคในการตรวจสอบ
คําตอบ 4 : การจัดตารางการตรวจสอบ

ขอที่ : 63
มอก. 18000 เปนมาตรฐานของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมวาดวย
คําตอบ 1 : การจัดการสิ่งแวดลอมในโรงงานอุตสาหกรรม

่ า ย

คําตอบ 2 : การจัดการความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม


คําตอบ 3 : การประกันคุณภาพของสินคา

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 64

า้ ม
ิธ์ ห
มาตรฐานใดตอไปนี้เปนมาตรฐานที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต
คําตอบ 1 : ISO 9001

ิท
คําตอบ 2 : ISO 14000


คําตอบ 3 : TS 16949

ว น
คําตอบ 4 : ISO 17025

ส ง

ขอที่ : 65


กําหนดสเปกชิ้นงาน (specification) มีคาเทากับ 10±0.6 หนวย กําหนดใหขนาดของชิ้นงานแจกแจงปกติโดยมีคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 10.3 และ 0.2 หนวย

กร
ตามลําดับ ถาผูผลิตประยุกตใชหลักการของ Six Sigma ในการลดความผันแปรของกระบวนการจนสําเร็จ คือ ลดความผันแปรไดตามเปาหมายเชิงทฤษฎียางสมบูรณ (σ=1) ที่ระดับ
Six Sigma โดยมิไดปรับปรุงคาเฉลี่ยของกระบวนการ ที่ระดับคุณภาพใหมนี้จะมีคาคาดหมายของชิ้นงานที่เสียจากกระบวนการผลิตกี่ ppm
คําตอบ 1 : 66810


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 2700
คําตอบ 3 : 1350

ส ภ
คําตอบ 4 : 3.4

ขอที่ : 66
ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการบริหารคุณภาพแบบ TQM
คําตอบ 1 : เปนการจัดการคุณภาพที่ทุกคนในองคกรตองตระหนักถึงความสําคัญของคุณภาพและมีสวนรวม
คําตอบ 2 : เปนการจัดการคุณภาพที่รวมระบบคุณภาพเขาไวในเปาหมายของธุรกิจ
คําตอบ 3 : เปนระบบการจัดการคุณภาพที่มุงเนนการตอบสนองความตองการของลูกคา (Customer Focus) 15 of 125
คําตอบ 4 : เปนการจัดการคุณภาพที่มุงเนนพัฒนาการดานคุณภาพแบบกาวกระโดด
ขอที่ : 67
ขอใดเปนสิ่งที่จะตองกระทํากอนนําระบบ TQM ไปประยุกตใช
คําตอบ 1 : กําหนดพันธกิจขององคกร
คําตอบ 2 : กําหนดกลยุทธทางคุณภาพ
คําตอบ 3 : กําหนดเปาหมายทางดานคุณภาพ


คําตอบ 4 : กําหนดวิธีการปรับปรุงคุณภาพ

น่ า

ขอที่ : 68


ขอใดเปนองคประกอบของ Total Quality Management (TQM)
คําตอบ 1 : การที่ทุกคนในองคกรมีสวนรวมในเรื่องคุณภาพ

มจ
า้
คําตอบ 2 : การนําสถิติไปใชในการปรับปรุงคุณภาพ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การสื่อสารนโยบายจากผูบริหารสูพนักงาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 69

ส ิท
ว น
ขอใดไมถูกตอง


คําตอบ 1 : กระบวนการที่มีระดับคุณภาพที่ 6 Sigma จะมีของเสียประมาณ 3.4 สวนในลานสวน


คําตอบ 2 : บริษัทที่นําระบบบริหารคุณภาพแบบ 6 Sigma ไปใช จะมีของเสียประมาณ 3.4 สวนในลานสวน


คําตอบ 3 : กระบวนการที่มีระดับคุณภาพที่ 6 Sigma จะมีของเสียนอยกวากระบวนการที่มีระดับคุณภาพที่ 3 Sigma
คําตอบ 4 :

กร ข
กระบวนการที่มีระดับคุณภาพที่ 3 Sigma จะมีความผันแปรมากกวากระบวนการที่มีระดับคุณภาพที่ 6 Sigma เมื่อชวงความกวางของขอกําหนดของผลิตภัณฑเทากัน

ขอที่ : 70


ิ ว
าว
ขอใดไมถูกตอง


คําตอบ 1 : การนําซิกซ ซิกมา ไปใช จะมีลักษณะการทํางานแบบโครงการ


คําตอบ 2 : ขั้นตอนของการปรับปรุงคุณภาพแบบซิกซ ซิกมา คือ DMAIC
คําตอบ 3 : สมาชิกทุกคนในทีมซิกซ ซิกมา จะตองทํางานเต็มเวลาใหกับโครงการซิกซ ซิกมา
คําตอบ 4 : ซิกซ ซิกมา มีจุดเดนที่มีการวิเคราะหขอมูลและนําวิธีทางสถิติไปใช

ขอที่ : 71
Thailand Quality Award (TQA) เนนใหความสําคัญในเรื่องใดมากที่สุด
16 of 125
คําตอบ 1 : การจัดการกระบวนการภายใน
คําตอบ 2 : การจัดการทรัพยากร
คําตอบ 3 : ภาวะการเปนผูนําของผูบริหาร
คําตอบ 4 : ผลลัพธทางธุรกิจ

ขอที่ : 72
Thailand Quality Award (TQA) มีพื้นฐานมาจากเกณฑรางวัลใด
คําตอบ 1 : Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA)

่ า ย

คําตอบ 2 : Deming Prize


คําตอบ 3 : Juran Prize

จ ำ
คําตอบ 4 : Prime Minister Award

ขอที่ : 73

า้ ม
ิธ์ ห
ขอใดคือความหมายของ Quality Control Circle (QCC)
คําตอบ 1 : กลุมของพนักงานที่รวมกันเพื่อแกไขปญหาคุณภาพงาน

ิท
คําตอบ 2 : ระบบบริหารคุณภาพแบบหนึ่ง


คําตอบ 3 : การรวมกันแกปญหาคุณภาพงานโดยพนักงานจากฝายตางๆ

ว น
คําตอบ 4 : การประชุมของผูบริหารเกี่ยวกับเรื่องคุณภาพ

ส ง

ขอที่ : 74


เทคนิคการตั้งคําถามเพื่อใหทราบวาทําไมกระบวนการยังไมเปนไปตามที่ควรจะเปนคือขอใด

กร
คําตอบ 1 : PDCA cycle


คําตอบ 2 : Benchmarking



คําตอบ 3 : 5W2H

าว
คําตอบ 4 : QCC

ขอที่ : 75

ส ภ
ขอใดหมายถึง การกําหนดหาองคกรที่มีความเปนเลิศและนําวิธีการที่เขาปฏิบัติมาปรับใช
คําตอบ 1 : Continuous improvement
คําตอบ 2 : Benchmarking
คําตอบ 3 : Employee empowerment
คําตอบ 4 : QCC
17 of 125
ขอที่ : 76
ขอใดหมายถึง การใหอํานาจและความรับผิดชอบแกพนักงานในการทํางาน
คําตอบ 1 : continuous improvement
คําตอบ 2 : benchmarking
คําตอบ 3 : employee empowerment
คําตอบ 4 : QCC

่ า ย

ขอที่ : 77


ขอใดไมใชเปาหมายของการปรับปรุงกระบวนการ

จ ำ
คําตอบ 1 : เพื่อใหไดระดับคุณภาพที่สูงขึ้น


คําตอบ 2 : เพื่อลดความสูญเปลาในกระบวนการ

า้
คําตอบ 3 : เพื่อเพิ่มระดับความพึงพอใจของลูกคา

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เพื่อหาสาเหตุของปญหาคุณภาพ

ิท
ขอที่ : 78


หนวยงานที่ทําหนาที่สนับสนุนมาตรฐานคุณภาพ ที่เรียกวา ISO ซึ่งเปนที่รูจักกันทั่วไป มีชื่อเต็มวาอยางไร

ว น
คําตอบ 1 : International Organization for Standardization


คําตอบ 2 : Internal Standards for Operations


คําตอบ 3 : International Systems Organization


คําตอบ 4 : Industry Standards for Operations

กร ข

ขอที่ : 79



สวนใดในองคกรที่ตองมีบทบาทในเรื่องคุณภาพ

าว
คําตอบ 1 : ฝายจัดซื้อ


คําตอบ 2 : ฝายประกันคุณภาพ


คําตอบ 3 : ฝายบริหาร
คําตอบ 4 : ทุกฝาย

ขอที่ : 80
สิ่งใดที่ผูบริหารควรปฏิบัติในการบริหารคุณภาพ 1. กําหนดวิสัยทัศนขององคกร 2. กําหนดระบบคาตอบแทนที่สนับสนุนนโยบายคุณภาพ 3. สนับสนุนใหมีการอบรมทางดานคุณภาพ
อยางตอเนื่อง 4. สนับสนุนทรัพยากรในการปรับปรุงคุณภาพ
18 of 125
คําตอบ 1 : 1, 2
คําตอบ 2 : 1, 2, 3
คําตอบ 3 : 1, 2, 3, 4
คําตอบ 4 : 3, 4

ขอที่ : 81
ขอใดไมไดเปนหนึ่งใน “The Seven Quality Control Tools”
คําตอบ 1 : Scatter Diagram
คําตอบ 2 : Check sheet

่ า ย

คําตอบ 3 : Design of Experiment


คําตอบ 4 : Cause and Effect diagram

จ ำ

ขอที่ : 82
เทคนิคขอใดเหมาะสมที่สุดในการชวยชี้ถึงตนเหตุของความบกพรองของผลิตภัณฑ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Control chart (แผนภูมิควบคุม)
คําตอบ 2 : Pareto diagram (แผนภาพพาเรโต)

ิท
คําตอบ 3 : Fish bone diagram (แผนผังกางปลา)


คําตอบ 4 : Check sheet (ใบรายการตรวจสอบ)

ขอที่ : 83

ง ว น
อ ส
เครื่องมือใดที่มีความหมายวา Vital Few and Trivial Many


คําตอบ 1 : ฮิสโตแกรม

กร
คําตอบ 2 : แผนภาพพาเรโต


คําตอบ 3 : แผนภาพการกระจาย



คําตอบ 4 : แผนผังกางปลา

ขอที่ : 84

ภ าว

แผนผังกางปลาเปนเครื่องมือที่ใชวิเคราะหหาสาเหคุที่คาดวามีผลกับปญหาที่สนใจศึกษา สวนประกอบของแผนผังกางปลาในขอใดตอไปนี้ ที่ใชแสดงอาการของปญหา
คําตอบ 1 : หัวปลา
คําตอบ 2 : กางปลาหลัก
คําตอบ 3 : กางปลายอย
คําตอบ 4 : หางปลา

19 of 125
ขอที่ : 85
เครื่องมือคุณภาพชนิดใดที่ใชเพื่อตรวจสอบวาปจจัยที่ 1 มีความสัมพันธกับปจจัยที่ 2 หรือไม
คําตอบ 1 : กราฟ และแผนภูมิควบคุม (Graph and Control Chart)
คําตอบ 2 : แผนภาพกระจาย (Scatter Diagram)
คําตอบ 3 : แผนผังกางปลา (Fish bone Diagram)
คําตอบ 4 : แผนภูมิความสัมพันธ (Relation Diagram)

่ า ย
ขอที่ : 86


เครื่องมือคุณภาพชนิดใดที่ใชปองกันปญหา ความไมแนนอน หรือความเสี่ยงในอนาคต


คําตอบ 1 : กราฟ และแผนภูมิควบคุม (Graph and Control Chart)

จ ำ
คําตอบ 2 : แผนภาพการกระจาย (Scatter Diagram)


คําตอบ 3 : แผนภูมิการตัดสินใจ (Process Decision Program Chart)

า้
คําตอบ 4 : แผนภูมิลูกศร (Arrow Diagram)

ขอที่ : 87
ิธ์ ห
ิท
ขอใดไมใชประโยชนของการใชเครื่องมือคุณภาพ 7 อยางเดิม (7 QC Tools)


คําตอบ 1 : วิเคราะหสาเหตุของปญหา

ว น
คําตอบ 2 : การจํากัดขอบเขตของปญหาใหแคบลง


คําตอบ 3 : การตรวจจับชิ้นงานที่ไมเปนไปตามขอกําหนดของผลิตภัณฑ


คําตอบ 4 : การแยกแยะความผันแปรออกเปนสาเหตุธรรมชาติและสาเหตุผิดธรรมชาติ

ขอ
กร
ขอที่ : 88


ในกรณีที่ฮิสโตแกรมมีรูปแบบทรงภูเขาสองยอดนั้น นาจะมีสาเหตุมาจากอะไร



คําตอบ 1 : การแบงจํานวนชั้นของฮิสโตแกรมไมเหมาะสม

าว
คําตอบ 2 : ขอมูลมาจากคนละแหลงความผันแปรที่มีความแตกตางกัน 2 แหลง


คําตอบ 3 : ขอมูลมาจากกระบวนการผลิตในชวงเวลาที่ตางกัน


คําตอบ 4 : ขอมูลมาจากกระบวนการผลิตแบบตอเนื่องที่ไมมีการควบคุมคุณภาพที่ดีพอ

ขอที่ : 89
ขอใดอธิบายถึงแผนภูมิกางปลาไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เรียกอีกอยางหนึ่งวา แผนภาพแสดงเหตุและผล
คําตอบ 2 : เปนเครื่องมือที่ใชเฉพาะในสวนของโรงงานเทานั้น ไมนิยมใชในสํานักงาน
20 of 125
คําตอบ 3 : การไดมาซึ่งขอมูลใชวิธีการระดมสมองจากผูปฏิบัติ
คําตอบ 4 : ควรระบุเหตุปจจัยเฉพาะที่สามารถแกไขไดเทานั้น และไมควรระบุถึงภัยธรรมชาติในเหตุปจจัย

ขอที่ : 90
เครื่องมือคุณภาพชนิดใด ที่นิยมนํามาใชเพื่อรักษาระดับคุณภาพหรือมาตรฐานที่รับประกัน
คําตอบ 1 : แผนภูมิควบคุม
คําตอบ 2 : แผนภูมิพาเรโต
คําตอบ 3 : FMEA (Failure Mode and Effects Analysis)

่ า ย

คําตอบ 4 : ฮิสโตแกรม

ขอที่ : 91

จ ำ ห

ประโยชนของ Cause and Effect diagrams คือขอใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เพื่อรวบรวมขอมูลวาอะไรคือปญหาที่สําคัญที่สุดที่เราควรแกไขกอน-หลัง
คําตอบ 2 : เพื่อหาสาเหตุของปญหา
คําตอบ 3 : เพื่อหาวาขอมูลตางๆ ที่ไดมีการกระจายแบบใด

ิท
คําตอบ 4 : เปนแผนผังกางปลาเพื่อเปรียบเทียบขอมูลปจจุบัน (เขียนไวดานบน) และขอมูลในอดีต (เขียนไวดานลาง)

นส

ขอที่ : 92


ขอใดตอไปนี้เปนเครื่องมือในการควบคุมคุณภาพ
คําตอบ 1 : Check Sheet

อ ส

คําตอบ 2 : Defect Concentration Diagram

กร
คําตอบ 3 : Control Chart


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 93

าว ศ


กําหนดให คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของกระบวนการคือ 1.5 และ 0.15 ไมครอน ตามลําดับ สุมตัวอยาง 5 ชิ้น ขอใดตอไปนี้ถูกตอง


คําตอบ 1 : คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุมตัวอยาง คือ 0.15
คําตอบ 2 : สําหรับแผนภูมิควบคุมที่ ±3σ จะไดวา UCL = 1.7013
คําตอบ 3 : สําหรับแผนภูมิควบคุมที่ ±3σ จะไดวา LCL = 0
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 94 21 of 125

แผนภาพพาเรโตใชเพื่อจุดประสงคใด
คําตอบ 1 : ระบุจุดตรวจสอบในกระบวนการ
คําตอบ 2 : ระบุเวลาที่การผลิตออกนอกการควบคุม
คําตอบ 3 : จัดลําดับความถี่ของปญหาหรือสาเหตุของปญหา
คําตอบ 4 : แสดงการไหลของวัตถุดิบ

ขอที่ : 95

่ า ย
4 M ของแผนภาพแสดงเหตุและผลคืออะไร


คําตอบ 1 : วัตถุดิบ, เครื่องจักร/อุปกรณ, แรงงาน และวิธีการ


คําตอบ 2 : วัตถุดิบ, วิธีการ, คน และทัศนคติ

จ ำ
คําตอบ 3 : ผูเชี่ยวชาญดานคุณภาพ 4 ทาน


คําตอบ 4 : วัตถุดิบ, การจัดการ, แรงงาน และแรงจูงใจ

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 96
เครื่องมือที่ใชเพื่อใหเขาใจลําดับของเหตุการณที่ผลิตภัณฑเคลื่อนยายคืออะไร

ิท
คําตอบ 1 : แผนภาพพาเรโต


คําตอบ 2 : แผนผังกระบวนการ (Process chart)

ว น
คําตอบ 3 : ใบตรวจสอบ


คําตอบ 4 : โปกาโยเกะ (Poka-yoke)

อ ส

ขอที่ : 97

กร
ผังกางปลาเรียกอีกชื่อหนึ่งวาอะไร


คําตอบ 1 : แผนภาพแสดงเหตุและผล



คําตอบ 2 : แผนภาพโปกาโยเกะ

าว
คําตอบ 3 : แผนภาพไคเซน


คําตอบ 4 : แผนภาพคัมบัง

ขอที่ : 98

กลุมคุณภาพประชุมระดมสมองและพยายามระบุปจจัยที่มีอาจจะมีผลตอขอบกพรองของผลิตภัณฑ ในขั้นตอนดังกลาวควรใชเครื่องมือใด
คําตอบ 1 : แผนภาพพาเรโต
คําตอบ 2 : แผนผังกระบวนการ
คําตอบ 3 : แผนภูมิควบคุม
22 of 125
คําตอบ 4 : แผนภาพแสดงเหตุและผล
ขอที่ : 99
แผนภาพใดใชแสดงการกระจายของขอมูล
คําตอบ 1 : แผนภาพพาเรโต
คําตอบ 2 : แผนภาพฮิสโตแกรม
คําตอบ 3 : กราฟวงกลม


คําตอบ 4 : แผนภาพแสดงเหตุและผล

น่ า

ขอที่ : 100


แผนภาพใดใชแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล 2 ชุด
คําตอบ 1 : แผนภาพพาเรโต

มจ
า้
คําตอบ 2 : แผนภาพฮิสโตแกรม

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แผนภาพแสดงเหตุและผล
คําตอบ 4 : แผนภาพการกระจาย

ขอที่ : 101

ส ิท
ว น
เครื่องมือคุณภาพใดที่ใชในการเก็บบันทึกขอมูล


คําตอบ 1 : ใบรายการตรวจสอบ (check sheet)


คําตอบ 2 : แผนภาพฮิสโตแกรม


คําตอบ 3 : แผนภาพพาเรโต
คําตอบ 4 : แผนภาพการกระจาย

กร ข
ขอที่ : 102


ิ ว
าว
ความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) สามารถแสดงโดยใชเครื่องมือคุณภาพใดประกอบ


คําตอบ 1 : ใบรายการตรวจสอบ (check sheet)


คําตอบ 2 : แผนภาพฮิสโตแกรม
คําตอบ 3 : แผนภาพพาเรโต
คําตอบ 4 : แผนภาพการกระจาย

ขอที่ : 103
หากสงสัยวาระยะหางระหวางปนพนสีถึงชิ้นงาน มีความสัมพันธตอความหนาของสีที่ปรากฏบนชิ้นงานอยางไร ควรใชเครื่องมือคุณภาพชนิดใด
23 of 125
คําตอบ 1 : แผนภาพแสดงเหตุและผล
คําตอบ 2 : แผนภาพฮิสโตแกรม
คําตอบ 3 : แผนภาพพาเรโต
คําตอบ 4 : แผนภาพการกระจาย

ขอที่ : 104
ชิ้นงานเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการพนสี เกิดขึ้นไดจากขอบกพรองหลายอยาง เชน สีเปนเม็ด สียอย ความหนาสีมากเกินไป หากตองการทราบวาควรจะตองแกไขในขอบกพรองใด


กอน ควรจะใชเครื่องมือใดชวยในการเก็บและบันทึกขอมูล
คําตอบ 1 : check sheet

น่ า

คําตอบ 2 : แผนภาพฮิสโตแกรม


คําตอบ 3 : แผนภาพพาเรโต

มจ
คําตอบ 4 : แผนภาพการกระจาย

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 105
ชิ้นงานเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการพนสี เกิดขึ้นไดจากขอบกพรองหลายอยาง เชน สีเปนเม็ด สียอย ความหนาสีมากเกินไป หากตองการทราบวาควรจะตองแกไขในขอบกพรองใด
กอน ควรจะใชเครื่องมือใด
คําตอบ 1 : check sheet

ส ิท

คําตอบ 2 : แผนภาพฮิสโตแกรม

ง ว
คําตอบ 3 : แผนภาพพาเรโต


คําตอบ 4 : แผนภาพการกระจาย

ขอ
กร
ขอที่ : 106
เครื่องมือใดชวยในการหาสาเหตุที่เปนรากเหงาของปญหา


ิ ว
คําตอบ 1 : แผนภาพฮิสโตแกรม

าว
คําตอบ 2 : แผนภาพแสดงเหตุและผล
คําตอบ 3 : แผนภาพพาเรโต


คําตอบ 4 : แผนภาพการกระจาย

ขอที่ : 107 ส
หากตองการเปรียบเทียบสัดสวนของเสียที่เกิดขึ้นกอนและหลังการปรับปรุงสามารถใชเครื่องมือใด
คําตอบ 1 : แผนภาพแสดงเหตุและผล
คําตอบ 2 : กราฟ
คําตอบ 3 : แผนภาพพาเรโต 24 of 125
คําตอบ 4 : แผนภาพการกระจาย
ขอที่ : 108
เมื่อใชแผนภาพแสดงเหตุและผล คําถามใดที่มักใชเปนหลักในการระบุถึงสาเหตุรากเหงาของปญหา
คําตอบ 1 : อะไร
คําตอบ 2 : เมื่อไร
คําตอบ 3 : ใคร


คําตอบ 4 : ทําไม

น่ า

ขอที่ : 109


ขอใดคือปญหาในกระบวนการเรียนการสอน
คําตอบ 1 : หนังสือยาก อานหนังสือไมรูเรื่อง

มจ
า้
คําตอบ 2 : อาจารยอธิบายไดไมชัดเจน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การไดรับองคความรูไมครบถวน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 110

ส ิท
ว น
การเก็บรวบรวมขอมูลกอนที่จะมีการปรับปรุง เครื่องมือที่ควรใชคือ


คําตอบ 1 : check sheet (ใบรายการตรวจสอบ)


คําตอบ 2 : Pareto diagram (แผนภาพพาเรโต)


คําตอบ 3 : cause and effect diagram (แผนภาพแสดงเหตุและผล)
คําตอบ 4 :

กร
control chart (แผนภูมิควบคุม)

ขอที่ : 111


ิ ว
าว
เมื่อรวบรวมขอมูลทางธุรกิจเรียบรอยแลว เครื่องมือที่ใชในการเรียงลําดับความถี่ของขอมูลไดแก


คําตอบ 1 : check sheet (ใบรายการตรวจสอบ)


คําตอบ 2 : Pareto diagram (แผนภาพพาเรโต)
คําตอบ 3 : cause and effect diagram (แผนภาพแสดงเหตุและผล)
คําตอบ 4 : control chart (แผนภูมิควบคุม)

ขอที่ : 112
ขอใดเปนเครื่องมือที่ใชเพื่อแสดงลําดับขั้นตอนการทํางานภายในกระบวนการ
25 of 125
คําตอบ 1 : แผนภูมิกางปลา
คําตอบ 2 : แผนภาพพาเรโต
คําตอบ 3 : ฮีสโตแกรม
คําตอบ 4 : แผนภูมิการไหลของกระบวนการ

ขอที่ : 113
ขอใดคือประโยชนของแผนผังพาเรโต (Pareto Chart)
คําตอบ 1 : บงชี้ความเสถียรของกระบวนการ

่ า ย

คําตอบ 2 : บงชี้ปญหาสวนนอยที่มีความสําคัญมาก


คําตอบ 3 : บงชี้ความถี่ของการเกิดของปญหาตาง ๆ

จ ำ
คําตอบ 4 : ถูกทั้งขอ 2 และขอ 3

ขอที่ : 114

า้ ม
ิธ์ ห
จากขอมูลขางลางขอใดถูกตองที่สุด ตัวอยางกระดุมชุด (subgroup) ละ 25 อัน จํานวน 25 ชุด โดยสุมจากสายการผลิตตัวเลขขางลางแสดงคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลาง
(มิลลิเมตร) ของขอมูลแตละกลุมยอย (subgroup) ตามลําดับ ดังนี้ 20.65 20.35 20.38 20.38 20.30 20.30 20.40 20.40 20.44 20.48 20.30 20.40 20.35 20.44
20.41 20.40 20.50 20.40 20.39 20.40 20.38 20.40 20.46 20.35 20.35 คาพิสัยของแตละกลุมยอย 0.31 0.35 0.36 0.36 0.36 0.33 0.33 0.34 0.33 0.34

ิท
0.30 0.29 0.31 0.38 0.34 0.36 0.35 0.40 0.66 0.38 0.38 0.30 0.35 0.32 0.32
คําตอบ 1 :

นส
กระบวนการผลิตนี้มีความสามารถที่จะผลิตใหเปนไปตาม specification Limits ได


คําตอบ 2 : กระบวนการผลิตนี้ไมมีความสามารถที่จะผลิตใหเปนไปตาม specification Limits เนื่องจากมี assignable causes เกิดขึ้นกับบาง subgroup

ส ง
คําตอบ 3 : กระบวนการผลิตนี้มีความสามารถที่จะผลิตใหเปนไปตาม specification Limits เนื่องจากคา range ของทุก subgroup ตกอยูใน control limits


คําตอบ 4 : ไมสามารถสรุปเกี่ยวกับ specification limits ได

ขอที่ : 115

กร ข

คุณลักษณะในขอใดควรประยุกตใชแผนภูมิควบคุมสําหรับขอมูลเชิงแปรผัน
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

าว ศ

จํานวนรอยตําหนิบนผาทอตอทุกๆ 50 ตารางเมตร
อุณหภูมิที่ทางเขาที่เครื่องควบแนน


คําตอบ 3 : ชิ้นงานในสายการผลิตเพลาที่เกิดรูพรุน


คําตอบ 4 : จํานวนเพลาที่มีเสนผานศุนยกลางเล็กเกินไป

ขอที่ : 116
เหตุการณใดตอไปนี้ไมควรเลือกใชแผนภูมิคาเฉลี่ยและแผนภูมิสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คําตอบ 1 : ขนาดกลุมตัวอยางใหญ
คําตอบ 2 : เมื่อตองการใหเกิดประสิทธิภาพในการแสดงความผันแปรสูง 26 of 125
คําตอบ 3 : อัตราการผลิตชามาก
คําตอบ 4 : ขนาดของกลุมตัวอยางไมคงที่

ขอที่ : 117
จากขอมูลขางลาง ขอใดถูกตอง ตัวอยางกระดุมชุด (subgroup) ละ 25 อัน จํานวน 25 ชุด โดยสุมจากสายการผลิตตัวเลขขางลางแสดงคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลาง (มิลลิเมตร)
ของขอมูลแตละกลุมยอย (subgroup) ตามลําดับ ดังนี้ 20.65 20.35 20.38 20.38 20.30 20.30 20.40 20.40 20.44 20.48 20.30 20.40 20.35 20.44 20.41 20.40
20.50 20.40 20.39 20.40 20.38 20.40 20.46 20.35 20.35 คาพิสัยของแตละกลุมยอย 0.31 0.35 0.36 0.36 0.36 0.33 0.33 0.34 0.33 0.34 0.30 0.29 0.31


0.38 0.34 0.36 0.35 0.40 0.66 0.38 0.38 0.30 0.35 0.32 0.32

่ า
เมื่อคํานวณเสนพิกัดควบคุมจากตัวอยางที่เหลือโดยไมใชตัวอยางที่ออกนอกเสนพิกัดควบคุมที่มีสาเหตุมาจาก assignable causes และพบวาไมมีความผิดปกติเกิด


คําตอบ 1 :
ขึ้นในกระบวนการ สามารถใชเสนพิกัดควบคุมนั้นในการควบคุมกระบวนการตอไปได

ำ ห
คําตอบ 2 : จากแผนภูมิที่สรางไดในเบื้องตน (รอบแรก) ที่ใชทุกตัวอยาง สามารถสรุปไดวา กระบวนการผลิตนี้อยูภายใตการควบคุม (in control)


คําตอบ 3 : กระบวนการผลิตนี้ไมอยูภายใตการควบคุม ไมวาจะมี assignable causes หรือไมก็ตาม


คําตอบ 4 : กระบวนการผลิตนี้อยูภายใตการควบคุม แมวาจะมี assignable causes ก็ตาม

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 118
ขอใดถูกตองที่สุด

ส ิท
คําตอบ 1 : chart สามารถบงบอกสาเหตุของความบกพรองในกระบวนการผลิต


คําตอบ 2 : chart สามารถสะทอนถึง “precision” ของกระบวนการผลิตได
คําตอบ 3 :

ง ว
chart สามารถสะทอนถึง “accuracy” ของกระบวนการผลิตได


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอ
กร
ขอที่ : 119


ถาคุณลักษณะที่ตองการควบคุมคือ เสนผานศูนยกลางของชิ้นงาน ซึ่งวัดโดยใชไมโครมิเตอร จํานวนกลุมตัวอยาง 30 กลุมๆ ละ 5 ชิ้นงาน เพื่อนํามาสรางแผนภูมิควบคุม ควรจะใช



แผนภูมิควบคุมชนิดใด

าว
คําตอบ 1 : แผนภูมิสัดสวนของเสีย
คําตอบ 2 : แผนภูมิจํานวนของเสีย
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ส ภ แผนภูมิคาเฉลี่ยและพิสัยเคลื่อนที่
แผนภูมิคาเฉลี่ยและพิสัย

ขอที่ : 120
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : ควรสรางแผนภูมิควบคุมพิสัยกอนแผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยเสมอ
คําตอบ 2 : แผนภูมิควบคุมสําหรับขอมูลแบบหนวยวัดสามารถควบคุมไดดีกวาแบบหนวยนับ 27 of 125

คําตอบ 3 : สําหรับแผนภูมิควบคุมสําหรับขอมูลแบบหนวยวัดและแบบหนวยนับ ระยะหางระหวาง UCL และ CL จะเทากับระยะหางระหวาง LCL และ CL เสมอ


คําตอบ 4 : แผนภูมิควบคุมสัดสวนของเสียขนาดของกลุมตัวอยางไมจําเปนตองเทากัน

ขอที่ : 121
แผนภูมิควบคุมแบงเปน 2 แบบใหญๆ คือ
คําตอบ 1 : แบบหนวยนับ และแบบแสดงจํานวนจุดบกพรอง
คําตอบ 2 : แบบ Variable และแบบ Attribute
คําตอบ 3 : แบบ x-bar chart และแบบ R-chart

่ า ย

คําตอบ 4 : แบบ P-chart และแบบ C-chart

ขอที่ : 122

จ ำ ห

ถาทานตองการควบคุมความหนาของแผนยางในกระบวนการผลิต ควรใชแผนภูมิควบคุมแบบใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : แผนภูมิควบคุมแบบ p-chart
คําตอบ 2 : แผนภูมิควบคุมแบบ X-bar chart
คําตอบ 3 : แผนภูมิควบคุมแบบ C-chart

ิท
คําตอบ 4 : แผนภูมิควบคุมแบบ X-bar chart และ R-chart

นส

ขอที่ : 123


ในการอานความหมายจากแผนภูมิควบคุม เมื่อขอมูลที่ควบคุมเกิด “runs” ขึ้น หมายถึงขอใด
คําตอบ 1 : ขอมูลพิกัดออกนอกพิกัดควบคุม

อ ส

คําตอบ 2 : ขอมูลจํานวนมากอยูขางเดียวกัน เกิดความไมสมดุลขึ้น

กร
คําตอบ 3 : ขอมูลมีแนวโนมเพิ่มขึ้นหรือลดลง เรียงติดตอกันอยางตอเนื่อง


คําตอบ 4 : ขอมูลมีลักษณะเพิ่มขึ้นและลดลง สลับกันแบบตอเนื่อง

ขอที่ : 124

าว ศ


โดยปกติแลว ขีดจํากัดการเตือน (Warning Limit) ของแผนภูมิควบคุมอยูที่


คําตอบ 1 : 1σ
คําตอบ 2 : 2σ
คําตอบ 3 : 3σ
คําตอบ 4 : 6σ

ขอที่ : 125 28 of 125


โดยปกติแลว ขีดจํากัดการดําเนินการ (Action Limit) ของแผนภูมิควบคุมอยูที่
คําตอบ 1 : ±1 σ
คําตอบ 2 : ±2 σ
คําตอบ 3 : ±3 σ
คําตอบ 4 : ±6 σ

ขอที่ : 126

่ า ย
สวนประกอบของแผนภูมิควบคุมมีอะไรบาง


คําตอบ 1 : UCL, LCL, Center Line


คําตอบ 2 : UCL, Center Line, 0

จ ำ
คําตอบ 3 : USL, LSL, Center Line


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 127
สาเหตุใดตอไปนี้ทําใหเกิด "cyclic pattern" บนแผนภูมิควบคุม

a. อุณหภูมิ

ส ิท
b.ความเมื่อยลาของคนงาน

ง ว น

c.การผลัดเปลี่ยนกะงาน

d.แรงดันไฟฟาเปลี่ยนแปลง

ขอ
กร
คําตอบ 1 : ขอ a.


คําตอบ 2 : ขอ a. และ ขอ b.

าว ศ

คําตอบ 3 : ขอ b. และ ขอ c.
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 128
ส ภ
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เปาหมายหลักของการใชแผนภูมิควบคุม คือ การลดความแปรปรวนในกระบวนการ
คําตอบ 2 : ตัวแปรที่มีการกระจายแบบ Binomial สามารถใชแผนภูมิ - R ได
คําตอบ 3 : แผนภูมิควบคุมมีไวสําหรับหาสาเหตุของการเกิดความผิดปกติในกระบวนการผลิต
คําตอบ 4 : หากตองการควบคุมสัดสวนของเสีย ควรใชแผนภูมิ p 29 of 125
ขอที่ : 129
วัตถุประสงคของ R-chart ใชในการตรวจจับในกรณีใด
คําตอบ 1 : การเพิ่มหรือลดความแปรปรวนของกระบวนการ
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงเปอรเซ็นตของเสียในตัวอยาง
คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแปลงแนวโนมเขาสูศูนยกลางของกระบวนการ
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนจํานวนของเสียในตัวอยาง

่ า ย

ขอที่ : 130


วัตถุประสงคของแผนภูมิ ใชในการอธิบายเรื่องใด
คําตอบ 1 : การเพิ่มหรือลดความแปรปรวนของกระบวนการ

จ ำ

คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงเปอรเซ็นตของเสียในตัวอยาง

า้
คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแปลงแนวโนมเขาสูศูนยกลางของกระบวนการ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนจํานวนของเสียในตัวอยาง

ิท
ขอที่ : 131
เมื่อใชแผนภูมิ

นส
และพบวาคาเฉลี่ยจากตัวอยางมีคาเหนือเสนกึ่งกลาง 10 จุดตอเนื่องกัน จะสรุปวากระบวนการมีลักษณะอยางไร


คําตอบ 1 : คาเฉลี่ยของกระบวนการมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เพิ่มขึ้น

ส ง
คําตอบ 2 : คาเฉลี่ยของกระบวนการมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ลดลง


คําตอบ 3 : ความผันแปรของกระบวนการมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่เพิ่มขึ้น


คําตอบ 4 : ความผันแปรของกระบวนการมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ลดลง

ขอที่ : 132

ว กร
าว ศ

น้ําหนักในทางอุดมคติของเห็ดดองควรเปนกระปองละ 11 ออนซ สุมตัวอยางและชั่งน้ําหนัก นําคาที่ไดจากกลุมตัวอยางไปพลอตในแผนภูมิควบคุม แผนภูมิชนิดใดที่ควรจะนํามา
ประยุกตใชในการควบคุมกระบวนการ


คําตอบ 1 : p chart


คําตอบ 2 : c chart
คําตอบ 3 : และ R chart
คําตอบ 4 : ทั้ง p และ c chart

ขอที่ : 133
ถา = 23 ออนซ, σ = 0.4 ออนซ และ n = 16 แลว เสนพิกัดควบคุมที่ 3σ จะมีคาเทาไร 30 of 125

คําตอบ 1 : 21.8 ถึง 24.2 ออนซ


คําตอบ 2 : 23 ออนซ
คําตอบ 3 : 22.70 ถึง 23.30 ออนซ
คําตอบ 4 : 22.25 ถึง 23.75 ออนซ

ขอที่ : 134
หากตองการใชแผนภูมิควบคุมกระบวนการที่สนใจ โดยกระบวนการนั้นมีอัตราการผลิตต่ํา และสนใจวัดความเขมขนของสารเคมี ควรจะพิจารณาแผนภูมิประเภทใด
คําตอบ 1 : x-bar และ R-chart

่ า ย

คําตอบ 2 : x และ MR chart


คําตอบ 3 : p-chart

จ ำ
คําตอบ 4 : c-chart

ขอที่ : 135

า้ ม
ิธ์ ห
สถานการณใดตอไปนี้ถือเปน "Type I error" ในการใชแผนภูมิควบคุม (Control Chart)
คําตอบ 1 : กระบวนการผลิตปกติ (in control) แตมีจุดบน control chart ตกนอก control limit

ิท
คําตอบ 2 : กระบวนการผลิตปกติ (in control) และมีจุดบน control chart ตกภายใน control limit


คําตอบ 3 : กระบวนการผลิตผิดปกติ (out of control) และมีจุดบน control chart ตกนอก control limit

ว น
คําตอบ 4 : กระบวนการผลิตผิดปกติ (out of control) แตมีจุดบน control chart ตกใน control limit

ส ง

ขอที่ : 136


สถานการณใดตอไปนี้ถือเปน "Type II error" ในการใชแผนภูมิ (Control Chart)

กร
คําตอบ 1 : กระบวนการผลิตปกติ (in control) แตมีจุดบน control chart ตกนอก control limit


คําตอบ 2 : กระบวนการผลิตปกติ (in control) และมีจุดบน control chart ตกภายใน control limit



คําตอบ 3 : กระบวนการผลิตผิดปกติ (out of control) และมีจุดบน control chart ตกนอก control limit

าว
คําตอบ 4 : กระบวนการผลิตผิดปกติ (out of control) แตมีจุดบน control chart ตกใน control limit

ขอที่ : 137

ส ภ
ในกระบวนการผลิตหนึ่งถาคาเฉลี่ยของกระบวนการผลิต (process mean) มีการเปลี่ยนแปลงจากคาเดิมไปที่คาใหมและคํานวนหาคา ARL ไดเทากับ 6.45 จากขอมูลนี้ขอใดนาจะ
ถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : หลังจาก process mean เปลี่ยนไปที่คาใหม จะทําใหเกิด false alarm โดยเฉลี่ย 1 ครั้งในทุกๆ 6.45 จุด บน control chart
คําตอบ 2 : หลังจาก process mean เปลี่ยนไปที่คาใหม โดยเฉลี่ยจะมีจุดบน control chart ออกนอก control limit ประมาณ 6.45 จุด
คําตอบ 3 : โดยเฉลี่ยแลวกลุมตัวอยางที่ 6 หรือ 7 หลังจาก process mean เปลี่ยนไปที่คาใหม จะออกนอก control limit
คําตอบ 4 : control chart จะแสดงจุด ออกนอก control limit 1 จุด ตอทุกๆ 6.45 จุดโดยเฉลี่ยหลังจาก process mean เปลี่ยนแปลงไป 31 of 125
ขอที่ : 138
ในการตรวจสอบความเสถียรภาพ (Stable) ของรายจายในแตละเดือนควรใชเครื่องมือใด
คําตอบ 1 : แผนภาพพาเรโต
คําตอบ 2 : แผนภูมิควบคุมแบบ Xbar-R
คําตอบ 3 : แผนภูมิควบคุมแบบ X-MR


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

น่ า

ขอที่ : 139


ในการแกปญหาที่เกิดขึ้นเปนครั้งคราว ความรูที่ใชในการระดมสมองเพื่อระบุสาเหตุในแผนภาพกางปลามาจากแหลงใดเปนสําคัญ
คําตอบ 1 : ความรูจากประสบการณ

มจ
า้
คําตอบ 2 : ความรูทางดานเทคโนโลยี

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ความรูหนางาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 140

ส ิท
ว น
ขอใดคือหลักการสําคัญของแผนภูมิควบคุม


คําตอบ 1 : ใชพิกัดควบคุมในตรวจสอบวากระบวนการอยูภายใตสภาวะที่ควบคุมหรือไม


คําตอบ 2 : ชี้บงความผันแปรที่เกิดจาก Assignable causes ออกจาก Chance causes


คําตอบ 3 : เปนการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

กร ข
ขอที่ : 141


ิ ว
าว
ในการอานและวิเคราะหแผนภูมิควบคุมตองสนใจสิ่งใดเปนอันดับแรก


คําตอบ 1 : วิธีการสุมกลุมตัวอยาง


คําตอบ 2 : ความสมมาตร
คําตอบ 3 : การออกนอกพิกัดควบคุม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 142
ควรใชแผนภูมิควบคุมประเภทใดในการควบคุมความหวานในกระบวนการผลิตน้ําอัดลม
32 of 125
คําตอบ 1 : Xbar-R
คําตอบ 2 : X-MR
คําตอบ 3 : p chart
คําตอบ 4 : u chart

ขอที่ : 143
หนาที่หลักของแผนภูมิควบคุมคือ
คําตอบ 1 : ทําใหกระบวนการผลิตดีขึ้น

่ า ย

คําตอบ 2 : ทําใหกระบวนการผลิตสม่ําเสมอ


คําตอบ 3 : ทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้น

จ ำ
คําตอบ 4 : ใหสัญญาณเมื่อเกิดปญหาในกระบวนการผลิต

ขอที่ : 144

า้ ม
ิธ์ ห
ในการใชแผนภูมิควบคุมกระบวนการผลิต เมื่อเกิด out of control ขึ้น สิ่งที่จะตองปฏิบัติคือ
คําตอบ 1 : ปฏิบัติงานตามปกติ

ิท
คําตอบ 2 : คนหา assignable causes


คําตอบ 3 : คนหา natural causes

ว น
คําตอบ 4 : หาสาเหตุที่ทําใหของเสียเกิดขึ้นในกระบวนการ

ส ง

ขอที่ : 145


ในการใชแผนภูมิควบคุมกระบวนการผลิตโดยเลือกใชพิกัดควบคุม ±3σ ความนาจะเปนที่จะเกิดสัญญาณ out of control แตไมมี assignable causes คือ

กร
คําตอบ 1 : 0.9973


คําตอบ 2 : 0.0027



คําตอบ 3 : ขึ้นอยูกับสัดสวนของเสีย

าว
คําตอบ 4 : ถูกเฉพาะขอ 1 และ 2

ขอที่ : 146

ส ภ
+/-0.001 Probability Limits หมายถึง
คําตอบ 1 : ความนาจะเปนที่จะตรวจจับความเบี่ยงเบนของกระบวนการผลิตไดมีคา = 0.001
คําตอบ 2 : ความนาจะเปนที่จะเกิด out of control = 0.001
คําตอบ 3 : การบอกความกวางของพิกัดควบคุมที่มีคา Type I Error Probability ขางละ 0.001
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
33 of 125
ขอที่ : 147
การเลือกขนาดตัวอยาง (n) ของ X bar-chart มีความสัมพันธกับระยะ shift อยางไร
คําตอบ 1 : ถาระยะ shift กวาง n ก็ควรจะมาก แตถาระยะ shift แคบ ขนาดของ n ก็ควรจะนอย
คําตอบ 2 : ถาระยะ shift แคบ n ก็ควรจะมาก แตถาระยะ shift กวาง ขนาดของ n ก็ควรจะนอย
คําตอบ 3 : ไมวาระยะ shift จะแคบหรือกวาง ขนาดของ n ควรจะนอยเพื่อเปนการประหยัดคาใชจายการตรวจสอบ
คําตอบ 4 : ไมวาระยะ shift จะแคบหรือกวาง ขนาดของ n ควรจะมากเพื่อเปนการมั่นใจการตรวจสอบ

่ า ย

ขอที่ : 148


ความหมายของ ARL ในการใชแผนภูมิควบคุมคือ

จ ำ
คําตอบ 1 : การบอกคาความกวางของพิกัดควบคุมที่เหมาะสม


คําตอบ 2 : จํานวนจุดตัวอยางที่อยูนอกพิกัดควบคุมที่จะตองหา assignable cause

า้
คําตอบ 3 : ถาไมมี assignable cause ทุกๆ การ plot จุดตัวอยางเฉลี่ย 370 จุด จะมี out of control

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : จํานวนจุดตัวอยางเฉลี่ยตั้งแตกระบวนการผลิตเริ่ม shift ถึงจุดที่แผนภูมิควบคุมใหสัญญาณ out of control

ิท
ขอที่ : 149


ในการสุมตัวอยางเพื่อใช X-bar และ R charts หากตองการใหโอกาสในการเกิด assignable cause ภายในกลุมตัวอยางนอยที่สุด ควรจะใชการสุมตัวอยางแบบใด

ว น
คําตอบ 1 : สุมตัวอยางแบบสุม (random sampling) เทากับจํานวน n จากกระบวนการผลิต


คําตอบ 2 : สุมตัวอยางติดกัน (consecutive sampling) เทากับจํานวน n จากกระบวนการผลิต


คําตอบ 3 : สุมแบบใดก็ได ขึ้นอยูกับผูสุมตัวอยาง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กร ข

ขอที่ : 150



ลักษณะในขอใดแสดงวากระบวนการผลิตอาจจะ out of control

าว
คําตอบ 1 : การเรียงของจุดตัวอยางไมเปนแบบสุม (non-random pattern)


คําตอบ 2 : มี 2 จุดตัวอยางตอเนื่องกันอยูภายในขอบเขตควบคุมแตใกลกับพิกัดควบคุมบนหรือลางมาก


คําตอบ 3 : มีหลายจุดติดกันกระจายอยูเหนือเสนกลาง (center line) จํานวนมาก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 151
ในการใชแผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัยในการตรวจสอบกระบวนการผลิตชิ้นงานประเภทหนึ่ง จากการตรวจสอบติดตามที่ผานมาพบวา กระบวนการอยูภายใต
การควบคุมอยางสม่ําเสมอ (ขนาดตัวอยาง n = 5, = 10, = 0.5815) วิศวกรตองการออกแบบแผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยใหมโดยใหมีคา = 0.05 แผนภูมิ
34 of 125
ควบคุมใหมนี้จะมี UCL เทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 10.184
คําตอบ 2 : 10.143
คําตอบ 3 : 10.219
คําตอบ 4 : 10.335

ขอที่ : 152

่ า ย
ในการใชแผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัยในการตรวจสอบกระบวนการผลิตชิ้นงานประเภทหนึ่ง จากการตรวจสอบติดตามที่ผานมาพบวา กระบวนการอยูภายใตการควบคุมอยางสม่ํา


เสมอ (ขนาดตัวอยาง n = 5, = 10, = 0.5815) ถาวันหนึ่งเกิด process shift ขึ้นในกระบวนการโดยคาเฉลี่ยเปลี่ยนไปเปน 10.1875 การใชแผนภูมิเดิมในการตรวจสอบจะตอง


สุมตอเนื่องโดยเฉลี่ยกี่ชุดจึงจะตรวจพบความผิดปกติ

จ ำ
คําตอบ 1 : 2 ชุด


คําตอบ 2 : 11 ชุด

า้
คําตอบ 3 : 191 ชุด

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 370 ชุด

ิท
ขอที่ : 153


ในการใชแผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัยในการตรวจสอบกระบวนการผลิตชิ้นงานประเภทหนึ่ง จากการตรวจสอบติดตามที่ผานมาพบวา กระบวนการอยูภายใตการควบคุมอยางสม่ํา

ว น
เสมอ (ขนาดตัวอยาง n = 5, = 10, = 0.5815) ถาวันหนึ่งเกิด process shift ขึ้นในกระบวนการโดยคาเฉลี่ยเปลี่ยนไปเปน 10.1875 ถาชิ้นงานที่ผลิตได หลังจากการเกิด


process shift นี้จะเสียทั้งหมด และจะไมมีการตรวจวัดชิ้นงานโดยละเอียด จนกวาแผนภูมิจะบงชี้ความผิดปกติ การใชแผนภูมิเดิมในการตรวจสอบคาดวากระบวนการจะผลิตของเสีย


โดยเฉลี่ยกี่ชิ้นจึงจะตรวจพบ หลังจากเกิด process shift ถาอัตราการผลิตของเสียเทากับ 1 ชิ้นตอนาที และสุมตรวจสอบทุกครึ่งชั่วโมง


คําตอบ 1 : 60 ชิ้น

กร ข
คําตอบ 2 : 330 ชิ้น
คําตอบ 3 : 5730 ชิ้น


คําตอบ 4 : 11100 ชิ้น

ขอที่ : 154

าว ศ

ส ภ
กระบวนการผลิตกานเบรกใชแผนภูมิควบคุม - R chart เพื่อควบคุมขนาดยาวของกานเบรก โดยมีขอมูล ดังนี้ = 199 = 3.5 n (ขนาดของกลุมตัวอยางยอย) =
4 Specification = 200 8 สมมติวาขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ และกระบวนการอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาเปอรเซ็นตของเสียในกระบวนการผลิตเปนเทาใด
คําตอบ 1 : ~0%
คําตอบ 2 : 0.5%
คําตอบ 3 : 0.6%
คําตอบ 4 : 0.7%
35 of 125

ขอที่ : 155
กระบวนการผลิตกานเบรกใชแผนภูมิควบคุม - R chart เพื่อควบคุมขนาดยาวของกานเบรก โดยมีขอมูล ดังนี้ = 199 = 3.5 n (ขนาดของกลุมตัวอยางยอย) = 4
Specification = 200 8 สมมติวาขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ และกระบวนการอยูภายใตการควบคุม ถามีการปรับปรุงกระบวนการผลิตทําใหคา เพิ่มขึ้น 1 หนวย เปอรเซ็นตของ
เสียในกระบวนการผลิตเปนเทาใด
คําตอบ 1 : ~0%
คําตอบ 2 : 0.5%
คําตอบ 3 : 0.6%

่ า ย
คําตอบ 4 : 0.7%

ขอที่ : 156

หน
กระบวนการผลิตกานเบรกใชแผนภูมิควบคุม - R chart เพื่อควบคุมขนาดยาวของกานเบรก โดยมีขอมูล ดังนี้ = 199

จ ำ = 3.5 n (ขนาดของกลุมตัวอยางยอย) =

า้ ม
4 Specification = 200 8 สมมติวาขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ และกระบวนการอยูภายใตการควบคุม ถามีการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยลดคา = 3.5 เหลือ 3.0

ิธ์ ห
เปอรเซ็นตของเสียในกระบวนการผลิตเปนเทาใด
คําตอบ 1 : ~0%
คําตอบ 2 : 0.1%

ิท
คําตอบ 3 : 0.2%


คําตอบ 4 : 0.3%

ง ว น

ขอที่ : 157


เมื่อใช และ R chart ในการควบคุมกระบวนการผลิต และพบวา บน chart มีขอมูล 9 จุด ที่ตอเนื่องกันอยูใตเสนกึ่งกลางของแผนภูมิควบคุม แสดงวากระบวนการมีการเปลี่ยน


แปลงอยางไร

กร
คําตอบ 1 : คา mean ของกระบวนการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น


คําตอบ 2 : คา mean ของกระบวนการเปลี่ยนแปลงลดลง



คําตอบ 3 : คา variation ของกระบวนการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น

าว
คําตอบ 4 : คา variation ของกระบวนการเปลี่ยนแปลงลดลง

ขอที่ : 158

ส ภ
ถากําหนดใหขอบเขตควบคุมของแผนภูมิ คาเฉลี่ยของกระบวนการ มีคาเทากับ ถาพล็อตขอมูลจํานวน 1000 กลุม ในแผนภูมิดังกลาว จะมีขอมูลกี่กลุมออกนอกเขตควบคุม
เมื่อกระบวนการอยูในสภาวะควบคุมได
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 3 36 of 125
คําตอบ 4 : 5
ขอที่ : 159
ถากําหนดใหขอบเขตควบคุมของแผนภูมิ คาเฉลี่ยของกระบวนการ มีคาเทากับ ถาพล็อตขอมูลจํานวน 1000 กลุม ในแผนภูมิดังกลาว จะมีขอมูลกี่กลุมออกนอกเขตควบคุม
เมื่อกระบวนการอยูในสภาวะควบคุมได
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : 5

่ า ย
คําตอบ 3 : 12


คําตอบ 4 : 22

ขอที่ : 160

จ ำ ห

จากขอมูลตรวจวัดเสนผาศูนยกลางของลูกปนของกระบวนการผลิตตลับลูกปน ขอมูลแสดงดังตาราง (ขอมูลกลุมละ 5 ตัวอยาง) จงคํานวณ Center Line ของแผนภูมิคาเฉลี่ย

า้
(Xbar-chart)

ิธ์ ห
Sample No. R Sample No. R
1 34.5 3 13 35.4 8
2 34.2 4 14 34 6

ิท
3 31.6 4 15 37.1 5


4 31.5 4 16 34.9 7


5 35.0 5 17 33.5 4

ง ว
6 34.1 6 18 31.7 3


7 32.6 4 19 34 8


8 33.8 3 20 35.1 4


9 34.8 7 21 33.7 2

กร
10 33.6 8 22 32.8 1
11 31.9 3 23 33.5 3


12 38.6 9 24 34.2 2
โดย = 34
คําตอบ 1 : 34

าว
= 4.71


ส ภ
คําตอบ 2 : 38.2
คําตอบ 3 : 36.7
คําตอบ 4 : 32.4

ขอที่ : 161
จากขอมูลตรวจวัดเสนผาศูนยกลางของลูกปนของกระบวนการผลิตตลับลูกปน ขอมูลแสดงดังตาราง (ขอมูลกลุมละ 5 ตัวอยาง) จงประมาณคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกระบวนการ
ผลิตตลับลูกปนที่ผลิตจากกระบวนการผลิตนี้ 37 of 125
Sample No. R Sample No. R
1 34.5 3 13 35.4 8
2 34.2 4 14 34 6
3 31.6 4 15 37.1 5
4 31.5 4 16 34.9 7
5 35.0 5 17 33.5 4
6 34.1 6 18 31.7 3
7 32.6 4 19 34 8


8 33.8 3 20 35.1 4

่ า
9 34.8 7 21 33.7 2


10 33.6 8 22 32.8 1


11 31.9 3 23 33.5 3


12 38.6 9 24 34.2 2
โดย = 34 = 4.71

มจ
า้
คําตอบ 1 : 2.03

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 4.70
คําตอบ 3 : 7.46

ิท
คําตอบ 4 : 9.6

นส

ขอที่ : 162


กระบวนการผลิตอาหารกระปองสําหรับเลี้ยงสัตว โดยลักษณะทางคุณภาพคือ น้ําหนักของเนื้อไก ขอมูลแสดงดังตาราง (ขอมูลกลุมละ 5 ตัวอยาง) จงคํานวณขอบเขตควบคุมบน


(UCL) ของแผนภูมิคาเฉลี่ย (Xbar chart)


Sample No. R Sample No. R

กร ข
1 130.1 27.9 11 134.6 40.6
2 124.5 57.0 12 146.7 39.8


3 129.6 39.1 13 132.4 50.0



4 117.6 30.0 14 138.1 9.2

าว
5 128.5 42.7 15 128.6 55.0
6 126.1 43.0 16 127.7 53.6


7 111.1 36.1 17 127.1 42.9


8 127.4 46.0 18 123.4 53.2
9 143.5 47.0 19 147.5 38.2
10 133.6 33.7 20 139.4 32.2
โดย = 130 = 40.8
คําตอบ 1 : 128
คําตอบ 2 : 134
38 of 125
คําตอบ 3 : 149
คําตอบ 4 : 154

ขอที่ : 163
กระบวนการผลิตอาหารกระปองสําหรับเลี้ยงสัตว โดยลักษณะทางคุณภาพคือ น้ําหนักของเนื้อไก ขอมูลแสดงดังตาราง (ขอมูลกลุมละ 5 ตัวอยาง) จงคํานวณขอบเขตควบคุมบน
(UCL) ของแผนภูมิคาพิสัย (R-chart)
Sample No. R Sample No. R


1 130.1 27.9 11 134.6 40.6

่ า
2 124.5 57.0 12 146.7 39.8


3 129.6 39.1 13 132.4 50.0


4 117.6 30.0 14 138.1 9.2


5 128.5 42.7 15 128.6 55.0

มจ
6 126.1 43.0 16 127.7 53.6

า้
7 111.1 36.1 17 127.1 42.9

ิธ์ ห
8 127.4 46.0 18 123.4 53.2
9 143.5 47.0 19 147.5 38.2
10 133.6 33.7 20 139.4 32.2

ิท
โดย = 130 = 40.8


คําตอบ 1 : 79.5
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
84.6
85.8

ง ว น

คําตอบ 4 : 86.3

ขอ
กร
ขอที่ : 164


ขอใดตอไปนี้ไมตรงกับจุดประสงคการใชงานของแผนภูมิควบคุมสําหรับขอมูลเชิงลักษณ (Attribute Control Chart)



คําตอบ 1 : แผนภูมิ p ใชศึกษาจํานวนของสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนดในกลุมตัวอยาง

าว
คําตอบ 2 : แผนภูมิ c และแผนภูมิ u ใชศึกษาจํานวนจุดบกพรองในหนึ่งหนวยตรวจสอบ


คําตอบ 3 : แผนภูมิ c ใชวิเคราะหเมื่อขนาดของกลุมตัวอยางเทากัน


คําตอบ 4 : แผนภูมิ u ใชวิเคราะหเมื่อขนาดของกลุมตัวอยางไมเทากันได

ขอที่ : 165
ในการสรางขีดจํากัดควบคุม (Trial Control Limit) จํานวนกลุมตัวอยางที่ใชควรมีอยางนอยที่สุดกี่กลุม
คําตอบ 1 : 5 กลุม
คําตอบ 2 : 15 กลุม
39 of 125
คําตอบ 3 : 25 กลุม
คําตอบ 4 : 35 กลุม

ขอที่ : 166
คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ที่ใชคํานวณขอบเขตควบคุมสําหรับสราง control chart for nonconforming units อาศัยการกระจาย (distribution) แบบใด
คําตอบ 1 : Normal
คําตอบ 2 : Binomial
คําตอบ 3 : Geometric

่ า ย

คําตอบ 4 : Hypergeometric

ขอที่ : 167

จ ำ ห

พิจารณาขอมูลจากตาราง ถาจํานวนตัวอยางในแตละกลุมยอย (subgroup) คือ 120 ชิ้น ขอใดถูกตองที่สุด

า้
Subgroup number จํานวนของเสีย (ชิ้น)

ิธ์ ห
1 5
2 7
3 6

ิท
4 4


5 3

ว น
6 5


คําตอบ 1 : ไมสามารถสราง control chart ไดเนื่องจาก lower limit ติดลบ


คําตอบ 2 : กระบวนการผลิตไมอยูภายใตการควบคุม เนื่องจากมีบาง subgroup อยูนอก limits

ขอ
คําตอบ 3 : กระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม เนื่องจากทุก subgroup อยูใน limits

กร
คําตอบ 4 : ไมสามารถสรุปไดเนื่องจากเราไมทราบวามี assignable causes เกิดขึ้นกับ subgroup ไดบาง

ขอที่ : 168


ิ ว
าว
แผนภูมิควบคุม p-Chart มี UCL = 0.1328 โดย n = 100 ขอใดตอไปนี้เปนคา UCL ของแผนภูมิ np-Chart


คําตอบ 1 : 0.01328


คําตอบ 2 : 1.328
คําตอบ 3 : 13.28
คําตอบ 4 : 132.8

ขอที่ : 169
แผนภูมิควบคุมใดไมเหมาะสําหรับกรณีขนาดตัวอยางมีขนาดไมคงที่
40 of 125
คําตอบ 1 : แผนภูมิ p
คําตอบ 2 : แผนภูมิ np
คําตอบ 3 : แผนภูมิ u
คําตอบ 4 : แผนภูมิมาตรฐาน

ขอที่ : 170
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : ความแปรปรวนระหวางกลุมตัวอยางสามารถพิจารณาไดจากแผนภูมิคาเฉลี่ย

่ า ย

คําตอบ 2 : ความแปรปรวนภายในกลุมตัวอยางสามารถพิจารณาไดจากแผนภูมิคาพิสัย


คําตอบ 3 : คาเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ใชในการคํานวณขีดจํากัดของแผนภูมิควบคุมคํานวณมาจากคาเบี่ยงเบนมาตรฐานภายในกลุมตัวอยาง

จ ำ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 171

า้ ม
ิธ์ ห
ถาตองการประยุกตใชแผนภูมิควบคุม p-chart และไมตองการใหมีความผิดพลาดในการตรวจจับความผิดปกติเกินกวา 4.56% ควรใชขอบเขตควบคุมขนาดเทาใด
คําตอบ 1 : ±2σ

ิท
คําตอบ 2 : 4.5σ


คําตอบ 3 : ±4.5σ

ว น
คําตอบ 4 : ±3σ

ส ง

ขอที่ : 172


ลักษณะงานในขอใด ควรใชแผนภูมิควบคุมแบบ Attribute

กร
คําตอบ 1 : จํานวนรอยขีดขวนบนชิ้นงาน


คําตอบ 2 : สัดสวนของจํานวนชิบสารกึ่งตัวนําที่เสีย



คําตอบ 3 : สัดสวนของกระดาษที่พิมพเสียในแตละวัน

าว
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 173

ส ภ
ขอมูลในตารางไดจากการตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอรที่ผลิตไดในระยะเวลาสามวันที่ผานมา สัดสวนของเสียเฉลี่ยเปนเทาไร
วันที่ จํานวนหนวยที่ตรวจสอบ จํานวนเครื่องเสีย
1 80 8
2 80 4
3 60 6
คําตอบ 1 : 0.1 41 of 125
คําตอบ 2 : .05
คําตอบ 3 : .01
คําตอบ 4 : .08

ขอที่ : 174
ควรใชแผนภูมิควบคุมประเภทใดในการควบคุมอัตราการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานแตละเดือน
คําตอบ 1 : Xbar-R
คําตอบ 2 : X-MR

่ า ย

คําตอบ 3 : p chart


คําตอบ 4 : u chart

จ ำ

ขอที่ : 175
ขอใดถูกตอง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ในการใชแผนภูมิควบคุม ถาพบจุดออกนอกพิกัดควบคุมใหตัดขอมูลนั้นทิ้งทันที แลวทําการคํานวณพิกัดควบคุมใหม
ในการควบคุมคุณภาพกระบวนการออกบิลโดยใชแผนภูมิควบคุมเพื่อควบคุมจํานวนขอผิดพลาดในการออกบิล พบวาในขอมูล 20 จุด ขอมูลจุดที่ 12 ออกนอกพิกัด
คําตอบ 2 :

ิท
ควบคุมทางดานลาง ซึ่งอาจเปนไปไดวา พนักงานอาจจดขอมูลที่ไดจากกระบวนการ ณ เวลาดังกลาวผิด


คําตอบ 3 : ในการสรางแผนภูมิควบคุมสําหรับจํานวนขอผิดพลาดในการออกบิลแตละใบ มีความจําเปนตองคํานึงจํานวนขอผิดพลาดเฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 5 แหง


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ง ว

ขอที่ : 176

ขอ
โรงงานแหงหนึ่งตองการประยุกตใช p-chart ในการควบคุมกระบวนการโดยเก็บตัวอยางเพื่อใชในการสรางแผนภูมิควบคุม คา control limits ที่คํานวณไดในชวงเริ่มตนเรียกวาอะไร

กร
คําตอบ 1 : Control limits


คําตอบ 2 : Revised control limits



คําตอบ 3 : Natural tolerance limits

าว
คําตอบ 4 : Trial control limits

ขอที่ : 177

ส ภ
การใช p-chart ในกรณีที่ขนาดตัวอยางมีขนาดไมคงที่ (variable sample size) สามารถคํานวณขอบเขตควบคุมไดอยางไรบาง
คําตอบ 1 : variable-width control limits, average sample size control limits, และ single sided control limits
คําตอบ 2 : average sample size control limits, standardized control limits, และ double sided control limits
คําตอบ 3 : standardized control limits, variable-width control limits, และ revised control limits
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด
42 of 125
ขอที่ : 178
หากตองการควบคุมสัดสวนของเสียควรจะใชแผนภูมิควบคุมใด
คําตอบ 1 : p chart
คําตอบ 2 : np chart
คําตอบ 3 : c chart
คําตอบ 4 : u chart

่ า ย

ขอที่ : 179


ในการตรวจสอบจํานวนรูพรุนบนผิวชิ้นงานหลอโลหะโดยการสุมชิ้นงานหลอมาชุดละ 30 ชิ้น ถาชิ้นใดมีจํานวนรูพรุนมากกวา 3 จุดชิ้นงานนั้นจะเปนของเสีย ในการตรวจติดตามความ


ผันแปรของกระบวนการหลอดวยวิธีดังกลาวนี้ทานคิดวาควรใชแผนภูมิควบคุมประเภทใด

มจ
คําตอบ 1 : p chart

า้
คําตอบ 2 : C chart

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : u chart
คําตอบ 4 : MR chart

ขอที่ : 180

ส ิท

บริษัทอิเล็กทรอนิกสผลิตแผงวงจรสําหรับโทรศัพทมือถือ ตองการสรางแผนภูมิควบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิตดังกลาว โดยเก็บตัวอยางกลุมละ 200 แผงวงจร จํานวน 22


กลุมยอย แสดงผลดังตาราง จงคํานวณขอบเขตควบคุมบน (Upper Control Limit) ของแผนภูมิควบคุม p-chart


กลุมยอยที่ ของเสีย กลุมยอยที่ ของเสีย


1 19 12 18


2 7 13 17

กร ข
3 11 14 21
4 29 15 16


5 24 16 16



6 24 17 23

าว
7 15 18 14


8 25 19 4


9 11 20 21
10 10 21 24
11 37 22 10
คําตอบ 1 : 0.07
คําตอบ 2 : 0.15
คําตอบ 3 : 0.21
คําตอบ 4 : 0.29
43 of 125
ขอที่ : 181
บริษัทอิเล็กทรอนิกสผลิตแผงวงจรสําหรับโทรศัพทมือถือ ตองการสรางแผนภูมิควบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิตดังกลาว โดยเก็บตัวอยางกลุมละ 200 แผงวงจร จํานวน 22
กลุมยอย แสดงผลดังตาราง จงคํานวณขอบเขตควบคุมลาง (Lower Control Limit) ของแผนภูมิควบคุม p-chart
กลุมยอยที่ ของเสีย กลุมยอยที่ ของเสีย
1 19 12 18
2 7 13 17
3 11 14 21


4 29 15 16

่ า
5 24 16 16


6 24 17 23


7 15 18 14

จ ำ
8 25 19 4


9 11 20 21

า้
10 10 21 24

ิธ์ ห
11 37 22 10
คําตอบ 1 : 0.017
คําตอบ 2 : 0.029

ิท
คําตอบ 3 : 0.09
คําตอบ 4 : 0.15

นส
ง ว

ขอที่ : 182


โรงงานผลิตหมอแปลงไฟฟาแหงหนึ่งสรางแผนภูมิควบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต โดยเก็บขอมูลกลุมละ 100 ตัวอยาง จํานวน 20 กลุมยอย แสดงดังตาราง จงคํานวณ


ขอบเขตควบคุมบน (Upper Control Limit) ของแผนภูมิควบคุม p-chart

กร
กลุมยอยที่ ของเสีย กลุมยอยที่ ของเสีย


1 10 11 7



2 3 12 3

าว
3 7 13 14
4 12 14 6


5 4 15 6


6 3 16 9
7 8 17 13
8 2 18 6
9 5 19 12
10 10 20 19
คําตอบ 1 : 0.019
คําตอบ 2 : 0.080
44 of 125
คําตอบ 3 : 0.160
คําตอบ 4 : 0.320

ขอที่ : 183
โรงงานผลิตหมอแปลงไฟฟาแหงหนึ่งสรางแผนภูมิควบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต โดยเก็บขอมูลกลุมละ 100 ตัวอยาง จํานวน 20 กลุมยอย แสดงดังตาราง จงคํานวณ
ขอบเขตควบคุมลาง (Lower Control Limit) ของแผนภูมิควบคุม p-chart
กลุมยอยที่ ของเสีย กลุมยอยที่ ของเสีย


1 10 11 7

่ า
2 3 12 3


3 7 13 14


4 12 14 6


5 4 15 6


6 3 16 9

า้ ม
7 8 17 13

ิธ์ ห
8 2 18 6
9 5 19 12
10 10 20 19

ิท
คําตอบ 1 : -0.0017


คําตอบ 2 : 0

ว น
คําตอบ 3 : 0.0017


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

อ ส

ขอที่ : 184

กร
โรงงานผลิตถาดสําหรับใสอาหารบนเครื่องบิน ประสบปญหาเรื่อง Rework ในแตละวันมีจํานวนมาก ดังนั้นทางโรงงานตองการสรางแผนภูมิควบคุมสัดสวนงาน Rework โดยเก็บ
ขอมูลแสดงดังตาราง โดยมีจํานวนตัวอยางรวม 3,926 ชิ้น และมีจํานวน rework รวม 411 ชิ้น

ิ ว
วันที่ จํานวนตัวอยาง Rework วันที่ จํานวนตัวอยาง Rework

ว ศ
1 180 27 11 241 12


2 165 15 12 202 4


3 205 32 13 187 30


4 176 18 14 215 24
5 234 5 15 222 20
6 192 25 16 193 18
7 156 7 17 204 37
8 183 21 18 186 24
9 215 40 19 175 13
10 225 6 20 170 33
จากขอมูลดังกลาว จงคํานวณหาคา LCLp ของแผนภูมิควบคุมสําหรับวันที่ 6 45 of 125

คําตอบ 1 : 0.039
คําตอบ 2 : 0.045
คําตอบ 3 : 0.053
คําตอบ 4 : 0.055

ขอที่ : 185
โรงงานผลิตถาดสําหรับใสอาหารบนเครื่องบิน ประสบปญหาเรื่อง Rework ในแตละวันมีจํานวนมาก ดังนั้นทางโรงงานตองการสรางแผนภูมิควบคุมจํานวน Rework เพื่อติดตามสภาพ


ปญหาดังกลาว โดยใชขอมูลแสดงดังตาราง ซึ่งมีจํานวนตัวอยางรวมทั้งสิ้น 3,926 ชิ้น และจํานวน rework รวม 411 ชิ้น

่ า
วันที่ จํานวนตัวอยาง Rework วันที่ จํานวนตัวอยาง Rework


1 180 27 11 241 12

ำ ห
2 165 15 12 202 4


3 205 32 13 187 30


4 176 18 14 215 24

า้
5 234 5 15 222 20

ิธ์ ห
6 192 25 16 193 18
7 156 7 17 204 37
8 183 21 18 186 24

ิท
9 215 40 19 175 13


10 225 6 20 170 33


จากขอมูลดังกลาว จงคํานวณหาคา LCLp ของแผนภูมิควบคุมสําหรับวันที่ 15

ง ว
คําตอบ 1 : 0.031


คําตอบ 2 : 0.033


คําตอบ 3 : 0.037

กร ข
คําตอบ 4 : 0.043

ขอที่ : 186


ิ ว
าว
โรงงานผลิตของเลน ประสบปญหาเรื่องจํานวนงานซอม (rework) ในแตละวันมีจํานวนมาก ดังนั้นทางโรงงานตองการสรางแผนภูมิควบคุมสัดสวนงานซอม โดยเก็บขอมูลแสดงดัง
ตาราง


วันที่ จํานวนตัวอยาง Rework วันที่ จํานวนตัวอยาง Rework


1 180 27 11 241 12
2 165 15 12 202 4
3 205 32 13 187 30
4 176 18 14 215 24
5 234 5 15 222 20
6 192 25 16 193 18
7 156 7 17 204 37
8 183 21 18 186 24 46 of 125
9 215 40 19 175 13
10 225 6 20 170 33
จากขอมูลดังกลาว จงคํานวณหาคา CL ของแผนภูมิควบคุม
คําตอบ 1 : 0.95
คําตอบ 2 : 0.105
คําตอบ 3 : 0.155
คําตอบ 4 : 0.171

่ า ย

ขอที่ : 187


โรงงานผลิตถาดสําหรับใสอาหารบนเครื่องบิน ประสบปญหาเรื่อง Rework ในแตละวันมีจํานวนมาก ดังนั้นทางโรงงานตองการสรางแผนภูมิควบคุมจํานวน Rework เพื่อแกปญหาดัง


กลาว โดยใชขอมูลแสดงดังตาราง ซึ่งมีจํานวนตัวอยางรวม 3,926 ชิ้น และจํานวน rework รวม 411 ชิ้น

มจ
า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.027
47 of 125
คําตอบ 2 : 0.044
คําตอบ 3 : 0.166
คําตอบ 4 : 0.176

ขอที่ : 188
โรงงานผลิตถาดสําหรับใสอาหารบนเครื่องบิน ประสบปญหาเรื่อง Rework ในแตละวันมีจํานวนมาก ดังนั้นทางโรงงานตองการสรางแผนภูมิควบคุมจํานวน Rework เพื่อติดตามสภาพ
ปญหาดังกลาว โดยใชขอมูลแสดงดังตาราง ซึ่งมีจํานวนตัวอยางรวมทั้งสิ้น 3,926 ชิ้น และจํานวน rework รวม 411 ชิ้น

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.165
คําตอบ 2 : 0.169
คําตอบ 3 : 0.171
คําตอบ 4 : 0.176

ขอที่ : 189 48 of 125

โรงงานผลิตถาดสําหรับใสอาหารบนเครื่องบิน ประสบปญหาเรื่อง Rework ในแตละวันมีจํานวนมาก ดังนั้นทางโรงงานตองการสรางแผนภูมิควบคุมจํานวน Rework เพื่อติดตามสภาพ


ปญหาดังกลาว โดยใชขอมูลแสดงดังตาราง ซึ่งมีจํานวนตัวอยางรวมทั้งสิ้น 3,926 ชิ้น และจํานวน rework รวม 411 ชิ้น

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : 0.033



คําตอบ 2 : 0.039

าว
คําตอบ 3 : 0.045


คําตอบ 4 : 0.048

ขอที่ : 190

แผนภูมิควบคุมสัดสวนของเสียในกระบวนการผลิต พบวาสัดสวนของเสียโดยเฉลี่ย มีคาเทากับ 0.03 และขนาดของกลุมตัวอยางยอยที่ใชในการสรางแผนภูมิควบคุมคือ 200 ตัวอยาง
ตอกลุม (n=200) จงคํานวณหา UCL ของแผนภูมิควบคุมสัดสวนของเสีย
คําตอบ 1 : 0.052
คําตอบ 2 : 0.066
49 of 125
คําตอบ 3 : 0.072
คําตอบ 4 : 0.088

ขอที่ : 191
แผนภูมิควบคุมสัดสวนของเสียในกระบวนการผลิต พบวาสัดสวนของเสียโดยเฉลี่ย มีคาเทากับ 0.03 และขนาดของกลุมตัวอยางยอยที่ใชในการสรางแผนภูมิควบคุมคือ 200 ตัวอยาง
ตอกลุม (n=200) จงคํานวณหา LCL ของแผนภูมิควบคุมสัดสวนของเสีย
คําตอบ 1 : -0.012

่ า ย
คําตอบ 2 : 0


คําตอบ 3 : 0.012


คําตอบ 4 : 0.030

จ ำ

ขอที่ : 192

า้
แผนภูมิควบคุมสัดสวนของเสียในกระบวนการผลิต พบวาสัดสวนของเสียโดยเฉลี่ย มีคาเทากับ 0.03 และขนาดของกลุมตัวอยางยอยที่ใชในการสรางแผนภูมิควบ

ิธ์ ห
คุม คือ 200 ตัวอยางตอกลุม (n = 200) ถาคา ในกระบวนการผลิตเปลี่ยนแปลงเปน 0.08 จงหาความนาจะเปนที่แผนภูมิควบคุมจะตรวจจับความผิดปกติที่เกิด
ขึ้นในกระบวนการจากการสุมตัวอยางครั้งแรก

ิท
คําตอบ 1 : 0.30


คําตอบ 2 : 0.60
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
0.73
0.87

ง ว น
อ ส

ขอที่ : 193

กร
แผนภูมิควบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต สรางโดยใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 กลุม กลุมละ 400 ขอมูล สรุปผลไดดังนี้


ิ ว
ภ าว

จงคํานวณหาคา UCLnp
คําตอบ 1 : 38
คําตอบ 2 : 40
คําตอบ 3 : 48
คําตอบ 4 : 58

50 of 125
ขอที่ : 194
แผนภูมิควบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต สรางโดยใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 กลุม กลุมละ 400 ขอมูล สรุปผลไดดังนี้

จงคํานวณหาคา LCLnp

่ า ย
คําตอบ 1 : 18


คําตอบ 2 : 22


คําตอบ 3 : 28


คําตอบ 4 : 48

มจ
า้
ขอที่ : 195

ิธ์ ห
แผนภูมิควบคุมจํานวนของเสียในกระบวนการผลิต สรางโดยใชกลุมตัวอยางจํานวน 30 กลุม กลุมละ 400 ขอมูล สรุปผลไดดังนี้

ส ิท
ถาคา

ง ว น
ในกระบวนการผลิตเปลี่ยนแปลงเปน 0.15 จงหาความนาจะเปนที่แผนภูมิควบคุมจะตรวจจับความผิดปกติที่เกิดขึ้นในกระบวนการของการสุมตัวอยางใน


ครั้งแรก
คําตอบ 1 : 0.25

ขอ
กร
คําตอบ 2 : 0.34


คําตอบ 3 : 0.46



คําตอบ 4 : 0.58

ขอที่ : 196

ภ าว

ถาตองการควบคุมกระบวนการผลิตโดยศึกษา จํานวนขอบกพรองบนเครื่องทําน้ํารอน โดยในหนึ่งวันจะสุมตรวจและนับจํานวนขอบกพรองจากเครื่องทําน้ํารอนจํานวน 3 เครื่อง ทานจะ
แนะนําใหใชแผนภูมิชนิดใด
คําตอบ 1 : Xbar-chart
คําตอบ 2 : np-chart
คําตอบ 3 : p-chart
คําตอบ 4 : C-chart
51 of 125

ขอที่ : 197
แผนภูมิควบคุมที่ใชเพื่อควบคุมจํานวนขอบกพรองตอหนวยการตรวจสอบ คือแผนภูมิควบคุมชนิดใด
คําตอบ 1 : Xbar-chart
คําตอบ 2 : R-chart
คําตอบ 3 : p-chart
คําตอบ 4 : u-chart

่ า ย
ขอที่ : 198


แผนภูมิควบคุม c-chart จะแสดงสัญญาณวามีสิ่งปกติเกิดขึ้นเมื่อใด


คําตอบ 1 : การเปลี่ยนแปลงจํานวนของขอบกพรองตอกลุมตัวอยาง

จ ำ
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงคาเฉลี่ยของกระบวนการ


คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแปลงในเปอรเซ็นตของเสียในกลุมตัวอยาง

า้
คําตอบ 4 : การเปลี่ยนแปลงใน AOQ

ขอที่ : 199
ิธ์ ห
ิท
บริษัทผลิตหนังสือพิมพทองถิ่นไดรับการรองเรียนตอวันจํานวนมากเกี่ยวกับคําผิดในหนังสือพิมพ สํานักพิมพไดรับการรองเรียนจากรายงานของผูอานตามจํานวนความผิดพลาดที่เกิด


ขึ้นดังนี้ 4, 3, 2, 6, 7, 3 และ 9 ครั้ง ดังนั้นสํานักพิมพควรใชแผนภูมิควบคุมชนิดใด


คําตอบ 1 : p-chart
คําตอบ 2 : C-chart

ง ว

คําตอบ 3 : Xbar-chart


คําตอบ 4 : R-chart

ขอที่ : 200

กร ข

ิ ว
ผูผลิตสินคาตองการประยุกตใชแผนภูมิในการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ A และ B โดยในการควบคุมผลิตภัณฑ A ทําการเก็บตัวอยางและพิจารณาวาเปนของดีหรือของเสีย

าว
สําหรับผลิตภัณฑ B นับจํานวนของรอยตําหนิตอชิ้น ดังนั้นแผนภูมิที่ควรจะนํามาใชควบคุมคือ
คําตอบ 1 : p-chart สําหรับ A และ B

ส ภ
คําตอบ 2 : p-chart สําหรับ A และ c-chart สําหรับ B
คําตอบ 3 : c-chart สําหรับ A และ B
คําตอบ 4 : p-chart สําหรับ A, แผนภูมิคาเฉลี่ยและคาพิสัย สําหรับ B

ขอที่ : 201
บริษัทขนสงพัสดุตางชาติตรวจสอบจํานวนพัสดุที่สงลาชา (สายเกินกวา 30 นาทีของเวลาที่สัญญากับลูกคา) ตอวัน บริษัทคาดวาจะใชแผนภูมิควบคุมในการแสดงผล แผนภูมิควบคุม
ชนิดใดที่ควรแนะนําใหบริษัทใช 52 of 125
คําตอบ 1 : Xbar-chart และ R-chart
คําตอบ 2 : p-chart
คําตอบ 3 : c-chart
คําตอบ 4 : p-chart และ c-chart

ขอที่ : 202
ในการสรางแผนภูมิควบคุมสัดสวนของเสียในกระบวนการผลิต พบวาสัดสวนของเสียโดยเฉลี่ย มีคาเทากับ 0.03 และขนาดตัวอยางที่ใชในการสรางแผนภูมิควบคุมคือ 200 ชิ้นงานตอ


กลุมตัวอยาง (n=200) จงคํานวณหา LCL ของแผนภูมิควบคุมจํานวนของเสีย
คําตอบ 1 : -2.4

น่ า

คําตอบ 2 : 0


คําตอบ 3 : 2.4

มจ
คําตอบ 4 : 6

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 203
จงใชขอมูลตอไปนี้ตอบคําถาม โรงงานผลิตยางในจักรยานแหงหนึ่ง มีคาเฉลี่ยของการทนความดัน (brusting pressure) ของผลิตภัณฑเปน 150 ปอนดตอตารางนิ้ว (psi) และมีคา
เบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 15.2 psi ถาขอกําหนดของผูนําเขาในตางประเทศระบุวา ยางในตองมี brusting pressure ไมต่ํากวา 100 psi ขอใดถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 :

ส ิท
ไมสามารถหา process capability ratio ได เนื่องจากไมทราบ upper specification limit


คําตอบ 2 : คา process capability ratio < 1

ง ว
คําตอบ 3 : 1 < คา process capability ratio < 1.5


คําตอบ 4 : คา process capability ratio > 1.5

ขอ
กร
ขอที่ : 204
จงใชขอมูลตอไปนี้ตอบคําถาม โรงงานผลิตยางในจักรยานแหงหนึ่ง มีคาเฉลี่ยของการทนความดัน (brusting pressure) ของผลิตภัณฑเปน 150 ปอนดตอตารางนิ้ว (psi) และมีคา


เบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 15.2 psi ถาขอกําหนดของผูนําเขาในตางประเทศระบุวา ยางในตองมี brusting pressure ไมต่ํากวา 100 psi กระบวนการผลิตในโรงงานนี้มีของเสียอยูในชวง



ใด

าว
คําตอบ 1 : 100-200 ppm


คําตอบ 2 : 201-400 ppm


คําตอบ 3 : 401-600 ppm
คําตอบ 4 : 601-800 ppm

ขอที่ : 205
ในกระบวนการชุบเคลือบผิวสายรัดโลหะขนาดเสนผานศูนยกลาง 13-19 มิลลิเมตร ใหไดคาความหนาของสังกะสีที่ชุบเคลือบผิว 3±0.5 ไมโครเมตร ผลการชักตัวอยาง 50 ชิ้น แลว
วัดคาความหนาของสังกะสีที่เคลือบผิวสายรัดโลหะ ผลแสดงดังตารางตอไปนี้
คาความหนา (ไมโครเมตร) 53 of 125

3.0 2.8 3.0 2.9 3.0 3.0 2.9 2.9 3.0 2.9
2.9 2.9 3.1 3.1 2.9 3.1 3.0 2.8 3.1 3.0
3.0 3.0 3.1 3.0 3.0 2.9 2.9 2.9 3.1 2.9
2.0 3.1 2.9 3.1 3.1 2.9 3.1 3.0 3.0 3.1
3.0 2.9 3.0 2.9 3.1 3.0 3.2 3.1 3.1 2.9
จงคํานวณหาคาสมรรถภาพกระบวนการ
คําตอบ 1 : 1.75
คําตอบ 2 : 1.85
คําตอบ 3 : 1.95

่ า ย

คําตอบ 4 : 2.05

ขอที่ : 206

จ ำ ห

กระบวนการผลิตใดตอไปนี้เปนกระบวนการที่ผลิตสินคาที่มีคุณภาพสม่ําเสมอที่สุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 6σ = USL - LSL
คําตอบ 2 : 6σ > USL - LSL
คําตอบ 3 : 6σ < USL - LSL

ิท
คําตอบ 4 : 3σ = USL - μ

นส

ขอที่ : 207


ขอใดตอไปนี้กลาวเกี่ยวกับ Cp และ Cpk ไมถูกตอง

คําตอบ 1 :

อ ส
Cp = Cpk เมื่อคาเฉลี่ยของกระบวนการผลิตอยูกึ่งกลางขีดจํากัดขอกําหนด
คําตอบ 2 :

กร ข
Cpk จะเปลี่ยน ถาคาเฉลี่ยกระบวนการผลิตเลื่อนออกจากกึ่งกลางขีดจํากัดขอกําหนด


คําตอบ 3 : Cpk มักมีคาไมเกินคา Cp
คําตอบ 4 :

าว ศ

Cpk นอยกวา 1.00 แสดงวามีผลิตภัณฑไมตรงกับขีดจํากัดขอกําหนดเกิดขึ้นในกระบวนการผลิต

ขอที่ : 208

ส ภ
เมื่อกระบวนการผลิตอยูในการควบคุม มีการแจกแจงปกติรอบจุดกึ่งกลางของขอกําหนดทางเทคนิค ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : ถา PCR > 1 แสดงวา USL > UNTL และ LSL > LNTL
คําตอบ 2 : ถา PCR > 1 แสดงวา USL > UNTL และ LSL < LNTL
คําตอบ 3 : ถา PCR < 1 แสดงวา USL < UNTL และ LSL < LNTL
คําตอบ 4 : ถา PCR < 1 แสดงวา USL > UNTL และ LSL > LNTL
54 of 125
ขอที่ : 209
เมื่อกระบวนการผลิตอยูในการควบคุม ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : PCRk >= 0
คําตอบ 2 : ถา PCRk = PCR แสดงวา กระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติรอบจุดกึ่งกลางของขอกําหนดทางเทคนิค
คําตอบ 3 : ถา PCRk < PCR แสดงวา กระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติรอบจุดที่ไมใชจุดกึ่งกลางของขอกําหนดทางเทคนิค
คําตอบ 4 : ถา PCRk = 0 แสดงวา กระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติรอบ USL หรือ LSL

่ า ย

ขอที่ : 210


กําหนดให PCR(U) = 1 และ PCR(L) = 3 ขอใดตอไปนี้เปนคาของ PCR(k)

จ ำ
คําตอบ 1 : 1


คําตอบ 2 : 2

า้
คําตอบ 3 : 3

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 4

ิท
ขอที่ : 211


ถากระบวนการที่มีขอกําหนดควบคุมทั้งสองดาน มีคา PCR เปน 1 จะมีของเสียเทาไร

ว น
คําตอบ 1 : 2500 PPM


คําตอบ 2 : 2700 PPM


คําตอบ 3 : 3000 PPM


คําตอบ 4 : 3300 PPM

กร ข

ขอที่ : 212



ในกระบวนการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง สมมติวากระบวนการผลิตนี้เสถียร (in control) และมีคา Cp = 2 และ Cpk = 0.5 ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด

าว
คําตอบ 1 : Capable process เนื่องจากคา Cp มากกวา 1


คําตอบ 2 :

คําตอบ 3 : ภ Incapable process เนื่องจากคา Cp นอยกวา 1


ไมสามารถสรุป Capability ของกระบวนการผลิตได เนื่องจากคา Cp และ Cpk แตกตางกันมาก
ขอ 1 2 และ 3 ผิด
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 213 55 of 125


Cp แตกตางจาก Cpk อยางไร
คําตอบ 1 : Cp ศึกษาความสามารถกระบวนการโดยไมสนใจคาเปาหมาย แต Cpk คํานึงถึงคาเปาหมาย
คําตอบ 2 : Cp ศึกษาความสามารถกระบวนการในระยะสั้น แต Cpk ศึกษาความสามารถในระยะยาว
คําตอบ 3 : Cp ศึกษาความสามารถกระบวนการโดยกระบวนการมีความเสถียรภาพ แต Cpk ศึกษาความสามารถกระบวนการในขณะที่ไมมีความเสถียรภาพ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 214

่ า ย
ขอใดถูกตอง


คําตอบ 1 : กระบวนการที่อยูภายใตการควบคุมคือกระบวนการที่ไมมีของเสียเกิดขึ้นในกระบวนการ


คําตอบ 2 : กระบวนการที่มีของเสียเกิดขึ้น เปนกระบวนการที่ out of control

จ ำ
คําตอบ 3 : การศึกษาความสามารถกระบวนการตองกระทําภายใตสภาวะที่ควบคุม


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 215
Cp หมายถึงขอใด

ส ิท
คําตอบ 1 : real process capability


คําตอบ 2 : actual process capability


คําตอบ 3 : potential process capability


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

อ ส
กร ข
ขอที่ : 216
Cpk หมายถึงขอใด
คําตอบ 1 :


ิ ว
real process capability

าว
คําตอบ 2 : actual process capability
คําตอบ 3 : potential process capability

ขอที่ : 217 ส
คําตอบ 4 :

ภ ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ถากระบวนการผลิตมีคา Cp = Cpk หมายถึงกระบวนการผลิตใดตอไปนี้

คําตอบ 1 : คากลางคอนไปทาง USL


คําตอบ 2 : คากลางคอนไปทาง LSL
56 of 125
คําตอบ 3 : คากลางตกนอก LSL หรือ USL
คําตอบ 4 : คากลางอยูกึ่งกลาง Spec.

ขอที่ : 218
กระบวนการผลิตชิ้นงานใชแผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัยในการตรวจติดตามคุณภาพ มี Spec 5.0 ± 0.55 จากแผนภูมิควบคุมทราบวา n= 4, = 5.15, =
0.309 ดัชนีความสามารถของกระบวนการปจจุบันมีศักยภาพที่จะเพิ่มขึ้นไดเทาใด โดยไมมีการปรับปรุงความแปรปรวนของกระบวนการ (ผลตางระหวาง Potential
Capability และ Actual Capability)
คําตอบ 1 : 0.334

่ า ย

คําตอบ 2 : 0.888


คําตอบ 3 : 1.222
คําตอบ 4 : 1.666

จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 219
ขอใดคือสมมติฐานในการวัดความสามารถของกระบวนการดวยดัชนี Cp
คําตอบ 1 : กระบวนการตองอยูภายใตการควบคุมเชิงสถิติ

ิท
คําตอบ 2 : คุณลักษณะสมบัติของกระบวนการตองแจกแจงแบบปกติ


คําตอบ 3 : ไมมี Process shift
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ง ว น
ขอที่ : 220

อ ส

กําหนดใหกระบวนการอยูภายใตการควบคุมเชิงสถิติ มีคาเฉลี่ยเทากับ 15 หนวย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.5 หนวย มี Specification ระหวาง 10.5 –

กร
19.5 หนวย ขอใดตอไปนี้กลาวถูกตองเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางดัชนี Cp และ Cpk


Cp = Cpk



คําตอบ 1 :

าว
คําตอบ 2 : Cp < Cpk


คําตอบ 3 : Cp > Cpk

ขอที่ :

คําตอบ 4 :

221
Cp ≥ Cpk

57 of 125
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง
เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง

Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาเปอรเซ็นตชิ้นสวนรถยนตที่ไมตรงตามขอกําหนด
คําตอบ 1 : 5%

น่ า

คําตอบ 2 : 10 %


คําตอบ 3 : 15 %


คําตอบ 4 : 20%

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 222
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง
เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาคา Cpk ของกระบวนการผลิตดังกลาว
คําตอบ 1 : 0.46


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 0.76


คําตอบ 3 : 0.92


คําตอบ 4 : 1.21

ขอที่ : 223

58 of 125
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง
เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง
Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาคา Cp ของกระบวนการผลิตดังกลาว
คําตอบ 1 : 0.62

่ า ย

คําตอบ 2 : 1.12

ำ ห
คําตอบ 3 : 1.25


คําตอบ 4 : 1.92

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 224
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง
เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม ถาปรับปรุงกระบวนการโดยปรับคาเฉลี่ยของกระบวนการใหอยูที่คา


เปาหมาย คา Cpk ในกระบวนการผลิตเปนเทาใด

าว ศ

คําตอบ 1 : 0.4
คําตอบ 2 : 0.5


คําตอบ 3 : 0.6


คําตอบ 4 : 1.2

ขอที่ : 225

59 of 125
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง
เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง
Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม ถาปรับปรุงกระบวนการโดยปรับคาเฉลี่ยของกระบวนการใหอยูที่คา


เปาหมาย เปอรเซ็นตของเสียในกระบวนการผลิตดังกลาวเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 3%

น่ า

คําตอบ 2 : 4%


คําตอบ 3 : 5%


คําตอบ 4 : 6%

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 226
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง
เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม ถาคา ลดลงจาก 614 เปน 610 โดยความแปรปรวนของกระบวน


การเทาเดิม เปอรเซ็นตของเสียในกระบวนการผลิตเปนเทาใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
1.4%
2.4%

าว ศ


คําตอบ 3 : 3.4%

ขอที่ : 227

คําตอบ 4 : 4.4%

60 of 125
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง
เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง

Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม ถาวิศวกรปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยปรับคา จาก 16.5 เปน

่ า
15.0 คา Cpk ในกระบวนการผลิตดังกลาวเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 0.25

หน

คําตอบ 2 : 0.5
คําตอบ 3 : 1

มจ
า้
คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 228
ิธ์ ห
ิท
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง


เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง

ง ว น
อ ส
กร ข

Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม ถาวิศวกรปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยปรับคา จาก 16.5 เปน

าว ศ

15.0 ของเสียในกระบวนการผลิตมีกี่เปอรเซ็นต
คําตอบ 1 : 4%


คําตอบ 2 : 5%


คําตอบ 3 : 6%
คําตอบ 4 : 7%

ขอที่ : 229

61 of 125
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง
เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง

Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม โดยลดคา ในกระบวนการผลิตลง 10% ของเสียในกระบวนการ
ผลิตจะเปนเทาใด

น่ า

คําตอบ 1 : 5%


คําตอบ 2 : 6.7%

มจ
คําตอบ 3 : 7.5%

า้
คําตอบ 4 : 10.2%

ิธ์ ห
ขอที่ : 230

ิท
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนรถยนต โดยลักษณะทางคุณภาพที่ควบคุม คือ ขนาดความกวางของชิ้นงาน โดยใชขอมูลจํานวน 25 กลุม กลุมละ 4 ตัวอยาง


เพื่อสรางแผนภูมิควบคุม สรุปผลดังตาราง

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
Specification ความกวางของชิ้นงาน คือ 610 ± 15 ถากระบวนการผลิตอยูภายใตการควบคุม ถาคา ลดลง 50% คา Cpk ของกระบวนการผลิตดังกลาวมีคา

าว
เปนเทาใด


คําตอบ 1 : 0.6


คําตอบ 2 : 0.7
คําตอบ 3 : 0.8
คําตอบ 4 : 0.9

ขอที่ : 231
62 of 125

แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้



(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)

สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาเปอรเซ็นตของชิ้นสวนที่ไมตรงตามขอกําหนด

น่ า
ำ ห
คําตอบ 1 : 5%


คําตอบ 2 : 25%


คําตอบ 3 : 50%

า้
คําตอบ 4 : 75%

ขอที่ : 232
ิธ์ ห
ิท
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้

นส
ง ว
อ ส
กร ข
(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)


ิ ว
าว
สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาคา Cpk ของกระบวนการผลิตดังกลาว


คําตอบ 1 : 0.01


คําตอบ 2 : 0.06
คําตอบ 3 : 0.09
คําตอบ 4 : 1.02

ขอที่ : 233

63 of 125

แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้



(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)

สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาคา Cp ของกระบวนการผลิตดังกลาว

น่ า
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
0.1
0.5

จ ำ ห
า้ ม
คําตอบ 3 : 1.0

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 1.5

ขอที่ : 234

ส ิท
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)

าว
สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม ถาปรับปรุงกระบวนการโดยปรับคาเฉลี่ยของกระบวนการใหอยูที่คาเปาหมาย คา Cpk ของกระบวนการผลิตดัง


กลาวเปนอยางไร


คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

64 of 125
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :


ขอที่ : 235

่ า
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้

หน
จ ำ
า้ ม
(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)
ิธ์ ห
ส ิท
สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม ถาปรับปรุงกระบวนการโดยปรับคาเฉลี่ยของกระบวนการใหอยูที่คาเปาหมาย เปอรเซ็นตของเสียในกระบวนการ


ผลิตดังกลาวเปนเทาใด

ง ว

คําตอบ 1 : 38%


คําตอบ 2 : 62%

กร ข
คําตอบ 3 : 76%
คําตอบ 4 : 81%


ิ ว
าว
ขอที่ : 236

ส ภ
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้

65 of 125

(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)


สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม ถาปรับปรุงกระบวนการลดคา จาก 3.8 เปน 0.8 คา Cpk ของกระบวนการผลิตดังกลาวเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 0.23
คําตอบ 2 : 0.29
คําตอบ 3 : 0.34
คําตอบ 4 : 0.90

ขอที่ : 237

่ า ย
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)

นส

สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม ถาปรับปรุงกระบวนการลดคา จาก 3.8 เปน 0.8 เปอรเซ็นตของเสียในกระบวนการผลิตดังกลาวเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 12%
คําตอบ 2 : 15%

อ ส

คําตอบ 3 : 21%

กร
คําตอบ 4 : 33%


ิ ว
าว
ขอที่ : 238

ส ภ
แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้

66 of 125

(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)


สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม โดยลดคา ลดลง 70% ของเสียในกระบวนการผลิตดังกลาวเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 5%
คําตอบ 2 : 15%
คําตอบ 3 : 25%
คําตอบ 4 : 35%

ขอที่ : 239

่ า ย

แผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย สําหรับแผนกชิ้นสวนสําหรับภาชนะบนเครื่องบิน มีรายละเอียด ดังนี้

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
(Specification = 76 ± 0.50 และ ขนาดของกลุมตัวอยางยอย n = 5)

นส

สมมติวากระบวนการดังกลาวอยูภายใตการควบคุม โดยลดคา ลดลง 70% คา Cpk ของกระบวนการผลิตดังกลาวเปนเทาใด
คําตอบ 1 : 0.2

ส ง

คําตอบ 2 : 0.4

กร ข
คําตอบ 3 : 0.6
คําตอบ 4 : 0.8


ิ ว
าว
ขอที่ : 240


กระบวนการผลิตชิ้นสวนเครื่องมือแพทยอยูภายใตการควบคุม และแผนภูมิควบคุมของกระบวนการมีขอมูล ดังนี้

= 100
ส = 1.05 n (ขนาดของกลุมตัวอยางยอย) = 5

Specification = 95±10

สมมติวาขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ จงคํานวณหาคา Cpk ของกระบวนการผลิตดังกลาว

คําตอบ 1 : 1
67 of 125
คําตอบ 2 : 1.5
คําตอบ 3 : 2
คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 241
กระบวนการผลิตชิ้นสวนเครื่องมือแพทยอยูภายใตการควบคุม และแผนภูมิควบคุมของกระบวนการมีขอมูล ดังนี้

่ า ย
= 100 = 2.05 n (ขนาดของกลุมตัวอยางยอย) = 5

Specification = 95±10

หน
สมมติวาขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ จงคํานวณหาเปอรเซ็นตของเสียในกระบวนการผลิต

จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0.01%

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 0.20%
คําตอบ 3 : 1.10%
คําตอบ 4 : 10%

ส ิท

ขอที่ : 242


กระบวนการผลิตชิ้นสวนเครื่องมือแพทยอยูภายใตการควบคุม และแผนภูมิควบคุมของกระบวนการมีขอมูล ดังนี้

ส ง

= 100 = 2.05 n (ขนาดของกลุมตัวอยางยอย) = 5

Specification = 95±10

กร ข

สมมติวาขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ ถาคา ลดลงจาก 100 เปน 95 คาเปอรเซ็นตของเสียในกระบวนการผลิตเปนเทาใด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
1%
5%

าว ศ


คําตอบ 3 : 10%

ขอที่ :
คําตอบ 4 :

243
ส ขอ 1 2 และ 3 ผิด

กระบวนการผลิตกานเบรกใชแผนภูมิควบคุม - R chart เพื่อควบคุมขนาดยาวของกานเบรก โดยมีขอมูล ดังนี้


68 of 125

= 199 = 3.5 n (ขนาดของกลุมตัวอยางยอย) = 4


Specification = 200±8

สมมติวาขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ และกระบวนการอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาคา Cpk ของกระบวนการผลิตดังกลาว


คําตอบ 1 : 1.37
คําตอบ 2 : 1.70
คําตอบ 3 : 1.78


คําตอบ 4 : 1.96

น่ า

ขอที่ : 244


กระบวนการผลิตกานเบรกใชแผนภูมิควบคุม - R chart เพื่อควบคุมขนาดยาวของกานเบรก โดยมีขอมูล ดังนี้

มจ
า้
= 199 = 3.5 n (ขนาดของกลุมตัวอยางยอย) = 4

ิธ์ ห
Specification = 200±8

ิท
สมมติวาขอมูลมีการแจกแจงแบบปกติ และกระบวนการอยูภายใตการควบคุม ถามีการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยลดคา = 3.5 เหลือ 3.0 คา Cpk ในกระบวน
การผลิตเปนเทาใด

นส

คําตอบ 1 : 1.5
คําตอบ 2 : 1.6

ส ง

คําตอบ 3 : 1.8


คําตอบ 4 : 2.0

ขอที่ : 245

ว กร
าว ศ

ส ภ
69 of 125
จากขอมูลในตารางถา Specification ของเสนผาศูนยกลางของลูกปนคือ 34.0+/-1.5 จงคํานวณหาเปอรเซ็นตของเสียทีคาดวาจะเกิดขึ้นในกระบวนการนี้ ถากระบวนการผลิตอยูใน
การควบคุม
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 8.7%


คําตอบ 2 : 9.7%


คําตอบ 3 : 10.7%
คําตอบ 4 : 11.7%

ขอที่ : 246

70 of 125
จากขอมูลในตาราง ถาเสนผานศูนยกลางของลูกปนมีขนาดใหญกวาขอกําหนด (Specification: 34.0+/-1.5) สามารถเจียรใหมีขนาดเล็กไดโดยเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น 2 บาทตอชิ้น
โดยปกติบริษัทผลิต 20,000 ชิ้นตอวัน ดังนั้นบริษัทตองเสียคาใชจายในการเจียเพิ่มขึ้นเทาใดตอวัน
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 1938


คําตอบ 2 : 2938


คําตอบ 3 : 3938
คําตอบ 4 : 4938

ขอที่ : 247

71 of 125
จากขอมูลในตาราง ถาเสนผานศูนยกลางของลูกปนมีขนาดเล็กกวาขอกําหนด (Specification: 34.0+/-1.5) จะตองนําไปอัดเปนเศษเหล็กขายกอใหเกิดความสูญเสียประมาณ 4
บาทตอชิ้น โดยปกติบริษัทผลิต 20,000 ชิ้นตอวัน ดังนั้นบริษัทจะสูญเสียตอวันเทาใดในกรณีนี้ ถาสมมติกระบวนการอยูภายใตการควบคุม
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 1876


คําตอบ 2 : 2876


คําตอบ 3 : 3876
คําตอบ 4 : 4876

ขอที่ : 248

72 of 125

ขอใดตอไปนี้ถูกตอง สําหรับการพิจารณาคา Cpk (Specification: 34.5+/-0.1) ถากําหนดกระบวนการอยูภายใตการควบคุม


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : Cp = Cpk


คําตอบ 2 : Cp < Cpk


คําตอบ 3 : Cpl = Cpk
คําตอบ 4 : Cpu = Cpk

ขอที่ : 249

73 of 125

สมมติกระบวนการอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาคา Cpk หาก USL = 35 และ LSL = 34


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : 1


คําตอบ 2 : 0


คําตอบ 3 : 0.8
คําตอบ 4 : 0.5

ขอที่ : 250

74 of 125

จากขอมูลในตารางถาขอกําหนดของน้ําหนักของเนื้อไกตอ 1 กระปอง (Specification) คือ 130+/-10 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง ถากําหนดกระบวนการอยูภายใตการควบคุม


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : Cp = Cpk


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : Cp < Cpk


คําตอบ 3 : Cp = Cpl


คําตอบ 4 : Cpk = Cpu

ขอที่ : 251

75 of 125
จากขอมูลในตารางถาขอกําหนดของน้ําหนักของเนื้อไกตอกระปอง (Specification) คือ 130+/-10 จงคํานวณหารอยละของเสียที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีปริมาณเนื้อไกตอกระปองขอ
กําหนด ถากําหนดกระบวนการอยูภายใตการควบคุม
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 2.8%


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 5.6%


คําตอบ 3 : 14%


คําตอบ 4 : 28%

ขอที่ : 252

76 of 125
จากขอมูลในตารางถาขอกําหนดของน้ําหนักของเนื้อไกตอกระปอง (Specification) คือ 130+/-10 จงคํานวณหารอยละของเสียที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีปริมาณเนื้อไกตอกระปองนอย
กวาขอกําหนด ถากําหนดกระบวนการอยูภายใตการควบคุม
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 1.4%


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 14%


คําตอบ 3 : 2.8%


คําตอบ 4 : 28%

ขอที่ : 253

77 of 125

ถาสมมติวากระบวนการอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาคา Cpk (Spec: 130+/-10)


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 0.19


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : -0.19


คําตอบ 3 : 0.52


คําตอบ 4 : 1.52

ขอที่ : 254

78 of 125

ถาสมมติวากระบวนการอยูภายใตการควบคุม จงคํานวณหาคา Cp (Spec: 130+/-10)


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : 1.33


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : 1


คําตอบ 3 : 0.52


คําตอบ 4 : 0.19

ขอที่ : 255
ขอใดตอไปนี้แทนความหมาย "ความแปรปรวนของคาเฉลี่ยจากการวัดซ้ําของผูวัดแตละคน ซึ่งไดจากผูวัดหลายคนใชเครื่องมือเดิมวัดคุณลักษณะเดิมบนชิ้นสวนเดิม"
คําตอบ 1 : Repeatability
คําตอบ 2 : Reproducibility
79 of 125
คําตอบ 3 : Stability
คําตอบ 4 : Linearity

ขอที่ : 256
ถาความแปรปรวนจาก Reproducibility มีคามากกวา Repeatability ควรดําเนินการอยางไรมากที่สุด
คําตอบ 1 : เครื่องมือวัดตองการซอมบํารุง
คําตอบ 2 : ผูใชเครื่องมือวัดควรไดรับการฝกอบรมวิธีการใชและอานเครื่องมือวัด
คําตอบ 3 : ควรออกแบบเครื่องมือวัดใหม

่ า ย

คําตอบ 4 : ควรปรับปรุงการยึดจับ

ขอที่ : 257

จ ำ ห

ถาความแปรปรวนจาก repeatability มีคามากกวา reproducibility มากๆ ขอใดตอไปนี้ควรจะทํามากที่สุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อบรมพนักงานวัดใหมใหใชเครื่องมือวัดใหถูกตอง
คําตอบ 2 : บํารุงรักษาเครื่องมือวัด
คําตอบ 3 : ปรับปรุงกระบวนการผลิต

ิท
คําตอบ 4 : ไมตองทําอะไรเนื่องจากเปนเรื่องปกติที่ repeatability จะตองมีคามากกวา reproducibility อยูแลว

นส

ขอที่ : 258


ในการประเมินระบบการวัด ควรดําเนินการศึกษาเรื่องใดเปนประการแรก
คําตอบ 1 :

อ ส
พิจารณาความเสถียรภาพของขอมูลจากแผนภูมิควบคุม


คําตอบ 2 : พิจารณา Resolution ของระบบการวัด

กร
คําตอบ 3 : พิจารณาการแจกแจงของขอมูลที่ไดจากระบบการวัด


คําตอบ 4 : พิจารณา Repeatability และ Reproducibility ของระบบการวัด

ขอที่ : 259

าว ศ


ในการวิเคราะหระบบการวัด ถาหากพบวาระบบการวัดไมมีความสามารถเนื่องจากสาเหตุดาน Reproducibility ควรดําเนินการแกไขอยางไร


คําตอบ 1 : อบรมพนักงานใหม
คําตอบ 2 : ซื้อเครื่องมือวัดใหม
คําตอบ 3 : สังเกตการณความแตกตางระหวางเงื่อนไขในการวัดเพื่อคนหาสาเหตุ และทําการแกไข
คําตอบ 4 : ทําการ Calibration เครื่องมือวัดใหม

ขอที่ : 260 80 of 125

การตรวจสอบความสามารถของระบบการวัด วิศวกรทําการทดลองโดยใหพนักงานคนหนึ่ง ใชเครื่องมือในการตรวจสอบงานที่ผลิตจากกระบวนการผลิตเดียวกัน


จํานวน 20 ชิ้นๆ ละ 3 ครั้ง ขอมูลสรุปได ดังนี้ = 15.15, = 0.32 โดยขอกําหนดผลิตภัณฑเทากับ 15 ± 4.5 หนวย P/T ratio ของระบบการวัดเทากับเทาใด
คําตอบ 1 : 0.421
คําตอบ 2 : 0.213
คําตอบ 3 : 0.142
คําตอบ 4 : 0.126

ขอที่ : 261

่ า ย

ขอใดคือความหมายของ "Repeatability"

ำ ห
คําตอบ 1 : precision ของเครื่องมือวัด


คําตอบ 2 : precision ของพนักงานวัด


คําตอบ 3 : ความผันแปรของสภาพแวดลอมในการวัด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3 ถูก

ขอที่ : 262

ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

81 of 125

ผลคะแนนจากเปาซอมยิงธนูในระยะ 50 เมตร ของนักกีฬาทีมมหาวิทยาลัยเชียงใหม 4 คน มีผลดังนี้ จากผลการแขงขัน นักกีฬาทานใดมี precision สูงสุด


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : A


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : B


คําตอบ 3 : C


คําตอบ 4 : D

ขอที่ : 263

82 of 125

ผลคะแนนจากเปาซอมยิงธนูในระยะ 50 เมตร ของนักกีฬาทีมมหาวิทยาลัยเชียงใหม 4 คน มีผลดังนี้ จากผลการแขงขัน นักกีฬาทานใดมี accuracy สูงสุด


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : A


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : B


คําตอบ 3 : C


คําตอบ 4 : D

ขอที่ : 264

83 of 125

ผลคะแนนจากเปาซอมยิงธนูในระยะ 50 เมตร ของนักกีฬาทีมมหาวิทยาลัยเชียงใหม 4 คน มีผลดังนี้ ผูใดมี precision ดี แตตองปรับปรุงเรื่อง accuracy


่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 : A


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : B


คําตอบ 3 : C


คําตอบ 4 : D

ขอที่ : 265
ขนาดความแปรปรวนเนื่องจาก Repeatability สามารถศึกษาไดจากกรณีใด
คําตอบ 1 : ผูวัด 1 คน วัดความยาวชิ้นงาน 10 ชิ้น โดยใชไมบรรทัด 10 อัน
คําตอบ 2 : ผูวัด 1 คน วัดความยาวชิ้นงาน 10 ชิ้น โดยใชไมบรรทัด 1 อัน
84 of 125
คําตอบ 3 : ผูวัด 1 คน วัดความยาวชิ้นงาน 1 ชิ้น จํานวน 10 ครั้ง โดยใชไมบรรทัด 1 อัน
คําตอบ 4 : ผูวัด 10 คน วัดความยาวชิ้นงาน 1 ชิ้น โดยใชไมบรรทัด 1 อัน

ขอที่ : 266
ขนาดความแปรปรวนเนื่องจาก Reproducibility สามารถศึกษาไดจากกรณีใด
คําตอบ 1 : ผูวัด 1 คน วัดความยาวชิ้นงาน 10 ชิ้น โดยใชไมบรรทัด 10 อัน
คําตอบ 2 : ผูวัด 1 คน วัดความยาวชิ้นงาน 10 ชิ้น โดยใชไมบรรทัด 1 อัน
คําตอบ 3 : ผูวัด 1 คน วัดความยาวชิ้นงาน 1 ชิ้น จํานวน 10 ครั้ง โดยใชไมบรรทัด 1 อัน

่ า ย

คําตอบ 4 : ผูวัด 10 คน วัดความยาวชิ้นงาน 10 ชิ้น โดยทุกชิ้นวัดโดยทุกคนหลายๆ ครั้ง โดยใชไมบรรทัด 1 อัน

ขอที่ : 267

จ ำ ห

เครื่องไมโครมิเตอรสําหรับวัดชิ้นงานไมเกิน 1 นิ้ว ใชสําหรับวัดเสนผานศูนยกลางของสกรู โดยคา Specification = Nominal ±0.002 นิ้ว วิศวกรเครื่องมือวัด

า้
ศึกษาความสามารถของเครื่องมือวัดโดยใชผูวัด 3 คน สกรูจํานวน 3 อัน โดยผูวัดแตละคนวัดสกรูแตละอัน 2 ครั้ง แสดงผลดังตาราง จงประมาณคา Repeatability

ิธ์ ห
Standard Deviation

ชิ้นที่ ผูวัดคนที่ 1 ผูวัดคนที่ 2 ผูวัดคนที่ 3


1 Mean = .34730 Mean = .34660

ส ิท Mean = .34715

2
Range = 0
Mean = .34710

ง ว น
Range = .0002
Mean = .34645
Range = .0001
Mean = .34710

Range = 0

อ ส Range = .0001 Range = 0

กร ข
3 Mean = .34720 Mean = .34655 Mean = .34710


Range = 0 Range = .0003 Range = 0

าว ศ

คําตอบ 1 : 0.000049
คําตอบ 2 : 0.000059


คําตอบ 3 : 0.000069


คําตอบ 4 : 0.000079

ขอที่ : 268

85 of 125
เครื่องไมโครมิเตอรสําหรับวัดชิ้นงานไมเกิน 1 นิ้ว ใชสําหรับวัดเสนผานศูนยกลางของสกรู โดยคา Specification = Nominal ±0.002 นิ้ว วิศวกรเครื่องมือวัดศึกษาความสามารถ
ของเครื่องมือวัดโดยใชผูวัด 3 คน สกรูจํานวน 3 อัน โดยผูวัดแตละคนวัดสกรูแตละอัน 2 ครั้ง แสดงผลดังตาราง จงคํานวณคา Reproducibility Standard Deviation
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.00029
คําตอบ 2 : 0.00039
คําตอบ 3 : 0.00049

ิท
คําตอบ 4 : 0.00059

นส

ขอที่ : 269

ส ง
เครื่องไมโครมิเตอรสําหรับวัดชิ้นงานไมเกิน 1 นิ้ว ใชสําหรับวัดเสนผานศูนยกลางของสกรู โดยคา Specification = Nominal ±0.002 นิ้ว วิศวกรเครื่องมือวัด


ศึกษาความสามารถของเครื่องมือวัดโดยใชผูวัด 3 คน สกรูจํานวน 3 อัน โดยผูวัดแตละคนวัดสกรูแตละอัน 2 ครั้ง แสดงผลดังตาราง จงหาคาสวนเบี่ยงเบน

กร ข
มาตรฐานของระบบวัด (Overall Measurement Standard Deviation) หรือ
ชิ้นที่ ผูวัดคนที่ 1 ผูวัดคนที่ 2 ผูวัดคนที่ 3

ิ ว
1 Mean = .34730 Mean = .34660 Mean = .34715

า ว ศ
Range = 0 Range = .0002 Range = .0001


2 Mean = .34710 Mean = .34645 Mean = .34710

3
ส Range = 0
Mean = .34720

Range = 0
Range = .0001
Mean = .34655

Range = .0003
Range = 0
Mean = .34710

Range = 0
คําตอบ 1 : 0.00015
คําตอบ 2 : 0.00020
86 of 125
คําตอบ 3 : 0.00030
คําตอบ 4 : 0.00040

ขอที่ : 270
เครื่องไมโครมิเตอรสําหรับวัดชิ้นงานไมเกิน 1 นิ้ว ใชสําหรับวัดเสนผานศูนยกลางของสกรู โดยคา Specification = Nominal ±0.002 นิ้ว วิศวกรเครื่องมือวัด
ศึกษาความสามารถของเครื่องมือวัดโดยใชผูวัด 3 คน สกรูจํานวน 3 อัน โดยผูวัดแตละคนวัดสกรูแตละอัน 2 ครั้ง แสดงผลดังตาราง จากขอมูลดังกลาว ทานจะ
ปรับปรุงระบบการวัดอยางไรเปนอันดับแรก

ชิ้นที่ ผูวัดคนที่ 1 ผูวัดคนที่ 2 ผูวัดคนที่ 3

่ า ย

1 Mean = .34730 Mean = .34660 Mean = .34715

Range = 0 Range = .0002 Range = .0001

จ ำ ห

2 Mean = .34710 Mean = .34645 Mean = .34710

า้
ิธ์ ห
Range = 0 Range = .0001 Range = 0
3 Mean = .34720 Mean = .34655 Mean = .34710

ิท
Range = 0 Range = .0003 Range = 0
คําตอบ 1 : อบรมพนักงานวัดเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัด

นส

คําตอบ 2 : บํารุงรักษาเครื่องมือไมโครมิเตอร


คําตอบ 3 : สอบเทียบเครื่องไมโครมิเตอร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

อ ส
ขอที่ : 271

กร ข

เครื่องไมโครมิเตอรสําหรับวัดชิ้นงานไมเกิน 1 นิ้ว ใชสําหรับวัดเสนผานศูนยกลางของสกรู โดยคา Specification = Nominal ±0.002 นิ้ว วิศวกรเครื่องมือวัด



ศึกษาความสามารถของเครื่องมือวัดโดยใชผูวัด 3 คน สกรูจํานวน 3 อัน โดยผูวัดแตละคนวัดสกรูแตละอัน 2 ครั้ง แสดงผลดังตาราง ถากําหนดให Gage

ภ าว
Capability Ratio มีคาเทากับ จงคํานวณหาคาอัตราสวนดังกลาว


ชิ้นที่ ผูวัดคนที่ 1 ผูวัดคนที่ 2 ผูวัดคนที่ 3
1 Mean = .34730 Mean = .34660 Mean = .34715

Range = 0 Range = .0002 Range = .0001


2 Mean = .34710 Mean = .34645 Mean = .34710

Range = 0 Range = .0001 Range = 0 87 of 125


3 Mean = .34720 Mean = .34655 Mean = .34710
Range = 0 Range = .0003 Range = 0

คําตอบ 1 : 0.60
คําตอบ 2 : 0.75
คําตอบ 3 : 0.83


คําตอบ 4 : 1.26

น่ า

ขอที่ : 272


เครื่องไมโครมิเตอรสําหรับวัดชิ้นงานไมเกิน 1 นิ้ว ใชสําหรับวัดเสนผานศูนยกลางของสกรู โดยคา Specification = Nominal 0.002 นิ้ว วิศวกรเครื่องมือวัดศึกษาความสามารถ


ของเครื่องมือวัดโดยใชผูวัด 3 คน สกรูจํานวน 3 อัน โดยผูวัดแตละคนวัดสกรูแตละอัน 2 ครั้ง แสดงผลดังตาราง ถากําหนดให Gage Capability Ratio มีคาเทากับ

า้ ม
ิธ์ ห
จากคาดังกลาว ทานคิดวาควรใชเครื่องไมโครมิเตอรวัดคุณภาพชิ้นงานในกระบวนการตอไปหรือไม
ชิ้นที่ ผูวัดคนที่ 1 ผูวัดคนที่ 2 ผูวัดคนที่ 3
1 Mean = .34730 Range = 0 Mean = .34660 Range = .0002 Mean = .34715 Range = .0001

ิท
2 Mean = .34710 Range = 0 Mean = .34645 Range = .0001 Mean = .34710 Range = 0


3 Mean = .34720 Range = 0 Mean = .34655 Range = .0003 Mean = .34710 Range = 0


คําตอบ 1 : ควร เนื่องจากคา GCR สูงเกินไป

ง ว
คําตอบ 2 : ควร เนื่องจากคา GCR ต่ําเกินไป


คําตอบ 3 : ไมควร เนื่องจากคา GCR สูงเกินไป


คําตอบ 4 : ไมควร เนื่องจากคา GCR ต่ําเกินไป

ขอที่ : 273

กร ข

ิ ว
ภ าว

88 of 125
ในการศึกษาความแมนยําของระบบการวัด (Gage R&R Study) สําหรับเครื่องวัดความแข็ง (Brinell Hardness) โดยผูวัดแตละคนวัดชิ้นงานจํานวน 2 ครั้ง ผลแสดงดังตาราง จง
ประมาณคา Repeatability Standard Deviation
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.024

ส ิท

คําตอบ 2 : 0.034


คําตอบ 3 : 0.044
คําตอบ 4 : 0.054

ส ง
ขอ
กร
ขอที่ : 274


ิ ว
ภ าว

89 of 125
ในการศึกษาความสามารถของระบบการวัด (Gage R&R Study) สําหรับเครื่องวัดความแข็ง (Brinell Hardness) โดยผูวัดแตละคนวัดชิ้นงานจํานวน 2 ครั้ง ผลแสดงดังตาราง จง
คํานวณคา Reproducibility Standard Deviation
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.000

ส ิท

คําตอบ 2 : 0.005


คําตอบ 3 : 0.010
คําตอบ 4 : 0.015

ส ง
ขอ
กร
ขอที่ : 275


ิ ว
ภ าว

90 of 125
ในการศึกษาความสามารถของระบบการวัด (Gage R&R Study) สําหรับเครื่องวัดความแข็ง (Brinell Hardness) โดยผูวัดแตละคนวัดชิ้นงานจํานวน 2 ครั้ง ผลแสดงดังตาราง จาก
ขอมูลดังกลาว ทานจะปรับปรุงระบบการวัดอยางไร
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : อบรมพนักงานวัดเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัด

ส ิท

คําตอบ 2 : บํารุงรักษาเครื่องวัดความแข็ง


คําตอบ 3 : สอบเทียบเครื่องวัดความแข็ง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ส ง
ขอ
กร
ขอที่ : 276
ในการศึกษาความสามารถของระบบการวัด (Gage R&R Study) สําหรับเครื่องวัดความแข็ง (Brinell Hardness) โดยผูวัดแตละคนวัดชิ้นงานจํานวน 2 ครั้ง ผลแสดงดังตาราง

ิ ว

ชิ้นที่ ผูวัดคนที่ 1 ผูวัดคนที่ 2 ผูวัดคนที่ 3

า ว
1 11
= 3.300 12
= 3.275 13
= 3.300

2
ส ภ R11 = 0

21
= 3.225
R12 = .050

22
= 3.250
R13 = 0

23
= 3.225

R21 = .050 R22 = .100 R23 = .150


3 31
= 3.250 32
= 3.200 33
= 3.225

R31 = .100 R32 = 0 R33 = .050 91 of 125


4 41
= 3.275 42
= 3.225 43
= 3.200

R41 = .050 R42 = .050 R43 = 0

ถากําหนดให Gage Capability Ratio มีคาเทากับ และคา Specification มีคาเทากับ 3.250 ± 0.100 มม.จงคํานวณหาคาอัตราสวนดังกลาว


คําตอบ 1 : 0.93

่ า
คําตอบ 2 : 1.01


คําตอบ 3 : 1.13


คําตอบ 4 : 1.40

จ ำ
า้ ม
ขอที่ : 277

ิธ์ ห
จากขอมูลโครงงานนักศึกษาโดยมีจุดประสงคเพื่อศึกษาระบบการวัด (Gage R&R) ขอมูลแสดงดังตารางโดยเครื่องมือวัด คือ เครื่องวัดความแข็ง (Brinell Hardness) ผูวัดแตละคน
วัดชิ้นงาน 2 ครั้ง

ิท
ชิ้นที่ ผูวัดคนที่ 1 ผูวัดคนที่ 2 ผูวัดคนที่ 3


1 11
= 3.300 12
= 3.275 13
= 3.300

R11 = 0


R12 = .050

ง น R13 = 0


2 21
= 3.225 22
= 3.250 23
= 3.225

ขอ
กร
R21 = .050 R22 = .100 R23 = .150
3 = 3.250 = 3.200 = 3.225

ิ ว
31 32 33

ว ศ
R31 = .100 R32 = 0 R33 = .050


4 = 3.275 = 3.225 = 3.200


41 42 4 3

ส R41 = .050

ถากําหนดให Gage Capability Ratio มีคาเทากับ


R42 = .050 R43 = 0

และคา Specification มีคาเทากับ 3.250 ± 0.100 มม.จากคาดังกลาว ทานคิดวาควรใชเครื่องมือ


ชุดนี้วัดคุณภาพชิ้นงานในกระบวนการตอไปหรือไม
คําตอบ 1 : ควร เนื่องจากคา GCR สูงเกินไป
คําตอบ 2 : ควร เนื่องจากคา GCR ต่ําเกินไป 92 of 125

คําตอบ 3 : ไมควร เนื่องจากคา GCR สูงเกินไป


คําตอบ 4 : ไมควร เนื่องจากคา GCR ต่ําเกินไป

ขอที่ : 278
แผนกเครื่องมือวัดของบริษัทผลิต Glass Disk ศึกษาความสามารถของเครื่องมือวัด Optical Gage เพื่อใชวัดเสนผานศูนยกลางของชิ้นสวนพลาสติก จากการ
ศึกษา คํานวณคา Repeatability= 1.05 x 10-3 นิ้ว และ Reproducibility = 1.29 x 10-3 นิ้ว (ศึกษาโดยใชชิ้นงานจํานวน 15 ชิ้น ผูวัด 2 คน โดยผูวัดแตละคนวัด


ซ้ําชิ้นงานละ 3 ครั้ง) จงคํานวณหาคา

คําตอบ 1 :

น่ า
คําตอบ 2 :

จ ำ ห
คําตอบ 3 :

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 279

ส ิท

แผนกเครื่องมือวัดของบริษัทผลิต Glass Disk ศึกษาความสามารถของเครื่องมือวัด Optical Gage เพื่อใชวัดเสนผานศูนยกลางของชิ้นสวนพลาสติก จากการ

ง ว
ศึกษา คํานวณคา Repeatability = 1.05 x 10-3 นิ้ว และ Reproducibility = 1.29 x 10-3 นิ้ว (ศึกษาโดยใชชิ้นงานจํานวน 15 ชิ้น ผูวัด 2 คน โดยผูวัดแตละคนวัด


ซ้ําชิ้นงานละ 3 ครั้ง) กําหนดใหคา Specification ของชิ้นงานมีคาเทากับ 0.502 ± 0.002 นิ้ว จงคํานวณหา Gage Capability Ratio
คําตอบ 1 : 0.415

ขอ
กร
คําตอบ 2 : 1.35


คําตอบ 3 : 2.49



คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 280

ภ าว

แผนกเครื่องมือวัดของบริษัทผลิต Glass Disk ศึกษาความสามารถของเครื่องมือวัด Optical Gage เพื่อใชวัดเสนผานศูนยกลางของชิ้นสวนพลาสติก จากการ
ศึกษา คํานวณคา Repeatability = 1.05 x 10-3 นิ้ว และ Reproducibility = 1.29 x 10-3 นิ้ว (ศึกษาโดยใชชิ้นงานจํานวน 15 ชิ้น ผูวัด 2 คน โดยผูวัดแตละคนวัด

ซ้ําชิ้นงานละ 3 ครั้ง) กําหนดใหคา Specification ของชิ้นงานมีคาเทากับ 0.502 ± 0.002 นิ้ว ถากําหนดให Gage Capability Ratio มีคาเทากับ
จากคาดังกลาว ทานคิดวาควรใชเครื่องมือวัดดังกลาววัดคุณภาพชิ้นงานในกระบวนการตอไปหรือไม
คําตอบ 1 : ควร เนื่องจากคา GCR สูง 93 of 125
คําตอบ 2 : ควร เนื่องจากคา GCR ต่ํา
คําตอบ 3 : ไมควร เนื่องจากคา GCR สูง
คําตอบ 4 : ไมควร เนื่องจากคา GCR ต่ํา

ขอที่ : 281
ชิ้นสวนจากกระบวนการผลิตเดียวกันจํานวน 10 ชิ้น และแตละชิ้นวัดลักษณะทางคุณภาพซ้ํา 3 ครั้ง โดยผูวัดคนเดียวกัน และเครื่องมือวัดเดียวกันเพื่อศึกษาการวิเคราะหระบบการวัด
(Gauge Capability Study)ผลการศึกษา ไดดังนี้

ชิ้นงานชิ้นที่ การวัดครั้งที่

่ า ย

1 2 3


1 100 101 100

จ ำ
2 95 93 997


3 101 103 100

า้
4 96 95 97

ิธ์ ห
5 98 98 96
6 99 98 98
7 95 97 98

ิท
8 100 99 98


9 100 100 97


10 100 98 99

จงคํานวณคาความแปรปรวนรวมที่เกิดขึ้นทั้งหมด ( 2total)

ง ว
คําตอบ 1 : 3.73

อ ส
กร ข
คําตอบ 2 : 4.22
คําตอบ 3 : 4.72


คําตอบ 4 : 6.58

าว ศ


ขอที่ : 282


ชิ้นสวนจากกระบวนการผลิตเดียวกันจํานวน 10 ชิ้น และแตละชิ้นวัดลักษณะทางคุณภาพซ้ํา 3 ครั้ง โดยผูวัดคนเดียวกัน และเครื่องมือวัดเดียวกันเพื่อศึกษาการวิเคราะหระบบการวัด
(Gauge Capability Study)ผลการศึกษา ไดดังนี้

ชิ้นงานชิ้นที่ การวัดครั้งที่
1 2 3
1 100 101 100
2 95 93 997
3 101 103 100 94 of 125
4 96 95 97
5 98 98 96
6 99 98 98
7 95 97 98
8 100 99 98
9 100 100 97
10 100 98 99

ถากําหนดคาสเปคของชิ้นสวน คือ 100 ± 15 จงคํานวณหาคา P/T

่ า ย
คําตอบ 1 : 0.22

หน

คําตอบ 2 : 0.27


คําตอบ 3 : 0.87

า้ ม
คําตอบ 4 : 1.15

ิธ์ ห
ขอที่ : 283

ิท
ในการทดสอบ Precision ในการวัดซ้ํา (Repeatability) โดยใชเครื่องมือหนึ่ง ไดใหผูวัด 1 คน วัดชิ้นงาน 20 ชิ้น ชิ้นละ 2 ครั้ง เมื่อคํานวณผล ไดคา = 22.3


และ = 1.0 จงหาคา Repeatability

ว น
คําตอบ 1 : 0.57


คําตอบ 2 : 0.89


คําตอบ 3 : 1.0


คําตอบ 4 : 1.13

กร ข
ิ ว
ขอที่ : 284


วัดชิ้นสวน 20 ชิ้น โดยแตละชิ้นวัดซ้ํา 2 ครั้ง โดยผูวัดคนเดียวใชเครื่องมือ ไดผลดังตาราง

าว
ชิ้นงาน วัดครั้งที่ R


1 2


1 21 20 20.5 1
2 24 23 23.5 1
3 20 21 20.5 1
4 27 27 27 0
5 19 18 28.5 1
6 23 21 22 2
7 22 21 21.5 1
8 19 17 18 2
95 of 125
9 24 23 23.5 1
10 25 23 24 2
11 21 20 20.5 1
12 18 19 18.5 1
13 23 25 24 2
14 24 24 24 0
15 29 30 29.5 1
16 26 26 26 0
17 29 20 20 0


18 19 21 20 2

่ า
19 25 26 25.5 1


20 19 19 19 0


= 1.0


= 22.3

จงคํานวณหาคาความแปรปรวนที่เกิดขึ้นจากผลิตภัณฑ ( 2product)

มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 11.03
คําตอบ 2 : 3.32
คําตอบ 3 : 10.24

ิท
คําตอบ 4 : 3.20

นส
ง ว
ขอที่ : 285


ขอใด คือ คุณสมบัติทางดาน precision ของระบบการวัด


คําตอบ 1 : Bias

กร ข
คําตอบ 2 : Stability
คําตอบ 3 : Linearity


คําตอบ 4 : Reproducibility

ขอที่ : 286

าว ศ

ส ภ
จงพิจารณา Double Sampling Plan n = 50, c = 1, n = 100, c = 5 ขอใดถูกตองที่สุด
1 1 2 2
คําตอบ 1 : ถามีของเสีย 6 ชิ้นขึ้นไปในกลุมตัวอยางที่สอง ใหปฏิเสธ (reject) สินคาทั้ง lot
คําตอบ 2 : ถามีของเสียนอยกวา 4 ชิ้นในกลุมตัวอยางแรก ใหรับ (accept) สินคาทั้ง lot
คําตอบ 3 : ถามีของเสียเปน 2 หรือ 3 ในกลุมตัวอยางแรก ใหดําเนินการสุมและตรวจกลุมตัวอยางที่สอง กอนที่จะทําการสรุปใหรับ (accept) หรือ ปฏิเสธ (reject) สินคา lot นั้นๆ
ถามีของเสียเปน 1, 2, 3, 4 หรือ 5 ในกลุมตัวอยางแรก ใหดําเนินการสุมและตรวจกลุมตัวอยางที่สอง กอนที่จะทําการสรุปใหรับ (accept) หรือ ปฏิเสธ (reject) สินคา
คําตอบ 4 :
lot นั้นๆ
96 of 125

ขอที่ : 287
ขอใดถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : Type A OC curve ใหความนาจะเปนที่เราปฏิเสธ lot ทั้งจริงแลวเราควรจะยอมรับ
คําตอบ 2 : Type A OC curve ใหความนาจะเปนที่เรายอมรับ lot ทั้งจริงแลวเราควรจะปฏิเสธ
คําตอบ 3 : Type A OC curve ทําใหเราสามารถหา producer’s risk ได
คําตอบ 4 : Type A OC curve แสดงความนาจะเปนในการยอมรับ lot มีพื้นฐานการคํานวณมาจาก hypergeometric distribution

่ า ย
ขอที่ : 288


จากแผนชักตัวอยางเชิงคูตอไปนี้

n1 = 80 c1 = 2

จ ำ ห
า้ ม
n2 = 80 c2 = 6

ิธ์ ห
กําหนดใหสัดสวนของเสียเทากับ 0.03 จงหาความนาจะเปนในการยอมรับลอต
คําตอบ 1 : 0.2548

ิท
คําตอบ 2 : 0.3152

นส
คําตอบ 3 : 0.5700


คําตอบ 4 : 0.8248

ส ง

ขอที่ : 289


ขอใดตอไปนี้ไมใชตัวประเมินสมรรถนะของแผนการชักตัวอยางเพื่อการยอมรับ

กร
คําตอบ 1 : AOQ


คําตอบ 2 : AQL

าว ศ

คําตอบ 3 : ASN
คําตอบ 4 : ATI

ขอที่ : 290
ส ภ
แผนการสุมตัวอยางแบงเปน 2 แบบใหญๆ คือ
คําตอบ 1 : แบบสุมตัวอยางครั้งเดียว และแบบสุมตัวอยางหลายครั้ง
คําตอบ 2 : แบบสุมตัวอยางเพื่อการยอมรับรุน และแบบสุมตัวอยางเพื่อการปฏิเสธรุน
คําตอบ 3 : แบบสุมตัวอยางเชิงลักษณ (หนวยนับ) และแบบสุมตัวอยางเชิงแปร (หนวยวัด)
คําตอบ 4 : แบบสุมตัวอยางตามจํานวน และแบบสุมตัวอยางตามเวลา
97 of 125
ขอที่ : 291
เสนโคง OC หมายถึง
คําตอบ 1 : เสนโคงเพื่อแสดงวาจะยอมรับสินคาไดเวลาใด
คําตอบ 2 : เสนโคงแสดงความสัมพันธระหวางเปอรเซ็นตการยอมรับกับขนาดรุน
คําตอบ 3 : เสนโคงแสดงความสัมพันธระหวางเปอรเซ็นตการยอมรับกับจํานวนครั้งที่สุมตัวอยาง
คําตอบ 4 : เสนโคงแสดงความสัมพันธระหวางเปอรเซ็นตการยอมรับกับเปอรเซ็นตของเสีย

่ า ย

ขอที่ : 292


คาความเสี่ยงของผูบริโภค (consumer’s risk) สําหรับการออกแบบแผนชักตัวอยางคือ

จ ำ
คําตอบ 1 : โอกาสที่ยอมรับของเสีย ทั้งๆ ที่ควรปฏิเสธ เปนแบบ Type II error


คําตอบ 2 : โอกาสที่ปฏิเสธของดี ทั้งๆ ที่ควรยอมรับ เปนแบบ Type I error

า้
คําตอบ 3 : คุณภาพสินคาที่ฝายผูบริโภคอนุโลมยอมรับได

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ิท
ขอที่ : 293


ประโยชนของการใช Rectifying Single Sampling คือ

ว น
คําตอบ 1 : ไดสุมตัวอยางอีกครั้งหนึ่ง หากมีการปฏิเสธเกิดขึ้น


คําตอบ 2 : สุมตัวอยางครั้งเดียว แตสามารถปรับคา (n,c) ตามประเภทลูกคาได 3 แบบ


คําตอบ 3 : เหมาะกับสินคาที่มีขนาดรุนมากๆ เพราะสามารถลดคา (n,c) ได


คําตอบ 4 : ไมตองปฏิเสธสินคาทั้งรุน แตใหตรวจสอบ 100% เมื่อมีตัวอยางที่สุมถูกปฏิเสธ

กร ข

ขอที่ : 294



จุดเดนของ Military Standard 105E คือ

าว
คําตอบ 1 : งายตอการใชเพราะสามารถหาแผนการสุมตัวอยางไดจากการเปดตาราง


คําตอบ 2 : สามารถหากลยุทธในการเลือกแผนการสุมตัวอยาง เหมาะสมกับอุตสาหกรรมผลิตอาวุธ


คําตอบ 3 : เปนตารางกําหนดมาตรฐานสินคา ใชไดกับอุตสาหกรรมทั่วไป ไมจําเพาะกับของกรมทหาร
คําตอบ 4 : เพียงรูรหัสอักษรก็สามารถหาเปอรเซ็นตของเสียได

ขอที่ : 295
AQL คือ
คําตอบ 1 : ระดับคุณภาพที่ต่ําที่สุดสําหรับกระบวนการที่ผูผลิตคาดวาผูซื้อจะพิจารณาวายังคงยอมรับได
98 of 125
คําตอบ 2 : ระดับคุณภาพที่แยที่สุดสําหรับกระบวนการของผูจําหนายที่ผูซื้อยินดีจะยอมรับในแตละลอต
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ผิด

ขอที่ : 296
ขอใดถูกตองในการเลือกแผนการสุมตัวอยาง
คําตอบ 1 : ขอมูลที่ไดจาก Go-No Go Gage ใชแผนการสุมตัวอยางแบบ Attribute
คําตอบ 2 : เสนผานศูนยกลางของกระบอกสูบ ใชแผนการสุมตัวอยางแบบ Attribute

่ า ย

คําตอบ 3 : จํานวนตําหนิที่เกิดขึ้นบนกระดาษ ใชแผนสุมตัวอยางแบบ Variable


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

จ ำ

ขอที่ : 297
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : แผนการสุมตัวอยางสําหรับขอมูลแบบหนวยนับตองใชจํานวนตัวอยางนอยกวาแบบหนวยวัด
คาใชจายตอชิ้นในการตรวจนับสําหรับแผนการสุมตัวอยางสําหรับขอมูลแบบหนวยนับนอยกวาคาใชจายตอชิ้นในการตรวจวัดสําหรับแผนการสุมตัวอยางสําหรับขอมูล
คําตอบ 2 :

ิท
แบบหนวยวัด


คําตอบ 3 : ขอมูลที่ไดจากแผนการสุมตัวอยางสําหรับขอมูลแบบหนวยนับมีคุณคานอยกวาขอมูลที่ไดจากแผนการสุมตัวอยางสําหรับขอมูลแบบหนวยวัด


คําตอบ 4 : แผนการสุมตัวอยางสําหรับขอมูลแบบหนวยวัดเหมาะสําหรับชิ้นสวนที่มีราคาแพง

ง ว

ขอที่ : 298

ขอ
สําหรับแผนการสุมตัวอยางแบบหนวยนับที่กําหนดให n = 62, c = 5 ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง

กร
คําตอบ 1 : จะมีการสุมตัวอยางขึ้นมาจํานวน 62 ชิ้น แลวตรวจดู ถาพบของเสียไมเกิน 5 ชิ้น จะยอมรับสินคานั้นทั้งลอต


คําตอบ 2 : จะมีการสุมตัวอยางขึ้นมาจํานวน 62 ชิ้น แลวตรวจดู ถาพบของเสียตั้งแต 5 ชิ้น จะไมยอมรับสินคานั้นทั้งลอต



คําตอบ 3 : จะมีการสุมตัวอยางขึ้นมาจํานวน 62 ชิ้น แลวตรวจดู ถาพบของเสียมากกวา 5 ชิ้น จะไมยอมรับสินคานั้นทั้งลอต

าว
คําตอบ 4 : จะมีการสุมตัวอยางขึ้นมาจํานวน 62 ชิ้น แลวตรวจดู ถาพบของเสีย 5 ชิ้น จะยอมรับสินคานั้นทั้งลอต

ขอที่ : 299

ส ภ
สถานการณใดตอไปนี้ถือเปน Type I error (α) ในการใช sampling plan ตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ
คําตอบ 1 : ผลิตภัณฑเปน lot ที่ดี สุมตัวอยางแลวยอมรับ lot นั้น
คําตอบ 2 : ผลิตภัณฑเปน lot ที่ดี สุมตัวอยางแลวไมยอมรับ lot นั้น
คําตอบ 3 : ผลิตภัณฑเปน lot ที่ไมดี สุมตัวอยางแลว ยอมรับ lot นั้น
คําตอบ 4 : ผลิตภัณฑเปน lot ที่ไมดี สุมตัวอยางแลวไมยอมรับ lot นั้น
99 of 125
ขอที่ : 300
สถานการณใดตอไปนี้ถือเปน Type II error (β) ในการใช sampling plan ควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ
คําตอบ 1 : ผลิตภัณฑเปน lot ที่ดี สุมตัวอยางแลวยอมรับ (accept) lot นั้น
คําตอบ 2 : ผลิตภัณฑเปน lot ที่ดี สุมตัวอยางแลวไมยอมรับ (reject) lot นั้น
คําตอบ 3 : ผลิตภัณฑเปน lot ที่ไมดี สุมตัวอยางแลว ยอมรับ (accept) lot นั้น
คําตอบ 4 : ผลิตภัณฑเปน lot ที่ไมดี สุมตัวอยางแลวไมยอมรับ (reject) lot นั้น

่ า ย

ขอที่ : 301


ในการตรวจสอบคุณภาพดวยมาตรฐาน MIL-STD 105E โดยใชแผนการชักสิ่งตัวอยางเชิงเดี่ยวแบบปกติ ดวยระดับ AQL 0.65% ขนาดลอต 800 ที่ระดับการตรวจสอบ S-3 ควรมี


แผนการตรวจสอบประการใด

มจ
คําตอบ 1 : n = 80 Ac = 1 และ Re = 2

า้
คําตอบ 2 : n = 13 Ac = 0 และ Re = 1

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : n = 20 Ac = 0 และ Re = 1
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 302

ส ิท

ในกรณีทําการตรวจสอบลอตที่ไมคุนเคยควรใชแผนการตรวจสอบประเภทใด
คําตอบ 1 : AQL plan

ง ว

คําตอบ 2 : LTPD plan


คําตอบ 3 : MIL-STD 105E

กร ข
คําตอบ 4 : MIL-STD 414

ขอที่ : 303


ิ ว
าว
ขอความใดอธิบายถึงความหมายของ AOQ ไดถูกตองที่สุด


คําตอบ 1 : ระดับคุณภาพหลังการตรวจสอบที่ดีที่สุด


คําตอบ 2 : ขนาดตัวอยางของการตรวจสอบ
คําตอบ 3 : ขนาดตัวอยางที่ทําการตรวจสอบโดยเฉลี่ย
คําตอบ 4 : ระดับคุณภาพโดยเฉลี่ยสําหรับลอตใด ๆ ภายหลังการตรวจสอบ

ขอที่ : 304
ในการตรวจสอบคุณภาพแบบลอตตอลอตดวยมาตรฐาน MIL-STD-105E ดวยระดับ AQL 0.15% และขนาดลอต 550 หนวยแลว ถามวาในการตรวจสอบดวยแผนการชักตัวอยาง
เชิงเดี่ยวแบบปกติเเลว ยอมรับติดตอกันกี่ลอต จึงสามารถเปลี่ยนไปใชแผนการชักตัวอยางเชิงเดียวแบบผอนคลายได 100 of 125

คําตอบ 1 : 10 ลอต
คําตอบ 2 : 15 ลอต
คําตอบ 3 : 16 ลอต
คําตอบ 4 : ไมสามารถกําหนดได ขึ้นกับนโยบายของฝายบริหาร

ขอที่ : 305
Military Standard 105 E คือขอใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุมตัวอยางเมื่อขอมูลเปนแบบหนวยนับ (attribute)

่ า ย

คําตอบ 2 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุมตัวอยางเมื่อขอมูลเปนแบบหนวยวัด (variable)


คําตอบ 3 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุมตัวอยางเดี่ยว

จ ำ
คําตอบ 4 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุมตัวอยางคูและหมู

ขอที่ : 306

า้ ม
ิธ์ ห
Military Standard 414 คือขอใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุมตัวอยางเมื่อขอมูลเปนแบบหนวยนับ (attribute)

ิท
คําตอบ 2 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุมตัวอยางเมื่อขอมูลเปนแบบหนวยวัด (variable)


คําตอบ 3 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุมตัวอยางเดี่ยว

ว น
คําตอบ 4 : คือมาตรฐานทหารสําหรับแผนการสุมตัวอยางคูและหมู

ส ง

ขอที่ : 307


ถาใชแผนการสุมเพื่อการยอมรับแบบ Single Sampling Plan ที่มี n = 89, c = 1 ในการตรวจสอบชิ้นงานที่ผลิตจากกระบวนการผลิตที่มีสัดสวนของเสียตอรุนเทากับ 0.02 จะมี

กร
โอกาสในการยอมรับของแตละ lot เทาไร


คําตอบ 1 : 0.4664



คําตอบ 2 : 0.5664

าว
คําตอบ 3 : 0.6664


คําตอบ 4 : 0.7774

ขอที่ : 308

ถาใชแผนการสุมเพื่อการยอมรับแบบ Single Sampling Plan ที่มี n, c ในการตรวจสอบชิ้นงานที่ผลิตจากกระบวนการผลิตที่มีสัดสวนของเสียตอรุนเทากับ p ถาขนาดของ c เพิ่มขึ้น
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : เวลาในการตรวจสอบจะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : โอกาสในการยอมรับ Lot จะต่ําลง
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพของแผนการสุมจะสูงขึ้น 101 of 125
คําตอบ 4 : Customer's risk จะสูงขึ้น
ขอที่ : 309
แผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (n = 80 และ c = 1) จงคํานวณหาคาความนาจะเปนที่จะยอมรับผลิตภัณฑรุนนั้น (Pa = Probability acceptance) ถาระดับคุณภาพของผลิตภัณฑมีคา
p = 0.12
คําตอบ 1 : 0.00043
คําตอบ 2 : 0.00047


คําตอบ 3 : 0.00051

่ า
คําตอบ 4 : 0.00053

หน

ขอที่ : 310


แผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (n = 560 และ c = 21) จงคํานวณหาคาความนาจะเปนที่จะยอมรับผลิตภัณฑรุนนั้น (Pa = Probability acceptance) ถาระดับคุณภาพของผลิตภัณฑมี

า้ ม
คา p = 0.05

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.05
คําตอบ 2 : 0.10
คําตอบ 3 : 0.24

ิท
คําตอบ 4 : 0.26

นส

ขอที่ : 311

ส ง
แผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (n = 6 และ c = 1) โดยจํานวนผลิตภัณฑตอรุนคือ 50 (N=50) จงคํานวณหาคาความนาจะเปนที่จะปฏิเสธของลอตนั้น ถากําหนดใหจํานวนของเสียใน


ลอตนั้นเทากับ 8 ชิ้น


คําตอบ 1 : 0.12

กร
คําตอบ 2 : 0.24


คําตอบ 3 : 0.52



คําตอบ 4 : 0.76

ขอที่ : 312

ภ าว

แผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (n = 30 และ c = 5) โดยจํานวนผลิตภัณฑตอรุนคือ 500 (N=500) ถากําหนดระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ p = 0.08 จงคํานวณหาคาความนาจะเปนที่
จะไมพบของเสียจํานวน 2 หรือ 4 ตัวอยาง จากการสุมตัวอยาง (กําหนดใหใชการแจกแจงแบบทวินาม)
คําตอบ 1 : 0.13
คําตอบ 2 : 0.24
คําตอบ 3 : 0.27
คําตอบ 4 : 0.60
102 of 125
ขอที่ : 313
แผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (n = 30 และ c = 5) โดยจํานวนผลิตภัณฑตอรุนคือ 500 (N=500) ถากําหนดระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ p = 0.08 จงหาคาความนาจะเปนที่จะยอม
รับผลิตภัณฑลอตนั้น (กําหนดใหใชการแจกแจงแบบปวซอง)
คําตอบ 1 : 0.04
คําตอบ 2 : 0.64
คําตอบ 3 : 0.87


คําตอบ 4 : 0.96

น่ า

ขอที่ : 314


จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกรหัสแผนการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเพื่อใชสําหรับตรวจสอบชิ้นสวนกอนเขาโรงงาน โดย N = 5000 และ


AQL = 0.65% โดยใชแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (Reduced Sampling Plan)

า้ ม
คําตอบ 1 : Code J

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : Code M
คําตอบ 3 : Code L
คําตอบ 4 : Code I

ส ิท

ขอที่ : 315


แผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (n = 60 และ c = 2) จงคํานวณหาคา Pa (Probability acceptance) ถาระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ p = 0.06
คําตอบ 1 : 0.06

ส ง

คําตอบ 2 : 0.14


คําตอบ 3 : 0.29

กร
คําตอบ 4 : 0.94


ิ ว
าว
ขอที่ : 316
แผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (n = 500 และ c = 20) จงคํานวณหาคาความนาจะเปนที่จะยอมรับของรุนนี้ ถาระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ p = 0.06

ส ภ
คําตอบ 1 : 0.035
คําตอบ 2 : 0.064
คําตอบ 3 : 0.282
คําตอบ 4 : 0.791

ขอที่ : 317
แผนการสุมตัวอยางเชิงคู (n = 20, n = 40, c = 0 และ c = 2) ถาสัดสวนของเสียตอรุน (p) มีคาเทากับ 0.02 จงคํานวณหาคา ASN (Average Sample Numbers)
103 of 125
1 2 1 2
คําตอบ 1 : 20
คําตอบ 2 : 32
คําตอบ 3 : 44
คําตอบ 4 : 53

ขอที่ : 318

่ า ย
I
แผนการสุมตัวอยางเชิงคู (n = 40, n = 80, c = 1 และ c = 4) ถากําหนดใหระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ p = 0.05 จงคํานวณหาคา P
1 2 1 2 a
คําตอบ 1 : 0.05

หน

คําตอบ 2 : 0.29


คําตอบ 3 : 0.40

า้ ม
คําตอบ 4 : 0.45

ิธ์ ห
ขอที่ : 319
II

ิท
แผนการสุมตัวอยางเชิงคู (n = 40, n = 80, c = 1 และ c = 4) ถากําหนดใหระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ p = 0.05 จงคํานวณหาคา P
1 2 1 2 a


คําตอบ 1 : 0.082

ว น
คําตอบ 2 : 0.090


คําตอบ 3 : 0.238


คําตอบ 4 : 0.281

ขอ
กร
ขอที่ : 320


จงคํานวณหาแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยวที่เหมาะสม (Normal Sampling Plan) สําหรับตรวจสอบผลิตภัณฑที่มีขนาดรุน N = 3000 และ AQL = 1% จากตาราง MIL STD 105



E (General Inspection Level II)

าว
คําตอบ 1 : (n = 50, Ac = 1, Re = 4)


คําตอบ 2 : (n = 125, Ac = 2, Re = 3)


คําตอบ 3 : (n = 125, Ac = 3, Re = 4)
คําตอบ 4 : (n = 150, Ac = 2, Re = 3)

ขอที่ : 321
จงคํานวณหาแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยวที่เหมาะสม (Tightened Sampling Plan) สําหรับตรวจสอบผลิตภัณฑที่มีขนาดรุน N = 3000 และ AQL = 1% จากตาราง MIL STD
105 E (General Inspection Level II)
คําตอบ 1 : (n = 50, Ac = 1, Re = 4) 104 of 125

คําตอบ 2 : (n = 125, Ac = 2, Re = 3)
คําตอบ 3 : (n = 125, Ac = 3, Re = 4)
คําตอบ 4 : (n = 150, Ac = 2, Re = 3)

ขอที่ : 322
จงคํานวณหาแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยวที่เหมาะสม (Reduced Sampling Plan) สําหรับตรวจสอบผลิตภัณฑที่มีขนาดรุน N = 3000 และ AQL = 1% จากตาราง MIL STD
105 E (General Inspection Level II)

่ า ย
คําตอบ 1 : (n = 50, Ac = 1, Re = 4)


คําตอบ 2 : (n = 125, Ac = 2, Re = 3)


คําตอบ 3 : (n = 125, Ac = 3, Re = 4)


คําตอบ 4 : (n = 150, Ac = 2, Re = 3)

มจ
า้
ขอที่ : 323

ิธ์ ห
จงคํานวณหาแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยวที่เหมาะสม (Normal Sampling Plan) สําหรับตรวจสอบผลิตภัณฑที่มีขนาดรุน N = 5000 และ AQL = 0.1% จากตาราง MIL STD
105 E (General Inspection Level II)

ิท
คําตอบ 1 : (n = 125, Ac = 0, Re = 1)


คําตอบ 2 : (n = 200, Ac = 0, Re = 1)


คําตอบ 3 : (n = 50, Ac = 0, Re = 1)

ง ว
คําตอบ 4 : (n = 50, Ac = 0, Re = 2)

ขอที่ : 324

อ ส
กร ข
จงคํานวณหาแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยวที่เหมาะสม (Tightened Sampling Plan) สําหรับตรวจสอบผลิตภัณฑที่มีขนาดรุน N = 5000 และ AQL = 0.1% จากตาราง MIL STD
105 E (General Inspection Level II)


คําตอบ 1 : (n = 125, Ac = 0, Re = 1)
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

(n = 200, Ac = 0, Re = 1)
(n = 50, Ac = 0, Re = 1)


คําตอบ 4 : (n = 50, Ac = 0, Re = 2)

ขอที่ : 325 ส
จงคํานวณหาแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยวที่เหมาะสม (Reduced Sampling Plan) สําหรับตรวจสอบผลิตภัณฑที่มีขนาดรุน N = 5000 และ AQL = 0.1% จากตาราง MIL STD
105 E (General Inspection Level II)
คําตอบ 1 : (n = 125, Ac = 0, Re = 1)
คําตอบ 2 : (n = 200, Ac = 0, Re = 1) 105 of 125
คําตอบ 3 : (n = 50, Ac = 0, Re = 1)
คําตอบ 4 : (n = 50, Ac = 0, Re = 2)

ขอที่ : 326
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกแผนการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเพื่อใชสําหรับตรวจสอบชิ้นสวนกอนเขาโรงงาน โดย N = 5000 และ AQL =
0.65% โดยใชแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (Normal Sampling Plan)
คําตอบ 1 : (n = 200, Ac = 3, Re = 4)

่ า ย
คําตอบ 2 : (n = 200, Ac = 2, Re = 3)


คําตอบ 3 : (n = 100, Ac = 1, Re = 4)


คําตอบ 4 : (n = 80, Ac = 1, Re = 3)

จ ำ

ขอที่ : 327

า้
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกแผนการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเพื่อใชสําหรับตรวจสอบชิ้นสวนกอนเขาโรงงาน โดย N = 5000 และ AQL =

ิธ์ ห
0.65% โดยใชแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (Tightened Sampling Plan)
คําตอบ 1 : (n = 200, Ac = 3, Re = 4)

ิท
คําตอบ 2 : (n = 200, Ac = 2, Re = 3)


คําตอบ 3 : (n = 100, Ac = 1, Re = 4)


คําตอบ 4 : (n = 80, Ac = 1, Re = 3)

ง ว

ขอที่ : 328


จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกแผนการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเพื่อใชสําหรับตรวจสอบชิ้นสวนกอนเขาโรงงาน โดย N = 5000 และ AQL =

กร ข
0.65% โดยใชแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (Reduced Sampling Plan)
คําตอบ 1 : (n = 200, Ac = 3, Re = 4)


คําตอบ 2 : (n = 200, Ac = 2, Re = 3)
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

าว ศ

(n = 80, Ac = 1, Re = 4)
(n = 80, Ac = 1, Re = 3)

ขอที่ : 329
ส ภ
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level III) จงเลือกรหัสแผนการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเพื่อใชสําหรับตรวจสอบชิ้นสวนกอนเขาโรงงาน โดย N = 5000 และ
AQL = 0.65% โดยใชแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (Reduced Sampling Plan)
คําตอบ 1 : Code J
คําตอบ 2 : Code M
คําตอบ 3 : Code L
106 of 125
คําตอบ 4 : Code I
ขอที่ : 330
จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level II) จงเลือกรหัสแผนการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเพื่อใชสําหรับตรวจสอบชิ้นสวนกอนเขาโรงงาน โดย N = 50000 และ
AQL = 0.65% โดยใชแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (Normal Sampling Plan)
คําตอบ 1 : Code L
คําตอบ 2 : Code M


คําตอบ 3 : Code N

่ า
คําตอบ 4 : Code P

หน

ขอที่ : 331


จากตาราง MIL STD 105E (General Inspection Level III) จงเลือกรหัสแผนการสุมตัวอยางที่เหมาะสมเพื่อใชสําหรับตรวจสอบชิ้นสวนกอนเขาโรงงาน โดย N = 5000 และ

า้ ม
AQL = 0.65% โดยใชแผนการสุมตัวอยางเชิงเดี่ยว (Tightened Sampling Plan)

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Code L
คําตอบ 2 : Code M
คําตอบ 3 : Code N

ิท
คําตอบ 4 : Code P

นส

ขอที่ : 332

ส ง
จากตาราง MIL STD 105E ขอใดถูกตองสําหรับรหัสตรวจสอบทั่วไป (General Inspection Level) I, II และ III ภายใตการตรวจสอบสินคาที่มีขนาดรุนเทากัน


คําตอบ 1 : ขนาดตัวอยางในแผนการสุมไมตางกัน


คําตอบ 2 : ขนาดตัวอยางในแผนการตรวจสอบทั่วไป (General Inspection Level) I สูงกวา ระดับ II

กร
คําตอบ 3 : ขนาดตัวอยางในแผนการตรวจสอบทั่วไป (General Inspection Level) II สูงกวา ระดับ III


คําตอบ 4 : ขนาดตัวอยางในแผนการตรวจสอบทั่วไป (General Inspection Level) III สูงกวา ระดับ I

ขอที่ : 333

าว ศ


จากตาราง MIL STD 105E ทานจะตัดสินใจใชระดับการตรวจพิเศษ (Special Sampling Plan) เมื่อใด


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
สินคาที่ตรวจสอบมีราคาแพง เสียหายไดงาย
สินคาที่ตรวจสอบมีราคาแพง เสียหายไดยาก
สินคาที่ตรวจสอบมีราคาถูก เสียหายไดงาย
คําตอบ 4 : สินคาที่ตรวจสอบมีราคาถูก เสียหายไดยาก

ขอที่ : 334 107 of 125


เมื่อเปรียบเทียบแผนการสุมตัวอยางสําหรับขอมูลแบบหนวยนับและแบบหนวยวัด ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับแผนการสุมตัวอยางสําหรับขอมูลแบบหนวยวัด
คําตอบ 1 : ใชเวลาและคาใชจายในการตรวจสอบต่ํา
คําตอบ 2 : ขนาดตัวอยางมีขนาดเล็ก
คําตอบ 3 : สารสนเทศเกี่ยวกับคุณภาพมีมาก
คําตอบ 4 : สมมติฐานการแจกแจงความนาจะเปนของรุนสินคา (Lot) ตองเปนแบบปกติ

ขอที่ : 335

่ า ย
สมมติระดับคุณภาพต่ําสุดของผูผลิตเทากับ 1% เปนระดับที่ผูบริโภคจะยอมรับไดดวยความนาจะเปน 95% และมีคาความนาจะเปนเทากับ 0.025 สําหรับระดับคุณภาพต่ําสุดที่ผู


บริโภคยอมรับไดซึ่งมีคาเทากับ 0.10 ถาคาที่วัดไดจากกระบวนการผลิตมีการแจกแจงปกติ จงหาจํานวนตัวอยางที่ตองสุม


คําตอบ 1 : n = 11


คําตอบ 2 : n = 12

มจ
คําตอบ 3 : n = 13

า้
คําตอบ 4 : n = 14

ขอที่ : 336
ิธ์ ห
ิท
เมื่อตองการคํานวณคา n และ k จากแผนการสุมตัวอยางแบบตัวแปรกําหนดพิกัดเดี่ยว เราควรรูคาตางๆ ตอไปนี้


คําตอบ 1 : คา AQL, LTPD, P , P


1 2


คําตอบ 2 : คา α, β, P , P


1 2


คําตอบ 3 : คา α, AQL, P , P
1 2


คําตอบ 4 : คา Z, AQL, LTPD, L

ขอที่ : 337

กร ข

ิ ว
ในการใชมาตรฐานการตรวจสอบ MIL-STD 414ที่ไมทราบความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และมีขอกําหนดผลิตภัณฑแบบสองดาน ควรใชแผนการตรวจสอบแบบใด

าว
คําตอบ 1 : M method ใชคาพิสัย


คําตอบ 2 : M method ใช S.D.


คําตอบ 3 : K method ใชคาพิสัย
คําตอบ 4 : M method ใชคาพิสัยหรือความเบี่ยงเบนมาตรฐานก็ได

ขอที่ : 338
แผนการสุมตัวอยางมีความเหมาะสมที่จะใชในกรณีใด
คําตอบ 1 : เมื่อการทดสอบคุณสมบัติคุณภาพเปนแบบทําลาย
108 of 125
คําตอบ 2 : เมื่อคาใชจายในการตรวจสอบ 100% สูงมากเกินไป
คําตอบ 3 : เมื่อสัดสวนของเสียในกระบวนการผสิตสูงมาก
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

ขอที่ : 339
ขอใดที่เปนขอดีของแผนการสุมตัวอยางเมื่อเปรียบเทียบกับการตรวจสอบ 100%
คําตอบ 1 : คาใชจายนอยกวาเพราะมีการตรวจสอบโดยเฉลี่ยขนาดตัวอยางนอยกวา
คําตอบ 2 : สินคามีความเสียหายมากขึ้นเนื่องจากมีการโยกยายมากขึ้น
คําตอบ 3 : พนักงานมีขวัญและกําลังใจมากขึ้น

่ า ย

คําตอบ 4 : ลดเวลานํา (lead time) ในการผลิตสินคา

ขอที่ : 340

จ ำ ห

ขอใดคือขอควรระวังของการใชแผนการสุมเพื่อการยอมรับสําหรับขอมูลแบบหนวยวัด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ความนาจะเปนในการยอมรับ Lot ตองสูงกวา 0.1
คําตอบ 2 : ลักษณะสมบัติตองผลิตมาจากกระบวนการที่ In-Statistical Control
คําตอบ 3 : รุนสินคา (Lot) มีการแจกแจงแบบปกติ

ิท
คําตอบ 4 : AQL ตองกําหนดโดยลูกคา

นส

ขอที่ : 341


แผนภูมิสุมตรวจสอบสําหรับขอมูลแบบหนวยวัดที่มีคา n = 35 และ k = 1.7 เมื่อตัวอยางสุมจาก Lot ไดคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของลักษณะสมบัติที่ตองการตรวจวัดเทากับ


0.73 และ 1.05x10-2 ตามลําดับ ถาสมบัติตามขอกําหนดตองมีคาอยางต่ํา 0.7 หนวย ควรสรุปผลการตรวจอยางไร เพราะเหตุใด



ยอมรับ เพราะ Z >k

กร
คําตอบ 1 : LSL
คําตอบ 2 : ยอมรับ เพราะ Z <k


LSL



คําตอบ 3 : ปฏิเสธ เพราะ Z >k
LSL

าว
คําตอบ 4 : ตัดสินไมไดเพราะขอมูลไมเพียงพอ

ขอที่ : 342

ส ภ
ขอสมมติที่สําคัญในการใชแผนการชักตัวอยางเพื่อการยอมรับชนิด variable คือขอใด
คําตอบ 1 : การแจกแจงทวินาม
คําตอบ 2 : การแจกแจงสมมาตร
คําตอบ 3 : การแจกแจงปกติ
คําตอบ 4 : การแจกแจงเอ็กซโปเนนเชียล
109 of 125
ขอที่ : 343
ขอตอไปนี้ ขอใดคือขอดีของการใชแผนการชักตัวอยางเพื่อการยอมรับชนิด variable
คําตอบ 1 : ทําการวัดคางาย คาใชจายต่ํา
คําตอบ 2 : การแจกแจงเปนแบบปกติ
คําตอบ 3 : ไดรับขอมูลเกี่ยวกับคุณภาพนอยลง เนื่องจากขนาดตัวอยางที่สุมนอย
คําตอบ 4 : ขนาดตัวอยางที่ใชนอย เนื่องจากขอมูลคาวัดใหสารสนเทศมากอยูแลว

่ า ย

ขอที่ : 344


ขอดีของการใชแผนการชักตัวอยางเพื่อการยอมรับชนิด variable โดยวิธี M method เมื่อเทียบกับแผนการชักตัวอยางเพื่อการยอมรับชนิด variable วิธีอื่น คือ

จ ำ
คําตอบ 1 : สามารถประมาณสัดสวนของเสียที่ในรุนได


คําตอบ 2 : การคํานวณงาย ไมซับซอน

า้
คําตอบ 3 : ขนาดตัวอยางที่ใชนอยกวา

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไมตองคํานึงถึงการแจกแจงของขอมูล

ิท
ขอที่ : 345


การใชแผนการชักตัวอยางเพื่อการยอมรับชนิดแปร ขอใดตอไปนี้ คือ ลักษณะของวิธี M-method

ว น
คําตอบ 1 : คํานวณงาย ขนาดตัวอยางต่ํา ประมาณสัดสวนของเสียในรุนได


คําตอบ 2 : คํานวณงาย ขนาดตัวอยางสูง ประมาณสัดสวนของเสียในรุนไมได


คําตอบ 3 : คํานวณยาก ขนาดตัวอยางต่ํา ประมาณสัดสวนของเสียในรุนได


คําตอบ 4 : คํานวณยาก ขนาดตัวอยางสูง ประมาณสัดสวนของเสียในรุนไมได

กร ข

ขอที่ : 346



ความเสี่ยงของผูบริโภคการใชแผนการชักตัวอยางเพื่อการยอมรับชนิดแปร เกิดขึ้นเมื่อใด

าว
คําตอบ 1 : ยอมรับรุนสินคา เมื่อรุนสินคานั้นมีคุณภาพดี


คําตอบ 2 : ยอมรับรุนสินคา เมื่อรุนสินคานั้นมีคุณภาพไมดี


คําตอบ 3 : ปฏิเสธรุนสินคา เมื่อรุนสินคานั้นมีคุณภาพดี
คําตอบ 4 : ปฏิเสธรุนสินคา เมื่อรุนสินคานั้นมีคุณภาพไมดี

ขอที่ : 347
ถาในการคํานวณขนาดตัวอยางสําหรับแผนการชักตัวอยางชนิดแปร พบวา ขนาดตัวอยางที่เหมาะสม คือ 9.28 ทานจะแนะนําใหสุมตัวอยางจํานวนเทาไรจึงจะเหมาะสม ถาทานมีขอ
สงสัยในคุณภาพ
110 of 125
คําตอบ 1 : 9
คําตอบ 2 : 9.28
คําตอบ 3 : 9.5
คําตอบ 4 : 10

ขอที่ : 348
กระบวนการผลิตที่มีขอกําหนดมาตรฐานสองดาน ในการสุมโดยใชแผนการชักตัวอยางชนิดแปร ทานจะแนะนําใหใชวิธีใด ถาขอมูลมีการแจกแจงปกติ
คําตอบ 1 : k method
คําตอบ 2 : M- method

่ า ย

คําตอบ 3 : V-method


คําตอบ 4 : CP-1

จ ำ

ขอที่ : 349

า้
กําหนดใหรุนสินคา (lot) ที่ตองการตรวจสอบมีขนาด 1150 ชิ้น ระดับคุณภาพที่ยอมรับเทากับ 25 ขอบกพรองที่ไมตรงตามขอกําหนดตอรอยหนวยผลิตภัณฑ และระดับการตรวจสอบ

ิธ์ ห
เปนแบบระดับ III จงหาแผนการสุมตัวอยางเชิงคูสําหรับการตรวจสอบแบบผอนคลาย โดยใช ANSI/ASQC Z1.4
คําตอบ 1 : (n1,c1,n2,c2) = (13,5,13,12)

ิท
คําตอบ 2 : (n1,c1,n2,c2) = (32,5,32,12)
คําตอบ 3 : (n1,c1,n2,c2) = (32,0,32,0)

นส
ง ว
คําตอบ 4 : (n1,c1,n2,c2) = (50,0,50,0)

อ ส

ขอที่ : 350

กร
จงหา CSP-1 ที่เหมาะสมสําหรับ AOQL = 0.79% และ f = 10% โดยที่ชิ้นงานในชวงผลิตมีคาเทากับ 1200 ชิ้น


คําตอบ 1 : ตรวจสอบทุกหนวยตอเนื่องกันแบบ 100% จนครบ 138 ชิ้นแลวไมพบของเสีย ใหเปลี่ยนเปนสุมตรวจ 1 ชิ้นจากทุกๆ 10 ชิ้น



คําตอบ 2 : สุมตรวจ 1 ชิ้นจากทุกๆ 138 ชิ้นจบครบ 10 ครั้ง ถาไมพบของเสีย ใหเปลี่ยนเปนตรวจสอบแบบ 100%

าว
คําตอบ 3 : ตรวจสอบทุกหนวยตอเนื่องกันแบบ 100% จนครบ 10 ชิ้นแลวไมพบของเสีย ใหเปลี่ยนเปนสุมตรวจ 1 ชิ้นจากทุกๆ 138 ชิ้น


คําตอบ 4 : ตรวจสอบทุกหนวยตอเนื่องกันแบบ 100% จนครบ 79 ชิ้นแลวไมพบของเสีย ใหเปลี่ยนเปนสุมตรวจ 1 ชิ้นจากทุกๆ 138 ชิ้น

ขอที่ : 351

Sequential Sampling Plan หมายถึงขอใด
คําตอบ 1 : แผนการสุมตัวอยางเดี่ยว
คําตอบ 2 : แผนการสุมตัวอยางแบบตอเนื่องใชกับระบบสายการผลิตแบบ continuous
คําตอบ 3 : แผนการสุมตัวอยางของเบอรนารดที่ใชคะแนนสะสมในรูปของตาราง
111 of 125
คําตอบ 4 : แผนการสุมตัวอยางโดยมีเสนคูขนาน X(L) และ X(U) หรือ เสนยอมรับ และ เสนปฏิเสธ
ขอที่ : 352
ในการใชมาตรฐานการตรวจสอบ MIL-STD-1235C ที่มีชวงการผลิตระยะสั้น ๆ ควรใชัแผนการแบบใด
คําตอบ 1 : CSP - 1
คําตอบ 2 : CSP - 2
คําตอบ 3 : CSP - F


คําตอบ 4 : CSP – T

น่ า

ขอที่ : 353


ขอใดอธิบายความแตกตางระหวาง CUSUM Chart และ Shewhart Control Chart ไดอยางถูกตอง

คําตอบ 1 :

มจ
CUSUM Chart ใชในการควบคุมเมื่อกระบวนการเปนแบบ short production run แต Shewhart Control Chart ใชในการสังเกตเมื่อเปนกระบวนการแบบ long

า้
production run

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : CUSUM Chart ใชในการสังเกต small shift ในกระบวนการแต Shewhart Control Chart จะสามารถสังเกตไดแต large shift เทานั้น
ในการควบคุมคุณภาพโดย CUSUM Chart ณ เวลา t ตองนําขอมูลอันดับ t-1 มาใชพิจารณาประกอบดวย แต Shewhart Control Chart ไมนําเอาขอมูลในอดีตมา
คําตอบ 3 :
ใชประกอบการพิจารณา

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

นส

ขอที่ : 354

ส ง
CUSUM control chart เมื่อเปรียบเทียบกับ Shewhart control chart จะมีผลคือ


คําตอบ 1 : CUSUM control chart จะมีความไวตอ shift ขนาดเล็กนอยกวา Shewhart control chart


คําตอบ 2 : CUSUM control chart จะมีความไวตอ shift ขนาดเล็กเทากับ Shewhart control chart

กร
คําตอบ 3 : CUSUM control chart จะมีความไวตอ shift ขนาดเล็กดีกวา Shewhart control chart


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 355

าว ศ


CUSUM control chart มี 2 รูปแบบคือ


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
Tabular cusum และ V-mask cusum
Cumulative cusum และ random cusum
Tabular cusum และ Cumulative cusum
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 356 112 of 125


ขอใดขอเปนความแตกตางระหวาง Shewhart Control chart และ CUSUM control chart
คําตอบ 1 : CUSUM เปนแผนภูมิที่ตรวจจับ process shift ขนาดเล็กไดดีกวา
คําตอบ 2 : CUSUM เปนแผนภูมิที่สรางจากหลักการของการแจกแจงแบบ Binomial
คําตอบ 3 : Shewhart เปนแผนภูมิที่เหมาะกับขนาด n > 1
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 357

่ า ย
- -
จากการใช CUSUM control chart พบวา กระบวนการ out-of-control ที่ตัวอยางชุดที่ 28 โดยมีคา N = 6, C = 5.30 ซึ่งมากกวา คา H = 5, K = 0.5 ที่คาเฉลี่ยของกระบวน
i


การใหมเทากับเทาใด (จากเดิมเทา 10.00)

ำ ห
คําตอบ 1 : 7.62


คําตอบ 2 : 8.62


คําตอบ 3 : 9.62

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 11.25

ขอที่ : 358

ิท
แผนภูมิใดตอไปนี้ คือ แผนภูมิที่เหมาะสมในการตรวจจับของเสียในหนวย “จํานวนตอหนึ่งลานชิ้น (ppm)”
คําตอบ 1 : แผนภูมิควบคุมจํานวนรอยตําหนิ (C chart)

นส

คําตอบ 2 : แผนภูมิควบคุมจํานวนของเสีย (np chart)


คําตอบ 3 : แผนภูมิควบคุมคานับสะสม (CCC chart)
คําตอบ 4 :

อ ส
แผนภูมิควบคุมคาบวกสะสม (Cusum chart)

ขอที่ : 359

กร ข

ถาโรงงานตองการใชแผนภูมิควบคุมกระบวนการใหมซึ่งเพิ่งเริ่มดําเนินการ โดยควบคุมขนาดเสนผานศูนยกลางของชิ้นงาน ทานจะแนะนําใหใชแผนภูมิใดตอไปนี้จึงจะเหมาะสมที่สุด

าว ศ

คําตอบ 1 : แผนภูมิคาเดี่ยวและคาพิสัยเคลื่อนที่
คําตอบ 2 : แผนภูมิคาเฉลี่ยและคาพิสัย


คําตอบ 3 : แผนภูมิควบคุมคานับสะสม


คําตอบ 4 : แผนภูมิคาบวกสะสม

ขอที่ : 360
แผนภูมิตอไปนี้แผนภูมิประเภทใดที่เหมาะสมสําหรับใชกับลักษณะทางคุณภาพที่มีขอกําหนดไมสมมาตร (asymmetric)
คําตอบ 1 : แผนภูมิเชิงลักษณ
คําตอบ 2 : แผนภูมิลิมิตความนาจะเปน 113 of 125
คําตอบ 3 : แผนภูมิลิมิตมาตรฐาน
คําตอบ 4 : แผนภูมิชนิดแปร

ขอที่ : 361
ความสามารถของแผนภูมิ CUSUM เมื่อเปรียบเทียบกับแผนภูมิ X-bar เปนดังขอใด
คําตอบ 1 : แผนภูมิ CUSUM สามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงคากลางของ กระบวนการไดชากวาแผนภูมิ x-bar เมื่อคากลางของกระบวนการ เปลี่ยนแปลงเล็กนอย
คําตอบ 2 : แผนภูมิ CUSUM สามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงคากลางของ กระบวนการไดเร็วกวาแผนภูมิ x-bar เมื่อคากลางของกระบวนการ เปลี่ยนแปลงเล็กนอย
คําตอบ 3 : แผนภูมิ CUSUM และแผนภูมิ x-bar มีความสามารถในตรวจจับ การเปลี่ยนแปลงคากลางของกระบวนการไดดีเสมอกัน

่ า ย

คําตอบ 4 : แผนภูมิ CUSUM พัฒนามาจากแผนภูมิ x-bar แตสามารถคํานวณไดงายกวา

ขอที่ : 362

จ ำ ห

แผนภูมิคาบวกสะสม (Cumulative sum Chart) เหมาะที่จะใชกับกระบวนการใด ตอไปนี้

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงในระบบต่ํา ลักษณะทางคุณภาพ คือ คาวัด
คําตอบ 2 : กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงในระบบสูง ลักษณะทางคุณภาพ คือ คาวัด
คําตอบ 3 : กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงในระบบต่ํา ลักษณะทางคุณภาพ คือ คานับ

ิท
คําตอบ 4 : กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงในระบบสูง ลักษณะทางคุณภาพ คือ คานับ

นส

ขอที่ : 363


เหตุการณใดตอไปนี้เหมาะที่จะใชแผนภูมิควบคุมคาเดี่ยว และคาพิสัยเคลื่อนที่ (X-MR)
คําตอบ 1 :

อ ส
ระบบการวัดมีคา GR&R สูงกวา 20% กําลังการผลิตต่ํา


คําตอบ 2 : ระบบการวัดมีคา GR&R สูงกวา 5% กําลังการผลิตสูง

กร
คําตอบ 3 : ระบบการวัดมีคา GR&R ต่ํากวา 20% กําลังการผลิตสูง


คําตอบ 4 : ระบบการวัดมีคา GR&R ต่ํากวา 5% กําลังการผลิตต่ํา

ขอที่ : 364

าว ศ


ในการใชแผนภูมิ Cusum รูปแบบใดที่นิยมใชในการคํานวณ


คําตอบ 1 : I-mask
คําตอบ 2 : V-mask
คําตอบ 3 : Tabular form
คําตอบ 4 : Cumulative form

ขอที่ : 365 114 of 125


ความเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ (Product Reliability) หมายถึง
คําตอบ 1 : ความนาจะเปนที่จะใชผลิตภัณฑนั้นๆ ในสภาพที่ใชงานไดชวงระยะเวลาหนึ่งภายใตสภาพการใชงานปกติ
คําตอบ 2 : ความนาจะเปนที่จะผลิตผลิตภัณฑจํานวนหนึ่งไมใหมีของเสียเลย
คําตอบ 3 : ความเชื่อมั่นในการผลิตสินคาหนึ่งๆใหทันกําหนดเวลา
คําตอบ 4 : ความเชื่อมั่นในการใชผลิตภัณฑหนึ่งในสภาพที่ใชได เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑมาตรฐานที่กําหนดไว

ขอที่ : 366

่ า ย
คาความเชื่อมั่นของระบบ (P ) ที่มีสวนประกอบ 3 เครื่อง เรียงตามลําดับแบบอนุกรม เครื่องสง (P ), เครื่องรับ (P ) และเครื่องบันทึก (P ) คือขอใด
S T R C


คําตอบ 1 : PS = PT – PR – PC
คําตอบ 2 : PS = PT + PR + PC

จ ำ ห

คําตอบ 3 : PS = PT * PR * PC

า้
PS = PT / PR / PC

ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ขอที่ : 367

ส ิท
ง ว น
อ ส
จงหาคาความเชื่อมั่นของระบบดังภาพ

กร ข

คําตอบ 1 : 50.4%

าว ศ

คําตอบ 2 : 73.7%
คําตอบ 3 : 80.0%


คําตอบ 4 : 87.0%

ขอที่ : 368 ส
แผนการสุมตัวอยางขนาด n = 16, T = 600 h, c = 2, และ r = 3 มีความหมายตรงกับขอใด
สุมตัวอยาง 16 หนวยจากรุน และทําการทดสอบพรอมๆกันเปนเวลา 600 ชม. จึงหยุดทําการทดลอง ถา failure หนวยที่ 2 ไมเกิดขึ้นในชวงเวลาการทดสอบ ใหยอม
คําตอบ 1 :
รับรุน
คําตอบ 2 : สุมตัวอยาง 16 หนวยจากรุน และทําการทดสอบทีละ 1 หนวยรวมเปนเวลา 600 ชม ถา failure หนวยที่ 3 เกิดขึ้นในชวงเวลาทดสอบ ใหปฏิเสธรุน
115 of 125
คําตอบ 3 : สุมตัวอยาง 16 หนวยจากรุน และทําการทดสอบพรอมๆกันเปนเวลา 600 ชม จึงหยุดทําการทดลอง ถา failure หนวยที่ 3 เกิดขึ้นในชวงเวลาทดสอบ ใหปฏิเสธรุน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 369
Life tests มี 3 ชนิดตรงกับขอใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : Failure – Terminated, Time – Terminated และ AQL - Terminated
คําตอบ 2 : Time – Terminated, Sequential และ AOQ - Terminated
คําตอบ 3 : Failure – Terminated, Time – Terminated และ AQL - Terminated

่ า ย

คําตอบ 4 : Failure – Terminated, Time – Terminated และ Sequential

ขอที่ : 370

จ ำ ห

ลักษณะของอายุของผลิตภัณฑซึ่งสามารถแบงได 3 ชวง การลมเหลวที่มีสาเหตุมาจากขอจํากัดของการออกแบบหรือการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมในการทํางานจะเกิดในชวงใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Early Stage
คําตอบ 2 : Expected Normal Life
คําตอบ 3 : End of Life

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 2 ถูก

นส

ขอที่ : 371


อายุของหลอด LCD มีลักษณะการกระจายตัวแบบ negative exponential ดวย MTBF = 2,000 ชั่วโมง มีความนาจะเปนเทาไรที่หลอด LCD จะใชไดนานกวา 2,500 ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 0.7135

อ ส

คําตอบ 2 : 0.7769

กร
คําตอบ 3 : 0.2865


คําตอบ 4 : 0.2231

ขอที่ : 372

าว ศ


คลังแสงเก็บวัตถุระเบิดสําหรับกองทัพบก เก็บวิทยุสื่อสารจํานวน 46 เครื่อง ซึ่งแตละเครื่องประกอบดวยชิ้นสวนประกอบ 6 ชิ้น ซึ่งตอแบบอนุกรม โดยความนาเชื่อถือของชิ้นสวน


ประกอบหลังจากเก็บไวในคลังสินคา 3 ป มีคาประมาณ 0.96 จงหาความนาจะเปนที่สุมเลือกวิทยุสื่อสาร 1 เครื่องในชวงเวลา 3 ป และสามารถใชงานไดตามปกติ
คําตอบ 1 : 0.96
คําตอบ 2 : 0.84
คําตอบ 3 : 0.78
คําตอบ 4 : 0.37

116 of 125
ขอที่ : 373
คลังแสงเก็บวัตถุระเบิดสําหรับกองทัพบก เก็บวิทยุสื่อสารจํานวน 46 เครื่อง ซึ่งแตละเครื่องประกอบดวยชิ้นสวนประกอบ 6 ชิ้น ซึ่งตอแบบอนุกรม โดยความนาเชื่อถือของชิ้นสวน
ประกอบหลังจากเก็บไวในคลังสินคา 3 ป มีคาประมาณ 0.96 จงหาความนาจะเปนที่เลือกวิทยุสื่อสาร 5 เครื่องแบบสุม และพบวามีเพียง 4 เครื่องทํางานไดตามปกติ
คําตอบ 1 : 0.41
คําตอบ 2 : 0.22
คําตอบ 3 : 0.84
คําตอบ 4 : 0.78

่ า ย

ขอที่ : 374


คลังแสงเก็บวัตถุระเบิดสําหรับกองทัพบก เก็บวิทยุสื่อสารจํานวน 46 เครื่อง ซึ่งแตละเครื่องประกอบดวยชิ้นสวนประกอบ 6 ชิ้น ซึ่งตอแบบอนุกรม ถาคาความนาเชื่อถือของวิทยุสื่อสาร


มีคาเทากับ 0.90 จงหาคาความนาเชื่อถือของแตละชิ้นสวนประกอบ


คําตอบ 1 : 0.81

า้ ม
คําตอบ 2 : 0.63

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 0.98
คําตอบ 4 : 0.54

ขอที่ : 375

ส ิท

คลังแสงเก็บวัตถุระเบิดสําหรับกองทัพบก เก็บวิทยุสื่อสารจํานวน 46 เครื่อง ซึ่งแตละเครื่องประกอบดวยชิ้นสวนประกอบ 6 ชิ้น ซึ่งตอแบบอนุกรม โดยความนาเชื่อถือของชิ้นสวน


ประกอบหลังจากเก็บไวในคลังสินคา 3 ป มีคาประมาณ 0.96 จงหาจํานวนตัวอยางเฉลี่ยที่ผูตรวจสินคาสุมวิทยุสื่อสารจากคลังสินคา กอนที่จะพบวิทยุสื่อสารที่ไมทํางาน

ส ง
คําตอบ 1 : 3.7


คําตอบ 2 : 6


คําตอบ 3 : 35

กร
คําตอบ 4 : 4.6


ิ ว
าว
ขอที่ : 376
ระบบสํารองขอมูล ประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอร 2 เครื่อง (ชนิดเดียวกัน) ตอขนานกัน โดยตองการใหระบบสํารองขอมูลมีความนาเชื่อถือเทากับ 0.999 ถามวาคาความนาเชื่อถือ


ของเครื่องคอมพิวเตอรควรมีคาเทาใด


คําตอบ 1 : 0.95
คําตอบ 2 : 0.97
คําตอบ 3 : 0.98
คําตอบ 4 : 0.99

ขอที่ : 377
117 of 125
หนวยประมวลผลสําหรับใชในเครื่องคอมพิวเตอรมีคา Failure Rate เทากับ 0.025 ตอ 1000 ชั่วโมง ถาใชหนวยประมวลผลนี้อยางตอเนื่อง เปนเวลา 1 ป จงหาคาความนาจะเปนที่
หนวยประมวลผลจะไมเสียมีคาเทาใด
คําตอบ 1 : 0.62
คําตอบ 2 : 0.74
คําตอบ 3 : 0.80
คําตอบ 4 : 0.88

ขอที่ : 378

่ า ย
หนวยประมวลผลสําหรับใชในเครื่องคอมพิวเตอรมีคา Failure Rate เทากับ 0.025 ตอ 1000 ชั่วโมง ถาเครื่องคอมพิวเตอรดังกลาวตองใชระบบประมวลผล 2 ตัวตอแบบขนานกัน จง


หาคาความนาเชื่อถือของระบบดังกลาว ถาใชงาน 10,000 ชั่วโมง


คําตอบ 1 : 0.00625


คําตอบ 2 : 0.625

มจ
คําตอบ 3 : 0.951

า้
คําตอบ 4 : 0.9994

ขอที่ : 379
ิธ์ ห
ิท
ชิ้นสวนสําหรับประกอบเครื่องตรวจจับวัตถุระเบิดมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล (Exponential) โดยมี Failure Rate (λ) = 0.036 failure/100 ชั่วโมง จงหาคาความนาจะเปนที่


ชิ้นสวนชิ้นนี้จะไมเสียในชวงการทํางาน 400 ชั่วโมง


คําตอบ 1 : 0.36

ง ว
คําตอบ 2 : 0.62


คําตอบ 3 : 0.77


คําตอบ 4 : 0.87

ขอที่ : 380

กร ข

ชิ้นสวนสําหรับประกอบเครื่องตรวจจับวัตถุระเบิดมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล(Exponential) โดยมี Failure Rate = 0.036 failure/100 ชั่วโมง จงหาอายุโดยเฉลี่ยของชิ้น

าว ศ

สวนที่ใชงานมาแลว 400 ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 1700


คําตอบ 2 : 2780


คําตอบ 3 : 2977
คําตอบ 4 : 3180

ขอที่ : 381
ระบบเตือนภัยสําหรับปองกันขโมยประกอบดวยชิ้นสวนชนิดเดียวกันหลายชิ้นตอขนานกัน โดยระบบเตือนภัยมี Failure Rate = 0.0005 ตอชั่วโมง และชิ้นสวนมี Failure Rate =
0.0008 ตอชั่วโมง ระบบนี้ตองมีจํานวนชิ้นสวนเทาใด
118 of 125
คําตอบ 1 : 2
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 5

ขอที่ : 382
ระบบหนึ่งประกอบดวยชิ้นสวน 4 ชิ้นตอแบบอนุกรม (Series) โดย Time-to-Failure มีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล และมี Failure Rate คือ 2.7, 3.6, 14.2 และ 8.6 ตอ 1,000


ชั่วโมง คา MTBF ควรมีคาเทาใด
คําตอบ 1 : 34

น่ า

คําตอบ 2 : 40


คําตอบ 3 : 51

มจ
คําตอบ 4 : 64

า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 383
ระบบหนึ่งประกอบดวยชิ้นสวน 3 ชิ้นตอแบบขนาน โดย Time-to-Failure มีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล และมี Failure Rate = 16.3 ตอ 1,000 ชั่วโมง คา MTBF ควรมีคา

ิท
เทาใด


คําตอบ 1 : 163


คําตอบ 2 : 124

ง ว
คําตอบ 3 : 112


คําตอบ 4 : 105

ขอ
กร
ขอที่ : 384
ชุดเรดาหมีคา MTBF เทากับ 240 ชั่วโมง และมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล ในการปฏิบัติภารกิจทางอากาศ มีขอกําหนดวาเครื่องจะตองไมมีความบกพรองในในการตรวจสอบ


วัตถุแปลกปลอมในอากาศตลอด 24 ชั่วโมง จงหาความนาจะเปนที่ชุดเรดาหจะไมพบความบกพรองตลอด 24 ชั่วโมง

าว ศ

คําตอบ 1 : 0.75
คําตอบ 2 : 0.80


คําตอบ 3 : 0.85


คําตอบ 4 : 0.90

ขอที่ : 385
ชิ้นสวน A ซึ่งเปนสวนประกอบเครื่องยิงขีปณาวุธมีคา MTBF 2,000 ชั่วโมง และมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล จงหาความนาจะเปนของชิ้นสวนที่จะทํางานไดอยางนอย 200
ชั่วโมง ชิ้นสวน A ซึ่งเปนสวนประกอบเครื่องยิงขีปณาวุธมีคา MTBF 2,000 ชั่วโมง และมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล จงหาความนาจะเปนของชิ้นสวนที่จะทํางานไดอยางนอย
200 ชั่วโมง
119 of 125
คําตอบ 1 : 0.855
คําตอบ 2 : 0.905
คําตอบ 3 : 0.925
คําตอบ 4 : 0.955

ขอที่ : 386
ขอมูลแสดง Failure Rate ของสวนประกอบในอุปกรณอิเล็คทรอนิคส สรุปดังตาราง สมมติขอมูลมีการแจกแจงแบบเอกโปเนนเชียล และชิ้นสวนทุกชิ้นมีผลตอการ

่ า ย
ทํางานของอุปกรณอิเลคทรอนิคส จงหา MTBF ของอุปกรณอิเล็คทรอนิคสชุดนี้


ชิ้นสวน ปริมาณ Failure Rate/hour


Silicon transistor 40 74.0 x 10-6


Film resistor 100 -6


3.0 x 10


Paper capacitor 50 10.0 x 10-6

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 125
คําตอบ 2 : 183
คําตอบ 3 : 256

ิท
คําตอบ 4 : 267

นส

ขอที่ : 387


ชิ้นสวนสําหรับระบบไฮโดรลิก ประกอบดวยระบบยอยตอขนานกัน โดยระบบยอยแตละระบบประกอบดวยชิ้นสวนดังตารางตอไปนี้ ชิ้นสวนทุกชิ้นจําเปนตอการทํา

อ ส
งานของระบบยอย และระบบยอย 2 ระบบที่ตอขนานกันทํางานพรอมกัน จงหาความนาเชื่อถือของชิ้นสวนไฮโดรลิกในชวง 300 ชั่วโมง (ขอมูลมีการแจกแจงแบบ


เอกโปเนนเชียล)

กร
Components 6
Failure/10 ชม. Number of components


Pump 23.4 1



Quick disconnect 2.4 3

าว
Check valve 6.1 2
Shutoff valve 7.9 1


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :

Lines and Fittings
0.927
0.952
3.13 7

คําตอบ 3 : 0.978
คําตอบ 4 : 0.995

120 of 125
ขอที่ : 388
่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ระบบตรวจสอบขอมูลประกอบดวยชิ้นสวน 3 ชิ้น ตอดังรูปตอไปนี้ จงหาคา Reliability ของระบบตรวจสอบนี้

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : 0.9000
คําตอบ 2 : 0.9956
คําตอบ 3 : 0.9999

ิท
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

นส

ขอที่ : 389

ส ง
ระบบตรวจสอบขอมูลประกอบดวยชิ้นสวน 3 ชิ้น ตอดังรูปตอไปนี้ ถาระบบดังกลาวเปลี่ยนจากตอขนานเปนแบบอนุกรม จะทําใหคา Reliability ของระบบเพิ่มขึ้นหรือลดลงเทาใด

ขอ
ว กร
าว ศ

ส ภ
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น 0.055
คําตอบ 2 : ลดลง 0.055 121 of 125
คําตอบ 3 : เพิ่มขึ้น 0.155
คําตอบ 4 : ลดลง 0.155

ขอที่ : 390
ถาระบบเครื่องมือวัดประกอบดวยชิ้นสวน 6 ชิ้น ตอกันดังรูปตอไปนี้ จงคํานวณหาคา Reliability ของเครื่องมือวัด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
คําตอบ 1 : 0.95


คําตอบ 2 : 0.96


คําตอบ 3 : 0.98

ง ว
คําตอบ 4 : 0.99

ขอที่ : 391

อ ส
กร ข
ถาระบบเครื่องมือวัดประกอบดวยชิ้นสวน 6 ชิ้น ตอกันดังรูปตอไปนี้ ถาชิ้นสวนที่ 4 มีคา Reliability เพิ่มจาก 0.99 เปน 1.00 คา Reliability ของเครื่องมือวัดเปนเทาใด


ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.985 122 of 125
คําตอบ 2 : 0.990
คําตอบ 3 : 0.995
คําตอบ 4 : 0.997

ขอที่ : 392
ถาระบบเครื่องมือวัดประกอบดวยชิ้นสวน 6 ชิ้น ตอกันดังรูปตอไปนี้ ถาชิ้นสวนชิ้นที่ 1, 2 และ 3 มีคา Reliability เทากัน และมีคาเปลี่ยนเปน 0.95 คา Reliability ของเครื่องมือวัด

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ิท
เพิ่มขึ้นจากเดิมเปนเทาใด


คําตอบ 1 : 0.980


คําตอบ 2 : 0.985

ง ว
คําตอบ 3 : 0.987


คําตอบ 4 : 0.990

ขอ
กร
ขอที่ : 393


ถาระบบเครื่องมือวัดประกอบดวยชิ้นสวน 6 ชิ้น ตอกันดังรูปตอไปนี้ ถาชิ้นสวนชิ้นที่ 1, 2 และ 3 มีคา Reliability เทากัน และมีคาเปลี่ยนเปน 0.85 คา Reliability ของเครื่องมือวัด

าว ศ

ส ภ
ลดลงเปนเทาใด 123 of 125

คําตอบ 1 : 0.980
คําตอบ 2 : 0.984
คําตอบ 3 : 0.987
คําตอบ 4 : 0.990

ขอที่ : 394
ถาเครื่องมือชนิดหนึ่งประกอบดวยชิ้นสวน 3 ชิ้น ประกอบดังรูปตอไปนี้ (R คือคา Reliability ของชิ้นสวน) จงคํานวณหาคา Reliability ของเครื่องมือดังกลาว

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
คําตอบ 1 : 0.75

ิธ์ ห
คําตอบ 2 : 0.72
คําตอบ 3 : 0.95
คําตอบ 4 : 0.99

ส ิท

ขอที่ : 395


ถาเครื่องมือชนิดหนึ่งประกอบดวยชิ้นสวน 3 ชิ้น ประกอบดังรูป (R คือคา Reliability ของชิ้นสวน) ถาตองการเพิ่มคา Reliability ของเครื่องมือดังกลาว 30% คา RB ควรเปลี่ยน

ส ง
ขอ
ว กร
เปนเทาใด



คําตอบ 1 : 0.85

าว
คําตอบ 2 : 0.90


คําตอบ 3 : 0.95


คําตอบ 4 : 0.99

ขอที่ : 396

124 of 125

เครื่องมือประกอบดวยชิ้นสวน 2 ชิ้น ตอดังรูปตอไปนี้ โดย R คือคา Reliability ของชิ้นสวน จงคํานวณหาคา Reliability ของเครื่องมือดังกลาว
่ า ย
หน
คําตอบ 1 : 0.57

จ ำ

คําตอบ 2 : 0.75

า้
คําตอบ 3 : 0.84

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 0.96

ิท
ขอที่ : 397


เครื่องมือประกอบดวยชิ้นสวน 2 ชิ้น ตอดังรูปตอไปนี้ โดย R คือคา Reliability ของชิ้นสวน ถาคา Reliability ของเครื่องมือคือ 0.984 คา R1 ควรเปลี่ยนเปนเทาใด

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

คําตอบ 1 : 0.75
คําตอบ 2 : 0.80
คําตอบ 3 : 0.85
คําตอบ 4 : 0.90

125 of 125

You might also like