You are on page 1of 24

บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-1

บทที่ 3 การทดสอบสมมุติ ฐาน

การทดสอบสมมุตฐิ าน (Hypothesis Test) เป็นการทดสอบค่าพารามิเตอร์ของประชากร


ว่าเป็นไปตามทีค่ าดหรือไม่ (การตัดสินใจเกีย่ วกับค่าของพารามิเตอร์) การกําหนดสมมุตฐิ านนัน้
มีการกําหนด 2 แบบ คือ สมมุตฐิ านเชิงพรรณนา (Descriptive Hypothesis) ซึ่งเป็นสมมุตฐิ านที่
อยูใ่ นลักษณะของข้อความการบรรยาย เช่น ราคาขายของรถยนต์มอื สองมีความสัมพันธ์กบั อายุ
การใช้ง านของรถยนต์ รายจ่า ยของนัก ศึก ษาหญิง มากกว่ารายจ่ า ยของนัก ศึก ษาชายของ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสมมุตฐิ านเชิงสถิติ (Statistical Hypothesis) คือ ข้อความเกี่ยวกับ
พารามิเตอร์ของหนึ่ง ประชากรหรือหลายประชากร ซึ่ง นิยมเขียนอยู่ใ นรูปของสัญ ลักษณ์ ท าง
คณิตศาสตร์ของพารามิเตอร์ เช่น อายุการใช้งานของแบตเตอรีใ่ นโรงงานแห่งหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 3
ปี ให้ μ แทนอายุการใช้งานเฉลี่ยของแบตเตอรี่จากโรงงาน ดังนัน้ จะตัง้ สมมุติฐานว่า μ = 3
สมมุตฐิ านแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1) สมมุตฐิ านว่าง (Null Hypothesis) หรือสมมุตฐิ านจริง (สมมุตฐิ านเพื่อการทดสอบ)


แทนด้วย H 0
2) สมมุตฐิ านทางเลือก (Alternative Hypothesis) แทนด้วย H1

ในการทดสอบสมมุตฐิ านนัน้ จะพิจารณาจากการแจกแจงของตัวสถิตทิ ่ไี ด้จากตัวอย่างใน


การประมาณค่าพารามิเตอร์ทเ่ี กีย่ วข้องกับสมมุตฐิ านนัน้ ๆ ตัวอย่างเช่น ในการประมาณค่าเฉลี่ย
ประชากร μ นัน้ โดยปกติแล้วจะใช้ค่าเฉลีย่ ตัวอย่าง X ทําการประมาณ ทํานองเดียวกันในการ
ทดสอบสมมุติฐ านเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยประชากร μ ก็จ ะพิจ ารณาจากการแจกแจงของค่าเฉลี่ย
ตัวอย่าง X ในการทดสอบซึง่ จะเรียกว่า สถตที ิ ิ ่ใช้ในการทดสอบ (Test Statistic) เป็นตัวสถิติ
ที่ใ ช้ใ นการตัดสิน ใจในการทดสอบสมมุ ติฐ าน การที่จ ะยอมรับ หรือปฏิเ สธสมมุ ติฐ านนัน้ จะ
พิจารณาจากค่าสถิตทิ ใ่ี ช้ในการทดสอบว่าตกอยูใ่ นอาณาเขตที่ยอมรับ H 0 หรือ ปฏิเสธ H 0 และ
จะเรียกอาณาเขตปฏิเสธ H 0 ว่า บรเวณ ิ วกฤต
ิ (Critical Region) ส่วนค่าทีก
่ าํ หนดขอบเขตของ
อาณาเขตปฏิเสธก็จะเรียกว่า จุดวกฤติ (Critical Point)

3.1 ประเภทของการทดสอบสมมุติ ฐาน

3.1.1 การทดสอบสองด้าน (Two-Sided Test) คือ สมมุตฐิ านทีอ่ ยูใ่ นรูป H 0 : θ = θ0 เทียบ
กับ H1 : θ ≠ θ0 มีขอบเขตของการยอมรับและปฏิเสธสมมุตฐิ านจริง (H0 ) ดังรูปที่ 3.1 ซึง่
ขอบเขตของการปฏิเสธ H 0 (บริเวณวิกฤต) มี 2 ด้านและจุดวิกฤตคือ L และ U

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-2

α α
2 2

H0 H0
H0

รูปที่ 3. 1 ขอบเขตของการปฏิเสธ H0 ของการทดสอบ 2 ด้าน

3.1.2 การทดสอบด้านเดียว (One-Sided Test)


ถ้าสมมุตฐิ านอยู่ในรูป H 0 : θ ≥ θ0 เทียบกับ H1 : θ < θ0 จะมีขอบเขตของการปฏิเสธ
H 0 (บริเวณวิกฤต) อยูด ่ า้ นซ้ายและจุดวิกฤตคือ L

H0 H0

รูปที่ 3. 2 ขอบเขตของการปฏิเสธ H0 ของการทดสอบด้านซ้าย

ถ้าสมมุตฐิ านอยูใ่ นรูป H 0 : θ ≤ θ0 , H1 : θ > θ0 จะมีขอบเขตของการปฏิเสธ H0


(บริเวณวิกฤต) อยูด่ า้ นขวาและค่าวิกฤตคือ U

ขอบเขตยอมรั บ H 0 ขอบเขตปฏิเสธ H 0
(บริ เวณวิ กฤต)
รูปที่ 3. 3 ขอบเขตของการปฏิเสธ H0 ของการทดสอบด้านขวา
ิ พิจารณาจากค่าสถิตทิ ่ใี ช้ในการทดสอบว่าตกอยู่ในอาณาเขตที่ยอมรับ
การตัดสนใจ H0 หรือ
ปฏิเสธ H 0 ณ ระดับนัยสําคัญ α

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-3

3.2 ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมุติ ฐาน


เนื่องจากใช้ขอ้ มูลจากตัวอย่างอ้างอิงถึงประชากรอาจทําให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการ
สรุปผล ซึง่ ความคลาดเคลื่อนมี 2 ชนิด
1) ความคลาดเคลื่อนชนิดที่ 1 (Type I Error) คือความคลาดเคลื่อนทีเ่ กิดจากการ
ตัดสินใจปฏิเสธ H 0 โดยที่ H 0 เป็นจริง ความน่าจะเป็นทีจ่ ะเกิดความคลาดเคลื่อนชนิดนี้เรียกว่า
ระดับนัยสําคัญ (Significance Level) นั ่นคือ P(ปฏิเสธ H 0 | H 0 จริง) = α
2)ความคลาดเคลื่อนชนิดที่ 2 (Type II Error) คือความคลาดเคลื่อนทีเ่ กิดจากการ
ตัดสินใจยอมรับ H 0 โดยที่ H 0 ไม่จริง ความน่าจะเป็นทีจ่ ะเกิดความคลาดเคลื่อนชนิดนี้แทน
ด้วย β นั ่นคือ P(ยอมรับ H 0 | H 0 ไม่จริง) = β และจะเรียก 1 − β ว่า กําลังการทดสอบ
(Power of the Test) ซึง่ เป็นการตัดสินใจถูกต้องทีจ่ ะปฏิเสธ H 0 โดยที่ H 0 ไม่จริง

ตารางที่ 3.1 ความคลาดเคลื่อนในการทดสอบสมมุตฐิ าน


ผลการทดสอบ H0 จริง H0 ไม่จริง
ปฏิเสธ H0 Type I Error ตัดสินใจถูกต้อง
ยอมรับ H0 ตัดสินใจถูกต้อง Type II Error

ค่าของ α และ β จะแปรผกผันกัน คือ ถ้าค่า α มาก ค่า β จะน้อย หรือถ้าค่า α น้อย
ค่า β จะมาก ในการทดสอบสมมุติฐ านจะต้องพยายามควบคุม ให้ค่า α และ β มีค่าน้ อยๆ
วิธกี ารหนึ่งทีจ่ ะทําให้ α และ β มีค่าน้อยคือเพิม่ ขนาดตัวอย่าง โดยทั ่วไปแล้วจะกําหนดค่า α
หรือระดับนัยสําคัญก่อนการทดสอบ

หลักการตัง้ สมมุติ ฐาน


ถ้าพารามิเตอร์ท่ตี ้องการทดสอบมีเครื่องหมายเท่ากับอยู่ด้วย ให้กําหนดสมมุตฐิ านที่
ทดสอบไว้ใน H 0 ส่วนทิศทางตรงกันข้ามของพารามิเตอร์ทท่ี ดสอบให้กาํ หนดไว้ใน H1
ถ้าพารามิเตอร์ทต่ี อ้ งการทดสอบไม่มเี ครื่องหมายเท่ากับให้กาํ หนดสมมุตฐิ านที่ทดสอบไว้
ใน H1 ส่วนทิศทางตรงข้ามของพารามิเตอร์ทท่ี ดสอบให้กาํ หนดไว้ใน H 0
ตัวอย่างการตัง้ สมมุติ ฐาน
1) โรงงานผลิตนํ้าผลไม้แห่งหนึ่งเชื่อว่าปริมาณใยอาหารเฉลีย่ ต่อกล่องของนํ้าผลไม้ทผ่ี ล
มากกว่า 20 กรัม
ให้ μ แทนปริมาณใยอาหารเฉลีย่ ต่อกล่องของนํ้าผลไม้ของโรงงานนี้
H 0 : μ ≤ 20 H 0 : μ = 20
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ หรือ
H1 : μ > 20 H1 : μ > 20

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-4

2) ถ้าเชื่อว่ารายได้เฉลีย่ ต่อเดือนของชาวนาน้อยกว่าชาวสวน
ให้ μ A , μB แทนรายได้เฉลีย่ ต่อเดือนของชาวนา และชาวสวนตามลําดับ
H0 : μA ≥ μB H0 : μA − μB = 0
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ หรือ
H1 : μ A < μ B H1 : μ A − μ B < 0

3) สมาคมวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสัดส่วนของบัณฑิตจบใหม่กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะมี
งานทํามีค่าอย่างน้อย 85%
ให้ p แทนสัดส่วนของบัณฑิตจบใหม่กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทม่ี งี านทํา
H 0 : P ≥ 0.85 H 0 : P = 0.85
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ หรือ
H1 : P < 0.85 H1 : P < 0.85

ขัน้ ตอนการทดสอบสมมุติ ฐาน มีดงั นี้


1) กําหนดพารามิเตอร์ทท่ี ดสอบ
2) ตัง้ สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
3) กําหนดสถิตทิ ดสอบทีเ่ หมาะสม
4) คํานวณค่าสถิตทิ ดสอบ
5) พิจารณาระดับนัยสําคัญทีก่ าํ หนด
6) หาขอบเขตปฏิเสธ H0 (บริเวณวิกฤต)
7) สรุปผลการทดสอบ

3.3 การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
กําหนด μ แทนค่าเฉลีย่ ประชากร ตัง้ สมมุตฐิ านแบบใดแบบหนึ่ง ดังนี้
H0 : μ = μ0 และ H1 : μ ≠ μ o

หรือ H0 : μ ≥ μ0 และ H1 : μ < μ 0

หรือ H0 : μ ≤ μ0 และ H1 : μ > μ0


พจารณาการ ทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร 3 กรณี ดงั นี้
3.3.1 ประชากรแจกแจงปรกติ และทราบค่าความแปรปรวนประชากร (σ2 )

X − μ0 x − μ0
Z= ~ N(0,1) ค่าสถิตทิ ดสอบ z cal =
σ n σ n

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-5

3. 3.2 ประชากรแจกแจงปรกติ ไม่ทราบค่าความแปรปรวนประชากร และขนาดตัวอย่าง


เล็ก (n < 30)

X − μ0 x − μ0
T= , ν = n −1 ค่าสถิตทิ ดสอบ t cal =
S n s n

3. 3.3 ไม่ทราบการแจกแจงของประชากร แต่ขนาดตัวอย่างใหญ่ (n ≥ 30)

ทราบค่าความแปรปรวนประชากร (σ 2 )
X − μ0 x − μ0
Z= ~ N(0,1) ค่าสถิตท
ิ ดสอบ zcal =
σ n σ n

ไม่ทราบค่าความแปรปรวนประชากร
X − μ0 x − μ0
Z= ~ N(0,1) ค่าสถิตท
ิ ดสอบ zcal =
S n s n

ิ H 0 (บรเวณวกฤต
ขอบเขตปฏเสธ ิ ิ )
บริเวณวิกฤตขึน้ อยูก่ บั สถิตทิ ดสอบและสมมุตฐิ านทางเลือก กรณีใช้สถิตทิ ดสอบ Z สามารถหา
บริเวณวิกฤตและสรุปผลการทดสอบดังนี้
สมมุติ ฐานทางเลือก ิ ิ
บรเวณวกฤต ิ H 0 เมื่อ
ปฏเสธ

z cal < −z α หรือ


H1 : μ ≠ μ 0 1−
2
α/2 1− α α/2

z cal > z α
1−
zα / 2 z1−α /2 2

H1 : μ < μ 0
α z cal < z α

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-6

ิ ิ
บรเวณวกฤต ิ H 0 เมื่อ
ปฏเสธ
สมมุติ ฐานทางเลือก

H1 : μ > μ 0
α z cal > z1−α

z1−α

กรณีใช้สถิตทิ ดสอบ T สามารถหาบริเวณวิกฤตและสรุปผลการทดสอบดังนี้


สมมุติ ฐานทางเลือก ิ ิ
บรเวณวกฤต ิ H 0 เมื่อ
ปฏเสธ

α α t cal < t α หรือ


H1 : μ ≠ μ 0 2 2 2



t α
1− ,ν
t cal > t α
2 2 1− , ν
2

H1 : μ < μ 0 α
t cal < t α , ν
tα ,ν

H1 : μ > μ 0 α
t cal > t1−α , ν
t1−α ,ν

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-7

ตัวอย่าง 3.1 บริษทั ผลิตแบตเตอรี่ยห่ี ้อหนึ่ง ถ้าทราบว่าอายุการใช้งานแบตเตอรี่มกี ารแจกแจง


ปรกติ และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.6 ปี สุ่มแบตเตอรี่ท่ผี ลิตมาทดสอบอายุการใช้งาน
จํานวน 16 แบตเตอรี่ พบว่าว่ามีอายุการใช้งานเฉลีย่ 3.4 ปี จะกล่าวได้หรือไม่ว่า อายุการใช้งาน
เฉลีย่ ของแบตเตอรีบ่ ริษทั นี้เท่ากับ 3 ปี ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05
วธีิ ทาํ ให้ μ แทนอายุการใช้งานเฉลีย่ ของแบตเตอรีบ่ ริษทั นี้
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
H0 : μ = 3
H1 : μ ≠ 3

จากโจทย์ x = 3.4, σ = 0.6, n = 16


x − μ0
สถิตทิ ดสอบ คือ z cal =
σ n
3.4 − 3
=
0.6 16
0.4
=
0.6 4
= 2.67 z cal = 2.67

กําหนด α = 0.05
ค่าวิกฤต ±z α = ± z 0.975 = ±1.96
1− z 0.025 = −1.96 z 0.975 = 1.96
2

สรุป เนื่องจาก z cal = 2.67 > z 0.975 = 1.96 ดังนัน้ ปฏิเสธ H0 นั ่นคือ อายุการใช้งานเฉลี่ยของ
แบตเตอรีบ่ ริษทั นี้ไม่เท่ากับ 3 ปี ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05 #

ตัวอย่ าง 3.2 ถ้าทราบว่านํ้าหนักของอาหารกล่องชนิดหนึ่งมีการแจกแจงปรกติ สุ่มตัวอย่าง


อาหารกล่องชนิดนี้จาํ นวน 25 กล่อง พบว่ามีน้ําหนักเฉลีย่ 210 กรัม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 15
กรัม จะกล่าวได้หรือไม่วา่ นํ้าหนักเฉลีย่ ของอาหารกล่องชนิดนี้เท่ากับ 200 กรัม ที่ระดับนัยสําคัญ
0.1
วธีิ ทาํ ให้ μ แทนนํ้าหนักเฉลีย่ ของอาหารกล่องชนิดนี้
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
H 0 : μ = 200
H1 : μ ≠ 200

จากโจทย์ x = 210, s = 15, n = 25


x − μ0
สถิตทิ ดสอบ คือ t cal =
s n

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-8

210 − 200
=
15 25
10
=
3
= 3.33
t cal = 3.33
กําหนด α = 0.1
ค่าวิกฤต t1−α / 2,n −1 = t 0.95,24 = 1.711
t 0.05,24 = −1.711 t 0.95, 24 = 1.711

สรุป เนื่องจาก t cal = 3.33 > t 0.95, 24 = 1.711 ดังนัน้ ปฏิเสธ H0 นั ่นคือ นํ้าหนักเฉลีย่ ของอาหา
กล่องชนิดนี้ไม่เท่ากับ 200 กรัม ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.1 #

ตัวอย่าง 3.3 ผู้จดั การโรงงานผลิตปุ๋ ยอินทรียแห่ ์ งหนึ่งคาดการณ์ว่าจะต้องจัดซื้อวัตถุดบิ ในการ


ผลิตโดยเฉลีย่ ไม่เกิน 650 ตันต่อวัน ผู้จดั การท่านนี้ทําการเก็บข้อมูลปริมาณวัตถุดบิ ที่จดั ซื้อต่อ
วัน เป็ น เวลา 60 วัน ได้ปริม าณวัตถุ ดิบที่จ ดั ซื้อโดยเฉลี่ย 655 ตัน ต่ อวัน และมีค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 25 ตัน การคาดการณ์การจัดซือ้ ของผูจ้ ดั การเชื่อถือได้หรือไม่ ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.1
วธีิ ทาํ ให้ μ แทนปริมาณวัตถุดบิ โดยเฉลีย่ ทีใ่ ช้ในโรงงานผลิตปุ๋ ยอินทรียแห่
์ งนี้
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
H 0 : μ ≤ 650
H1 : μ > 650

จากโจทย์ x = 655, s = 25, n = 60


x − μ0
สถิตทิ ดสอบ คือ z cal =
s n
655 − 650
=
25 60
z cal = 1.549

= 1.549
กําหนด α = 0.1
z 0.9 = 1.282
ค่าวิกฤต z1−α = z 0.9 = 1.282

สรุป เนื่องจาก z cal = 1.549 > z 0.9 = 1.282 ดังนัน้ ปฏิเสธ H 0 นั ่นคือ ปริมาณวัตถุดบิ โดยเฉลีย่ ที่
ใช้ในโรงงานผลิตปุ๋ ยอินทรียแห่
์ งนี้มากกว่า 650 ตันต่อวัน ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.1 #

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-9

3.4 การทดสอบผลต่างค่าเฉลี่ยประชากร
กําหนด μ1 , μ2 แทนค่าเฉลีย่ ประชากรกลุ่มที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
ตัง้ สมมุตฐิ านแบบใดแบบหนึ่ง ดังนี้
H 0 : μ1 − μ 2 = d 0 และ H1 : μ1 − μ 2 ≠ d 0

หรือ H 0 : μ1 − μ 2 ≥ d 0 และ H1 : μ1 − μ 2 < d 0

หรือ H 0 : μ1 − μ 2 ≤ d 0 และ H1 : μ1 − μ 2 > d 0



พจารณาการ ทดสอบผลต่างค่าเฉลี่ยประชากร 3 กรณี ดงั นี้
3.4.1 ประชากรทัง้ 2 กลุ่มมีการแจกแจงปรกติ และทราบค่าความแปรปรวน (σ12 , σ22 )

Z=
(X 1 − X2 ) − d0
~ N(0,1) ค่าสถิตทิ ดสอบ z cal =
( x1 − x 2 ) − d 0
σ σ
2 2
σ12 σ 22
1
+ 2
+
n1 n 2 n1 n 2

3.4.2 ประชากรทัง้ 2 กลุ่มมีการแจกแจงปรกติ ไม่ทราบค่าความแปรปรวนประชากรและ


ตัวอย่างมีขนาดเล็ก ( n1 < 30 , n 2 < 30 )
ถ้าทราบว่า σ12 = σ 22

T=
(X 1 − X2 ) − d0
ค่าสถิตทิ ดสอบ t cal =
( x1 − x 2 ) − d 0
⎛1 1 ⎞ ⎛1 1 ⎞
S2p ⎜ + ⎟ s 2p ⎜ + ⎟
⎝ n1 n 2 ⎠ ⎝ n1 n 2 ⎠
(n1 − 1)S12 + (n 2 − 1)S 22 ν = n1 + n 2 − 2
เมือ่ S 2p = ,
n1 + n 2 − 2

ถ้าทราบว่า σ12 ≠ σ 22

T=
(X 1 − X2 ) − d0
ค่าสถิตทิ ดสอบ t cal =
( x1 − x 2 ) − d 0
⎛ S12 S22 ⎞ ⎛ s12 s 22 ⎞
⎜ + ⎟ ⎜ + ⎟
⎝ n1 n 2 ⎠ ⎝ n1 n 2 ⎠
⎡( S12 n1 ) + ( S22 n 2 ) ⎤
2

เมือ่ ν= ⎣ ⎦
(S12 n1 ) + (S22 n 2 )
2 2

n1 − 1 n2 −1

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-10

3.4.3 ไม่ทราบการแจกแจงของประชากร แต่ตวั อย่างมีขนาดใหญ่ ( n1 ≥ 30 , n 2 ≥ 30 )

ถ้าทราบค่า σ12 , σ22

Z=
(X 1 − X2 ) − d0
~ N(0,1) ค่าสถิตทิ ดสอบ z cal =
( x1 − x 2 ) − d 0
σ12 σ 22 σ12 σ 22
+ +
n1 n 2 n1 n 2

ถ้าไม่ทราบค่า σ12 , σ22

Z=
(X 1 − X2 ) − d0
~ N(0,1) ค่าสถิตทิ ดสอบ z cal =
( x1 − x 2 ) − d 0
S12 S22 s12 s 22
+ +
n1 n 2 n1 n 2

ตัวอย่าง 3.4 โรงงานบําบัดนํ้าเสียแห่งหนึ่งทราบว่าปริมาณออกซิเจนทีล่ ะลายนํ้า (Dissolved


Oxygen : DO) (หน่ วยเป็ น ppm) จากการบําบัดนํ้ าเสียของโรงงานทัง้ สองระบบ คือ ระบบแร
ใช้สารเคมีบาํ บัด ส่วนระบบทีส่ องใช้พชื นํ้าบําบัด มีการแจกแจงปรกติ และมีความแปรปรวน 1.5
2 2
ppm และ 1.8 ppm ตามลําดับ ทางโรงงานต้องการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างระบบ
บําบัดนํ้าเสีย 2 ระบบโดยทําการทดลองกับนํ้าเสียจากโรงงาน ทําการสุ่มแบ่งเป็น 24 บ่อบําบัด
สุ่มบ่อและสุ่มระบบบําบัดนํ้าเสียทีใ่ ช้ระบบละ 12 บ่อ จากนัน้ ทําการวัดค่า DO พบว่ามีค่าเฉลี่ย
5.3 ppm และ 5.8 ppm ที่ร ะดับ นัยสําคัญ 0.05 จะสรุป ได้ห รือไม่ว่า ระบบบําบัดนํ้ า เสีย ทัง้ 2
ระบบมีประสิทธิภาพแตกต่างกัน
วธีิ ทาํ ให้ μA , μB แทนค่าเฉลี่ยของออกซิเจนที่ละลายในนํ้ าของระบบใช้สารเคมีบําบัด และ
ระบบทีใ่ ช้พชื นํ้าบําบัด ตามลําดับ
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
H0 : μA − μB = 0
H1 : μ A − μ B ≠ 0

n A = 12, x A = 5.3, σ 2A = 1.5

n B = 12, x B = 5.8, σ 2B = 1.8

สถิตทิ ดสอบ คือ z cal =


( x A − x B ) − d0
σ A2 σ B2
+ z cal = −0.2622
nA nB

=
( 5.3 − 5.8) − 0
1.5 1.8
+ z 0.05 = −1.645
12 12 z 0.95 = 1.645

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-11

= −0.2622
กําหนด α = 0.05
ค่าวิกฤต ± z1−α = ± z 0.95 = ±1.645
สรุ ป เนื่อ งจาก z 0.05 = −1.645 < zcal = −0.2622 < z 0.95 = 1.645 ดัง นัน้ ยอมรับ H0 นัน่ คือ
ระบบบําบัดนํ้าเสียทัง้ 2 ระบบมีประสิทธิภาพไม่แตกต่างกัน ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05 #

ตัวอย่าง 3.5 ในการทดสอบความดันช่วงบน หรือความดันซิสโตลี (Systolic blood pressure)


หมายถึง แรงดันเลือดขณะทีห่ วั ใจบีบตัว ระหว่างเด็กชาย และเด็กหญิง ในช่วงอายุ 10-14 ปีโดย
สุ่มตัวอย่างเด็กมา กลุ่มละ 25 คน พบว่ามีความดันช่วงบนเฉลี่ย 115.8 และ 116.3 มิลลิเมตร
ปรอท (mmHg) ตามลําดับ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 4.7 และ 7.9 mmHg จงทดสอบว่า
ความดัน ช่วงบนของเด็กชาย และเด็กหญิง ในช่วงอายุ 10-14 ปี แตกต่างกัน หรือไม่ ที่ร ะดับ
นัยสําคัญ 0.1 หากทราบว่าความดันช่วงบนของเด็กชาย และเด็กหญิงในช่วงอายุ 10-14 ปี มีการ
แจกแจงปรกติ และมีความแปรปรวนไม่เท่ากัน
วธีิ ทาํ ให้ μ1 , μ 2 แทนความดันช่วงบนของเด็กชาย และเด็กหญิงในช่วงอายุ 10-14 ปี
ตามลําดับ
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
H 0 : μ1 − μ 2 = 0
H1 : μ1 − μ 2 ≠ 0

n1 = 25 , x1 = 115.8, s1 = 4.7
n 2 = 25, x 2 = 116.3, s 2 = 7.9

เนื่องจาก σ12 ≠ σ22


( x1 − x 2 ) − d o
สถิตทิ ดสอบ คือ t cal =
⎛ s12 s 22 ⎞
⎜ + ⎟
⎝ n1 n 2 ⎠

=
(115.8 − 116.3) − 0
4.7 2 7.92
+ t cal = −0.272
25 25

= −0.272
t 0.05, 40 = −1.684 t 0.95, 40 = 1.684

⎡( s12 n1 ) + ( s 22 n 2 ) ⎤
2 2
⎣ ⎦ ⎡(4.7 2 25) + (7.92 25) ⎦⎤

เมื่อ ν= = = 39.098 ≈ 40
( s12 n1 ) + ( s22 n 2 ) (4.72 25) + (7.92 25)
2 2 2 2

n1 − 1 n2 −1 24 24

กําหนด α = 0.1
ค่าวิกฤต ± t1−α /2, ν = ± t 0.95,40 = ±1.684

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-12

สรุป เนื่ องจาก t 0.05, 40 = −1.684 < t cal = −0.272 < t 0.95, 40 = 1.684 ดัง นัน้ ปฏิเสธ H 0 นัน่ คือ
ความดันช่วงบนของเด็กชาย และเด็กหญิงในช่วงอายุ 10-14 ปี ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสําคัญ
0.1 #

ตัวอย่าง 3.6 เกษตรกรคนหนึ่งเพาะต้นกล้าโดยใช้ดนิ 2 ชนิด โดยดินชนิดที่ 1 ใช้เพาะต้นกล้า


50 ถาด และดิน ชนิ ดที่ 2 60 ถาด เมื่อผ่ า นไป 15 วัน พบว่า ได้ต้น กล้า ที่เ พาะโดยใช้ดนิ ชนิด
ที่ 1 มีความสูงเฉลีย่ 15.6 เซนติเมตร ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 1.8 เซนติเมตร ส่วนต้นกล้าที่เพาะ
โดยดินชนิดที่ 2 มีความสูงเฉลีย่ 13.4 เซนติเมตรและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 1.6 เซนติเมตร จง
ทดสอบว่าการเพาะต้นกล้าโดยใช้ดนิ ชนิดที่ 1 ทําให้ตน้ กล้าสูงกว่าเพาะโดยใช้ดนิ ชนิดที่ 2 หรือไม่
ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05
วธีิ ทาํ ให้ μ1 , μ2 แทนความสูงเฉลีย่ ของต้นกล้าทีเ่ พาะโดยใช้ดนิ ชนิดที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
H 0 : μ1 − μ 2 = 0
H1 : μ1 − μ 2 > 0

n1 = 50 , x1 = 15.6 , s1 = 1.8
n 2 = 60 , x 2 = 13.4 , s 2 = 1.6

( x1 − x 2 ) − d o
สถิตทิ ดสอบ คือ z cal =
⎛ s12 s 22 ⎞
⎜ + ⎟
⎝ n1 n 2 ⎠

=
(15.6 − 13.4 ) − 0
1.82 1.62
+
50 60
z cal = 6.71
= 6.71
กําหนด α = 0.05
ค่าวิกฤต z1−α = z 0.95 = 1.645 z 0.95 = 1.645

สรุป เนื่องจาก z cal = 6.71 > z 0.95 = 1.645 ดังนัน้ ปฏิเสธ H 0 นั ่นคือการเพาะต้นกล้าโดยใช้ดนิ
ชนิดที่ 1 ทําให้ตน้ กล้าสูงกว่าเพาะโดยใช้ดนิ ชนิดที่ 2 ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05 #

3.5 การทดสอบผลต่างของค่าเฉลี่ยของ 2 ประชากรที่มคี วามสัมพันธ์กนั หรือ 2 ตัวแปรที่


มีความสัมพันธ์กนั
กําหนด μ D แทนผลต่างค่าเฉลีย่ ประชากร 2 กลุ่มทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั
ตัง้ สมมุตฐิ านแบบใดแบบหนึ่ง ดังนี้

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-13

H0 : μD = d0 และ H1 : μ D ≠ d 0

หรือ H0 : μD ≥ d0 และ H1 : μ D < d 0

หรือ H0 : μD ≤ d0 และ H1 : μ D > d 0

ิ ิ
กําหนดสถตทดสอบที ่เหมาะสมที่ใช้ในการทดสอบภายใต้ H 0 ดังนี้

n n

D − d0
∑ Di ∑ (Di − D ) 2
i =1
T= , ν = n −1 เมื่อ D i = Yi − X i , D = , SD = i =1
Sd n n n −1
n
∑ di
n

d − d0 ∑ (d i − d) 2
ค่าสถิตทิ ดสอบ t cal = เมื่อ d i = yi − x i , d = i =1 , sd = i =1

sd n n n −1

ตัวอย่าง 3.7 สุ่มตัวอย่างคน 9 คน บันทึกนํ้าหนักก่อนงดสูบบุหรีแ่ ละหลังงดสูบบุหรีไ่ ป 2 เดือน


ได้ผลดังนี้ (หน่วย : กิโลกรัม)
คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

นํ้าหนักก่อนงดสูบบุหรี่ 67 70 73 67 67 66 67 60 55

นํ้าหนักหลังงดสูบบุหรี่ 69 75 69 68 73 72 71 65 56

หากข้อมูลนํ้าหนักมีการแจกแจงปรกติ จงทดสอบว่าการงดสูบบุหรี่ทําให้น้ําหนักเพิม่ ขึน้ หรือไม่


ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05
วิธีทํา ให้ μ D แทนผลต่างค่าเฉลีย่ ของนํ้าหนักก่อนงดสูบบุหรีแ่ ละหลังงดสูบบุหรีเ่ มื่อผ่านไป 2
เดือน
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
H0 : μD = 0
H1 : μ D > 0
จากโจทย์

คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
นํ้าหนักก่อนงดสูบบุหรี่ (x i ) 67 70 73 67 67 66 67 60 55

นํ้าหนักหลังงดสูบบุหรี่ (yi ) 69 75 69 68 73 72 71 65 56

yi − x i 2 5 -4 1 6 6 4 5 1

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-14
n

∑ (d i − d) 2
d = 2.89 , s d = i =1
= 3.26
n −1
d − do
สถิตทิ ดสอบ คือ t cal =
sd n
2.89 − 0
=
3.26 9
t cal = 2.6595

= 2.6595
กําหนด α = 0.05
t 0.95,8 = 1.86
ค่าวิกฤต t1−α ,n −1 = t 0.95,8 = 1.86 ; ν =8

สรุป เนื่องจาก t cal = 2.6595 > t 0.95,8 = 1.86 ดังนัน้ ปฏิเสธ H0 นั ่นคือการงดสูบบุหรีท่ าํ ให้น้ําหนั
เพิม่ ขึน้ ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05 #

3.6 การทดสอบสัดส่วนของประชากร
กําหนด P แทนสัดส่วนของประชากร
ตัง้ สมมุตฐิ านแบบใดแบบหนึ่ง ดังนี้
H 0 : P = P0 และ H1 : P ≠ P0

หรือ H 0 : P ≥ P0 และ H1 : P < P0

หรือ H 0 : P ≤ P0 และ H1 : P > P0

ิ ิ
กําหนดสถตทดสอบที ่เหมาะสมที่ใช้ในการทดสอบภายใต้ H 0 ดังนี้

P̂ − P0 p̂ − P0
Z= ⎯⎯
~
→ N(0,1) ค่าสถิตทิ ดสอบ zcal =
P0 (1 − P0 ) P0 (1 − P0 )
n n
n

∑x i
x
โดยที่ p̂ = i =1
= เมื่อ x แทนค่าของจํานวนสิง่ ทีส่ นใจจากตัวอย่าง
n n

ตัวอย่าง 3.8 สุ่มตัวอย่างแม่บ้านที่ไปซื้อผักที่ตลาดมา 150 คน พบว่ามีแม่บ้านที่ซ้อื ผักปลอด


สารพิษ 114 คน จงทดสอบว่าแม่บ้านที่บริโภคผักปลอดสารพิษมีเกิน 70% หรือไม่ ที่ระดับ
นัยสําคัญ 0.01
วธีิ ทาํ ให้ P แทนสัดส่วนของแม่บา้ นทีบ่ ริโภคผักปลอดสารพิษ

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-15

สมมุตฐิ าน
H 0 : P ≤ 0.70
H1 : P > 0.70
114
จากโจทย์ p̂ = = 0.76 , n = 150
150
p̂ − Po
ค่าสถิตทิ ดสอบ คือ zcal =
Po (1 − Po )
n
0.76 − 0.70
=
(0.70)(0.30)
150 z cal = 1.60

= 1.60
กําหนด α = 0.01
ค่าวิกฤต z1−α = z 0.99 = 2.326 z 0.99 = 2.326

สรุป เนื่องจาก z cal = 1.60 < z 0.95 = 1.645 ดังนัน้ ยอมรับ H0 นั ่นคือแม่บ้านที่บริโภคผักปลอด
สารพิษมีไม่เกิน 70% ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.01 #

3.7 การทดสอบผลต่างสัดส่วนของประชากร
กําหนด P1 , P2 แทนสัดส่วนของประชากรกลุ่มที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
ตัง้ สมมุตฐิ านแบบใดแบบหนึ่ง ดังนี้
H 0 : P1 − P2 = P0 และ H1 : P1 − P2 ≠ Po

หรือ H 0 : P1 − P2 ≥ P0 และ H1 : P1 − P2 < P0

หรือ H 0 : P1 − P2 ≤ P0 และ H1 : P1 − P2 > P0

ิ ิ
กําหนดสถตทดสอบที ่เหมาะสมที่ใช้ในการทดสอบภายใต้ H 0 ดังนี้

กรณี ที่ 1 ถ้า P0 = 0 แสดงว่า P1 = P2

Z=
( Pˆ − Pˆ ) − P
1 2 0
=
( Pˆ − Pˆ )
1 2
⎯⎯
~
→ N(0,1)
ˆ ˆ ⎛⎜ 1 + 1 ⎞⎟
PQ ˆ ˆ ⎛⎜ 1 + 1 ⎞⎟
PQ
⎝ n1 n 2 ⎠ ⎝ n1 n 2 ⎠
( pˆ 1 − pˆ 2 ) x1 + x 2
ค่าสถิตทิ ดสอบ zcal = เมือ่ p̂ = , qˆ = 1 − pˆ
⎛1 1 ⎞ n1 + n 2
ˆˆ⎜ + ⎟
pq
⎝ n1 n 2 ⎠

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-16

กรณี ที่ 2 ถ้า P0 ≠ 0

Z=
( Pˆ − Pˆ ) − P
1 2
⎯⎯
0
→ N(0,1) ~

Pˆ (1 − Pˆ ) Pˆ (1 − Pˆ )
1 1 2 2
+
n1 n2
( pˆ 1 − pˆ 2 ) − P0
ค่าสถิตทิ ดสอบ zcal =
pˆ 1 (1 − pˆ 1 ) pˆ 2 (1 − pˆ 2 )
+
n1 n2

ตัวอย่ าง 3.9 สอบถามคนที่อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ว่าเห็น ด้วยกับการทําช่องทางรถจักรยาน


หรือไม่ สุ่มตัวอย่างผูช้ ายมา 250 คน และผู้หญิง 300 คน พบว่ามีผู้ชายเห็นด้วย 200 คน และมี
ผู้ห ญิง เห็น ด้วย 255 คน จงทดสอบว่าสัดส่วนผู้ช ายและผู้ห ญิง ที่เห็น ด้วยกับการทําช่องทาง
รถจักรยานมีค่าเท่ากันหรือไม่ ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.1
วธีิ ทาํ ให้ P1 , P2 แทนสัดส่วนของผูช้ ายและผูห้ ญิงทีเ่ ห็นด้วยกับการทําช่องทางรถจักรยาน
ตัง้ สมมุตฐิ าน
H 0 : P1 − P2 = 0
H1 : P1 − P2 ≠ 0

เนื่องจาก P0 = 0
200
n1 = 250 , x1 = 200, p̂1 = = 0.80
250
255
n 2 = 300, x 2 = 255, p̂ 2 = = 0.85
300
x1 + x 2 200 + 255
p̂ = = = 0.83 , qˆ = 1 − pˆ = 1 − 0.83 = 0.17
n1 + n 2 250 + 300

zcal =
( pˆ 1 − pˆ 2 ) − Po
ค่าสถิตทิ ดสอบ คือ
⎛1 1 ⎞
ˆˆ⎜ + ⎟
pq
⎝ n1 n 2 ⎠

=
( 0.80 − 0.85) − 0
⎛ 1 1 ⎞
(0.83)(0.17) ⎜ + ⎟
⎝ 250 300 ⎠
z cal = −1.55
= −1.55
กําหนด α = 0.10
ค่าวิกฤต ±z
1−
α = ± z 0.95 = ± 1.645 z 0.05 = −1.645 z 0.95 = 1.645
2

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-17

สรุป เนื่องจาก z 0.05 = −1.645 < zcal = −1.55 < z0.95 = 1.645 ดังนัน้ ยอมรับ H 0 นั ่นคือสัดส่วน
ผูช้ ายและผูห้ ญิงทีเ่ ห็นด้วยกับการทําช่องทางรถจักรยานมีค่าเท่ากัน ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.1 #

ตัวอย่าง 3.10 สุ่มสินค้าทีผ่ ลิตจากเครื่องจักร A มา 250 ชิน้ พบว่าเป็นสินค้าชํารุด 14 ชิ้น และ


สุ่มสินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร B มา 200 ชิ้น เป็นสินค้าชํารุด 6 ชิ้น จงทดสอบว่าสัดส่วนของ
สินค้าชํารุดจากเครื่องจักร A มากกว่าสัดส่วนของสินค้าชํารุดจากเครื่องจักร B เกิน 2% หรือไม่ท่ี
ระดับนัยสําคัญ 0.05
วธีิ ทาํ ให้ P1 , P2 แทนสัดส่วนของสินค้าชํารุดจากเครื่องจักร A และเครื่องจักร B
ตัง้ สมมุตฐิ าน
H 0 : P1 − P2 ≤ 0.02
H1 : P1 − P2 > 0.02

เนื่องจาก P0 ≠ 0
14
n1 = 250 , p̂1 = = 0.056
250
6
n 2 = 200 , p̂ 2 = = 0.03
200

zcal =
( pˆ 1 − pˆ 2 ) − P0
ค่าสถิตทิ ดสอบ คือ
pˆ 1 (1 − pˆ 1 ) pˆ 2 (1 − pˆ 2 )
+
n1 n2

=
( 0.056 − 0.03) − 0.02
(0.056)(0.944) (0.03)(0.97)
+
250 200
= 0.32 z cal = 0.32

กําหนด α = 0.05
ค่าวิกฤต z1−α = z 0.95 = 1.645

z 0.95 = 1.645

สรุป เนื่องจาก z cal = 0.32 < z 0.95 = 1.645 ดังนัน้ ยอมรับ H 0 นั ่นคือสัดส่วนของสินค้าชํารุดจาก
เครื่องจักร A มากกว่าสัดส่วนของสินค้าชํารุดจากเครื่องจักร B ไม่เกิน 2% ที่ระดับนัยสําคัญ
0.05 #

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-18

3.8 การทดสอบความแปรปรวนประชากร
กําหนด σ2 แทนความแปรปรวนประชากร
ตัง้ สมมุตฐิ านแบบใดแบบหนึ่ง ดังนี้
H 0 : σ 2 = σ02 และ H1 : σ2 ≠ σ02

หรือ H 0 : σ 2 ≥ σ02 และ H1 : σ2 < σo2

หรือ H 0 : σ 2 ≤ σ02 และ H1 : σ2 > σ02

ิ ิ
กําหนดสถตทดสอบที ่เหมาะสมที่ใช้ในการทดสอบภายใต้ H 0 ดังนี้

χ =
( n − 1) S2 ( n − 1) s2
เมือ่ ν = n − 1 ค่าสถิตทิ ดสอบ χ =
2 2

σ02 σ02
cal

ิ ิ
การหาบรเวณวกฤต ิ H0 )
(ขอบเขตปฏเสธ
สมมุติ ฐานทางเลือก ิ ิ
บรเวณวกฤต ิ H 0 เมื่อ
ปฏเสธ

α α
χ cal
2
< χ 2α หรือ
H1 : σ ≠ σ
2 2
0 2 2
, n −1
2
χ 2
cal > χ2 α
χ 2
α χ2
1− , n −1
2
, n −1 α
2 1− , n −1
2

H1 : σ2 < σ02 α χ cal


2
< χ α2 , n −1

χα2 , n −1

H1 : σ2 > σ 02 α χ cal
2
> χ12−α ,n −1

χ12−α ,n −1

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-19

ตัวอย่าง 3.11 นํ้าหนักของผลไม้กระปองมี ๋ การแจกแจงแบบปรกติ สุ่มตัวอย่างมา 10 กระปอง



ชั ่งนํ้าหนัก ได้ขอ้ มูลดังนี้ (หน่วย : กรัม)
251.9 243.5 258.7 239.9 259.1 246.5 251.7 252.2 246.6 248.4

จงทดสอบว่าความแปรปรวนของนํ้าหนักของอาหารกระปอ๋งน้อยกว่า 40 (กรัม)2 หรือไม่ ทีร่ ะดับ


นัยสําคัญ 0.05

วธีิ ทาํ ให้ σ2 แทนความแปรปรวนของนํ้าหนักของผลไม้กระปอง
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ
H 0 : σ 2 ≥ 40
H1 : σ 2 < 40

n = 10 , s 2 = 37.81

χ =
( n − 1) s2
สถิตทิ ดสอบ 2

σ02
cal

(10 − 1)(37.81)
=
40
χ cal
2
= 8.51
= 8.51
กําหนด α = 0.05
ค่าวิกฤต χ2 = χ2
α , n −1 0.05, 9
= 3.325 χ 20.05, 9 = 3.325

สรุป เนื่องจาก χcal2 = 8.51 > χ0.05,9


2
= 3.325 ดัง นัน
้ ยอมรับ H 0 นัน่ คือความแปรปรวนของ
๋ 2
นํ้าหนักของผลไม้กระปองไม่ น้อยกว่า 40 (กรัม) ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05 #

3.9 การทดสอบผลหารความแปรปรวนของ 2 ประชากร


กําหนด σ12 , σ 22 แทนความแปรปรวนประชากรกลุ่มที1่ และ 2 ตามลําดับ
ตัง้ สมมุตฐิ านแบบใดแบบหนึ่ง ดังนี้
H 0 : σ12 = σ 22 และ H1 : σ12 ≠ σ 22

หรือ H 0 : σ12 ≥ σ 22 และ H1 : σ12 < σ 22

หรือ H 0 : σ12 ≤ σ 22 และ H1 : σ12 > σ22

ิ ิ
กําหนดสถตทดสอบที ่เหมาะสมที่ใช้ในการทดสอบภายใต้ H 0 ดังนี้

S12 σ12 s12 σ12


F= 2 เมือ่ ν1 = n1 − 1 , ν 2 = n 2 − 1 ค่าสถิตทิ ดสอบ f cal = 2
S2 σ22 s2 σ22

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-20

ิ ิ
การหาบรเวณวกฤต ิ H0 )
(ขอบเขตปฏเสธ
สมมุติ ฐานทางเลือก ิ ิ
บรเวณวกฤต ิ H 0 เมื่อ
ปฏเสธ

α α f cal < f α หรือ


H1 : σ12 ≠ σ 22 2 2 2
,(n1 −1, n 2 −1)

fα f
f cal > f α
,(n1 −1, n 2 −1)
α
1− ,(n1 −1,n 2 −1)
1− ,(n1 −1, n 2 −1)
2 2 2

H1 : σ12 < σ 22 α f cal < f α ,(n1 −1, n 2 −1)

f α ,(n1 −1, n 2 −1)

H1 : σ12 > σ 22 α f cal > f1−α ,(n1 −1,n 2 −1)

f1−α ,(n1 −1,n 2 −1)

ตัวอย่าง 3.12 นํ้าหนักผงซักฟอกยีห่ อ้ A และยีห่ ้อ B ต่างก็มกี ารแจกแจงปรกติ จึงสุ่มตัวอย่าง


ผงซักฟอกยีห่ อ้ A และยีห่ อ้ B มาชั ่งนํ้าหนัก ได้ขอ้ มูลดังนี้

นํ้าหนักผงซักฟอก (กรัม)
ถุงที่
ยี่ห้อ A ยี่ห้อ B
1 487 493
2 471 541
3 471 499
4 538 498
5 489 505
6 479 501
7 511 463
8 493 515

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-21

จงทดสอบว่ า ความแปรปรวนของนํ้ าหน กั ผงซ กั ฟอกที บ่ รรจุใ นถุง ของทั ง้ สองยี ห่ อ้


แตกต่างกันหรือไม่ ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.1
วธีิ ทาํ ให้ σ2A , σB2 แทนความแปรปรวนของปริมาณอาหารสัตว์ทบ่ี รรจุในถุงของยีห่ อ้ A และ
ยีห่ อ้ B
สมมุตฐิ านทีท่ ดสอบ H 0 : σ2A = σB2
H1 : σA2 ≠ σ B2

n A = n B = 8, s 2A = 508.84, s 2B = 475.27
s12 σ12
สถิตทิ ดสอบ f cal = 2
s2 σ22
508.84
= 1
475.27
= 1.07
กําหนด α = 0.10
ค่าวิกฤต f α
1− ,(n1 −1,n 2 −1)
= f 0.95,(7,7) = 3.79
2
1 1
fα = f 0.05,(7,7) = = = 0.264
,(n1 −1, n 2 −1) f 0.95,(7,7) 3.79
2

f cal = 1.07

f 0.05,(7,7) = 0.264 f 0.95,(7,7) = 3.79

สรุป เนื่องจาก f 0.05,(7,7) = 0.264 < fcal = 1.07 < f 0.95,(7,7) = 3.79 ดังนัน้ ยอมรับ H 0 นั ่นคือความ
แปรปรวนของนํ้ าหนัก ผงซ กั ฟอกทีบ่ รรจุใ นถุง ของทัง้ สองยีห่ อ้ ไม่แ ตกต่า งก นั ทีร่ ะด บั
นัยสําคัญ 0.05 #

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-22

แบบฝึ กหัดบทที่ 3

1. บริษ ัท แห่ง หนึ่ง เก็บข้อ มูลยอดขายสิน ค้า ต่อเดือนจากพนักงาน 8 คน ได้ข้อมูลดัง นี้


(หน่วย : พันบาท)
พนักงานคนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8
ยอดขาย 120 80 90 100 140 110 100 90

ถ้ายอดขายมีการแจกแจงปรกติ
1.1) จงทดสอบว่าพนักงานขายสินค้าได้มากกว่า 100,000 บาทต่อเดือนหรือไม่
ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05
1.2) จงทดสอบว่าส่วนเบีย
่ งเบนมาตรฐานของยอดขายสินค้าเท่ากับ 20,000 บาท
หรือไม่ ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.1
2. ถ้านํ้าหนักของทารกแรกเกิดมีการแจกแจงปรกติท มี่ สี ่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 800 กรัม
สุ่มตัวอย่างทารกแรกเกิดมา 25 คน ชั ่งนํ้าหนักพบว่ามีนํ้าหนักเฉลีย่ เท่ากับ 2,900 กรัม
จงทดสอบว่านํ้าหนักเฉลีย่ ของทารกแรกเกิดเท่ากับ 3,000 กรัมหรือไม่ ที่ระดับนัยสําคัญ
0.01
3. สุ่มตัวอย่างหลอดไฟยีห่ อ้ หนึ่งมา 36 หลอด ตรวจสอบอายุการใช้งานดังนี้
(หน่วย : ชั ่วโมง)
2,602 2,555 2,433 2,494 2,507 2,471 2,437 2,324 2,590
2,559 2,615 2,450 2,482 2,467 2,632 2,517 2,641 2,549
2,447 2,448 2,384 2,517 2,312 2,654 2,391 2,580 2,618
2,412 2,398 2,508 2,552 2,455 2,471 2,547 2,182 2,551

จงทดสอบว่าอายุการใช้งานของหลอดไฟเท่ากับ 2,000 ชั ่วโมงหรือไม่ ที่ระดับนัยสําคัญ


0.05
4. ในการเปรียบเทียบผลผลิตของข้าวโพดหวานพันธุ์ A และพันธุ์ B โดยทดลองปลูกในทีด่ นิ
ั า วโพดพัน ธุ ล์ ะ 50 ฝกั
2 แปลง ที่ม ีส ภาพใกล้เ คีย งกัน แล้ ว บัน ทึก นํ้ า หนัก ของฝกข้
ผลปรากฏว่าข้าวโพดหวานพัน ธุ์ A มีน้ํ าหนักเฉลีย่ ต่อฝกั 280 กรัม ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานนํ้าหนักฝกั 25 กรัม ส่วนข้าวโพดหวานพันธุ์ B มีน้ําหนักเฉลีย่ ต่อฝกั 320 กรัม
ส่ ว นเบี่ย งเบนมาตรฐาน 36 กรัม จงทดสอบว่า ข้า วโพดหวานพัน ธุ์ B มีน้ํ า หนัก
เฉลีย่ มากกว่าข้าวโพดหวานพันธุ์ A เกิน 35 กรัมหรือไม่ทร่ี ะดับนัยสําคัญ 0.01
5. อายุการใช้งานของมอเตอร์เครื่องซักผ้ายีห่ ้อ A และ B มีการแจกแจงปรกติ สุ่มตัวอย่าง
มอเตอร์มาตรวจสอบได้ผลดังนี้ (หน่วย : ปี
ยีห่ อ้ A 14.69 12.17 7.70 12.16 13.35 12.15 13.07 9.47 12.44 9.38

ยีห่ อ้ B 15.12 9.85 9.21 19.19 10.72 17.40 11.88 13.22 14.32 16.11 12.09 16.06

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-23

หากทราบว่า ความแปรปรวนของอายุก ารใช้ง านของมอเตอร์ส องยี่ห้อ นี้ ม ีค่ าเท่า กัน


จงทดสอบว่าอายุการใช้งานของมอเตอร์เครื่องซักผ้าทัง้ สองยี่ห้อนี้แตกต่างกันหรือไม่
ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.1
6. นํ้าหนักของปุ๋ ยทีผ่ ลิตจากโรงงาน A และ B มีการแจกแจงปรกติ ถ้าสุ่มตัวอย่างปุ๋ ยจาก
โรงงาน A และ B มา 8 และ 10 ถุง ตามลําดับแล้วบันทึกนํ้าหนักปุ๋ ยแต่ละถุงได้ขอ้ มูลดังนี้
(หน่วย : กิโลกรัม)
โรงงาน A 4.70 4.86 5.04 5.16 5.17 5.14 4.93 5.11

โรงงาน B 6.10 2.66 6.33 6.87 6.54 4.43 2.71 4.63 3.90 5.50

ถ้าทราบว่าความแปรปรวนของนํ้ าหนัก ปุ๋ ยทัง้ สองโรง งานมีค่าไม่ท ่ากัน จงทดสอบว่


นํ้าหนักของปุ๋ ยทีผ่ ลิตจากโรงงาน A และ B แตกต่างกันหรือไม่ ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.01
7. ต้องการศึกษาว่าการโฆษณาส่งผลต่อยอดขายสินค้าหรือไม่ จึงสุ่มตัวอย่างร้านค้าจํานวน
10 ร้าน สอบถามยอดขายสินค้าต่อเดือน (หน่ วย : พันบาท) ดังนี้

ร้านที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ก่อนโฆษณา 222 225 234 240 273 236 284 224 224 306

หลังโฆษณา 282 300 289 304 318 265 294 309 298 298

หากยอดขายสินค้ามีการแจกแจงปรกติ จงทดสอบว่าหลังจากที่มกี ารโฆษณา ยอดขาย


สินค้าเพิม่ ขึน้ เกิน 40,000 บาทหรือไม่ทร่ี ะดับนัยสําคัญ 5%
8. จากการสํารวจพนักงานชาย 60 คน พบว่ามีผสู้ บู บุหรี่ 20 คน จงทดสอบว่าพนักงานที่ไม่
สูบบุหรีม่ เี กิน 60% หรือไม่ ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05
9. จากการสํ า รวจภาวะการมีง านทํา ของบัณ ฑิต ที่จ บปริญ ญาตรีแ ละปริญ ญาโทของ
มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งพบว่า
ระดับการศึกษา ขนาดตัวอย่าง (คน) ิ ่ มีงานทํา
จํานวนบัณฑตที
ปริญญาตรี 480 400
ปริญญาโท 220 200

จงทดสอบว่าสัดส่วนของบัณ ฑิตที่จบปริญญาตรีและปริญญาโทที่มงี านทํา แตกต่างกัน


หรือไม่ ทีร่ ะดับนัยสําคัญ 0.05

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น


บทที่ 3 การทดสอบสมมุตฐิ าน 3-24

10. อายุการใช้งานของหลอดไฟ 2 ยีห


่ อ้ มีการแจกแจงปรกติ สุ่มตัวอย่างหลอดไฟมาทดสอบ
แล้วคํานวณความแปรปรวนของอายุการใช้งานดังนี้

ยี่ห้อ ขนาดตัวอย่าง (หลอด) ความแปรปรวน(ชั ่วโมง)2


A 11 1,100
B 16 1,250

จงทดสอบว่าความแปรปรวนของอายุการใช้งานหลอดไฟ 2 ยีห่ ้อนี้เท่ากันหรือไม่ ที่ระดับ


นัยสําคัญ 0.1

เอกสารประกอบการสอนวิชา 208272 สถิตเิ บือ้ งต้นสําหรับสังคมศาสตร์ 2 อ.ดร.มานะชัย รอดชื่น

You might also like