You are on page 1of 46

คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

ตอนที่ 27

จานวนเชิงซ้อน

เนื้อหาส่วนที่ 4 รากของจานวนเชิงซ้อน

โดย

อาจารย์ ดร.ณหทัย ฤกษ์ฤทัยรัตน์

สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2555
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สื่อการสอนเรื่อง จานวนเชิงซ้อน
สื่อการสอนเรื่อง จานวนเชิงซ้อน มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 4 ตอน ซึ่งประกอบด้วย

1. เนื้อหาตอนที่ 1 จานวนเชิงซ้อน

- จานวนเชิงซ้อน
- พีชคณิตของจานวนเชิงซ้อน
- กราฟของจานวนเชิงซ้อน

2. เนื้อหาตอนที่ 2 สังยุคและค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน

- สังยุคของจานวนเชิงซ้อน
- ค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน
- กราฟของสมการและอสมการที่เกี่ยวข้องกับค่าสัมบูรณ์ของจานวนเชิงซ้อน

3. เนื้อหาตอนที่ 3 จานวนเชิงซ้อนในรูปแบบเชิงขั้ว

- การเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูปแบบเชิงขั้ว
- การคูณและการหารจานวนเชิงซ้อนในรูปแบบเชิงขั้ว

4. เนื้อหาตอนที่ 4 รากของจานวนเชิงซ้อน

- รากของจานวนเชิงซ้อน
- สมการพหุนาม

คณะผู้จัดทาหวัง เป็นอย่า งยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน


สาหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรีย นการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
จานวนเชิงซ้อน นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้
ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่ อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้

1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรื่อง จานวนเชิงซ้อน

หมวด เนื้อหา

ตอนที่ 4 (4/4)

หัวข้อย่อย 1. รากของจานวนเชิงซ้อน

2. สมการพหุนาม

จุดประสงค์การเรียนรู้

เพื่อให้ผู้เรียน

1. มีความเข้าใจความหมายของรากของจานวนเชิงซ้อน
2. มีความเข้าใจวิธีการหาคาตอบของสมการพหุนาม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

ผู้เรียนสามารถ

1. อธิบายความหมายของรากของจานวนเชิงซ้อนได้
2. หารากของจานวนเชิงซ้อนได้
3. หาคาตอบของสมการพหุนามได้

2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เนื้อหาในสื่อการสอน

รากของจ านวนเชิ ง ซ้ อ นถู ก นิ ย ามขึ้ น เพื่ อ ขยายความรู้ เ รื่ อ งรากของจ านวนจริ ง โดยนิ ย ามให้
สอดคล้องกับบทนิยามของรากของจานวนจริง นอกจากนี้ ความรู้เรื่องรากของจานวนเชิงซ้อนยังสามารถ
นาไปใช้ในการหาคาตอบของสมการพหุนามบางสมการได้อีกด้วย ในสื่อการสอนเรื่องจานวนเชิงซ้อนตอน
ที่ 4 นี้ เราจะศึกษาจานวนเชิงซ้อนในหัวข้อต่อไปนี้

1. รากของจานวนเชิงซ้อน

2. สมการพหุนาม

3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. รากของจานวนเชิงซ้อน

4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. รากของจานวนเชิงซ้อน
การนาเข้าสู่บทเรียนของสื่อการสอน เรื่องรากของจานวนเชิงซ้อน เริ่มต้นด้วยการทบทวนความรู้เรื่อง
รากของจานวนจริง และให้ข้อสังเกตเกี่ยวกับจานวนจริงที่ไม่มีรากที่ n เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวกคู่

ผู้สอนอาจจะยกตัวอย่างเพิ่มเติม เช่น

 3 เป็นรากที่ 3 ของ 27 เพราะ 33  27


 3 เป็นรากที่ 3 ของ 27 เพราะ  33  27
 ไม่มีจานวนจริงใด ที่เป็นรากที่ 4 ของ 16
เพราะไม่มีจานวนจริง a ที่ทาให้ a 4  16

จากนั้นจึงให้นักเรียนศึกษาบทนิยามของรากที่ n ของจานวนเชิงซ้อนเมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก


จากสื่อการสอน

5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและคุ้นเคยกับบทนิยามมากขึ้น ผู้สอนควรยกตัวอย่างต่อไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอย่าง

1. 2i เป็นรากที่ 2 ของ 4 เพราะ  2i 2  4


2. 2i เป็นรากที่ 2 ของ 4 เพราะ  2i 2  4
3. 3 เป็นรากที่ 4 ของ 81 เพราะ 34  81
4. 3 เป็นรากที่ 4 ของ 81 เพราะ  34  81
5. 3i เป็นรากที่ 4 ของ 81 เพราะ  3i 4  81
6. 3i เป็นรากที่ 4 ของ 81 เพราะ  3i 4  81
2 2
7.  i เป็นรากที่ 2 ของ i
2 2
2 2 2
 2 2   2  2  2   2  1 1
เพราะ   i      2  
 i  
   i 
   i  i
 2 2   2   2  2   2  2 2

 2 2
8.  i เป็นรากที่ 2 ของ i
2 2
2 2 2
 2 2   2   2  2   2  1 1
เพราะ    i      2  
 i    i    i   i
 2 2   2   2  2   2  2 2

6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากตัวอย่างจะเห็นว่ามีจานวนเชิงซ้อน 2 จานวนที่เป็นรากที่ 2 ของ 4


มีจานวนเชิงซ้อน 4 จานวนที่เป็นรากที่ 4 ของ 81
มีจานวนเชิงซ้อน 2 จานวนที่เป็นรากที่ 2 ของ i
ผู้สอนควรชี้ให้ผู้เรียนสังเกตเห็นความเกี่ยวโยงนี้ด้วย
จากนั้นผู้เรียนจะได้ทบทวนบทนิยามของรากที่ n ของจานวนเชิงซ้อนอีกครั้งหนึ่งจากตัวอย่างใน
สื่อการสอนต่อไปนี้

ในตัวอย่างถัดไป ผู้เรียนจะได้เห็นประโยชน์อีกด้านหนึ่งของการเขียนจานวนเชิงซ้อนในรูปแบบ
เชิงขั้วและการใช้ทฤษฎีของเดอมัวร์

7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประเด็นที่ผู้เรียนมักสับสนและผู้สอนควรเน้นย้าคือ

1) รากที่ 4 ของ 1 เป็นจานวนเชิงซ้อนและมีทั้งหมด 4 จานวน คือ 1, 1 , i และ i

2) จากสมการ cos 4  i sin 4  cos0  i sin 0 ผู้เรียนมักจะสรุปว่า 4  0 นั่นคือ   0 ซึ่ง

เป็นคาตอบของสมการเพียงหนึ่งคาตอบ ไม่ใช่คาตอบทั้งหมด

3) จาก r 4  1 จะได้ r  1 เท่านั้น เพราะ r  z เป็นจานวนจริงบวกหรือศูนย์

 k k 
4) จาก z  1 cos  i sin  เมื่อ k  ผู้สอนอาจจะแทนค่า k  4 ให้ผู้เรียนดูเพิ่มเติม
 2 2 

จนได้ข้อสรุปว่า z ที่ได้จากการแทนค่า k มีเพียง 4 ค่าเท่านั้น คือ 1, 1 , i และ i

5) เมื่อนารากที่ 4 ของ 1 ทั้งหมดมาเขียนแผนภาพบนวงกลมหนึ่งหน่วย จะพบว่า



อาร์กิวเมนต์ของ zm กับ zm1 ต่างกัน เรเดียนเสมอ เมื่อ m เป็นจานวนเต็มบวกหรือศูนย์
2

การหารากที่ n ของจานวนเชิงซ้อน z ทั้งหมด ทาได้ด้วยวิธีการข้างต้น ซึ่งผู้เรียนจะได้ศึกษาตัวอย่าง


เพิ่มเติมจากสื่อการสอน

8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทั้งสองตัวอย่างข้างต้นเป็นแนวทางนาไปสู่การพิสูจน์ทฤษฎีบท เพื่อความสะดวกในการนาไปใช้

ผูส้ อนอาจแสดงการพิสูจน์ทฤษฎีบท ดังนี้

9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทฤษฎีบท ถ้า z  r  cos  i sin   แล้วรากที่ n ของ z มีทั้งหมด n รากที่ต่างกันคือ

    2 k     2 k  
zk  n r cos    i sin  
  n   n 

เมื่อ k 0,1, 2,..., n 1

พิสูจน์ สาหรับแต่ละ k 0,1, 2,..., n 1 เราได้ว่า


n
     2k     2k   
zk   n r cos 
n
  i sin   
   n   n  

 r cos   2k   i sin   2k  

 r cos   i sin  

z

ดังนั้น zk เป็นรากที่ n ของ z ทุก k 0,1, 2,..., n  1

ต่อไปจะแสดงว่า รากที่ n ของ z ต้องอยู่ในรูป zk เท่านั้น

ให้ z  r  cos   i sin  

สมมติให้ w  s  cos   i sin   เป็นรากที่ n ของ z

ดังนั้น wn  z

โดยทฤษฎีบทของเดอมัวร์ จะได้

s n cos  n   i sin  n    r  cos   i sin  

เนื่องจาก wn  z จะได้ w  z
n

sn  r

แทน ใน จะได้ cos  n   i sin  n   cos  i sin 

10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดังนั้น n    2k เมื่อ k

  2k
นั่นคือ  เมื่อ k
n

จาก และความจริงที่ว่า s 
 0 , r  
 0 จะได้ s  n r

    2 k     2 k  
เพราะฉะนั้น w  n r  cos    i sin   เมื่อ k
  n   n  

เนื่องจากค่าของ cos    2k  และ sin    2k  เมื่อ k


 n   n 

มีเพียง n ค่าเท่านั้น คือ เมื่อ k 0,1, 2,..., n 1

ดังนั้น w  n r cos    2k   i sin    2k   เมื่อ k 0,1, 2,..., n 1


  n   n 

สรุปได้ว่า รากที่ n ของ z มีทั้งหมด n รากที่แตกต่างกัน คือ

    2 k     2 k 
zk  n r cos    i sin   เมื่อ k 0,1, 2,..., n 1 #
  n   n 

11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2
ผู้สอนควรเน้นย้ากับผู้เรียนว่า ผลต่างของอาร์กิวเมนต์ของ zk กับ zk 1 จะมีค่าเท่ากับ
n
เสมอ นั่นคือ เมื่อนารากที่ n ของ z ทั้งหมดมาเขียนแผนภาพบนวงกลมรัศมี z หน่วย จะพบว่าตาแหน่ง
ของรากทั้งหมดแบ่งวงกลมออกเป็น n ส่วนที่เท่ากัน

ในตัวอย่างสุดท้ายของเรื่อง รากของจานวนเชิงซ้อน ผู้เรียนจะได้ศึกษาการใช้ทฤษฎีบท เพื่อหา


รากที่ n ของจานวนเชิงซ้อน

12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แบบฝึกหัดเพิ่มเติม

เรื่อง รากของจานวนเชิงซ้อน
1-8 จงหารากที่ n ทั้งหมดของจานวนเชิงซ้อน z ในแต่ละข้อต่อไปนี้

1. z  16 ; n2

2. z  32 ; n5
3. z  1 i ; n2
4. z   3 i ; n3
5. z  9  9 3i ; n4
  
6. z  4  cos  i sin  ; n2
 3 3
 
7. z  cos  i sin ; n4
5 5
 2 2 
8. z  2  cos  i sin  ; n3
 7 7 

9-10 จงหารากที่ n ทั้งหมดของจานวนเชิงซ้อน z ในแต่ละข้อต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงแผนภาพ

9. z  27i ; n3
10. z  1 ; n  6

13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. สมการพหุนาม

14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. สมการพหุนาม
ในช่ วงแรกของเรื่องสมการพหุนาม ผู้ส อนอาจทบทวนบทนิย ามของพหุนาม ตัวแปรเดีย วที่มี
สัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริงก่อน ดังนี้

บทนิยาม กาหนดให้ n เป็นจานวนเต็มบวกหรือศูนย์ และ a0 , a1 ,..., an เป็นจานวนจริง ซึ่ง an  0

พหุนามตัวแปรเดียวที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง คือ นิพจน์ที่อยู่ในรูป

an x n  an 1 x n 1  ...  a1 x  a0

เมื่อ x เป็นตัวแปร

ตัวอย่าง

1. 3x 4  9 x 2  1 เป็นพหุนามดีกรี 4

2. 0.2 x 3  5 x 2  3 x เป็นพหุนามดีกรี 3
3. 4 x 2  0.3 x  9 เป็นพหุนามดีกรี 2

4. 3.1x เป็นพหุนามดีกรี 1

จากนั้นจึงให้ผู้เรียนศึกษาบทนิยามของพหุนามตัวแปรเดียวที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเชิงซ้อน

15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลังจากที่ผู้เรียนทราบบทนิยามของสมการพหุนามแล้ว ผู้สอนควรเพิ่มข้อสังเกตให้ผู้เรียนว่า ถ้า w


เป็นจานวนเชิงซ้อน แล้ว คาตอบของสมการพหุนาม xn  w  0 คือคาตอบของสมการ xn  w นั่นคือ
รากที่ n ของ w นั่นเอง

ตัวอย่าง

1. คาตอบของสมการพหุนาม x2  4  0 คือ รากที่ 2 ของ 4


ดังนั้น คาตอบของสมการ x2  4  0 คือ 2i และ 2i
2. คาตอบของสมการพหุนาม x 4  81  0 คือ รากที่ 4 ของ 81
ดังนั้น คาตอบของสมการ x 4  81  0 คือ 3,3, 3i และ 3i
3. คาตอบของสมการพหุนาม x2  i  0 คือ รากที่ 2 ของ i
2 2  2 2
ดังนั้น คาตอบของสมการ x2  i  0 คือ  i และ  i
2 2 2 2

16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากตัวอย่างข้างต้น ผู้สอนควรเน้นย้ากับผู้เรียนว่าสมการ x2  1  0 เป็นตัวอย่างหนึ่งของสมการที่มี


สัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง แต่ไม่มีคาตอบที่เป็นจานวนจริง (มีคาตอบเป็นจานวนเชิงซ้อน) ทฤษฎีบทหลัก
มูลของพีชคณิตจะยืนยันว่าสมการพหุนามทุกสมการที่มีสัมประสิทธ์ของพหุนามเป็นจานวนเชิงซ้อนและมี
ดีกรีมากกว่าหรือเท่ากับหนึ่งจะมีคาตอบที่เป็นจานวนเชิงซ้อนเสมอ

การพิสูจน์ทฤษฎีบทหลักมูลของพีชคณิตต้องใช้ความรู้ระดับสูง ผู้สอนสามารถละเว้นการพิสูจน์
ทฤษฎีบทนี้ได้ ทฤษฎีบทที่ผู้สอนอาจจะพิสูจน์ให้ผู้เรียนได้ศึกษาเพิ่มเติมคือ ผลของทฤษฎีบทหลักมูลของ
พีชคณิต ดังนี้

ทฤษฎีบท ถ้า p  x  เป็นพหุนามตัวแปรเดียวที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเชิงซ้อนและมีดีกรี n  1 แล้ว


สมการ p  x   0 จะมีคาตอบที่เป็นจานวนเชิงซ้อนทั้งหมด n คาตอบ (นับคาตอบที่ซ้ากันด้วย)

พิสูจน์ ให้ p  x   an xn  an1xn1  ...  a1x  a0 เป็นพหุนามดีกรี n  1 ซึ่ง an , an1 ,..., a1, a0

เป็นจานวนเชิงซ้อน

โดยทฤษฎีบทหลักมูลของพีชคณิต จะได้ว่าสมการ p  x   0 จะมีคาตอบที่เป็นจานวน

เชิงซ้อนอย่างน้อยหนึ่งคาตอบ สมมติให้เป็น z1

17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดังนั้น x  z1 เป็นตัวประกอบของ p  x 

ทาให้ได้ว่า p  x    x  z1  p1  x  เมื่อ p1  x  เป็นพหุนามดีกรี n 1

ถ้า n 1  0 หรือ p1  x  เป็นพหุนามค่าคงตัว แล้วทฤษฎีบทเป็นจริง

ต่อไปสมมติว่า n 1  1

ดังนั้น สมการ p1  x   0 จะมีคาตอบที่เป็นจานวนเชิงซ้อนอย่างน้อยหนึ่งคาตอบ

สมมติให้เป็น z2 ดังนั้น x  z2 เป็นตัวประกอบของ p1  x 

เพราะฉะนั้น p1  x    x  z2  p2  x  เมื่อ p2  x  เป็นพหุนามดีกรี n  2

นั่นคือ p  x    x  z1  x  z2  p2  x  เมื่อ p2  x  เป็นพหุนามดีกรี n  2

ถ้า n  2  0 หรือ p2  x  เป็นพหุนามค่าคงตัว แล้วทฤษฎีบทเป็นจริง

แต่ถ้า n  2  1 เราพิจารณาเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนถึงครั้งที่ n จะได้ว่า

p  x    x  z1  x  z2    x  zn  pn  x 

เนื่องจาก  x  z1  x  z2    x  zn  เป็นพหุนามดีกรี n ซึ่งเท่ากับดีกรีของ p  x  และมี

สัมประสิทธิ์นาเป็น 1 ดังนั้น pn  x  ต้องเป็นค่าคงตัว an ซึ่งเป็นสัมประสิทธิ์นาของ p  x 

จึงได้ p  x   an  x  z1  x  z2    x  zn  (*)

เพราะฉะนั้นสมการ p  x   0 มีคาตอบอย่างน้อย n คาตอบ คือ z1 , z2 ,..., zn

ต่อไปจะแสดงว่า คาตอบของสมการ p  x   0 มีเพียง n คาตอบเท่านั้น

สมมติให้ a เป็นคาตอบของสมการ (*) ซึ่งแตกต่างจาก z1 , z2 ,..., zn

ดังนั้น p  a   an  a  z1  a  z2    a  zn   0

เนื่องจาก a  zi สาหรับทุก i  1, 2,..., n

18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดังนั้น  a  zi   0 สาหรับทุก i  1, 2,..., n

เพราะฉะนั้น  a  z1  a  z2    a  zn   0

จึงได้ว่า an  0 ซึ่งเกิดข้อขัดแย้ง เพราะ an เป็นสัมประสิทธิ์นาของพหุนาม p  x 

สรุปได้ว่า สมการ p  x   0 มีคาตอบเป็นจานวนเชิงซ้อนเพียง n คาตอบเท่านั้น #

จากตัวอย่างข้างต้น ผู้สอนควรเน้นย้าว่าสมการ  x  3 x  2i  x  12  0 มีคาตอบ 4 คาตอบ


แต่มีคาตอบที่ซ้ากัน ผู้สอนอาจจะยกตัวอย่างต่อไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอย่าง จงหาเซตคาตอบของสมการ x3  x 2  1  0

วิธีทา เนื่องจากสมการ x3  x 2  1  0 เป็นสมการพหุนามดีกรี 5

ดังนั้น จะมีคาตอบทั้งหมด 5 คาตอบ (นับคาตอบที่ซ้ากันด้วย)

จากโจทย์จะได้ x3  x  i  x  i   0

เพราะฉะนั้น x3  0 และ x i  0 และ x i  0 ทาให้ได้ว่า x  0, i หรือ i

ดังนั้น เซตคาตอบของสมการ x3  x 2  1  0 คือ 0, i, i #

19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สาหรับการหาคาตอบของสมการกาลังสอง ax 2  bx  c  0 เมื่อ a, b, c เป็นจานวนจริงใด ๆ ซึ่ง


a0 ผู้สอนอาจแสดงการหาสูตรของคาตอบดังนี้

เนื่องจาก ax 2  bx  c  0 โดยที่ a  0
b c
จะได้ x2  x 0
a a

2 2
b  b   b  c
x  x     0
2

a  2a   2a  a

b   b 2  4ac 
2

 x     0
 2a   4a 2 

b 2  4ac
2
 b 
x  
 2a  4a 2

b b2  4ac
x 
2a 2a

b  b 2  4ac
x 
2a

ถ้า b 2  4ac  0 จะได้ x เป็นจานวนจริง นั่นคือ

b  b 2  4ac b  b2  4ac
x หรือ x
2a 2a

ถ้า b 2  4ac  0 จะได้ x เป็นจานวนเชิงซ้อน นั่นคือ

b   4ac  b   1
2
b  4ac  b2 i
x หรือ x
2a 2a

b   4ac  b   1
2
b  4ac  b2 i
หรือ x หรือ x
2a 2a

20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สิ่งที่ผู้สอนควรเน้นย้าหลังจากผู้เรียนได้ศึกษาตัวอย่างข้างต้นแล้ว คือ การหาคาตอบที่เป็นจานวนจริง


ของสมการ  x 2  2  x 2  4   0 ทาได้โดยการนา x2  4 หารตลอดทั้งสมการ เนื่องจาก x2  4  0

ไม่ ว่ า x จะเป็ น จ านวนจริ ง ใด ซึ่ ง จะได้ x2  2  0 ดั งนั้ น x 2 หรื อ x 2 ในขณะที่ ก ารหา
คาตอบที่เป็นจานวนเชิงซ้อนของสมการ  x 2  2  x 2  4   0 จะต้องหาคาตอบของสมการ x2  4  0

ด้วย

นอกจากนี้ในการหาคาตอบของสมการดีกรีมากกว่าหรือเท่ากับสาม เราอาจใช้ทฤษฎีบทตัวประกอบ
และทฤษฎีบทตัวประกอบจานวนตรรกยะซึ่งผู้เรียนได้ศึกษาไปแล้วในเรื่องจานวนจริงช่วยได้ ดังนั้น ผู้สอน
ควรทบทวนทฤษฎีบทต่อไปนี้ให้กับผู้เรียน

21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทฤษฎีบทตัวประกอบ

กาหนดให้ c เป็นจานวนเชิงซ้อน และ p  x  เป็นพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเชิงซ้อนและมี


ดีกรีมากกว่าหรือเท่ากับ 1 จะได้ว่าพหุนาม p  x  มี xc เป็นตัวประกอบก็ต่อเมื่อ p  c   0

ทฤษฎีบทตัวประกอบจานวนตรรกยะ

กาหนดให้ p  x   an xn  an1xn1  ...  a1x  a0 โดยที่ n เป็นจานวนเต็มบวก และ


an , an1 ,..., a1 , a0 เป็นจานวนเต็ม ซึ่ง an  0
k
ถ้า x เป็นตัวประกอบของพหุนาม p  x  โดยที่ m และ k เป็นจานวนเต็ม ซึ่ง m  0 และ
m
ห.ร.ม. ของ m และ k คือ 1 แล้ว m หาร an ลงตัว และ k หาร a0 ลงตัว

22
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทฤษฎีบทต่อไปนี้เป็นอีกหนึ่งทฤษฎีที่มีประโยชน์มากในการหาคาตอบของสมการพหุนาม

ผู้สอนควรตั้งข้อสังเกตจากทฤษฎีบทนี้ว่า คาตอบของสมการพหุนามดีกรี 3 ที่มีสัมประสิทธิ์เป็น


จานวนจริง เป็นไปได้ 2 แบบ คือ

1. คาตอบทุกคาตอบเป็นจานวนจริง
2. มีคาตอบที่เป็นจานวนจริงหนึ่งคาตอบและคาตอบที่เป็นจานวนเชิงซ้อน a  bi เมื่อ b  0

สองคาตอบ (จานวนเชิงซ้อนทั้งสองจานวนเป็นสังยุคของกันและกัน)

นอกจากนี้ ผู้สอนอาจจะให้ผู้เรียนลองพิจารณารูปแบบของคาตอบของสมการพหุนามดีกรี n เมื่อ n


เป็นจานวนเต็มบวกอื่นๆ

23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตัวอย่างที่กล่าวมาทั้งหมดเป็นการแก้สมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง ผู้สอนควร
ยกตัวอย่างการแก้สมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเชิงซ้อนเพิ่มเติม ดังนี้

ตัวอย่าง จงหาคาตอบของสมการ x 3  3ix 2  x  3i  0

วิธีทา จากสมการ x3  3ix 2  x  3i  0

จะได้ x2  x  3i    x  3i   0

x 2
 1  x  3i   0

 x  i  x  i  x  3i  0

ดังนั้น คาตอบของสมการ คือ i, i และ 3i #

24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แบบฝึกหัดเพิ่มเติม

เรื่อง สมการพหุนาม
1-7 จงหาเซตคาตอบของสมการต่อไปนี้

1. x 2  2 3  2i

2.  
2
x3  3 i

3.  x 2  7 
2
0

4.  x 2  7 
2
0

5. x 2  3x  6  0
6. x 2  x 2  2 x  1  0
3

7.  x  32  x  4 3  x  i 2  0

8. จงหาสการพหุนามดีกรีต่าสุดที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง ซึ่งมี 1 และ 1  i เป็นคาตอบ

9. ถ้า 7 และ  7 เป็นคาตอบของสมการ x 4  2 x3  3x 2  14 x  28  0 แล้ว จงหาเซตคาตอบของ

สมการนี้

10. จงหาเซตคาตอบของสมการ x 4  2 x3  x 2  2 x  2  0

25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สรุปสาระสาคัญประจาตอน

26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สรุปสาระสาคัญประจาตอน

27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาคผนวกที่ 1

แบบฝึกหัด / เนื้อหาเพิ่มเติม

28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แบบฝึกหัดระคน
3 1
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นรากที่ 3 ของ  i
2 2

2 2 5 5
1. cos  i sin 2. cos  i sin
3 3 6 6

8 8 25 25
3. cos  i sin 4. cos  i sin
9 9 18 18

2. ผลบวกของคาตอบที่แตกต่างกันทั้งหมดของสมการ  x  12  x2  2 x  2  0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3 2. 3i
3. 3  2i 4. 3  2i

3. ข้อใดต่อไปนี้เป็นตัวประกอบของ 2 x3  2 x  x 2i  i
1. x2 2. 2x  1
3. 2x  i 4. x  2i

4. ให้ 
A  x
2

x 2  x  i   x 2  25   0

จานวนสมาชิกในเซต A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 จานวน 2. 4 จานวน
3. 5 จานวน 4. 6 จานวน

5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
2 2 
ก. ผลคูณของรากที่ 2 ของ 4  cos  i sin  เท่ากับ 2  2 3i
 3 3 
ข. ผลบวกของรากที่ 4 ของ 4 คือ 2i
ข้อใดต่อไปนี้ถูก

29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. ข้อ ก และ ข ถูก 2. ข้อ ก ถูก และ ข ผิด


3. ข้อ ก ผิด และ ข ถูก 4. ข้อ ก และ ข ผิด

6. ถ้ารากที่ 2 ของ 9 เป็นคาตอบของสมการ x 3  6 x 2  9 x  54  0 แล้ว ผลคูณของคาตอบ


ทั้งหมดของสมการนี้เท่ากับเท่าใด
1. 6 2. 9
3. 27 4. 54

7. กาหนดสมการพหุนาม 2 x3  5 x 2  4 x  3  0 ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. คาตอบของสมการทั้งหมดเป็นจานวนเต็ม
2. คาตอบของสมการทั้งหมดเป็นจานวนจริง
3. มีคาตอบที่เป็นจานวนจริง 1 จานวน และจานวนจินตภาพแท้ 2 จานวน
4. มีคาตอบที่เป็นจานวนจริง 1 จานวน และจานวนเชิงซ้อน a  bi เมื่อ a  0 และ b  0
อยู่ 2 จานวน

8. ผลบวกของคาตอบที่เป็นจานวนตรรกยะของสมการ x 4  x3  4 x 2  6 x  12  0 เท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้
1. 2 2. 1

3. 0 4. 1

9. สมการพหุนามดีกรีต่าสุดซึ่งมีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง และมี 2  3i, 3 และ  3 เป็นคาตอบ


ตรงกับสมการในข้อใด
1. x 4  4 x 3  10 x 2  12 x  39  0

2. x 4  4 x 3  10 x 2  12 x  39  0

3. x 4  4 x 3  10 x 2  12 x  39  0

4. x 4  4 x 3  10 x 2  12 x  39  0

30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10. ถ้า 3i เป็นคาตอบของสมการ x3  6 x 2i  4 x 2  9 x  39 xi  36  0 แล้วผลบวกของคาตอบ


ทั้งหมดตรงกับข้อใด
1. 12  3i
2. 12  3i
3. 4  6i
4. 4  6i

31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาคผนวกที่ 2

เฉลยแบบฝึกหัด

32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เฉลยแบบฝึกหัดเพิม่ เติม

เรื่อง รากของจานวนเชิงซ้อน
1. z0  4i

z1  4i

2. z0  2
 2 2 
z1  2  cos  i sin 
 5 5 
 4 4 
z2  2  cos  i sin 
 5 5 
 6 6 
z3  2  cos  i sin 
 5 5 
 8 8 
z4  2  cos  i sin 
 5 5 

  
3. z0  4 2  cos  i sin 
 8 8
 9 9 
z1  4 2  cos  i sin 
 8 8 

 5 5 
4. z0  3 4  cos  i sin 
 18 18 
 17 17 
z1  3 4  cos  i sin 
 18 18 
 29 29 
z2  3 4  cos  i sin 
 18 18 

33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 5 5 
5. z0  4 18  cos  i sin 
 12 12 
 11 11 
z1  4 18  cos  i sin 
 12 12 
 17 17 
z2  4 18  cos  i sin 
 12 12 
 23 23 
z3  4 18  cos  i sin 
 12 12 

  
6. z0  2  cos  i sin 
 6 6
 7 7 
z1  2  cos  i sin 
 6 6 

 
7. z0  cos  i sin
20 20
11 11
z1  cos  i sin
20 20
21 21
z2  cos  i sin
20 20
31 31
z3  cos  i sin
20 20

 2 2 
8. z0  3 2  cos  i sin 
 21 21 
 16 16 
z1  3 2  cos  i sin 
 21 21 
 30 30 
z2  3 2  cos  i sin 
 21 21 

9. z0  3i
3 3 3
z1   i
2 2
3 3 3i
z2  
2 2

34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3 i
10. z0  
2 2
z1  i

3 i
z2  
2 2
 3 i
z3  
2 2
z4  i

3 i
z5  
2 2

35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เฉลยแบบฝึกหัดเพิม่ เติม

เรื่อง สมการพหุนาม
  5 5   17 17  
1. 2  cos  i sin  , 2  cos  i sin 
  12 12   12 12  
3  5 5   11 11   17 17 
2.  4  cos  i sin ,
3
4  cos  i sin ,
3
4  cos  i sin 
  9 9   9 9   9 9 
3.  7, 7
4.  7i, 7i

 3
 15 3 
15 
5.   i,  i
2
 2 2 2 
6. 0, 1  2,  1  2 
7. 4, 3, i

8. x3  3x 2  4 x  2  0
9.  7, 7, 1  3i, 1  3i 
10. 1, 1, 1  i, 1  i

36
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เฉลยแบบฝึกหัดระคน
1. 4
2. 1
3. 3
4. 2
5. 2
6. 4
7. 2
8. 4
9. 1
10. 3

37
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 77 ตอน
ประจําปงบประมาณ 2555

ผ-1
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 77 ตอน
(ประจําปงบประมาณ 2555)

เรื่อง ตอน
คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ บทนําเรื่องคณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ
ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง แบบฝกหัดเรื่อง ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 2)
เซต แบบฝกหัดเรื่อง เซต (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง เซต (ตอนที่ 2)
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 3)
ทฤษฎีจํานวน แบบฝกหัดเรื่อง ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 2)
จํานวนจริง แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 5)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 6)
เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย บทนําเรื่องเรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
จุดและสวนของเสนตรง
ความชันและเสนตรง
ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
วงกลม
พาราโบลา
วงรี
ไฮเพอรโบลา
การตรวจสอบสมการภาคตัดกรวย
ความสัมพันธและฟงกชัน แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 5)
เมทริกซ บทนําเรื่องเมทริกซ
ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ
การคูณและอินเวอรสการคูณของเมทริกซขนาด 2x2
ดีเทอรมิแนนต
อินเวอรสการคูณและการดําเนินการตามแถว
การใชเมทริกซแกระบบสมการเชิงเสน

ผ-2
เรื่อง ตอน
เวกเตอร บทนําเรื่องเวกเตอร
เวกเตอรในเชิงเรขาคณิต
เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก
การคูณเวกเตอรเชิงสเกลาร
การคูณเวกเตอรเชิงเวกเตอร
จํานวนเชิงซอน บทนําเรื่องจํานวนเชิงซอน
จํานวนเชิงซอน
สังยุคและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน
พิกัดเชิงขั้ว
รากของจํานวนเชิงซอน
ตรีโกณมิติ แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
คณิตศาสตรกับการเงินในชีวิตประจําวัน ภาษีและเครดิต
ดอกเบี้ยและคางวด
ผลตอบแทนและความเสี่ยงในการลงทุน
ลําดับและอนุกรม แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 5)
แคลคูลสั บทนําเรื่องแคลคูลัส
ลิมิต
ความตอเนื่อง
อัตราการเปลี่ยนแปลงและบทนิยามของอนุพันธ
อนุพันธ
คาสุดขีดสัมพัทธและคาสุดขีดสัมบูรณ
การประยุกตคาสุดขีด
ปริพันธ 1
ปริพันธ 2
หลักคณิตศาสตร หลักการพิสูจนเบื้องตน
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร
แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ความสัมพันธเวียนเกิดและการประยุกต

ผ-3
เรื่อง ตอน
สถิติ แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 4)

ผ-4
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 169 ตอน
ปงบประมาณ 2554-2555

ผ-5
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 169 ตอน

คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง
บทนํา คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ แบบฝกหัด ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 1)
ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 2)
เซต
บทนํา เซต การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
เนื้อหา ความหมายของเซต บทนํา การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เนื้อหา การใหเหตุผล
เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและ ประพจนและการสมมูล
แผนภาพเวนน-ออยเลอร สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
แบบฝกหัด เซต (ตอนที่ 1) ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
เซต (ตอนที่ 2) แบบฝกหัด การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 1)
สื่อปฏิสัมพันธ แผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 2)
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 3)
จํานวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ หอคอยฮานอย
บทนํา จํานวนจริง ตารางคาความจริง
เนื้อหา สมบัติของจํานวนจริง
การแยกตัวประกอบ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
ทฤษฎีบทตัวประกอบ บทนํา ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
สมการพหุนาม เนื้อหา การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
อสมการ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
เทคนิคการแกอสมการ แบบฝกหัด ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 1)
คาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 2)
การแกอสมการคาสัมบูรณ
กราฟคาสัมบูรณ เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
แบบฝกหัด จํานวนจริง (ตอนที่ 1) บทนํา เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
จํานวนจริง (ตอนที่ 2) เนื้อห จุดและสวนของเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 3) ความขันและเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 4) ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 5) วงกลม
จํานวนจริง (ตอนที่ 6) พาราโบลา
สื่อปฏิสัมพันธ ชวงบนเสนจํานวน วงรี
สมการและอสมการพหุนาม ไฮเพอรโบลา
กราฟคาสัมบูรณ การตรวจสอบสมการภาคตัดกรวย

ผ-6
ความสัมพันธและฟงกชัน ฟงกชันเลขชี้กาํ ลังและฟงกชันลอการิทึม
บทนํา ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา ฟงกชันเลขชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
เนื้อหา ความสัมพันธ เนื้อหา เลขยกกําลัง
โดเมนและเรนจ ฟงกชันเลขชี้กําลัง
อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของ ฟงกชันลอการิทึม
ฟงกชัน อสมการเลขชี้กาํ ลัง
ฟงกชันเบื้องตน อสมการลอการิทึม
พีชคณิตของฟงกชัน
อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ตรีโกณมิติ
ฟงกชันประกอบ บทนํา ตรีโกณมิติ
แบบฝกหัด ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 1) เนื้อหา อัตราสวนตรีโกณมิติ
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 2) เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 3) และวงกลมหนึ่งหนวย
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 4) ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 5) ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
เมทริกซ กฎของไซนและโคไซน
บทนํา เมทริกซ กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
เนื้อหา ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
การคูณและอินเวอรสการคูณของเมทริกซ แบบฝกหัด ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
ขนาด 2×2 ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
ดีเทอรมิแนนต ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
อินเวอรสการคูณและการดําเนินการตามแถว ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
การใชเมทริกซแกระบบสมการเชิงเสน ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
เวกเตอร สื่อปฏิสัมพันธ มุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
บทนํา เวกเตอร กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
เนื้อหา เวกเตอรในเชิงเรขาคณิต กฎของไซนและกฎของโคไซน
เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก
การคูณเวกเตอรเชิงสเกลาร กําหนดการเชิงเสน
การคูณเวกเตอรเชิงเวกเตอร บทนํา กําหนดการเชิงเสน
เนื้อหา การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
จํานวนเชิงซอน การหาคาสุดขีด
บทนํา จํานวนเชิงซอน
เนื้อหา จํานวนเชิงซอน คณิตศาสตรกับการเงินในชีวิตประจําวัน
สังยุคและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน สารคดี ภาษีและเครดิต
พิกัดเชิงขั้ว ดอกเบี้ยและคางวด
รากของจํานวนเชิงซอน ผลตอบแทนและความเสี่ยงในการลงทุน

ผ-7
ลําดับและอนุกรม สถิติและการวิเคราะหขอมูล
บทนํา ลําดับและอนุกรม บทนํา สถิติและการวิเคราะหขอมูล
เนื้อหา ลําดับ เนื้อหา บทนํา เนื้อหา
การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
ลิมิตของลําดับ แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
ผลบวกยอย แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
อนุกรม การกระจายของขอมูล
ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม การกระจายสัมบูรณ 1
แบบฝกหัด ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 1) การกระจายสัมบูรณ 2
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 2) การกระจายสัมบูรณ 3
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 3) การกระจายสัมพัทธ
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 4) คะแนนมาตรฐาน
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 5) ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
แคลคูลสั โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
บทนํา แคลคูลสั โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
เนื้อหา ลิมิต แบบฝกหัด สถิติ (ตอนที่ 1)
ความตอเนื่อง สถิติ (ตอนที่ 2)
อัตราการเปลี่ยนแปลงและบทนิยามของอนุพันธ สถิติ (ตอนที่ 3)
อนุพันธ สถิติ (ตอนที่ 4)
คาสุดขีดสัมพัทธและคาสุดขีดสัมบูรณ
การประยุกตคาสุดขีด แบบจําลองทางคณิตศาสตร
ปริพันธ 1 สารคดี แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ปริพันธ 2 ความสัมพันธเวียนเกิดและการประยุกต

การนับและความนาจะเปน โครงงานทางคณิตศาสตร
บทนํา การนับและความนาจะเปน วิจัย การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
เนื้อหา การนับเบื้องตน ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
การเรียงสับเปลี่ยน การถอดรากที่สาม
การจัดหมู เสนตรงลอมเสนโคง
ทฤษฎีบททวีนาม กระเบื้องที่ยืดหดได
การทดลองสุม
ความนาจะเปน 1
ความนาจะเปน 2

หลักคณิตศาสตร
เนื้อหา หลักการพิสูจนเบื้องตน
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร

ผ-8

You might also like